Munsell color system M mottled zone เขตจุดประ ช้ันดินท่ีมีจุดของสีดินสีต่าง ๆ เกิดขึ้น รปู รา่ ง ขนาด ปรมิ าณ และสขี องจดุ ประ อาจจะแตกตา่ งกนั มาก ใชใ้ นการบรรยายคุณลกั ษณะเฉพาะของดิน muck มกั วัสดุดินอินทรีย์ซึ่งมีการสลายตัวสมบูรณ์จนระบุสภาพเดิม ของเศษซากพชื นนั้ ไมไ่ ด้ มปี รมิ าณวสั ดอุ นนิ ทรยี ป์ ระกอบอยมู่ าก และมีสคี ลำ�้ กวา่ พตี [ดู peat ประกอบ] muck soil ดินมกั ดนิ อินทรยี ซ์ ่งึ เศษซากพืชสลายตัวสมบรู ณจ์ นระบุสภาพ เดิมไม่ได้ และมีความหนาของช้ันดินอินทรีย์รวมกันมากกว่า ความหนาของชนั้ ดนิ อนนิ ทรยี ร์ วมกัน mucky peat มักกพี ตี วสั ดดุ นิ อนิ ทรีย์ท่ีประกอบดว้ ยสว่ นที่มกี ารผพุ งั สลาย ตวั เล็กน้อย และสว่ นที่มกี ารผุพังสลายตวั สมบรู ณ์ เหน็ ได้ชดั เจน ท้งั ๒ สว่ น [ดู muck และ peat ประกอบ] mudflow โคลนไหล ดินและหินผุท่ีประกอบด้วยอนุภาคดินที่มีขนาดเล็ก กว่า ๒ มิลลิเมตร มากกว่าร้อยละ ๕๐ ไหลลงมาจากไหล่เขา หรือลาดเขาโดยแรงโน้มถ่วง และเคล่ือนที่รวดเร็วเนื่องจาก มปี ริมาณนำ�้ ในดินมาก mulch วสั ดคุ ลมุ ดิน วัสดุต่าง ๆ ท่ีใช้คลุมผวิ หนา้ ดิน เพ่อื ป้องกันดนิ กรอ่ น ปอ้ งกันการระเหยของน้�ำในดนิ และป้องกันผิวดินเป็นแผ่นแข็ง mull ขยุ อนิ ทรีย์ อินทรียวตั ถุท่มี ีการสลายตัวสูง สว่ นใหญ่ปะปนอยใู่ นดนิ แร่ ตอนบนของดนิ ปา่ ไม้ มักมีสภาพเป็นด่าง แตกตา่ งจากการสะสม อินทรียวตั ถุบนผิวดนิ [ดู mor ประกอบ] Munsell color system ระบบสีมันเซลล์ ระบบการวัดสี ก�ำหนดโดย นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวอเมรกิ นั ชอ่ื แอลเบริ ต์ เอช. มนั เซลล์ (Albert H. Munsell) โดยใชร้ ะดบั ความสมั พนั ธข์ องตวั แปรของสี ๓ ชนดิ คอื สสี นั คา่ สี และค่ารงค์ ตวั อยา่ งเช่น 5YR 5/3 คอื สซี ่งึ มีสีสนั 133
muscovite เปน็ 5YR ค่าสเี ท่ากบั ๕ และคา่ รงค์เท่ากับ ๓ [ดู chroma, hue และ value ประกอบ] muscovite มัสโคไวต์ แร่ประกอบหินที่ส�ำคัญชนิดหน่ึงในกลุ่มแร่ไมกา มีสูตรเคมี KAl2(AlSi3O10)(OH)2 ลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ ซ้อนกัน ปรกติมีสีขาวใส แต่อาจมีสีเขียวอ่อน สีน�้ำตาลอ่อน หรือไมม่ สี ี mutualism ภาวะพึ่งพากัน การอยู่ร่วมกันอย่างใกล้ชิดของส่ิงมีชีวิตที่ ต่างกัน ๒ ชนิด และมีผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น ไรโซเบียม กบั พืชตระกูลถ่วั mycelium กลมุ่ ใยรา มวลของเสน้ ใยราจ�ำนวนมากทรี่ วมกลุ่มประสานกนั M mycophage ไมโคฟาจ เชื้อไวรัสทที่ �ำลายเช้อื รา mycorrhiza ไมคอรไ์ รซา การอยรู่ ว่ มกนั แบบภาวะพง่ึ พาของเชอื้ ราบางชนดิ กับรากพืชชนั้ สงู 134
neutron moisture meter N N natric diagnostic horizon; natric horizon ชั้นดินวินิจฉัยนาทริก ชั้นดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นช้ันดินแร่ท่ีมี การสะสมดนิ เหนยี วเชน่ เดยี วกบั ชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั อารจ์ ลิ กิ และชนั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั แคนดกิ แตม่ โี ครงสรา้ งดนิ แบบแทง่ หวั เหลยี่ ม แทง่ หวั มน หรือก้อนเหลย่ี ม มโี ซเดยี มทีแ่ ลกเปล่ยี นไดอ้ ย่างน้อยรอ้ ยละ ๑๕ หรอื อตั ราส่วนการดดู ซับโซเดยี มอยา่ งน้อยร้อยละ ๑๓ natural erosion การกรอ่ นธรรมชาติ การสญู เสยี พน้ื ผวิ โลกโดยการกระทำ� ของตวั การต่าง ๆ เชน่ น้ำ� น�ำ้ แขง็ ตวั การธรรมชาติอ่นื ๆ ภายใต้ สภาพแวดลอ้ มธรรมชาตขิ องภมู อิ ากาศ พชื พรรณ ซงึ่ ไมถ่ กู รบกวน โดยมนษุ ย์ [ดู geological erosion ประกอบ] neocutan คราบวัตถุใหม่ คราบวัตถุท่ีเกิดขึ้นใหม่จากการชะละลาย ลงมาเคลือบผนังของชอ่ งในดนิ neutralism ภาวะเป็นกลาง การอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศเดียวกันของ ส่งิ มีชวี ิตทแ่ี ตกต่างกัน ๒ ชนดิ โดยไม่มอี ิทธพิ ลต่อกนั neutral soil ดินเป็นกลาง ดินชั้นบนหรือช้ันไถพรวนท่ีมีพีเอชระหว่าง ๖.๖-๗.๓ neutron moisture meter มาตรความช้ืนนวิ ตรอน เคร่อื งมือวดั ความชน้ื ดินทีป่ ระกอบดว้ ยหวั วดั นวิ ตรอน (neutron probe) เครือ่ งวัด นิวตรอน (neutron gauge) และทอ่ ทท่ี นทานตอ่ การกดั กร่อน วัดความช้ืนโดยอาศัยหลักการชนระหว่างอนุภาคนิวตรอน ความเร็วสูงกับอะตอมของไฮโดรเจนที่เป็นองค์ประกอบของน�้ำ 135
neutron probe แล้วตรวจวัดจ�ำนวนนิวตรอนความเร็วต่�ำท่ีเกิดขึ้นซึ่งจะผันแปร โดยตรงกบั จ�ำนวนอะตอมของไฮโดรเจน neutron probe หัววัดนิวตรอน อปุ กรณ์ท่เี ปน็ แหลง่ ก�ำเนดิ ของนวิ ตรอน เคลอ่ื นท่เี ร็วในมาตรความชนื้ นวิ ตรอน [ดู neutron moisture meter ประกอบ] nitrate reduction การรีดิวซ์ไนเทรต กระบวนการเปลี่ยนไนเทรต เป็นแอมโมเนียมเพื่อการสร้างเซลล์โดยพืชและจุลินทรีย์ หรือเปล่ียนเป็นไนไทรต์โดยแบคทีเรียที่ใช้ไนเทรตเป็นตัวรับ อิเล็กตรอนในกระบวนการหายใจแบบไมใ่ ชอ้ อกซิเจน nitrification ไนทริฟิเคชัน กระบวนการทางชีวภาพที่เปลี่ยนรูปของ ไนโตรเจนจากแอมโมเนยี มเปน็ ไนไทรตแ์ ละไนเทรตโดยจลุ นิ ทรยี ์ N ทใี่ ชอ้ อกซิเจน nitrogenase ไนโทรจเี นส เอนไซมท์ จ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั กระบวนการตรงึ ไนโตรเจน ทางชีวภาพ nitrogen cycle วัฏจักรไนโตรเจน ล�ำดับการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี ของไนโตรเจน ซ่ึงเริ่มจากแก๊สไนโตรเจนถูกใช้โดยสิ่งมีชีวิต เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงจะเกิดการย่อยสลายปลดปล่อยไนโตรเจน ออกมาในรปู เดมิ nitrogen fixation; dinitrogen fixation การตรงึ ไนโตรเจน ดู dinitrogen fixation; nitrogen fixation nod factor นอดแฟกเตอร์ สารลโิ พ-โอลโิ กแซก็ คาไรด์ (lipo-oligosaccharide) ท่ีสร้างขึ้นโดยเชื้อไรโซเบียมซ่ึงชักน�ำให้เซลล์รากขนอ่อนเกิด การโคง้ งอเปลย่ี นเปน็ ปม และเซลลช์ น้ั คอรเ์ ทกซข์ องรากพชื อาศยั เกิดการแบง่ ตัว nodule ๑. ก้อนทรงมน สารประกอบทางเคมีท่ีสะสมและเชื่อมตัวกัน ในดิน โดยไมม่ กี ารจัดเรยี งตวั เปน็ ชัน้ ๆ ภายในกอ้ น 136
nose slope N ๒. โนดูล กลีบูลที่ไม่มีการแยกตัวในเน้ือดิน [ดู glaebule ประกอบ] ๓. ปม ลักษณะเนื้อเย่ือของราก ล�ำต้น และใบ ของพืชที่ ขยายใหญข่ ึ้น เกดิ จากจุลินทรยี ต์ รงึ ไนโตรเจน nodule bacteria แบคทเี รียสรา้ งปม แบคทเี รยี ท่ตี รึงไนโตรเจนซง่ึ ท�ำให้ เกดิ ปมทร่ี าก ลำ� ตน้ หรอื ใบของพชื บางครง้ั ใชใ้ นความหมายเดยี ว กบั ไรโซเบยี ม nodulin โนดูลิน โปรตีนท่ีสร้างขึ้นโดยขนรากหรือปมของพืชตระกูลถั่ว ซง่ึ เปน็ ผลจากปฏิสัมพนั ธก์ ับไรโซเบียม Noncalcic Brown soils ดนิ นอนแคลซิกบราวน์ กลุ่มดินหลักกลุม่ หน่ึงใน ระบบการจำ� แนกดนิ ประจำ� ชาตขิ องประเทศไทย เปน็ ดนิ ทเ่ี กดิ จาก ตะกอนนำ้� พาคอ่ นขา้ งใหมบ่ นพนื้ ทต่ี ะพกั ลำ� นำ�้ หรอื เนนิ ตะกอนนำ้� พารูปพัดภายใต้สภาพภูมิอากาศเขตทุ่งหญ้า ดินระบายน้�ำดี ปานกลางถึงดี ความอิ่มตัวเบสสูง มีช้ันสะสมดินเหนียวและ พบกอ้ นทรงมนของปนู ทตุ ยิ ภมู ใิ นชน้ั ดนิ ลา่ ง ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรด เล็กน้อยถึงด่างปานกลาง มีหน้าตัดดินแบบ Ap-B2t-C ชุดดิน ทสี่ ำ� คญั ของกลมุ่ ดนิ หลกั น้ี คอื ชดุ ดนิ กำ� แพงแสน ชดุ ดนิ ธาตพุ นม ชุดดนิ ก�ำแพงเพชร และชดุ ดินเพชรบุรี non-expanding clay ดินเหนียวไม่ขยายตัว แร่ดินเหนียวซิลิเกตที่ ไม่มีการขยายตัวของโครงสร้างเม่ือมีน�้ำเข้าไปภายในผลึก เชน่ เคโอลไิ นต์ nontronite นอนโทรไนต์ แรด่ ินเหนียวในกลมุ่ สเมกไทต์ทีม่ ีเฟรร์ ิกไอออน แทนท่ีอะลูมิเนียมในชั้นออกตะฮีดรอน ประจุส่วนใหญ่เกิดจาก ซลิ คิ อนแทนทีอ่ ะลูมิเนยี มในช้ันเททระฮดี รอน nose slope ความลาดรูปจมูก ความลาดลักษณะโค้งนูนยื่นออกคล้าย สันจมูกเม่ือมองจากด้านบน ท�ำให้น้�ำไหลบ่าแยกออกจากกัน บนผวิ หน้าดิน 137
no tillage; zero tillage no tillage; zero tillage การไม่ไถพรวน การปลกู พชื โดยไมม่ ีการไถพรวน ดนิ เพ่ือการอนรุ กั ษ์ดนิ และน�้ำ nozzle หัวฉีดน้�ำ ส่วนปลายของหัวปล่อยน�้ำท่ีเป็นช่องเปิดให้น�้ำออก ใช้ในการควบคุมปริมาตร ควบคุมแบบรูปการกระจาย และ ควบคมุ ขนาดของหยดนำ้� nutrient สารอาหาร ธาตหุ รือสารประกอบท่ีจำ� เปน็ ซงึ่ เป็นวัตถดุ บิ สำ� หรบั การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของส่ิงมชี ีวติ nutrient antagonism สภาวะปฏปิ กั ษ์ของสารอาหาร การทีธ่ าตอุ าหาร ชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดยับย้ังการดูดใช้หรือลดความเป็น ประโยชนข์ องธาตอุ าหารพชื อกี ชนิดหนึ่ง nutrient balance สมดลุ สารอาหาร อตั ราสว่ นความเขม้ ขน้ ของธาตอุ าหาร N พชื ตงั้ แต่ ๒ ชนดิ ขน้ึ ไปทเี่ หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการให้ ผลผลติ ของพชื nutrient deficiency การขาดสารอาหาร สภาวะที่มีธาตุอาหารพืช ในความเข้มข้นต่�ำ ท�ำให้การเจริญเติบโตของพืชลดลงหรือ ไมส่ ามารถเจริญเติบโตไดค้ รบตามวัฏจกั รชวี ิต nutrient efficient plant พืชมีประสิทธิภาพดูดสารอาหาร พืชที่ดูด เคลอ่ื นยา้ ย หรอื ใชป้ ระโยชนจ์ ากธาตอุ าหารทจี่ ำ� เพาะไดม้ ากกวา่ พืชอื่นภายใต้สภาวะท่ีความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน หรือวสั ดปุ ลูกคอ่ นข้างต่�ำ nutrient interaction ปฏิสัมพันธ์สารอาหาร การตอบสนองต่อธาตุ อาหารใดธาตุอาหารหน่ึงของพืชท่ีเปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีการ ใหธ้ าตุอาหารนัน้ รว่ มกบั ธาตุอาหารอน่ื ๆ nutrient stress ความเคน้ สารอาหาร สภาวะท่ธี าตุอาหารที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณน้อยจนไม่พอกับความต้องการ หรือมีปริมาณมาก จนเปน็ พิษ ท�ำใหก้ ารเจริญเตบิ โตของพืชลดลง 138
n-value nutrient toxicity ความเปน็ พษิ จากสารอาหาร ความเสยี หายของคณุ ภาพ สถานะ หรือผลผลิตของพืช ซึ่งเกิดจากความเข้มข้นของธาตุ อาหารท่ีจำ� เปน็ มีปริมาณมากเกนิ พอในพืช n-value ค่า n ค่าแสดงความสัมพันธ์ระหว่างร้อยละของนำ�้ ในดนิ ในสภาพ ธรรมชาตกิ บั รอ้ ยละของดนิ เหนยี วและอนิ ทรยี วตั ถุ ใชใ้ นการคาด คะเนการรบั น้�ำหนกั ของดินเม่อื มกี ารระบายน�ำ้ ออก มีสตู รค�ำนวณดงั นี้ เม่อื A คอื รอ้ ยละของน้ำ� ในดินในสภาพธรรมชาติ N R คือ ร้อยละของทรายแป้งรวมกบั ทราย L คอื รอ้ ยละของดนิ เหนียว และ H คอื ร้อยละของอินทรียวัตถุ หรือร้อยละคาร์บอน อินทรยี ์ x ๑.๗๒๔ 139
ochric epipedon O ochric epipedon ชน้ั ดนิ วินิจฉยั ออคริก ชนั้ ดนิ บนวนิ ิจฉยั ในระบบอนุกรม วิธานดิน เป็นชัน้ ดนิ แร่ มีสจี างมาก มีคา่ รงคส์ ูง และมีคาร์บอน อินทรีย์น้อยมาก เป็นชั้นดินที่บางเกินกว่าจะจ�ำแนกเป็นช้ันดิน วนิ จิ ฉัยอ่นื ๆ แนน่ และแขง็ เม่ือแหง้ O horizon ชั้นโอ ช้ันดินหลักที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นวัสดุอินทรีย์ และซากพืชท่ียังไม่สลายตัวหรือมีบางส่วนสลายตัวแล้ว [ดู soil O horizon ประกอบ] oligotrophs สิ่งมีชีวิตใช้สารอาหารน้อย สิ่งมีชีวิตที่สามารถเจริญเติบโต ในสภาพแวดลอ้ มท่มี ีสารอาหารจ�ำกัด olivine โอลิวีน แร่ประกอบหินกลุ่มหน่ึงซึ่งประกอบด้วยซิลิเกต ของแมกนีเซียมและเหล็ก มีสูตรเคมี (Mg, Fe)2SiO4 มีสีเขียว พบมากในหนิ อัคนีสเี ข้มชนิดเมฟกิ และชนิดอลั ตราเมฟิก order อันดับ ๑. หน่วยขั้นสูงสุดของการจ�ำแนกในระบบการจ�ำแนกดิน ของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมรกิ า พ.ศ. ๒๔๘๑ (ค.ศ. ๑๙๓๘) จ�ำแนกดินเป็น ๓ อันดับ ได้แก่ ดินโซนัล ดินอินทราโซนัล และดนิ เอโซนลั ๒. หน่วยข้ันสูงสุดของการจ�ำแนกในระบบอนุกรมวิธานดิน การจ�ำแนกดินเป็นอันดับต่าง ๆ พิจารณาจากการมีหรือไม่มี ช้ันดินวินิจฉัยตามข้อก�ำหนดของแต่ละอันดับและลักษณะเด่น ซึ่งเป็นผลมาจากกระบวนการเกิดดิน โดยจ�ำแนกดินเป็น ๑๒ อันดบั ไดแ้ ก่ แอลฟิซอลส์ แอนดิซอลส์ แอรดิ ิซอลส์ เอนทิซอลส์ 140
Orthents O เจลิซอลส์ ฮสิ โทซอลส์ อินเซปทซิ อลส์ มอลลิซอลส์ ออกซซิ อลส์ สปอโดซอลส์ อัลทซิ อลส์ และเวอรท์ ซิ อลส์ organan คราบอินทรยี วตั ถุ วัสดุอนิ ทรยี ์ทเี่ คลือบบาง ๆ อยบู่ นผวิ เมด็ ดิน หรอื ในช่องดนิ organic farming เกษตรอินทรยี ์ ระบบการผลิตพชื และสัตวท์ ีไ่ มใ่ ช่จีเอ็มโอ และไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ยเคมี สารก�ำจัดศัตรูพืช สารควบคมุ การเจรญิ เติบโต สารเตมิ แต่งอาหารสัตว์ organic fertilizer ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ วสั ดทุ ไี่ ดจ้ ากกระบวนการแปรรปู พชื และสตั ว์ ทมี่ ีธาตอุ าหารเปน็ องค์ประกอบในปริมาณท่ใี ช้เปน็ ปยุ๋ ได้ ตามพระราชบญั ญัติปุ๋ย (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ปยุ๋ อนิ ทรีย์ หมายถึง ปุ๋ยทไ่ี ดห้ รือทำ� มาจากวัสดอุ ินทรยี ์ ซ่ึงผลิตดว้ ยกรรมวธิ ี ทำ� ใหช้ นื้ สบั หมกั บด ร่อน สกดั หรือด้วยวธิ กี ารอืน่ และวัสดุ อินทรีย์ถูกย่อยสลายสมบูรณ์ด้วยจุลินทรีย์แต่ไม่ใช่ปุ๋ยเคมี และปุย๋ ชีวภาพ organic soil ดินอินทรีย์ ดินท่ีประกอบด้วยอินทรียวัตถุเป็นส่วนใหญ่ โดยมคี ารบ์ อนอนิ ทรยี ม์ ากกวา่ รอ้ ยละ ๒๐ (๒๐๐ กรมั ตอ่ กโิ ลกรมั ) หรือมีความหนาของช้ันวัสดุอินทรีย์รวมกันมากกว่าความหนา ของชั้นวัสดุอนินทรีย์รวมกันภายใน ๘๐ เซนติเมตรจากผิวดิน [ดู mineral soil ประกอบ] organotroph ออร์กาโนโทรฟ ดู chemoorganotroph Orthents ออเทนตส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ เอนทซิ อลสใ์ นระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ทม่ี ลี กั ษณะและสมบตั แิ ตกตา่ งจากอนั ดบั ย่อยวาสเซนตส์ อันดับย่อยแอเควนตส์ อันดับย่อยแซมเมนตส์ และอันดับย่อยฟลูเวนตส์ ตัวอย่างชุดดินในประเทศไทยของ อนั ดบั ยอ่ ยนี้ คอื ชดุ ดนิ ระนอง และชดุ ดนิ หว้ ยยอด [ดู Aquents, Fluvents, Psamments และ Wassents ประกอบ] 141
orthoclase feldspar orthoclase feldspar ออรโ์ ทเคลสเฟลด์สปาร์ แร่ชนดิ หนง่ึ ของกลุ่มแร่ แอลคาไลเฟลด์สปาร์ มีสูตรเคมี KAlSi3O8 (โพแทสเซียม แอนไฮดรัสอะลูมิโนซิลิเกต) มีสีขาว สีนวล สีเน้ือ สีชมพู หรอื สเี ทา Orthods ออทอดส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินสปอโดซอลส์ใน ระบบอนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซงึ่ มลี กั ษณะและสมบตั ติ า่ งไปจาก อันดับย่อยแอควอดส์ อันดับย่อยเจลอดส์ อันดับย่อยไครออดส์ และอนั ดบั ยอ่ ยฮวิ มอดส์ ตวั อยา่ งชดุ ดนิ ในประเทศไทยของอนั ดบั ย่อยน้ี คือ ชุดดินท่าอุเทน และชุดดินบ้านทอน [ดู Aquods, Cryods, Gelods, Humods และ Spodosols ประกอบ] Orthophosphate ออร์โทฟอสเฟต เกลือของกรดออร์โทฟอสฟอริก เช่น แอมโมเนียมมอโนไฮโดรเจนฟอสเฟต [(NH4)2HPO4] แคลเซยี มมอโนไฮโดรเจนฟอสเฟต (CaHPO4) โพแทสเซยี มมอโน ไฮโดรเจนฟอสเฟต (K2HPO4) ortstein ออร์ตสไตน์ ช้นั ดนิ ล่างทีม่ กี ารเชือ่ มแข็งในดินพอดซอลส์ ปัจจุบัน เป็นชน้ั ดินเชอื่ มแข็งของช้นั ดินวินิจฉยั สปอดิก osmotic potential ศักยอ์ อสโมซสิ พลงั งานศกั ยท์ ่ีเกิดขนึ้ จากแรงดงึ น�ำ้ เน่ืองจากความแตกต่างของความเข้มข้นระหว่างสารละลาย กับน้ำ� บริสทุ ธ์ิ outer sphere adsorption การดูดซบั รอบนอก การดดู ซับของไอออน ท่ีแลกเปลี่ยนได้บริเวณรอบนอกผิวอนุภาคคอลลอยด์ด้วย แรงไฟฟ้าสถติ (electrostatic) outwash plain ท่ีราบเศษหินธารน�้ำแขง็ ที่ราบซง่ึ ประกอบไปดว้ ยเศษหิน ธารน้�ำแข็ง พบเป็นดาดเศษหินอยู่ตอนปลายธารน�้ำแข็ง ภาษา ทอ้ งถิ่นในแถบไอซแ์ ลนดเ์ รียก ซนั ดร์ (sandr) ซันดาร์ (sandar) หรอื ซนั ดรู ์ (sandur) 142
oxidation oven-dry soil ดนิ อบแหง้ ดนิ ที่ผ่านการอบใหแ้ หง้ ทอ่ี ณุ หภมู ิ ๑๐๕ องศา เซลเซียส จนกระทัง่ นำ�้ หนกั คงที่ overburden ๑. วัสดุทับหน้าดิน วัสดุที่เคล่ือนย้ายและเพ่ิงมาทับถม บนชนั้ ผิวหน้าดินเดิม ๒. ช้ันปิดทับ ช้ันวัสดุท่ีปกคลุมอยู่บนแหล่งสินแร่ ลิกไนต์ หรือถ่านหิน ในการท�ำเหมืองแร่ ต้องขุดหรือตักวัตถุเหล่านี้ ออกกอ่ น จึงจะสามารถนำ� แรห่ รอื ถ่านหินออกมาใชไ้ ด้ oxbow lake ทะเลสาบรปู แอก บึงหรอื ทะเลสาบรปู โคง้ คล้ายแอก เกดิ จาก การทที่ างนำ้� โคง้ ตวดั เปลยี่ นเสน้ ทางจากการไหลตามแนวโคง้ เดมิ เป็นตัดตรง ท�ำให้ล�ำน้�ำโค้งเดิมถูกตัดขาดกลายเป็นทะเลสาบ รปู แอก oxic diagnostic horizon; oxic horizon ชั้นดินวินิจฉัยออกซิก ช้ันดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นช้ันดินแร่ที่มี ความหนาอยา่ งนอ้ ย ๓๐ เซนตเิ มตร มแี รป่ ฐมภมู ทิ ผี่ พุ งั งา่ ยไมเ่ กนิ ร้อยละ ๑๐ ไม่มีแร่ดินเหนียวชนิด ๒ : ๑ มีแร่ดินเหนียว ชนิด ๑ : ๑ มีแร่ท่ีละลายยาก (เช่น ควอตซ์) มีออกไซด์และ ไฮดรอกไซด์ของเหล็กและอะลูมิเนียม ไม่มีแร่ดินเหนียว ประเภทฟุ้งกระจายได้ในน้�ำ มีความจุแคตไอออนแลกเปลี่ยน ได้ไม่เกนิ ๑๖ เซนติโมลตอ่ กิโลกรมั ดินเหนยี ว oxidation ออกซิเดชัน, การออกซิไดส์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีสูญเสีย อิเลก็ ตรอน ท�ำใหเ้ ลขออกซเิ ดชนั เพ่ิมขึ้น ดงั สมการ Zn0(s) → Zn2+(aq)+2e- 143
Oxisols Oxisols ออกซซิ อลส์ อันดบั ดินอนั ดับหน่ึงในการจ�ำแนกตามระบบอนุกรม วธิ านดนิ เปน็ ดนิ แรท่ ม่ี ชี น้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั ออกซกิ แตไ่ มม่ ชี น้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั แคนดกิ ภายใน ๑๕๐ เซนตเิ มตรจากผิวดินแร่ หรอื ดินมีอนภุ าค ดนิ เหนียวเฉลี่ยโดยน้�ำหนักตง้ั แต่ร้อยละ ๔๐ ขน้ึ ไปในชว่ งผิวดิน แร่ถึงความลึก ๑๘ เซนติเมตร และต้องมีชั้นดินวินิจฉัยแคนดิก ซึ่งมีแร่ที่สลายตัวง่ายตามข้อกําหนดของช้ันดินวินิจฉัยออกซิก (น้อยกว่าร้อยละ ๑๐) ภายในความลึก ๑๐๐ เซนติเมตรจาก ผวิ ดนิ แร่ ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดนิ ออกซิซอลสจ์ าํ แนกเปน็ อันดบั ย่อย ดงั นี้ แอควอ็ กซ์ (Aquox) ยูดอกซ์ (Udox) อัสทอกซ์ (Ustox) เพรอกซ์ (Perox) O และทอร์รอกซ์ (Torrox) โดยอันดับย่อยท่ีพบในประเทศไทย ได้แก่ ยดู อกซแ์ ละอัสทอกซ์ [ดู kandic diagnostic horizon; kandic horizon และ oxic diagnostic horizon; oxic horizon ประกอบ] oxyaquic condition สภาพออกซิแอควิก สภาพดินบนท่ีอิ่มตัวด้วยน้�ำ แต่ไมเ่ กิดการรีดิวซ์และไมม่ ีสภาพรีดอกซ์ oxytropic ออกซทิ รอปกิ การตอบสนองของสงิ่ มชี วี ิตในสภาวะมีออกซเิ จน 144
paralithic contact P P paleosol ดินบรรพกาล ดนิ ท่ีเกิดอยใู่ นภมู ปิ ระเทศในอดตี กาล มีลกั ษณะ สัณฐานเฉพาะตัวท่ีเป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมของการเกิดดิน ในอดีตท่ีไม่ปรากฏในบริเวณน้ันแล้ว กระบวนการเกิดดิน ในอดีตอาจมาจากการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอก หรือการหยุดชะงักของกระบวนการเกิดดินโดยการฝังกลบ ดนิ บรรพกาลอาจถกู จดั เปน็ สว่ นทเี่ หลอื (relic) ดงั ปรากฏใหเ้ หน็ บนพ้ืนดิน และไม่มีการแปรเปลี่ยนอย่างรุนแรงของลักษณะ สณั ฐานโดยกระบวนการเกดิ ดนิ ดนิ บรรพกาลทถี่ กู ฝงั อาจปรากฏ ให้เห็นบนพนื้ ผิววา่ เปน็ ดินท่ีเคยถกู ทับถม pan ชั้นดาน ๑. ช้นั ใตช้ ั้นดนิ บนท่ีน้�ำไหลซึมผ่านได้ในอตั ราทต่ี �่ำหรือต่�ำมาก และมีสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีต่างจากช้ันดินที่อยู่ ดา้ นบนและดา้ นลา่ ง ชน้ั ดนิ นเี้ กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตจิ ากการเชอ่ื มตวั ของอนภุ าคดนิ โดยสารเชอื่ ม ๒. ชน้ั ใตช้ น้ั ดนิ บนทมี่ คี วามหนาแนน่ รวมสงู และความพรนุ ตำ่� กวา่ ช้ันดินที่อยู่ด้านบนและด้านล่าง ซ่ึงเป็นผลจากแรงดันเน่ืองจาก การไถพรวนหรือการกระท�ำอื่น ๆ ของมนุษย์ ท�ำให้ดินช้ันล่าง อดั ตัวกันแน่น paralithic contact แนวสัมผัสหินเนื้ออ่อน แนวสัมผัสระหว่างช้ันดิน กับชั้นหินเน้ืออ่อนท่ีมีความแข็งน้อยกว่า ๓ ตามมาตราโมส์ การขดุ ดว้ ยพล่วั มือท�ำไดค้ ่อนขา้ งยาก และเศษช้นิ ส่วนขนาดเลก็ จะมีบางส่วนกระจายเม่ือเขย่าในน้�ำหรือในสารละลายโซเดียม เฮกซะเมทาฟอสเฟตนาน ๑๕ ชว่ั โมง [ดู lithic contact ประกอบ] 145
parasitism parasitism ภาวะปรสิต, ภาวะเบียน การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่ ๒ ชนิดข้ึนไป โดยส่ิงมีชีวิตชนิดหนึ่ง (ผู้เบียดเบียน) ได้รับ ประโยชน์ แต่สง่ิ มีชวี ติ อกี ชนดิ หน่ึง (ผใู้ ห้อาศยั ) เสยี ประโยชน์ parent material วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ อนนิ ทรยี สาร (หนิ และแร)่ หรอื อนิ ทรยี วตั ถุ ท่ีไม่จับตัวกันแน่น สลายตัวผุพังกลายเป็นดินและมีการพัฒนา ตอ่ ไปโดยกระบวนการทางดนิ parna พารน์ า ส่ิงทับถมลมพาขนาดเท่าเม็ดทรายหรือทรายแป้ง เกิดเปน็ แผน่ บนผิวหนา้ ดนิ จากการจบั ตัวกนั ของอนภุ าคดนิ เหนียว particle density; grain density ความหนาแน่นอนุภาค อัตราส่วน ระหว่างน้�ำหนักของอนุภาคดินแห้งกับปริมาตรของอนุภาคนั้น มีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หรือเมกะกรัมต่อ ลกู บาศกเ์ มตร [ดู soil bulk density ประกอบ] P particle organic matter อินทรยี วตั ถุขนาดเล็ก สว่ นของอนิ ทรยี วตั ถทุ ่ี ประกอบดว้ ยเนื้อเยอื่ พืชขนาดเลก็ ทบี่ างสว่ นสลายตวั particle size ขนาดอนภุ าค เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางสมมลู ของอนภุ าค มี ๓ ขนาด ได้แก่ ขนาดทราย ขนาดทรายแป้ง และขนาดดินเหนียว [ดู particle size analysis ประกอบ] particle size analysis การวิเคราะห์ขนาดอนุภาค การหาปริมาณ ของอนุภาคดินแต่ละขนาด โดยปรกติใช้วิธีตกตะกอน การร่อน ด้วยตะแกรง หรอื ใช้ท้ัง ๒ วธิ รี วมกัน particle size class ช้นั ขนาดอนุภาคดิน ค�ำที่ใช้จ�ำแนกดนิ ในระดับวงศ์ ของระบบอนุกรมวิธานดิน เช่น ชั้นขนาดอนุภาคดินเหนียว (clayey) ช้นั ขนาดอนุภาคดินรว่ น (loamy) ชั้นขนาดอนภุ าค ดินทรายแป้ง (silty) ชัน้ ขนาดอนภุ าคดินทราย (sandy) particle size distribution การกระจายขนาดอนุภาค สดั สว่ นของกล่มุ ขนาดอนภุ าคดนิ ตา่ ง ๆ ในตวั อยา่ งดนิ สว่ นใหญแ่ สดงเปน็ รอ้ ยละ ของมวล [ดู soil separate ประกอบ] 146
pebble P passive absorption การดดู ซมึ แบบไมใ่ ชพ้ ลงั งาน การเคลอื่ นทข่ี องไอออน และนำ้� โดยการแพรจ่ ากภายนอกทมี่ คี วามเขม้ ขน้ สงู เขา้ ไปในเซลล์ พชื ซง่ึ มคี วามเขม้ ข้นต่ำ� กว่า passive transport การลำ� เลยี งแบบไมใ่ ชพ้ ลงั งาน การลำ� เลยี งสารเขา้ ออก เซลล์ที่เกิดขึ้นโดยที่เซลล์ไม่ใช้พลังงาน มักเกิดจากการแพร่ จากบรเิ วณท่มี คี วามเข้มขน้ สูงไปยังบริเวณทม่ี คี วามเขม้ ข้นตำ่� pasteurization การฆ่าเช้ือวิธีปาสเตอร์ กระบวนการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ บางส่วนของดิน ของเหลว และสารอ่ืน ๆ ด้วยความร้อนใน ระยะเวลาและอุณหภมู ทิ ่กี �ำหนด patterned ground พนื้ ดนิ ลวดลาย บรเิ วณพนื้ ดนิ ทเ่ี กดิ เปน็ แบบรปู ตา่ ง ๆ เชน่ รปู วงกลม รปู เหล่ียม ลายขวาง มกั เกดิ ในบรเิ วณท่ีมีช้ันดิน เยอื กแขง็ คงตัว peat พีต วัสดุดินอินทรีย์ท่ีมีการผุพังสลายตัวน้อยมาก ส่วนใหญ่ยังคง สภาพเดิม และระบุได้วา่ เป็นสว่ นใดของพชื [ดู muck ประกอบ] peat and muck soils ดินพีตและดินมัก กลุ่มดินหลักกล่มุ หนึง่ ในระบบ การจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินอินทรีย์ เกิดในพื้นที่ลุ่มน้�ำขังตลอดปีหรือเกือบตลอดปี ดินมีการระบาย น้�ำเลว เกิดจากการทับถมของวัสดุดินอินทรีย์เป็นช้ันหนา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก หน้าตัดดินแบบ Og-Ag-Cg ชดุ ดนิ ทส่ี ำ� คญั ของกลมุ่ ดนิ หลกั น้ี คอื ชดุ ดนิ นราธวิ าส และชุดดินกาบแดง [ดู muck soil และ peat soil ประกอบ] peat soil ดนิ พีต ดนิ อินทรียซ์ ึง่ มเี ศษพชื สลายตวั นอ้ ยมาก สว่ นใหญ่ยังคง สภาพเดมิ และระบไุ ดว้ า่ เปน็ สว่ นใดของพชื มคี วามหนาของชน้ั ดนิ อนิ ทรยี ์รวมกันมากกว่าความหนาของชัน้ ดนิ แร่รวมกนั pebble กรวดกลาง ช้ินส่วนเศษหินหรือแร่รูปทรงกลมหรือค่อนข้างกลม มเี สน้ ผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ ๒-๗๕ มลิ ลิเมตร 147
ped; soil ped ped; soil ped ก้อนดิน มวลดนิ หรอื หนว่ ยโครงสรา้ งดนิ ทเี่ กดิ จากการจบั ตัว กันตามธรรมชาติของอนุภาคดิน มีรูปร่างหลายแบบ เช่น แบบกอ้ นเหลีย่ ม แบบแทง่ แบบทรงกลม แบบแผน่ pedalfer เพดัลเฟอร์ ดินท่ีมีสารประกอบจ�ำพวกอะลูมิเนียมออกไซด์ และเหล็กออกไซด์จ�ำนวนมาก มีการชะละลายของเบสสูง พบในบรเิ วณที่มฝี นตกชุก pediment ลาดเชงิ เขาสกึ กรอ่ น ลาดเชิงเขาที่เอียงเทเลก็ นอ้ ย เป็นทร่ี าบ ลักษณะลูกคลื่นเล็ก ๆ มีพ้ืนผิวกว้าง เกิดจากการกระท�ำ ของทางนํ้าในแถบทะเลทรายหรือก่ึงทะเลทราย ลาดเชิงเขา ต่อจากไหล่เขาแบบมุมป้านเกิดจากการผุพังแบบถอยหลัง ของไหล่เขาด้านหน้า โดยปรกติพื้นผิวจะเป็นชั้นหินท่ีไม่มีอะไร ปกคลุม หรืออาจมีชั้นตะกอนนํ้าพาท่ีมาจากภูเขาสูงปกคลุม P เปน็ ช้นั บาง ๆ pedocal เพโดคัล ดินประเภทที่มีสารประกอบจ�ำพวกแคลเซยี มคาร์บอเนต จ�ำนวนมาก มีการชะละลายน้อย พบในบริเวณท่ีมีฝนตกน้อย หรือค่อนขา้ งแหง้ แลง้ pedology ปฐพวี ทิ ยา วทิ ยาศาสตรแ์ ขนงหนง่ึ ทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั ดนิ ดา้ นสณั ฐาน การก�ำเนดิ การจำ� แนก การตรวจสอบลกั ษณะ และพัฒนาการ pedon พีดอน หน่วยเล็กท่ีสดุ ของดินแต่ละชนิดท่ใี ชเ้ ป็นตวั แทนและจำ� แนก ลักษณะได้ครบถ้วน มีลักษณะเป็น ๓ มิติ มีพื้นที่ต้ังแต่ ๑-๑๐ ตารางเมตร ถ้าช้ันดินมีความต่อเนื่องและมีความหนาสม่�ำเสมอ พดี อนจะมพี น้ื ทเี่ พยี ง ๑ ตารางเมตร ถา้ ชนั้ ดนิ มคี วามผนั แปรมาก พดี อนจะมพี นื้ ทม่ี ากกว่า ๑ ตารางเมตร pedoturbation การรบกวนดิน การผสมปนกันของดินหรือตะกอนด้วย กระบวนการต่าง ๆ เช่น การขุดรูของสัตว์ การไชชอนของราก ตน้ ไม้ 148
perched water table P peneplain พื้นเกือบราบ ภูมิประเทศท่เี กิดจากการผุพงั ดว้ ยกระบวนการ กร่อนท�ำลายโดยน้�ำ ท�ำให้พ้ืนที่สูงเดิมซึ่งขรุขระและสูงต่�ำ แตกตา่ งกนั มากมรี ะดบั ตำ�่ ลงจนมลี กั ษณะคลา้ ยลกู คลนื่ ลอนลาด หรือพื้นทเี่ กอื บราบ penetrability สภาพแทงทะลุได้ สมบัติของดินท่ีบ่งช้ีความยากง่าย ในการแทงทะลผุ า่ นดนิ ของหวั ตรวจ (probe) อาจรายงานผลเปน็ ระยะทาง ความเรว็ แรง หรอื งาน ขึน้ อยูก่ ับชนิดของเคร่อื งมอื penetration resistance ความต้านทานการแทงทะลุ สมบัตขิ องดนิ ท่ี ต้านทานต่อการแทงทะลขุ องหัวตรวจ (probe) penetrometer มาตรการแทงทะลุ เครอ่ื งวดั ความตา้ นทานตอ่ การแทงทะลุ ในทางปฐพีวิทยา มีหัววัดของมาตรเป็นรูปกรวย [ดู cone penetrometer ประกอบ] peninsula คาบสมุทร ส่วนของแผ่นดินท่ีมีน้�ำล้อมเกือบรอบ โดยปรกติ จะต่อเนื่องกับแผ่นดินใหญ่เป็นคอคอด หรือย่ืนยาวออกไป ในทะเล peraquic soil moisture regime ระบอบความช้ืนดนิ แบบเพอราควิก สภาพความชื้นของดินในช่วงควบคุม ดินอ่ิมตัวด้วยน�้ำเป็นเวลา นาน มนี ำ้� ทว่ มบนผวิ ดนิ สมำ่� เสมอ เปน็ ดนิ ทพ่ี บในบรเิ วณทล่ี มุ่ ราบ น�้ำข้ึนถึง (tidal marsh) perched water table ระดับน�้ำใต้ดินเทียม ระดับน�้ำใต้ดินส่วนที่แยก อยู่ต่างหาก และอยู่สูงกว่าระดับน�้ำใต้ดินท่ัวไปในบริเวณนั้น เนือ่ งจากมีชั้นหนิ เน้อื ตันหรือชัน้ ดนิ แน่นทึบรองรับอยู่ 149
percolation percolation การไหลซึมผ่าน การไหลของน้�ำผ่านดินลงสู่เบ้ืองล่าง โดยเฉพาะเมอื่ หน้าตดั ดินอิม่ ตัวหรอื เกือบอ่ิมตวั ด้วยน�้ำ perennial stream; permanent stream ธารนำ้� ไหลตลอดปี ล�ำธารท่ี มนี ้�ำไหลตลอดปี เวน้ แตจ่ ะเกดิ ความแหง้ แล้งมาก pergelic soil temperature regime ระบอบอุณหภมู ิดินแบบเพอรเ์ จลิก ชั้นอุณหภูมิดินซ่ึงมีค่าอุณหภูมิดินรายปีเฉลี่ยต่�ำกว่า ๐ องศา เซลเซียส มีช้ันเยือกแข็งถาวรปรากฏอยู่ [ดู permafrost ประกอบ] permafrost ช้ันเยือกแข็งถาวร ช้ันดินหรือชั้นวัสดุใต้ช้ันดินที่เย็นจัด จนเป็นนำ้� แขง็ อยา่ งถาวร permanent charge ประจถุ าวร ประจทุ ไ่ี มผ่ นั แปรไปตามการเปลย่ี นแปลง พีเอชหรือการแลกเปลี่ยนไอออนของดนิ P permanent stream; perennial stream ธารนำ�้ ไหลตลอดปี ดู perennial stream; permanent stream permanent wilting point จดุ เห่ยี วถาวร ระดบั ความชน้ื สูงสุดของดนิ ซึ่งท�ำให้พืชท่ีปลูกทดสอบแสดงอาการเห่ียว และไม่สามารถ ฟน้ื ตวั ได้ในสภาวะบรรยากาศทม่ี คี วามชนื้ สูง นำ้� ในดนิ นถ้ี กู ดึงไว้ ดว้ ยแรงประมาณ ๑.๕ เมกะพาสคัล permeability สภาพซึมได้ ความยากงา่ ยในการเคล่ือนท่ีของของไหล เชน่ แก๊สหรือของเหลวไหลผ่านช้ันดิน [ดู intrinsic permeability ประกอบ] permeameter มาตรสภาพการซึม เครื่องมือที่ใช้วัดสภาพซึมได้ของดิน หรอื ตัวกลางท่มี ีรพู รุน Perox เพรอกซ์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินออกซิซอลส์ในระบบ อนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งมีระบอบความช้ืนดินแบบเพอรูดิก ไมพ่ บอนั ดบั ยอ่ ยนใ้ี นประเทศไทย [ดู Oxisols และ perudic soil moisture regime ประกอบ] 150
petrogypsic diagnostic horizon; petrogypsic horizon P perudic soil moisture regime ระบอบความชื้นดนิ แบบเพอรดู กิ สภาพ ความชื้นของดินในช่วงควบคุมท่ีมีสภาพเหมือนกับระบอบ ความช้ืนดินแบบยูดิก แต่มีปริมาณหยาดน้�ำฟ้าสูงกว่าอัตราการ คายระเหยในทกุ ๆ เดือนของปีปรกติ แรงดงึ ของนำ�้ ในดินในช่วง ควบคุม ส่วนใหญ่จะสูงไม่ถึง -๑๐๐ กิโลพาสคัล มีน้�ำเคลื่อน ผ่านดนิ ทุกเดอื นในชว่ งที่ไม่อย่ใู นสภาพแช่แข็ง petrified wood ไม้กลายเปน็ หิน เน้ือไม้ท่กี ลายสภาพเป็นหนิ เน่ืองจาก สารละลายแรซ่ งึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ ซลิ กิ าเขา้ ไปแทนทเี่ นอ้ื ไมอ้ ยา่ งชา้ ๆ คือแทนที่โมเลกุลต่อโมเลกุล จนกระท่ังแทนท่ีทั้งหมดโดยไม่มี การเปลยี่ นแปลงรูปร่างและโครงสร้าง petrocalcic diagnostic horizon; petrocalcic horizon ชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั เพโทรแคลซิก ชั้นดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นชั้นดินแร่ที่เช่ือมตัวกันแน่นแข็งอย่างต่อเนื่องด้วยแคลเซียม คาร์บอเนต และบางพื้นท่ีเป็นแมกนีเซียมคาร์บอเนต เมื่อแห้ง ใช้พลั่วมือขุดหรือใช้สว่านเจาะดินเจาะทะลุผ่านไม่ได้ และไม่ แตกตัวเม่ือแกว่งในน�้ำ รากพืชชอนไชผ่านไม่ได้ ช้ันดินน้ีต้องมี ความหนาไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐ เซนติเมตร petroferric contact แนวสัมผัสเพโทรเฟร์ริก แนวสัมผัสระหว่างดิน กับวัสดุที่จับตัวกันแข็งอย่างต่อเนื่องด้วยสารเช่ือมจ�ำพวกเหล็ก เป็นสว่ นใหญ่ และมอี นิ ทรยี วตั ถเุ ปน็ สว่ นนอ้ ยหรอื ไมม่ กี ็ได้ petrogypsic diagnostic horizon; petrogypsic horizon ชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั เพโทรยิปซิก ช้ันดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นช้ันดินแร่ที่เชื่อมตัวกันแน่นแข็งอย่างต่อเนื่องด้วยยิปซัม เม่ือแห้งท�ำให้แตกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ได้ด้วยพล่ัว แต่ไม่แตกตัว เม่อื แกว่งในน�้ำ รากพืชชอนไชผ่านไม่ได้ ชน้ั ดนิ นีต้ อ้ งมคี วามหนา อย่างน้อย ๑๐ เซนตเิ มตร มียิปซมั อยา่ งนอ้ ยร้อยละ ๕ โดยทัว่ ไป 151
pF มักพบมากกว่าร้อยละ ๖๐ และผลคูณระหว่างความหนา เปน็ เซนตเิ มตรกบั คา่ รอ้ ยละของยปิ ซมั ตอ้ งมคี า่ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๕๐ pF พเี อฟ ค่าลอการิทึมของค่าความตึงวัสดุพ้ืนซ่ึงมีหน่วยเป็นความสูงของ น้�ำ และมีคา่ เป็นลบ คำ� นวณไดจ้ ากสมการ pF = log(h) เมอื่ h คือ ความตึงวัสดุพ้ืน (matric tension) มีหน่วยเป็น ความสูงของน�ำ้ (เซนตเิ มตร) pH dependent charge ประจขุ น้ึ กับพเี อช ประจุบนพ้ืนผิวของอนุภาค ดนิ เหนียวท่ีผนั แปรตามพีเอชของดนิ phosphate ฟอสเฟต ค�ำท่ีใช้ทางการค้าปุ๋ย หมายถึง กรดฟอสฟอริกท่ี เป็นประโยชน์ (P2O5) ซึ่งเป็นผลรวมของฟอสฟอรัสท่ีละลาย ในน้ำ� และละลายในแอมโมเนียมซิเทรต P phosphate fertilizer ปยุ๋ ฟอสเฟต ปยุ๋ ทม่ี อี นมุ ลู ฟอสเฟตเปน็ องคป์ ระกอบ phosphate rock หินฟอสเฟต หินตะกอนหรือหินอัคนีซึ่งมีแคลเซียม ฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ น�ำมาใช้เป็นปุ๋ยได้โดยตรง หรอื ใช้เปน็ วตั ถดุ บิ สำ� หรบั ผลิตป๋ยุ ฟอสเฟตในเชิงพาณชิ ย์ phosphobacteria ฟอสฟอแบคทเี รยี แบคทเี รยี ทสี่ ามารถเปลยี่ นฟอสฟอรสั อนิ ทรีย์ให้อยูใ่ นรปู ของออร์โทฟอสเฟตซึง่ เป็นเคมี phosphoric acid กรดฟอสฟอรกิ ๑. ในการผลติ ป๋ยุ เชงิ พาณิชย์หมายถึง กรดออร์โทฟอสฟอริก (H3PO4) ๒. ในฉลากปุ๋ยหมายถึง ความเข้มข้นของฟอสเฟตในรูปของ ฟอสฟอรสั ท่เี ปน็ ประโยชน์ ระบเุ ป็นร้อยละของ P2O5 phosphorus fixation การตรึงฟอสฟอรัส กระบวนการทท่ี �ำให้ฟอสฟอรัส ในดินไม่เป็นประโยชน์ต่อพืชโดยการท�ำปฏิกิริยากับแคตไอออน ในดินหรอื การตกตะกอน 152
physiosorption P photolithotroph โฟโตลิโทโทรฟ สิ่งมีชีวิตที่ใช้แสงเป็นแหล่งพลังงาน และใช้คาร์บอนไดออกไซด์หรือคาร์บอเนตเป็นแหล่งคาร์บอน ส�ำหรับชีวสงั เคราะห์ (biosynthesis) ของเซลล์ photomap แผนทภี่ าพถา่ ย แผนทร่ี ปู ตอ่ แบบโมเสกของภาพถา่ ยทางอากาศ phototroph โฟโตโทรฟ สิ่งมชี วี ติ ท่ีเจรญิ เติบโตโดยใช้พลงั งานจากแสง phreatic level ระดับเฟรติก ระดับผิวน�้ำใต้ดินที่แรงดันน�้ำมีค่าเท่ากับ แรงดันบรรยากาศ phyllosilicate mineral แร่ฟิลโลซลิ เิ กต แร่ซิลิเกตที่มีลักษณะเป็นแผ่น มีโครงสร้างเป็นชั้น ประกอบด้วยแผ่นอะลูมินาออกตะฮีดรอน และแผน่ ซิลกิ าเททระฮีดรอน phyllosphere เขตผิวพชื เหนือดนิ อาณาบริเวณรอบสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช ท่ีอยเู่ หนือดิน เป็นที่อยู่ของจุลินทรยี ์ physical nonequilibrium ภาวะไม่สมดุลทางฟิสิกส์ สภาวะของดิน ทมี่ กี ารเคลอ่ื นทข่ี องตวั ถกู ละลายโดยการแพรใ่ นชอ่ งดนิ เนอ่ื งจาก ความเข้มขน้ ของตัวถกู ละลายระหว่างจดุ แตกต่างกัน physical weathering การผุพังทางฟิสิกส์ การแตกหักของหินและแร่ ให้มีขนาดเล็กลงโดยแรงและอุณหภูมิ เช่น น้�ำกลายเป็นน้�ำแข็ง การเกิดผลึก ความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันกับ กลางคนื physiography ภมู สิ ัณฐาน การพรรณนาธรรมชาติ หรอื วชิ าทว่ี ่าด้วยวตั ถุ ทางธรรมชาติ ลกั ษณะโครงสร้างของพนื้ ผวิ โลก physiosorption การดูดซับทางฟิสิกส์ กระบวนการเกาะยึดกันของสาร ท่ีไม่แตกตัวเป็นไอออนกับดินเหนียวหรือผิวของส่วนท่ีเป็น ของแข็งอน่ื 153
phytolith phytolith หนิ พชื ๑. หนิ ทเ่ี กดิ จากการรวมตวั กนั ของซากพชื หรอื การกระทำ� ต่าง ๆ ของพชื ได้แก่ ถ่านหิน พีต ลกิ ไนต์ และหินปนู อินทรยี บ์ าง ชนิด เชน่ หินเน้อื เมด็ แบบไข่ปลา (oolite) ๒. วัสดุอนินทรีย์ท่ีเป็นองค์ประกอบของพืชท่ีคงเหลือจาก กระบวนการย่อยสลาย ส่วนใหญ่เป็นอนุภาคซิลิกาซ่ึงมีขนาด เลก็ มาก มองเห็นไดด้ ว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ phytotoxicity ความเป็นพิษต่อพืช สภาพของพืชท่ีถูกยับยั้งหรือจ�ำกัด การเจริญเติบโตโดยปจั จยั ท่มี ีปริมาณมากเกนิ ความตอ้ งการ piedmont พนื้ ทล่ี าดเชงิ เขา พ้นื ท่บี ริเวณเชงิ เขาทีเ่ กดิ จากนำ้� พัดพาตะกอน จากยอดเขา ไหล่เขา และลาดเขามาตกทับถม piezometer ไพอีโซมิเตอร์ เคร่ืองมือส�ำหรับวัดความดันของของไหล เชน่ ความดนั ของนำ้� หรือแกส๊ ในท่อ ความดันของนำ้� ใต้ดนิ P piezometer head ระดบั นำ้� ไพอโี ซ ระดบั ผิวนำ�้ ใตด้ นิ ในท่อไพอโี ซมิเตอร์ [ดู piezometer ประกอบ] pipe flow การไหลแบบทอ่ การไหลของนำ้� อย่างรวดเร็วผา่ นชอ่ งขนาดใหญ่ อาจกอ่ ให้เกิดการกรอ่ นเป็นโพรงในดนิ pipette analysis การวิเคราะห์ด้วยปิเปตต์ การวิเคราะห์เน้ือดินโดย วิธีการตกตะกอนและสุ่มตัวอย่างด้วยปิเปตต์ที่ระดับความลึก และเวลาทก่ี �ำหนด pit หลุม พนื้ ทที่ เี่ กดิ จากการขดุ เจาะหรอื เคลอื่ นยา้ ยดนิ ออกไป เปน็ บรเิ วณ ทพี่ ืชเจรญิ เตบิ โตไดน้ อ้ ย หรือเปน็ บริเวณทไี่ มม่ พี ืช placic diagnostic horizon; placic horizon ชั้นดินวินิจฉัยพลาซิก ชัน้ ดนิ ลา่ งวนิ ิจฉยั ในระบบอนุกรมวธิ านดนิ เปน็ ช้ันดนิ แรบ่ าง ๆ มีความหนา ๑-๒๕ มิลลิเมตร มีสีด�ำถึงสีแดงเข้มซึ่งเกิดจาก การเชอ่ื มตวั ของเหลก็ (หรอื เหลก็ และแมงกานสี ) และอนิ ทรยี วตั ถุ และให้น�้ำซมึ ผ่านได้อย่างชา้ ๆ แต่รากพืชชอนไชผา่ นไม่ได้ 154
plasma P plaggen epipedon ชนั้ ดินวนิ จิ ฉยั แพลกเจน ชน้ั ดินบนวินิจฉยั ในระบบ อนุกรมวิธานดิน เป็นชั้นดินแร่ เกิดจากการกระท�ำของมนุษย์ ซง่ึ ใชป้ ุ๋ยคอกเปน็ เวลานาน มคี วามหนามากกว่า ๕๐ เซนตเิ มตร ปรกติช้ันดินนพี้ บวัสดชุ นิดต่าง ๆ เชน่ เศษอิฐ เศษภาชนะดินเผา ปะปนตลอดความหนาของชั้น plagioclase feldspar แรแ่ พลจโิ อเคลสเฟลด์สปาร์ แรซ่ ลิ ิเกตซึ่งซิลคิ อน ในโครงสรา้ งถูกแทนท่ดี ว้ ยอะลมู ิเนยี มรว่ มกับโซเดียม และ/หรือ แคลเซียม แร่แต่ละชนิดในกลุ่มนี้มีส่วนประกอบของแอลไบต์ (NaAlSi3O8) และอะนอรไ์ ทต์ (CaAl2Si2O8) ในสดั สว่ นทแ่ี ตกตา่ ง กนั plain ท่ีราบ, พ้ืนราบ ภูมิประเทศเป็นทรี่ าบ ซ่ึงอาจราบเรียบหรือมลี กั ษณะ เปน็ ลกู คลน่ื ลอนลาดเลก็ นอ้ ย โดยสงั เกตไมเ่ หน็ ความแตกตา่ งของ ความสูงหรือต�่ำของพน้ื ทไ่ี ด้เดน่ ชัด plant growth-promoting rhizobacteria แบคทีเรียส่งเสริมพืช กลมุ่ แบคทเี รยี ทอี่ าศยั อยใู่ นเขตอทิ ธพิ ลของรากพชื ซงึ่ มปี ระโยชน์ ตอ่ การเจริญเติบโตของพชื นนั้ plant nutrient สารอาหารพืช ธาตุที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม กำ� มะถนั ทองแดง เหลก็ สงั กะสี แมงกานีส โบรอน คลอรนี โมลิบดนี มั และนิกเกิล พืชต้องการธาตุเหล่าน้ีใช้ในปริมาณต่างกัน หากขาดธาตุใด ธาตหุ นง่ึ พชื จะเจรญิ เติบโตไม่ครบวัฏจักรชีวติ plasma มวลอนภุ าคละเอยี ด ส่วนของวัสดดุ นิ ท่เี คลอื่ นย้ายได้ มีการจดั เรยี ง ตัวใหม่ และ/หรือสะสมโดยกระบวนการเกิดดิน ประกอบด้วย วัสดุท่ีเป็นสารอนินทรีย์และอินทรีย์ท่ีมีขนาดคอลลอยด์และ ละลายน�้ำได้ โดยปรกติใช้ในการศกึ ษาด้านจุลสัณฐานวิทยาดิน 155
plasmic fabric plasmic fabric เน้อื พืน้ ละเอยี ด การจดั เรียงตวั ของมวลอนุภาคละเอยี ด อนุภาคหยาบ และช่องว่างของดิน โดยปรกติใช้ในการศึกษา ดา้ นจลุ สัณฐานวิทยาดิน plasticity สภาพพลาสติก สมบัติของดินที่ปั้นหรือคลึงเป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้โดยไม่เกิดรอยแตก ภายใต้สภาพความชน้ื และแรงทเี่ หมาะสม plasticity index ดชั นพี ลาสตกิ คา่ ผลตา่ งระหวา่ งระดบั ความชน้ื ทข่ี ดี จำ� กดั ของเหลวกับขีดจ�ำกัดพลาสติก หรือค่าผลต่างระหว่างระดับ ความช้ืนท่ีขีดจ�ำกัดพลาสติกบนกับขีดจ�ำกัดพลาสติกล่าง [ดู Atterberg limit, liquid limit, plastic limit และ soil consistency ประกอบ] plastic limit ขีดจ�ำกัดพลาสติก ระดับความช้ืนในมวลดินขณะที่เปล่ียน จากสภาพพลาสติกเป็นก่ึงของแข็ง [มีความหมายเหมือนกับ P lower plastic limit และ ดู Atterberg limit, liquid limit และ soil consistency ประกอบ] plateau ทร่ี าบสงู พนื้ ทคี่ อ่ นขา้ งราบซงึ่ สงู กวา่ บรเิ วณใกลเ้ คยี ง โดยอยา่ งนอ้ ย ต้องมีด้านใดด้านหน่ึงลาดลงสู่พื้นท่ีท่ีต่�ำกว่าโดยฉับพลัน เชน่ ท่รี าบสงู โคราช plate count เพลตเคานต์ การนบั จำ� นวนโคโลนที เ่ี กดิ ขน้ึ บนอาหารเลยี้ งเชอ้ื ซ่ึงเป็นวิธีหน่ึงในการประเมินจ�ำนวนจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในตัวอย่าง ดนิ platy soil structure โครงสรา้ งดินแบบแผ่น โครงสร้างดนิ ท่มี ลี กั ษณะ เปน็ แผ่นเรียงตัวในแนวราบลักษณะซ้อนกนั เป็นชน้ั ๆ สว่ นใหญ่ พบในดินท่ีมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวและดินท่ีมีชั้นดานหรือดิน ท่มี ีการอัดตวั กนั โดยเครอื่ งจักรกลการเกษตร [ดู soil structure ประกอบ] 156
point bar P playa พลายา ๑. แอ่งแผ่นดนิ ทอ่ี ยใู่ นพื้นทวีป หรอื แผน่ ดินทน่ี �้ำไหลออกสู่ พื้นน้�ำภายนอกไม่ได้ จึงซึมหายลงในแผ่นดินหรือระเหยไป เหลอื แต่ความเค็มเขม้ ข้นไว้ ๒. ทะเลสาบน้�ำเค็มที่อยู่ภายในแผ่นดินซ่ึงมีอากาศแห้งแล้ง แถบทะเลทรายหรอื ก่ึงทะเลทราย plinthite ศิลาแลงอ่อน, พลนิ ไทต์ วัสดผุ สมของดินเหนยี วกับวสั ดุอื่น ๆ ที่เชื่อมตัวในสภาวะท่ียังไม่แข็ง จึงตัดแต่งเป็นรูปที่ต้องการได้ มเี หลก็ อยใู่ นปรมิ าณสงู มฮี วิ มสั ตำ่� ตามปรกตจิ ะเกดิ ในดนิ ชนั้ ลา่ ง ในรูปของจุดประสีแดง เม่ือน�ำขึ้นมาให้สัมผัสอากาศและผ่าน กระบวนการทที่ ำ� ใหเ้ ปยี กและแหง้ สลบั กนั หลาย ๆ ครง้ั จะแขง็ ตวั อย่างถาวรกลายเปน็ ศิลาแลง plow layer ช้ันไถพรวน ช้ันดินตอนบนที่มีการผสมคลุกเคล้าเนื่องจาก การไถพรวน plowless farming การเพาะปลูกแบบไม่ไถพรวน การปลกู พืชโดยไมม่ ี การไถกลับหน้าดนิ หรอื กลบเศษพืช plow pan ช้นั ดานไถพรวน ชัน้ ดานทเี่ กิดจากการไถพรวนในระดบั ความลกึ เดิมซ�้ำ ๆ กันเน่ืองจากน้�ำหนักล้อรถแทรกเตอร์ ท�ำให้ดิน มีความหนาแนน่ รวมสูงขึ้น [ดู pan ประกอบ] pneumatic pressure ความดันนิวแมติก แรงดันอัดลมที่ให้แก่ดิน เพือ่ ใหส้ มดุลกบั ศกั ย์วสั ดพุ น้ื ของน�้ำในดิน podsolization พอดโซไลเซชนั กระบวนการเกดิ ดนิ ทมี่ กี ารชะละลายอนภุ าค ดนิ เหนยี ว เหลก็ อนิ ทรยี วตั ถุ และอน่ื ๆ จากชน้ั ดนิ บนลงไปสะสม ในชั้นดินล่าง ท�ำให้เกิดชั้นซึมชะท่ีมีสีจาง และช้ันสะสมของแร่ ทม่ี สี ีเข้มกว่าหรอื สดกวา่ อยูถ่ ดั ลงไป point bar ตลิ่งงอก ตลงิ่ ทม่ี กี รวด หนิ ดนิ ทราย จากการพัดพาของน�ำ้ ไปตกสะสมบรเิ วณโคง้ ดา้ นในของลำ� นำ�้ ทค่ี ดเคย้ี วไปมา ทำ� ใหเ้ กดิ มพี น้ื ท่ียนื่ ออกไป 157
point of zero net charge; zero point of charge point of zero net charge; zero point of charge จุดประจุศูนย์ ค่าพีเอชของสารละลายท่ีสมดุลกับวัสดุหรือวัสดุผสมท่ีมีประจุ สุทธิเป็นศูนย์ เช่น พีเอช ๔ เป็นจุดประจุศูนย์ของเคโอลิไนต์ แสดงว่าที่ค่าพีเอชนี้มีจ�ำนวนประจุบวกและประจุลบบนพื้นผิว ของเคโอลไิ นตเ์ ท่ากนั polymorphism ภาวะพหุสัณฐาน การตกผลกึ ของสารเป็นรูปแบบตา่ ง ๆ ที่มีองค์ประกอบทางเคมีเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับความร้อน และแรงดัน เช่น คาร์บอนท่ีเกิดเป็นเพชรจะมีรูปผลึกในระบบ สามแกนเท่า ถ้าเกิดเป็นแกรไฟต์จะมีรูปผลึกในระบบสามแกน ราบ polypedon พอลิพีดอน กลุ่มของพีดอนท่ีเหมือนและต่อเน่ืองกัน โดยมขี อบเขตไปจรดพน้ื ทท่ี ไ่ี มม่ ดี นิ หรอื ถงึ พนื้ ทดี่ นิ อนื่ ทม่ี ลี กั ษณะ P แตกต่างกนั อยา่ งเด่นชดั [ดู pedon ประกอบ] poorly drained soil ดินระบายน้�ำเลว ดินท่ีน้�ำไหลซึมออกจากดินช้า ทำ� ใหด้ นิ อยใู่ นสภาพเปยี กแฉะเปน็ เวลานาน ระดบั นำ�้ ใตด้ นิ จะอยู่ ทผี่ วิ ดนิ หรอื ใกลผ้ วิ ดนิ ในชว่ งฤดฝู น แตใ่ นรอบปจี ะมรี ะยะสนั้ กวา่ ๖ เดือน พบจุดประตลอดหน้าตัดดิน พบบริเวณท่ีราบต่�ำ หรอื ทล่ี มุ่ ดนิ ประเภทนใี้ ชใ้ นการท�ำนา pore-size classification การจ�ำแนกขนาดช่อง การจ�ำแนกช่องในดิน ตามขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางสมมูล คือ ช่องขนาดใหญ่ ช่องขนาดกลาง ช่องขนาดเล็ก และช่องขนาดเล็กมาก มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางสมมูลต้ังแต่ ๗๕ ไมโครเมตรขึ้นไป ๓๐-๗๕ ไมโครเมตร ๕-๓๐ ไมโครเมตร และน้อยกว่า ๕ ไมโครเมตร ตามลำ� ดบั pore-size distribution การกระจายขนาดช่อง สัดส่วนโดยปริมาตร ของชอ่ งขนาดตา่ ง ๆ ในดนิ แสดงเป็นร้อยละของปรมิ าตรรวม 158
potential acidity P pore space ปรมิ าณช่อง ส่วนของดนิ ท่ีไม่ใชอ่ นภุ าคของแขง็ แบ่งได้เปน็ ๒ ชนิด คือ ช่องระหว่างอนุภาคหรือช่องภายในเม็ดดิน และ ช่องระหว่างเม็ดดนิ [มีความหมายเหมือนกับ pore volume] pore volume ปรมิ าตรช่อง ดู pore space pore water velocity ความเร็วการไหลของนำ้� ผา่ นชอ่ ง ระยะทางทีน่ �ำ้ เคลอื่ นทผ่ี า่ นดนิ ตอ่ หนว่ ยเวลา มหี นว่ ยเปน็ เมตรตอ่ วนิ าที คำ� นวณ ได้จากความหนาแน่นฟลักซ์ (ในหน่วยลูกบาศก์เมตรของน้�ำ ต่อตารางเมตรของดินต่อวินาที) หารด้วยปริมาณน�้ำในดิน (ในหน่วยลกู บาศก์เมตรของนำ�้ ต่อลกู บาศกเ์ มตรของดนิ ) porphyritic rock หินเน้ือดอก หนิ อคั นที ่ีประกอบด้วยผลกึ แรข่ นาดใหญ่ ปะปนอยู่กับผลึกแร่เล็ก ๆ ท่ีเป็นเนื้อพื้น (ground mass) ของหนิ น้ัน potash โพแทช ค�ำท่ีใช้เรียกปุ๋ยโพแทสเซียม โดยปรกติแสดงในรูป โพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) [ดู potassium oxide ประกอบ] potassium fixation การตรึงโพแทสเซยี ม กระบวนการตรึงโพแทสเซยี ม ไอออนทแี่ ลกเปลยี่ นไดห้ รอื ละลายนำ้� ได้ ใหอ้ ยใู่ นรปู ทแี่ ลกเปลย่ี น ไม่ได้ โดยถูกดูดยึดไว้ในระหว่างช้ันของแร่ดินเหนียว ท�ำให้พืช น�ำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ potassium oxide โพแทสเซยี มออกไซด์ รปู ของโพแทสเซยี มทเี่ ปน็ ประโยชน์ ต่อพืช แสดงปริมาณเป็นร้อยละของ K2O บนกระสอบปุ๋ย หรือเอกสารกำ� กบั ปยุ๋ เคมี potassium supplying power ความสามารถให้โพแทสเซียม ความสามารถของดินในการให้ธาตุโพแทสเซียมแก่พืชในรูปท่ี เปน็ ประโยชน์และในรูปที่ถูกตรงึ potential acidity สภาพกรดแฝง ปรมิ าณไฮโดรเจน อะลมู เิ นยี ม และเหลก็ ทแ่ี ลกเปลยี่ นไดข้ องดนิ ซงึ่ สามารถถกู ไอออนอนื่ แทนทใ่ี หอ้ อกมา อยใู่ นสารละลายดินได้ 159
ppm ppm พพี เี อม็ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายทแี่ สดงเปน็ นำ�้ หนกั ของตวั ถกู ละลาย ต่อตัวท�ำละลายลา้ นสว่ น ค�ำวา่ ppm ยอ่ มาจากค�ำว่า parts per million prairie soil ดินแพรรี กลุ่มดนิ ในอนั ดับโซนัลซ่ึงประกอบด้วยดินทเี่ กิดขนึ้ ภายใตอ้ ุณหภมู หิ นาวเยน็ เขตช้นื มีตน้ หญา้ สงู ปกคลุม ปัจจุบัน ไมใ่ ชใ้ นการจำ� แนกดินตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ precipitation หยาดนำ้� ฟา้ คำ� รวมเรยี กนำ้� ในบรรยากาศทตี่ กลงสพู่ นื้ ผวิ โลก ในรปู ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ฝน ฝนละออง ฝนน�้ำแขง็ ลกู เหบ็ และหมิ ะ precipitation interception การลดแรงปะทะหยาดน้�ำฟ้า การชะลอ ความเร็วและลดความแรงของฝนท่ีตกสู่พื้นผิวโลกเน่ืองจาก สง่ิ กีดขวางทางกายภาพ เช่น หญ้าทป่ี กคลมุ พืน้ ดิน เรอื นยอดพชื predation การลา่ เหยอื่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ ๒ ชนดิ โดยฝา่ ยหนงึ่ P (ผ้ลู ่า) กลนื กนิ และยอ่ ยสลายอกี ฝา่ ยหนึง่ (เหยอื่ ) preirrigation; preplant irrigation ชลประทานก่อนปลูก การให้น�้ำ กับพืน้ ทีก่ อ่ นหยอดหรอื หว่านเมล็ดพืช pressure face ผวิ หน้าอัดมนั ผวิ เรยี บมนั ของเม็ดดินหรือกอ้ นดิน เกดิ จาก การยดื และหดตัวของดินเหนยี ว [ดู slickenside ประกอบ] pressure head; pressure potential ศักย์ความดัน ดู pressure potential; pressure head pressure membrane เย่ือต้านความดัน แผ่นเย่ือซึ่งให้น้�ำไหลผ่านได้ แต่ให้แก๊สผ่านได้น้อยมากเม่ืออยู่ในสภาพเปียกน้�ำจนช่องใน แผ่นเย่ือท้ังหมดมีน้�ำบรรจุเต็ม ใช้ในการขับน�้ำออกจากดินโดย อาศัยเกรเดยี นตค์ วามดัน (pressure gradient) ของแก๊ส pressure pan ชั้นดานกดทับ ชั้นดินใต้ชั้นไถพรวนซึ่งมีความหนาแน่น รวมสงู กวา่ และความพรนุ ตำ่� กวา่ ชน้ั ดนิ ทอี่ ยดู่ า้ นบนและดา้ นลา่ ง เกิดจากน้�ำหนักกดทับของเครื่องจักรกลทางการเกษตร เป็น 160
prokaryote; procaryote P อุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืชและการเคลื่อนที่ของน�้ำ [ดู hardpan และ plow pan ประกอบ] pressure potential; pressure head ศักย์ความดัน พลังงานศักย์ ของนำ�้ ในดนิ ทเี่ กดิ จากมวลของนำ้� ทจี่ ดุ นน้ั ๆ มคี า่ เทา่ กบั ความสงู ของน้ำ� ระหว่างจุดที่กำ� หนดกับระดบั ผวิ น้ำ� ใต้ดนิ primary element ธาตุอาหารหลกั ดูคำ� อธิบายใน macronutrient primary mineral แร่ปฐมภูมิ แร่ท่ีตกผลึกจากการเย็นตัวของแมกมา และยงั ไม่มกี ารเปล่ียนแปลงทางเคมี เช่น ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ primary tillage การไถดะ การไถเตรยี มดนิ ครงั้ แรกโดยใชเ ครอื่ งมอื ทาํ ใหด นิ แตกออกจากกัน โดยก้อนดนิ ที่ไดย้ ังมีขนาดคอ นขา งใหญเ่ กินไป ทจ่ี ะปลกู พืช เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ นการไถดะอาจเปน็ ไถหัวหมู ไถจาน ไถสิ่ว ไถดนิ ดาน เปน็ ตน้ priming effect ผลการเหนย่ี วนำ� การกระต้นุ กจิ กรรมของจุลินทรยี ใ์ นดนิ ปรกติเกิดในกระบวนการย่อยสลายอินทรียวัตถุโดยการเติม อนิ ทรียวัตถทุ ่ียอ่ ยสลายงา่ ยลงไป prismatic soil structure โครงสรา้ งดินแบบแทง่ หวั เหล่ยี ม โครงสรา้ ง ของดินท่ีมีลักษณะเป็นแท่ง โดยมีแกนตั้งยาวกว่าแกนนอน ส่วนใหญ่เกิดข้ึนกับดินท่ีมีเกลือโซเดียมเป็นองค์ประกอบ อยู่ในปริมาณสูง หรือเกิดกับช้ันดินวินิจฉัยนาทริก [ดู soil structure ประกอบ] procaryote; prokaryote โพรแคริโอต ดู prokaryote; procaryote productive soil ดินผลิตผล ดินที่มีสมบัติทางเคมี สมบัติทางฟิสิกส์ และสมบตั ทิ างชวี ภาพทเ่ี หมาะสมตอ่ การผลติ พชื ในเชงิ เศรษฐกจิ prokaryote; procaryote โพรแครโิ อต สง่ิ มีชวี ติ ท่ไี มม่ เี ย่อื หมุ้ นวิ เคลียส มีสารพันธุกรรมกระจายอยู่ในโพรโทพลาซึม เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย 161
propagule propagule หนอ่ พนั ธ์ุ หนว่ ยเซลลซ์ ง่ึ มคี วามสามารถในการพฒั นาเปน็ สง่ิ มชี วี ติ ที่สมบูรณ์เหมือนเซลล์ต้นก�ำเนิดเดิม ในกรณีของเช้ือรา หนว่ ยอาจเป็นสปอรเ์ ดี่ยว กลุม่ ของสปอร์ ใยรา หรอื กลมุ่ ใยรา protocooperation การได้ประโยชน์ร่วมกนั การอยูร่ ว่ มกันของส่ิงมีชีวติ ๒ ชนิดขึ้นไป ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ร่วมกัน แต่ไม่จ�ำเป็น ต้องด�ำรงชีพหรอื มีกิจกรรมรว่ มกัน Psamments แซมเมนตส์ อนั ดบั ย่อยอนั ดบั หนึ่งของอันดบั ดินเอนทซิ อลส์ ในระบบอนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซงึ่ มชี น้ิ สว่ นหนิ นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๓๕ โดยปรมิ าตร และมเี นอ้ื ดนิ เปน็ ทรายละเอยี ดปนดนิ รว่ นหรอื หยาบ กว่าในทุกชั้นของช่วงควบคุมที่ใช้พิจารณาช้ันขนาดอนุภาคดิน ตัวอยา่ งชดุ ดนิ ในประเทศไทยของอันดบั ย่อยนี้ คอื ชดุ ดินจันทึก ชุดดินบาเจาะ ชุดดินสัตหีบ และชุดดินหัวหิน [ดู Entisols P ประกอบ] Pseudomonads ซโู ดโมนาดส์ กลุ่มของแบคทีเรยี ในสกุล Pseudomonas ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ขนาดใหญข่ องแบคทเี รยี แกรมลบและตอ้ งการอากาศ ในการเจรญิ เติบโต psychrophile; psychrophilic organism สงิ่ มีชวี ิตชอบเยน็ ส่งิ มีชวี ิต ท่ีเจริญเติบโตได้ดีท่ีอุณหภูมิระหว่าง ๕-๑๕ องศาเซลเซียส [มคี วามหมายเหมอื นกับ cryophile] puddling การท�ำเทือก กระบวนการไถและคราดในสภาพดินเปียกเพ่ือ ท�ำให้เป็นโคลนตม ซึ่งเป็นการท�ำลายโครงสร้างตามธรรมชาติ ของดนิ ดว้ ยแรงเฉอื นและการบดอดั ทำ� ใหป้ รมิ าณชอ่ งในดนิ ลดลง เพอ่ื ใหด้ นิ มสี ภาพเหมาะสมสำ� หรบั การปลกู พชื เชน่ ขา้ ว บวั แหว้ pure culture เชอื้ บรสิ ทุ ธ์ิ ประชากรของจลุ นิ ทรยี ส์ ายพนั ธเ์ุ ดยี วกนั ทไี่ ดจ้ าก การคดั เลือกในหอ้ งปฏิบัตกิ าร ไมค่ อ่ ยพบในสภาพแวดล้อมตาม ธรรมชาติ 162
pyroxene P pyrite ไพไรต์ แร่ชนิดหน่ึงในกลุ่มซัลไฟด์ มีสูตรเคมี FeS2 มีสีเหลือง ผิวเป็นเงาวาวคล้ายโลหะทองค�ำ จนมักท�ำให้เข้าใจผิดว่าเป็น ทองค�ำ จงึ เรียกกันวา่ “ทองคนโง่ (fool’s gold)” pyroclastic rock; volcanic clastic rock หินตะกอนภเู ขาไฟ หินท่ี ประกอบด้วยตะกอนภูเขาไฟซึ่งเป็นท้ังหิน แร่ และแก้วภูเขาไฟ ทมี่ ีขนาดตา่ ง ๆ คละกันจากการประทขุ องภูเขาไฟ อาจเกิดจาก การตกลงมาสะสมตวั โดยตรงจากอากาศ หรือโดยน้ำ� และลมพัด พาออกไปสะสมตวั ในบรเิ วณใกล้เคยี ง pyrophosphate ไพโรฟอสเฟต สารประกอบฟอสฟอรสั ทเ่ี กดิ จากปฏกิ ริ ยิ า ของแอนไฮดรัสแอมโมเนียหรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์กับกรด ไพโรฟอสฟอริก pyrophosphoric acid กรดไพโรฟอสฟอริก กรดฟอสฟอรัสชนดิ หนง่ึ ที่ เกดิ จากการควบแนน่ ของกรดออรโ์ ทฟอสฟอรกิ (H3PO4) จำ� นวน ๒ โมเลกุล มสี ตู รเคมี H4P2O7 pyrophyllite ไพโรฟิลไลต์ แร่ไฮดรสั อะลูมิเนยี มซิลิเกตชนิดหน่งึ มสี ตู รเคมี Al2Si4O10(OH)2 มหี ลายสี เชน่ สีเหลือง สีขาวครมี สเี ขียว สีเทา สนี ำ้� ตาล pyroxene ไพรอกซีน แรป่ ระกอบหนิ กลุ่มหนึง่ มสี ตู รเคมี AB(Si2O6) โดย A หมายถึง Ca, Na, Mg หรือ Fe2+ และ B หมายถึง Mg, Fe3+ หรอื Al มสี เี ขยี วแกห่ รอื สดี ำ� 163
quantity intensity ratio Q quantity intensity ratio อัตราส่วนของความเข้มข้นต่อปริมาณ การเปล่ียนแปลงปริมาณการดูดซับไอออนของคอลลอยด์ ตามการเปล่ียนแปลงความเข้มข้นของไอออนในสารละลายดิน [ดู sorption ประกอบ] quartz ควอตซ์ กลุม่ แร่ประกอบหนิ กลุม่ หนง่ึ ซงึ่ เปน็ สว่ นประกอบสำ� คัญ ในหนิ แกรนติ หนิ ทราย หนิ ควอรต์ ไซต์ มสี ตู รเคมี SiO2 มสี ขี าวขนุ่ (milky quartz) ใสไม่มีสี (rock crystal) อาจพบสีเขียว (vermarine) สชี มพู (rose quartz) สเี หลอื ง (citrine) สีแดง Q (jasper) หรือสีม่วง (amethyst) มีความแข็ง ๗ ตามสเกล ของโมส์ quartzite หินควอร์ตไซต์ หินแปรชนิดหน่ึงประกอบด้วยควอตซ์ เปน็ ส่วนใหญ่ เกดิ จากการแปรสภาพของหินทราย quick lime; burned lime ปนู เผา ดู burned lime; quick lime 164
reconnaissance soil map R R rainfall erosivity index ดชั นศี กั ยภาพก่อกร่อนของน�ำ้ ฝน ค่าทแ่ี สดง ความสามารถในการกร่อนของฝน ตามสมการสูญเสียดินสากล มีค่าเท่ากับผลคูณของพลังงานจลน์ทั้งหมดของฝน (E) กับ ความหนกั เบาสงู สดุ ของฝนในชว่ งเวลา ๓๐ นาที (I30) ของพายฝุ น น้นั [มีความหมายเหมอื นกบั EI30 index] raised bed รอ่ งปลกู ยกระดับ คนั ดนิ ระหวา่ งท้องร่องซ่ึงขุดดนิ ล่างขน้ึ มาถม ให้สูงกว่าบริเวณพ้ืนดินโดยรอบเพื่อป้องกันน้�ำท่วม ปรกติท�ำใน บริเวณพนื้ ทีร่ าบลุม่ ส�ำหรบั การเพาะปลูกพชื ผักหรือไมผ้ ล recent alluvium ตะกอนน�้ำพาใหม่ ตะกอนท่ีน�้ำพัดพามาทับถมใหม่ ส่วนใหญ่เกดิ ขน้ึ ในบรเิ วณท่รี าบน้ำ� ท่วมถงึ recessional moraine; stadial moraine กองตะกอนธารน้�ำแขง็ ถอย กลบั กองตะกอนธารนำ�้ แขง็ ปลายธารหรอื กองตะกอนธารนำ�้ แขง็ ข้างธารที่เกิดจากการที่ธารน�้ำแข็งหยุดอยู่ช่ัวระยะเวลาหนึ่ง ในระหวา่ งถอยกลับ รวมถึงกองตะกอนธารนำ้� แข็งทเ่ี กดิ จากการ ท่ีธารน้�ำแข็งเคล่ือนท่ีไปข้างหน้าปลายธารน้�ำแข็งเล็กน้อย ระหวา่ งสมัยชว่ งค่ันช่วงอายุยอ่ ยของธารนำ้� แขง็ recharge area พ้ืนที่รับน�้ำ พื้นที่ตอนบนของลุ่มน�้ำซ่ึงรองรับน้�ำฝน และเพมิ่ ปริมาณน�ำ้ ใต้ดนิ กอ่ นไหลลงสตู่ อนล่างของลุ่มนำ้� reconnaissance soil map แผนทด่ี นิ แบบหยาบ แผนทด่ี นิ ทมี่ มี าตราสว่ น ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ ถงึ ๑ : ๕๐๐,๐๐๐ หนว่ ยแผนท่ีดินสว่ นใหญ่เป็น กลุ่มย่อย วงศ์ หน่วยเชิงซ้อน การผลิตแผนท่ีดินแบบน้ีมี วตั ถุประสงค์ในการวางแผนการใชท้ ่ีดินระดบั ภาคหรือประเทศ 165
reconnaissance soil survey reconnaissance soil survey การส�ำรวจดินแบบหยาบ การส�ำรวจดิน แบบหน่ึงเพื่อต้องการทราบข้อมูล หรือข้อสนเทศของดิน อยา่ งหยาบ โดยใชภ้ าพถา่ ยทางอากาศในมาตราสว่ น๑ : ๔๐,๐๐๐ ภาพถ่ายจากดาวเทียม แผนท่ีธรณีวิทยา แผนที่ภูมิประเทศ มาตราสว่ น ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ เปน็ แผนทีพ่ นื้ ฐาน การเจาะส�ำรวจ ตรวจสอบในสนาม ๑ หลมุ ต่อพน้ื ที่ ๑๒.๕ ตารางกโิ ลเมตร Red Brown Earth ดนิ สนี ำ้� ตาลแดง, เรดบราวนเ์ อริ ท์ กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบการจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดิน ที่เกิดจากวัตถุต้นก�ำเนิดดินตกค้างของหินดินดานและหินปูน ดินมีพัฒนาการหน้าตัดดินดี มีการระบายน�้ำดี เน้ือดินเหนียว สีแดงหรือสีแดงปนน้�ำตาลเข้ม มีปริมาณออกไซด์ของเหล็ก และอะลมู เิ นยี มสงู ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดเลก็ นอ้ ยถงึ ดา่ งปานกลาง มีหน้าตัดดินแบบ Ap-Bt-C ชุดดินท่ีส�ำคัญของกลุ่มดินหลักนี้ คือ ชุดดินจัตุรสั และชุดดนิ สคี ้วิ R Reddish Brown Lateritic soils ดินลูกรังสีน�้ำตาลแดง กลุ่มดินหลัก กลุ่มหน่ึงในระบบการจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เกิดจากวัตถุต้นก�ำเนิดดินตกค้างซึ่งมีองค์ประกอบของซิลิกา อยนู่ อ้ ยภายใตส้ ภาพปา่ ไมเ้ บญจพรรณในเขตภมู กิ าศรอ้ นและชมุ่ ชน้ื เป็นดินเก่าท่ีมีพัฒนาการหน้าตัดดินดี หน้าตัดดินลึกและ มีช้ันสะสมดินเหนียวชัดเจน เนื้อดินเป็นดินร่วน ดินร่วนปน ดนิ เหนยี วถึงดนิ เหนยี ว อาจพบชนั้ หินผหุ รอื กรวดศิลาแลงในชน้ั ดินล่าง ดินมีการระบายน้�ำดี สีดินเป็นสีน�้ำตาลเข้ม สีน�้ำตาล ปนแดง และสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัด มีหน้าตัดดินแบบ A-A3-Bt-C-R ชุดดินที่ส�ำคัญของกลุ่มดิน หลกั นี้ คอื ชุดดนิ บ้านจอ้ ง ชุดดินโชคชัย ชดุ ดนิ ปากชอ่ ง ชุดดิน อา่ วลึก ชุดดนิ ฝง่ั แดง ชดุ ดนิ ตราด และชดุ ดินโอลำ� เจียก 166
redoximorphic features R Reddish Brown Latosols ดินแลโทซอลส์สีน้�ำตาลแดง กลุ่มดินหลัก กลุ่มหน่ึงในระบบการจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เกดิ จากวัตถตุ ้นก�ำเนิดดนิ ตกค้างของหนิ บะซอลต์หรอื แอนดไี ซต์ บนพ้ืนท่ีลาวาหลากภายใต้สภาพภูมิอากาศร้อนและชุ่มช้ืน มีฝนตกชุก หน้าตัดดินลึกถึงลึกมาก เป็นดินเก่าท่ีมีพัฒนาการ ของหนา้ ตดั ดนิ ดี มกี ารระบายนำ�้ ดี เนอ้ื ดนิ เปน็ ดนิ เหนยี วสนี ำ�้ ตาล ปนแดงถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก มหี นา้ ตดั ดนิ แบบ A-A3-Box-C ชดุ ดนิ ทส่ี ำ� คญั ของกลมุ่ ดนิ หลกั น้ี คอื ชุดดนิ ทา่ ใหม่ และชุดดนิ หนองบอน red earth ดนิ สีแดง ดินเหนยี วสแี ดงในเขตรอ้ นชนื้ เป็นดินทม่ี ีหนา้ ตัดดนิ ลึกมาก ผ่านการชะละลายมาเป็นระยะเวลานาน มีออกไซด์ ของเหล็กและอะลมู ิเนียมสงู แตม่ ซี ิลกิ าต่ำ� redox concentration รีดอกซ์คอนเซนเทรชัน บริเวณท่ีเกิดปฏิกิริยา รีดอกซ์ พบเหล็กและแมงกานีสออกไซด์ในรูปมวลสารพอก หรอื กอ้ นทรงมนสะสมอยู่ในดิน มองเหน็ ไดช้ ัดเจน redox depletion รีดอกซด์ ิพลชี นั บริเวณทดี่ ินส่วนใหญ่มีสเี ทาปนอยู่มาก เนอื่ งจากออกไซดข์ องเหลก็ หรอื แมงกานสี หรอื ออกไซดข์ องเหลก็ และแมงกานีสและเคลย์ถูกก�ำจัดออกไปจากดนิ redoximorphic features ลักษณะรีดอกซ์ ลักษณะของดินซึ่งเกิดจาก สภาพการเปียกและแห้งสลับกัน ท�ำให้สารประกอบของเหล็ก และแมงกานีสอยู่ในรูปรีดักชันเมื่อดินอ่ิมตัวด้วยน้�ำ และอยู่ ในรูปออกซิเดชันเมื่อดินไม่อ่ิมตัวด้วยน้�ำ เป็นผลให้ดินมีสีเทา และมีจุดประสีแดง สีเหลอื ง สนี ำ�้ ตาล หรือสดี �ำในหนา้ ตัดดิน 167
redox potential redox potential ศักย์รีดอกซ์ ค่าที่แสดงสภาพออกซิเดชันหรือรีดักชัน ของปฏิกิริยาทางเคมี ในทางปฐพีวิทยาแสดงถึงความเป็นไปได้ ของสารที่จะถูกออกซิไดส์หรือรีดิวซ์ภายใต้สภาพท่ีเกิดปฏิกิริยา ออกซเิ ดชนั หรอื รดี กั ชนั ศกั ยร์ ดี อกซเ์ ขยี นแทนดว้ ยสญั ลกั ษณ์ Eh redox reaction ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาท่ีมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากสารหนงึ่ ไปยังอกี สารหนึ่ง โดยเกิดปฏกิ ริ ยิ ายอ่ ย ๒ ปฏกิ ริ ยิ า ควบคู่กันเสมอ คอื ปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชัน และปฏิกริ ิยารีดกั ชัน reduced matrix เน้ือพ้ืนรีดิวซ์ เนื้อพ้ืนของดินที่มีค่ารงค์ต�่ำ แต่มี การเปลี่ยนแปลงค่าสีสันหรือค่ารงค์ภายในเวลา ๓๐ นาที หลงั จากสมั ผสั อากาศ การเปลย่ี นแปลงของสเี กดิ จากออกซเิ ดชนั ของเหลก็ reduction รีดักชัน, การรีดิวซ์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีรับอิเล็กตรอน ทำ� ให้เลขออกซเิ ดชนั ลดลง เชน่ R Red Yellow Latosols ดนิ แลโทซอลส์สแี ดงเหลอื ง กลุ่มดนิ หลักกล่มุ หนึง่ ในระบบการจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เกิดจาก ตะกอนน้�ำพาเก่าในพื้นท่ีตะพักล�ำน�้ำขั้นสูงภายใต้สภาพ ภูมิอากาศร้อนและชุ่มช้ืน มีการระบายน้�ำดีถึงมากเกินไป หน้าตัดดินลึก เป็นดินเก่าท่ีมีพัฒนาการของหน้าตัดดินดี สีดิน เป็นสีแดงหรือสีเหลืองตลอดหน้าดิน ช้ันดินล่างมีออกไซด์ ของเหล็กและอะลูมิเนียมสูง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง ถึงกรดจัดมาก มีหน้าตัดดินแบบ A-B-Box ชุดดินที่ส�ำคัญ ของกลุ่มดนิ หลกั น้ี คอื ชุดดินยโสธร และชดุ ดินสะเดา 168
Regosols R Red Yellow Podzolic soils ดนิ พอดโซลกิ สแี ดงเหลอื ง กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนงึ่ ในระบบการจำ� แนกดนิ ประจำ� ชาตขิ องประเทศไทย เกดิ จากวตั ถุ ต้นก�ำเนิดดินตกค้างซ่ึงมีองค์ประกอบของซิลิกาปริมาณมาก ภายใต้สภาพภูมิอากาศร้อนและชุ่มชื้น มีฝนตกค่อนข้างชุก หน้าตัดดินลึกและมีชั้นดินซึมชะและช้ันสะสมดินเหนียวอย่าง ชัดเจน อาจพบชั้นหินผุ ศิลาแลงอ่อน หรือกรวดศิลาแลงใน ช้ันดินล่าง เป็นดินเก่าที่มีพัฒนาการของหน้าตัดดินดี มีการ ระบายนำ�้ ดี สดี นิ เปน็ สเี หลอื ง สเี หลอื งปนแดง และสแี ดง มเี นอ้ื ดนิ เป็นดินรว่ นปนทรายถึงดนิ ร่วนเหนียวปนทราย ปฏิกริ ยิ าดนิ เปน็ กรดปานกลางถึงกรดจัดมาก มีหน้าตัดดินแบบ A-A2-Bt-C-R ชดุ ดนิ ทสี่ ำ� คญั ของกลมุ่ ดนิ หลกั นี้ คอื ชดุ ดนิ ทา่ ยาง ชดุ ดนิ ดา่ นซา้ ย ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินบรบือ ชุดดินวาริน ชุดดินชุมพร ชุดดิน หาดใหญ่ ชดุ ดนิ ภเู กต็ ชดุ ดนิ พังงา และชุดดนิ นาทวี reference electrode อิเล็กโทรดอ้างอิง อิเล็กโทรดที่รักษาค่าความ ต่างศักย์ให้คงที่ภายใต้ภาวะการวัดเคมีไฟฟ้า ท�ำให้วัดค่าความ ต่างศกั ยข์ องไอออนท่ีต้องการได้ regolith เรโกลิท ช้ันหินผุและวัสดดุ นิ ต่าง ๆ ทป่ี กคลมุ บนชนั้ หินแข็ง Regosols เรโกซอลส์ กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนงึ่ ในระบบการจำ� แนกดนิ ประจำ� ชาติ ของประเทศไทย เป็นดินท่ีเกิดจากตะกอนน้�ำพาท่ีเป็นทรายจัด ในบริเวณหาดทรายเก่าหรือเนินทรายของพื้นท่ีชายฝั่งทะเล หรือแม่น�้ำ ดินมีอายุน้อย การระบายน้�ำดีถึงดีมากเกินไป การพัฒนาชั้นดินยังไม่ชัดเจน อาจพบสภาพแอควิกในตอนล่าง ของหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงกรดปานกลาง มีหน้าตัดดินแบบ A-C หรือ A-Cg ชุดดินที่ส�ำคัญของกลุ่มดิน หลกั น้ี คือ ชดุ ดินหัวหิน ชดุ ดนิ สตั หีบ ชุดดนิ พทั ยา ชุดดนิ ระยอง ชดุ ดนิ น้ำ� พอง ชุดดินจนั ทึก และชดุ ดนิ บาเจาะ 169
relative humidity relative humidity ความชนื้ สัมพทั ธ์ อัตราส่วนระหว่างน้ำ� หนักของไอนำ้� ในอากาศเทยี บกบั นำ้� หนกั ของไอนำ�้ ทค่ี วรจะมไี ดเ้ ตม็ ทใี่ นขณะนนั้ ในปริมาตรท่ีเท่ากันและในอุณหภูมิเดียวกัน ความช้ืนสัมพัทธ์ โดยท่ัวไปจะกำ� หนดคา่ เป็นร้อยละ relative yield ผลผลิตสัมพทั ธ์ อตั ราส่วนระหว่างผลผลิตหรือชวี มวลซงึ่ ได้ จากพชื ทไี่ ดร้ บั ปจั จยั การผลติ ไมเ่ หมาะสมกบั ผลผลติ หรอื ชวี มวล ซึ่งได้จากพืชท่ีได้รับปัจจัยการผลิตท่ีจ�ำเป็นครบถ้วน แสดงค่า เป็นรอ้ ยละ relief ความสูงต�่ำของผิวโลก, ความต่างระดับ ลักษณะทางกายภาพ ของพื้นผิวโลกซ่ึงมีความสูงต่�ำไม่เท่ากันในความสูงสัมพัทธ์ ของพน้ื ทีบ่ ริเวณนน้ั ๆ remote sensing การรบั รจู้ ากระยะไกล การส�ำรวจเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยเครื่อง รบั รจู้ ากดาวเทยี ม เครอื่ งบิน หรืออากาศยาน โดยการตรวจจับ คลน่ื พลงั งานแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ หรอื พลงั งานอน่ื ๆ ซง่ึ สะทอ้ นจากวตั ถุ R บนผิวโลกหรือวัตถุนอกโลก แล้วแปลงเป็นข้อมูลเชิงตัวเลข โดยสามารถนำ� มาวเิ คราะห์หรอื ใชแ้ สดงเป็นภาพและทำ� แผนที่ Rendolls เรนดอลส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ มอลลซิ อลสใ์ นระบบ อนุกรมวิธานดิน เปน็ ดนิ ซ่ึงมีชนั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั มอลลิกหนาน้อยกว่า ๕๐ เซนตเิ มตร เกดิ ขึน้ ภายใต้ระบอบความชืน้ ดินแบบยูดกิ หรอื ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ แบบไครอิก พบวัสดดุ ินแร่เส้นผ่านศูนยก์ ลาง นอ้ ยกว่า ๗๕ มิลลเิ มตร ซ่ึงมสี มมลู แคลเซียมคารบ์ อเนตปริมาณ ตั้งแต่ ๔๐๐ กรมั /กโิ ลกรมั ขน้ึ ไปภายในชัน้ หรอื ใต้ชั้นดินวินิจฉยั มอลลิก ไม่พบอันดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู cryic soil temperature regime, mollic epipedon, Mollisols และ udic soil moisture regime ประกอบ] 170
resolution R Rendzina เรนดซ์ นิ า กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบการจำ� แนกดนิ ประจำ� ชาติ ของประเทศไทย เป็นดินท่ีเกิดจากวัตถุต้นก�ำเนิดดินตกค้าง ของหนิ ปนู มารล์ หรอื หนิ เนอ้ื ปนู มกี ารระบายนำ�้ ดี มเี นอื้ ดนิ รว่ น ปนดนิ เหนยี วถงึ ดนิ เหนยี ว ดนิ บนมสี นี ำ้� ตาลคลำ้� ถงึ สดี ำ� โครงสรา้ ง ดนิ แบบเมด็ กลมหรอื เมด็ กลมพรนุ ชน้ั ดนิ ลา่ งมเี นอ้ื ดนิ เหนยี วปน กรวดและเศษหนิ และมชี น้ั หนิ ผขุ องหนิ ปนู หรอื มารล์ ในตอนลา่ ง ของหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นด่างเล็กน้อยถึงด่างปานกลาง มีหน้าตัดดินแบบ A-B-C-R ชุดดินท่ีส�ำคัญของกลุ่มดินหลักน้ี คอื ชุดดินตาคลี reservoir tillage การไถเป็นแอ่ง การใช้เครื่องมือไถหรือขุดพ้ืนดินให้ เป็นแอ่งหรือหลุมเล็ก ๆ ส�ำหรับเก็บกกั นำ�้ เป็นระยะ residual acidity สภาพกรดตกคา้ ง สภาพกรดในดนิ ทเ่ี หลือหลงั จากสกดั ด้วยสารละลายเกลือซึ่งไม่ได้มีสมบัติบัฟเฟอร์ เป็นกรดท่ีถูก สะเทินได้ดว้ ยปูนหรือสารท่ใี หฤ้ ทธเิ์ ป็นเบส residual fertility ความสมบูรณ์ตกค้าง ปริมาณธาตุอาหารที่ตกค้าง อยใู่ นดนิ และเป็นประโยชนส์ �ำหรับพชื ที่ปลูกในฤดปู ลกู ถดั ไป residual material วัสดุตกค้าง วัสดุท่ีตกค้างจากการผุพังของหิน และแรใ่ นพ้นื ทนี่ ้ัน ๆ residual shrinkage การหดตัวตกค้าง การหดตัวของดินซึ่งปริมาตร ดินลดลงน้อยกว่าปริมาตรน�้ำที่สูญเสียในขั้นสุดท้ายของการ ทำ� ใหแ้ หง้ residuum soil; in situ soil ดินอยกู่ บั ท่ี ดู in situ soil; residuum soil resolution ๑. ความคมชัด, ความละเอียด ค่าความละเอียดของภาพ ก�ำหนดเป็นจำ� นวนจดุ ภาพ (pixel) ต่อ ๑ หน่วยพน้ื ทข่ี องภาพ ๒. การแยกชัด, อ�ำนาจจ�ำแนก ความสามารถของเลนส์หรือ ฟลิ ์มในการสรา้ งภาพทีม่ รี ายละเอยี ดสงู 171
respiratory quotient (RQ) respiratory quotient (RQ) สัดสว่ นการหายใจ (อารค์ ิว) คา่ อตั ราสว่ น ของจำ� นวนโมเลกลุ ของคารบ์ อนไดออกไซดซ์ ง่ึ ปลดปลอ่ ยออกจาก กระบวนการหายใจต่อจำ� นวนโมเลกุลของออกซิเจนท่ีใชไ้ ป restriction enzyme เอนไซม์ตัดจ�ำเพาะ เอนไซม์ท่ีตัดพันธะฟอสโฟได เอสเทอรภ์ ายในโมเลกลุ ของดเี อ็นเอสายคทู่ ้งั ๒ สาย ในตำ� แหนง่ ท่ีมีล�ำดับเบสจ�ำเพาะซ่ึงมักเป็นล�ำดับเบสที่สมมาตรกัน (palindrome sequence) reticulate mottling การเกิดจุดประแบบร่างแห การเกิดจุดประเป็น รูปแบบร่างแห ซ่ึงจุดประมีสีไม่เด่นชัด พบมากในดินช้ันล่าง ท่ีมีศิลาแลงออ่ นเปน็ องค์ประกอบ Reynolds number เลขเรย์โนลดส์ ค่าที่บอกสภาวะการไหลของน�้ำ เขยี นแทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ Re ค�ำนวณได้จากสูตรดงั นี้ R เม่อื v คอื ความเรว็ ของนำ้� ในช่อง d คอื ขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางช่อง คือ ความหนาแน่นของของเหลว และ คอื ความหนืดของของเหลว ถ้า Re มีค่าน้อยกวา่ ๒,๐๐๐ จะแสดงการไหลเออ่ื ยอยา่ งชา้ ๆ ถ้า Re มคี า่ มากกวา่ ๒,๐๐๐ จะแสดงการไหลแบบรนุ แรง rhizobacteria ไรโซแบคทีเรีย แบคทเี รยี ทอ่ี ยูร่ ่วมกับรากพชื rhizobia ไรโซเบีย แบคทีเรียท่ีอยู่แบบอิงอาศัยกับรากพืชตระกูลถั่ว ไดร้ บั พลงั งานจากพชื และตรึงแก๊สไนโตรเจน rhizocylinder เขตรากพืช รากพืชและดินรอบรากพืชที่อยู่ใต้อิทธิพล ของรากพืช [ดู rhizoplane และ rhizosphere ประกอบ] rhizoplane ผิวรากพืช ส่วนผิวของรากพืชรวมทั้งอนุภาคดินที่ติดอยู่ ทผ่ี วิ รากดว้ ย 172
R layer R rhizosphere เขตอทิ ธพิ ลรากพืช บรเิ วณของดินที่อย่ตู ดิ กบั รากพชื มชี นดิ จ�ำนวน และกจิ กรรมของจลุ ินทรยี แ์ ตกต่างจากดนิ บรเิ วณรอบ ๆ รากพชื น้ัน rhizosphere microorganism จุลินทรีย์เขตรากพืช กลุ่มประชากร จุลนิ ทรยี ท์ ีอ่ าศยั อยู่ในรากพชื บนผิวราก และในดนิ บรเิ วณรอบ รากพืช จุลินทรีย์ดังกล่าวส่วนใหญ่มีผลต่อการเจริญเติบโต ของพืช ridge planting การปลูกพืชบนสันร่อง การปลูกพืชแต่ละสันร่องโดย ปลูกพชื เพยี งแถวเดยี ว ridge tillage การไถเป็นสันรอ่ ง การไถพรวนดินให้เกิดเป็นสันร่องสำ� หรับ ปลูกพืช rill ร่องร้ิว ร่องขนาดเล็กบนพื้นดินที่เกิดจากการกัดเซาะของน�้ำที่รวมตัว กันไหลเป็นครั้งคราว มักเกิดบนพื้นที่ลาดเทท่ีไม่มีพืชปกคลุม ปรกตลิ ึกไม่เกนิ ๕๐ เซนติเมตร rill erosion การกร่อนแบบร่องร้ิว การกร่อนท่ีก่อให้เกิดร่องเล็ก ๆ บนพน้ื ดนิ โดยทว่ั ไปความลกึ ของรอ่ งอยรู่ ะหวา่ ง ๕-๘ เซนตเิ มตร ส่วนใหญ่เกิดในพ้ืนท่ีท่ีมีแนวลาดเทเล็กน้อยและไม่สม�่ำเสมอท่ี ไถพรวนท้งิ ไวห้ รือหลังปลกู พืชเสร็จ การกรอ่ นแบบนี้อาจไถกลบ ไดโ้ ดยใชเ้ ครื่องมอื ไถพรวนธรรมดา riparian ริมฝ่งั นำ้� ฝงั่ หรอื ชายฝั่งท้งั ๒ ข้างของล�ำนำ�้ river wash รเิ วอร์วอช พืน้ ท่ซี ่งึ เป็นดินตะกอนน้ำ� พาทีย่ งั ไม่คงตัวและไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากนำ�้ ทว่ มถงึ รเิ วอรว์ อชจดั เปน็ หนว่ ยแผนทด่ี นิ ประเภท พื้นท่เี บ็ดเตลด็ R layer ช้นั อาร์ ช้ันหนิ ดานท่ยี ังไมม่ ีการผพุ ัง [ดู soil horizon ประกอบ] 173
rock-forming minerals rock-forming minerals แร่ประกอบหิน แรต่ ่าง ๆ ทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบ สำ� คญั ของหนิ ใชเ้ ปน็ หลกั ในการจำ� แนกชนดิ ของหนิ แรป่ ระกอบ หนิ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ ควอตซ์ เฟลดส์ ปาร์ ไมกา แอมฟโิ บล ไพรอกซนี โอลวิ นี แคลไซต์ และโดโลไมต์ rock fragment ช้นิ ส่วนหนิ เศษหินหรอื กรวดทมี่ ขี นาดต้งั แต่ ๒ มลิ ลิเมตร ขน้ึ ไปซงึ่ เชอื่ มแน่น หรือทนทานตอ่ การท�ำให้แตก rockiness สภาพหินโผล่ปน สัดส่วนสัมพัทธ์ของหินโผล่ซึ่งปะปนอยู่ บนผวิ หนา้ ดนิ ต้ังแตร่ อ้ ยละ ๒ ขน้ึ ไป โดยใช้เป็นประเภทดินหนึง่ ในหน่วยแผนทด่ี นิ [ดู rock outcrop ประกอบ] rock land ทีด่ นิ หนิ โผล่ พืน้ ที่ดินต้นื ทพี่ บหินโผล่บนผิวดนิ ร้อยละ ๒๕-๙๐ ของพื้นท่ี เกิดจากการกร่อนดิน ท่ีดินหินโผล่จัดเป็นหน่วย แผนท่ีดนิ ประเภทพ้ืนทเ่ี บด็ เตล็ด rock outcrop หินโผล่ หินทีโ่ ผลพ่ ้นผวิ ดนิ กระจายทัว่ ไปท�ำให้เปน็ อปุ สรรค ตอ่ การไถพรวนเพอื่ การปลกู พชื ปรกตติ อ้ งจำ� แนกชนดิ ของหนิ วา่ R เป็นหินชนดิ ใด อาจใชเ้ ป็นหนว่ ยแผนที่ เช่น หนว่ ยหนิ ทรายโผล่ rock salt เกลอื หนิ มวลผลึกแร่เฮไลต์ หรอื เกลอื โซเดียมคลอไรดท์ ี่สะสมตัว ในยคุ ตา่ ง ๆ ของธรณกี าล มกั เปน็ มวลชนั้ ตอ่ เนอ่ื ง ในประเทศไทย พบมากในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ [ดู halite ประกอบ] rolling topography ภมู ิประเทศแบบลกู คลนื่ ลอนชัน สภาพภูมปิ ระเทศ ที่มีลักษณะคล้ายลูกคล่ืน ด้านข้างของร่องคล่ืนมีความลาดชัน ระหวา่ งรอ้ ยละ ๘-๑๖ และมคี วามลกึ มากกวา่ ความกวา้ งของรอ่ ง root bed ชั้นดินรากพืช ช้ันดินที่ถูกไถพรวนและปรับปรุงดินให้ร่วนซุย เหมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตของราก root exudates สารขบั จากราก สารอนิ ทรยี ท์ รี่ ากพชื ขบั ออกมาสสู่ งิ่ แวดลอ้ ม ในระหว่างการเจริญเติบโตของพืช ส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก จุลินทรีย์ใช้ได้ง่าย จึงมีบทบาทส�ำคัญ 174
runoff R ในการควบคมุ กลมุ่ จลุ นิ ทรยี ์ การเจรญิ และกจิ กรรมของจลุ นิ ทรยี ์ ในเขตอทิ ธิพลรากพชื root zone บรเิ วณรากพชื ส่วนของช้ันดนิ ทร่ี ากพืชดูดใชน้ ำ้� และอาหาร rotary hoeing การพรวนด้วยจอบหมนุ การไถพรวนดินต้ืน ๆ โดยใช้จอบ หมนุ ตดี นิ ใหแ้ ตกเปน็ กอ้ นเลก็ คลกุ เคลา้ ดนิ และเพอ่ื ควบคมุ วชั พชื rotary tilling การไถแบบเจาะหมุน, การไถพรวนแบบหมนุ การไถพรวน ดินต้ืน ๆ โดยใช้เครื่องไถแบบหมุนเพื่อให้ดินแตกเป็นก้อนเล็ก รว่ นซุย เพอ่ื คลกุ เคลา้ ดนิ RQ (respiratory quotient) อารค์ วิ (สดั สว่ นการหายใจ) ดู respiratory quotient (RQ) rubble land ทด่ี ินดาดหนิ พืน้ ทซี่ งึ่ มีหินมนเล็ก หนิ มนใหญ่ และก้อนหนิ ต้งั แต่ร้อยละ ๙๐ ของพ้นื ที่ ท่ดี นิ ดาดหินจดั เป็นหนว่ ยแผนทีด่ นิ ประเภทพ้นื ท่เี บด็ เตล็ด runoff นำ้� ไหลบา่ , นำ�้ ไหลผา่ น นำ้� จากฝนทต่ี กลงมาหรอื จากการชลประทาน และไม่ได้คงอยู่ในพ้ืนที่น้ัน แต่ไหลออกไปท่ีอื่น มีท้ังส่วนที่ไหล ออกไปบนพื้นผวิ ดนิ เรยี กวา่ น�้ำไหลบ่าผิวดิน (surface runoff) และส่วนที่ไหลซึมออกไปใต้ดิน เรียกว่า น้�ำไหลผ่านใต้ดิน (groundwater runoff) ในกรณขี องนำ้� ไหลบา่ ผวิ ดนิ หากไหลไป เป็นแม่นำ�้ ลำ� คลอง เรยี กอกี อย่างหนงึ่ วา่ นำ้� ทา่ 175
salic diagnostic horizon; salic horizon S salic diagnostic horizon; salic horizon ชั้นดินวินิจฉัยซาลิก ชัน้ ดินลา่ งวนิ จิ ฉยั ในระบบอนกุ รมวิธานดนิ เป็นชัน้ ดินแรท่ ม่ี กี าร สะสมเกลอื ทตุ ยิ ภมู ทิ ล่ี ะลายในนำ�้ เยน็ ไดม้ ากกวา่ ยปิ ซมั มคี วามหนา ไม่น้อยกว่า ๑๕ เซนติเมตร มีค่าการน�ำไฟฟ้าท่ีสกัดจากดิน ที่อ่ิมตัวอย่างน้อย ๓๐ เดซิซีเมนส์ต่อเมตร และผลคูณของค่า การน�ำไฟฟ้าท่ีมีหน่วยเป็นเดซิซีเมนส์ต่อเมตรกับความหนาเป็น เซนติเมตรมีคา่ ไมน่ อ้ ยกว่า ๙๐๐ Salids เซลดิ ส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ แอรดิ ซิ อลสใ์ นระบบอนกุ รม วิธานดิน เปน็ ดนิ ซงึ่ มชี นั้ ดินวนิ จิ ฉัยเซลิกภายใน ๑๐๐ เซนตเิ มตร S จากผิวดิน ไม่พบอันดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู Aridisols และ salic diagnostic horizon; salic horizon ประกอบ] salination; salinization การสะสมเกลอื กระบวนการท่ีมีการสะสมเกลอื ละลายได้ในดนิ saline seep น�้ำเค็มซึม น้�ำเค็มใต้ดินที่ซึมข้ึนมายังผิวดินหรือใกล้ผิวดิน เปน็ ครง้ั คราวหรอื อยา่ งตอ่ เนอื่ งในสภาพแหง้ แลง้ ทำ� ใหก้ ารเจรญิ เติบโตของพืชลดลง saline sodic soil ดินเค็มโซดิก ดินซ่ึงมีปริมาณโซเดียมท่ีแลกเปล่ียนได้ และปริมาณเกลือท่ีละลายน�้ำได้ในระดับท่ีมีผลกระทบต่อการ เจริญเติบโตของพืช มีโซเดียมท่ีแลกเปลี่ยนได้ต้ังแต่ร้อยละ ๑๕ ขึ้นไป หรือมีค่าอัตราส่วนของการดูดซับโซเดียมตั้งแต่ ๑๓ ข้ึนไป สภาพน�ำไฟฟ้าของสารละลายดินที่สกัดจากดินท่ี อม่ิ ตวั ดว้ ยนำ้� มคี ่ามากกว่า ๔ เดซิซีเมนสต์ ่อเมตรที่อณุ หภูมิ ๒๕ 176
salt tolerance plant S องศาเซลเซยี ส และพีเอชของดนิ มคี ่า ๘.๕ หรอื นอ้ ยกวา่ เดิมใช้ วา่ saline alkali soil saline soil ดนิ เคม็ ดนิ ซง่ึ มปี รมิ าณเกลอื ทล่ี ะลายนำ�้ ไดใ้ นระดบั ทมี่ ผี ลกระทบ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื มคี า่ สภาพนำ� ไฟฟา้ ของสารละลายดนิ ที่สกดั จากดินซ่งึ อ่มิ ตวั ดว้ ยน้ำ� ตง้ั แต่ ๔ เดซซิ เี มนส์ต่อเมตรข้นึ ไป ทอี่ ณุ หภมู ิ ๒๕ องศาเซลเซยี ส คา่ รอ้ ยละของโซเดยี มทแี่ ลกเปลย่ี น ได้น้อยกว่า ๑๕ เกลือท่ีพบมักเป็นเกลือคลอไรด์และซัลเฟต ของโซเดยี ม แคลเซียม และแมกนเี ซียม salinization; salination การสะสมเกลือ ดู salination; salinization salt-affected soil ดินทมี่ ีผลกระทบจากเกลือ ดินทมี่ ปี รมิ าณเกลือละลาย อยู่มาก จนมีผลกระทบตอ่ การเจริญเติบโตของพชื ส่วนใหญ่ saltation การกระดอน ๑. กระบวนการทเี่ ศษหนิ กรวด และทราย ถกู กระแส น้�ำพัดพาให้เคล่ือนท่ีแบบกระโดดไปตามท้องน�้ำเป็นช่วง ๆ ไม่ตอ่ เนอื่ งกนั และระยะทางส้ัน ๆ ๒. การเคล่ือนที่ของเม็ดทรายซ่ึงมีเส้นผ่านศูนย์กลาง ๐.๑-๐.๕ มิลลิเมตร โดยกระแสลมพัดให้กระดอนข้ึนสูงจากผิวดินไม่เกิน ๑๕ เซนติเมตร เป็นระยะทางสั้น ๆ ในทะเลทราย salt-replaceable acidity สภาพกรดแทนที่ได้ดว้ ยเกลอื สภาพกรดในดนิ ที่อะลูมิเนียมไอออนและไฮโดรเจนไอออนถูกปลดปล่อยออกมา ในสารละลายดินโดยการแทนที่ด้วยสารละลายเกลือซ่ึงมิได้ มีสมบตั บิ ฟั เฟอร์ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ โซเดียมคลอไรด์ salt tolerance ความทนเค็ม ความสามารถของพืชในการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตได้ในดินที่มีเกลือละลายอยู่มากเกินไปในบริเวณ ระบบรากพชื salt tolerance plant พืชทนเค็ม พืชท่ีสามารถเจริญเตบิ โตและดำ� รงชีพ จนขยายพันธุ์ได้ในดินท่ีมีค่าสภาพน�ำไฟฟ้าตั้งแต่ ๘ เดซิซีเมนส์ ต่อเมตรขน้ึ ไป 177
sand sand ๑. อนภุ าคทราย ดูค�ำอธิบายใน soil separate ๒. ดนิ ทราย ดูค�ำอธบิ ายใน soil texture sand bar สันดอนทราย พดื สันทรายใตน้ ำ้� ตื้นในแมน่ �ำ้ ปากแม่นำ้� หรือใกล้ ปากแม่น้�ำ เกิดจากคลื่นและกระแสน้�ำพัดพาทรายมาตกทับถม รวมกันเกดิ เป็นพืดยาว อาจมีเปลือกหอย กรวด และโคลนรวม อย่ดู ้วย sand dune เนินทราย เนินท่ีเกิดข้ึนโดยลมพัดพาตะกอนทรายมากอง รวมกัน พบตามแนวฝั่งทะเลและทะเลทราย [ดู dune ประกอบ] sandy clay ดนิ เหนียวปนทราย ดคู �ำอธิบายใน soil texture sandy clay loam ดนิ ร่วนเหนยี วปนทราย ดูค�ำอธบิ ายใน soil texture sandy loam ดินร่วนปนทราย ดคู ำ� อธิบายใน soil texture sandy soils กลุ่มดินทราย กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเนื้อหยาบ [ดู coarse textured soil ประกอบ] sapric soil material วสั ดดุ นิ แซพริก วสั ดุดนิ อนิ ทรยี ์ที่มีการสลายตัวสงู S มมชีคี นิ้วาสมว่ หนนพาชื แหนรน่อื สรวตั มวตเ์ หำ่� ลมอืาอกยมนู่ ีคอ้ วยากมวสา่ า๑๖มาขรอถงใวนสั กดาอุ รนิ อทุ้มรนยี �้ำท์ สง้ังู หมมากด [ดู fibric soil material และ hemic soil material ประกอบ] Saprists แซพรสิ ตส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนงึ่ ของอนั ดบั ดนิ ฮสิ โทซอลสใ์ นระบบ อนกุ รมวธิ านดิน เปน็ ดนิ อนิ ทรยี ซ์ ึง่ มวี สั ดุดนิ แซพริกมากกวา่ วสั ดุ ดนิ อนิ ทรีย์ชนดิ อื่น ๆ และมีความหนามากกวา่ ๔๐ เซนติเมตร ไมพ่ บอนั ดบั ยอ่ ยนใี้ นประเทศไทย [ดู Histosols และ sapric soil material ประกอบ] saprolite หนิ ผคุ งสภาพ, แซโพรไลต์ หินเนอ้ื ย่ยุ คลา้ ยดิน เกดิ จากการผพุ งั ทางเคมีอยู่กับที่ของหินชนิดต่าง ๆ โดยยังคงสภาพของเนื้อพื้น และโครงสร้างของหนิ เดมิ 178
scoria land S saprophyte แซโพรไฟต์ จุลินทรีย์ที่ด�ำรงชีวิตโดยอาศัยสารอินทรีย์ ทผี่ พุ ังเน่าเปอ่ื ยเปน็ อาหาร SAR (sodium adsorption ratio) เอสเออาร์ (อัตราส่วนการดูดซับ โซเดียม) ดู sodium adsorption ratio (SAR) saturated extract สารสกัดดนิ อิ่มตวั สารละลายท่สี กดั ได้จากดินท่ีอม่ิ ตัว ด้วยน้ำ� saturated soil paste ดนิ เหลว ส่วนผสมของดนิ และน�ำ้ ในสภาวะทีด่ ิน อม่ิ ตวั ดว้ ยนำ้� จนมสี ภาพเรมิ่ เหลว และมลี กั ษณะเลอ่ื มแสง ไหลได้ เล็กน้อยเมื่อเอยี งภาชนะ scarp; escarpment ผาชัน, ผาตง้ั ดู escarpment; scarp schematic soil map แผนท่ีดินแบบกว้าง แผนท่ีดินท่ีมีมาตราส่วน ขนาดเล็กเหมือนแผนที่ดินแบบท่ัวไป แต่ท�ำขึ้นจากการตีความ ข้อมูลความแตกต่างของปัจจัยการเกิดดิน รวมท้ังภาพถ่ายทาง อากาศและภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม ใชใ้ นการเขยี นขอบเขตของดนิ [ดู generalized soil map ประกอบ] schist หนิ ชสี ต์ หนิ แปรชนดิ หนงึ่ ซง่ึ เกดิ จากการแปรสภาพเนอื่ งจากแรงกดดนั ทำ� ใหผ้ ลกึ แรม่ กี ารเรยี งตวั ใหมเ่ ปน็ แนวขนานกนั เนอ้ื หนิ ลกั ษณะ เป็นแผ่นบาง หรือเป็นแท่งยาว หินชีสต์จ�ำแนกย่อยตาม ส่วนประกอบของผลึกแร่ที่มองเห็นได้ชัดเจน เช่น ไมกาชีสต์ ฮอรน์ เบลนด์ชสี ต์ scoria ตะกรนั ภเู ขาไฟ ชนิ้ สว่ นหนิ ภเู ขาไฟซงึ่ ถกู ระเบดิ กระจายขน้ึ ไปในอากาศ แล้วแข็งตัวตกลงมายังพ้ืนโลก โดยมากสีคล�้ำ มีรูพรุน เน้ือเป็น แก้วแกมผลึก หากมีขนาดเล็กอยู่ระหว่าง ๔-๓๒ มิลลิเมตร เรียกว่า กรวดภูเขาไฟ scoria land ที่ดินสกอเรีย พื้นท่ีซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ของชั้นถ่านหิน ประกอบดว้ ยเถา้ ถา่ นหนิ ทหี่ ลอมตวั รวมกนั และอาจมหี นิ ดนิ ดาน 179
secondary element หรือหินทรายเนื้อละเอียด ท่ีดินสกอเรียจัดเป็นหน่วยแผนที่ดิน ประเภทพ้นื ท่เี บด็ เตล็ด secondary element ธาตอุ าหารรอง ดูคำ� อธบิ ายใน macronutrient screefing การถากหน้าดิน วิธีการเตรียมดินป่าไม้ส�ำหรับการปลูกหรือ เพาะกล้าไม้ โดยการใช้เครอื่ งจกั รกลดนั ชน้ั ฮวิ มสั หนา้ ดนิ ออกไป กองด้านขา้ งเพอ่ื เปดิ ชน้ั ดนิ แร่ secondary mineral แร่ทุตยิ ภมู ิ แรท่ ี่เกดิ จากการสลายตวั ของแร่ปฐมภมู ิ แร่ทุติยภูมิเดิม หรือการตกตะกอนอีกครั้งจากการสลายตัว ของแร่ปฐมภมู ิ [ดู primary mineral ประกอบ] secondary tillage; harrowing การไถแปร ดู harrowing; secondary tillage sediment ตะกอน เศษหนิ ดิน แร่ และสารอินทรยี ์ทีเ่ กิดจากกระบวนการ ผพุ งั วสั ดเุ หล่าน้ถี กู นำ้� ลม หรือธารนำ�้ แขง็ พามาสะสม sedimentary rock หินตะกอน หินซึง่ เกดิ จากการทับถมของตะกอนที่ได้ S จากการผพุ งั แตกสลายของหนิ อคั นี หนิ แปร หรอื หนิ ตะกอน และ ถกู พดั พามาตกจมสะสมโดยนำ�้ ลม ธารนำ�้ แขง็ หรอื การตกตะกอน ทางเคมีหรือกระบวนการทางฟิสิกส์ และหมายรวมถึงหิน ทเี่ กดิ จากการสะสมของซากดึกด�ำบรรพท์ ่ีแปรสภาพด้วย sedimentation การตกตะกอน กระบวนการตกจมสะสมของตะกอน sedimentology วิทยาตะกอน วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งท่ีศึกษาเก่ียวกับ กระบวนการตกตะกอนและสมบัติของตะกอน sediment yield ผลได้ตะกอน มวลตะกอนดินซ่ึงถูกพัดพามาในลุ่มน้�ำ หรือถูกพัดพาออกไปจากล�ำน้�ำ ในช่วงเวลาท่ีก�ำหนด ณ จุดที่ ศกึ ษา seepage การซึม การไหลซึมอย่างช้า ๆ ของของเหลวผ่านช่องว่าง ภายในดิน ตามรอยเลอ่ื น หรือแนวแตกของหิน 180
sensor S seepage erosion การกรอ่ นซมึ กระบวนการกร่อนดินซง่ึ เกิดจากการไหล ซึมอย่างชา้ ๆ ของน้ำ� ใตผ้ ิวดนิ self muching soil ดนิ คลมุ ตัวเอง ดินทผ่ี วิ ดินจบั ตัวกันอย่างดี แตไ่ มใ่ ช่ ชน้ั แผน่ แข็งผวิ ดนิ ท�ำหน้าท่ีเป็นวัสดคุ ลมุ ดิน ช่วยปอ้ งกันการตก กระแทกของเม็ดฝน และช่วยรักษาความชื้นไว้ในดินในช่วง ฤดแู ลง้ [ดู soil crust ประกอบ] semi-detailed soil map แผนที่ดินแบบก่ึงละเอียด แผนท่ีดิน ทีม่ ีมาตราสว่ น ๑ : ๒๕,๐๐๐ ถึง ๑ : ๖๐,๐๐๐ หนว่ ยแผนทดี่ นิ สว่ นใหญเ่ ป็นชดุ ดนิ ประเภทของชดุ ดนิ ฯลฯ การผลติ แผนทด่ี นิ แบบน้ีมีวัตถุประสงค์ในการวางแผนการใช้ดินระดับอ�ำเภอ การวางแผนโครงการชลประทาน semi-detailed soil survey การสำ� รวจดนิ แบบกง่ึ ละเอยี ด การสำ� รวจดนิ แบบหนง่ึ เพอื่ ตอ้ งการทราบขอ้ มลู ขอ้ สนเทศของดนิ อยา่ งละเอยี ด ปานกลาง โดยใชภ้ าพถ่ายทางอากาศมาตราสว่ น ๑ : ๑๕,๐๐๐ ถึง ๑ : ๔๐,๐๐๐ ประกอบกับแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ เป็นแผนที่พื้นฐาน การเจาะส�ำรวจตรวจสอบ ในสนามประมาณ ๒-๔ หลมุ ต่อพืน้ ที่ ๑ ตารางกิโลเมตร semipermeable membrane เย่ือก่ึงซึมผา่ นได้ ชั้นเยื่อบาง ๆ ท่ีใหส้ าร บางชนิดผา่ นไดม้ ากกว่าสารชนดิ อน่ื semi-recent alluvial terrace ตะพักตะกอนน�ำ้ พาค่อนข้างใหม่ ตะพกั ล�ำน�้ำที่อยู่ระหว่างตะพักล�ำน�้ำระดับต�่ำกับท่ีราบน้�ำท่วมถึง ตะกอนทท่ี บั ถมเป็นตะกอนน้ำ� พาค่อนข้างใหม่ sensor เครื่องรับรู้ ๑. อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณหรือปริมาณทางฟิสิกส์ เชน่ อณุ หภมู ิ ความชน้ื เสยี ง แสง แรงทางกล ความดนั บรรยากาศ ความเรว็ ระดบั ของของเหลว อตั ราการไหล จากนั้นจะท�ำหน้าท่ี เปลย่ี นสญั ญาณเปน็ ปรมิ าณเพอื่ น�ำไปประมวลผลตอ่ ไป 181
sepiolite ๒. อปุ กรณต์ รวจจบั การแผร่ งั สแี มเ่ หลก็ ไฟฟา้ (electromagnetic radiation, EMR) หรอื พลงั งานอน่ื ๆ และแสดงออกมาใหร้ บั รไู้ ด้ ในรปู แบบทเ่ี หมาะสมเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สนเทศและขอ้ มลู ของวตั ถหุ รอื สภาพแวดลอ้ ม sepiolite ซีพโิ อไลต์ แร่ดินเหนียวประเภท ๒ : ๑ แบบเสน้ ใย มสี ูตรเคมี Si12Mg8O30(OH)4(OH2).8H2 ประกอบด้วยแผ่นซิลิกา ๒ แผ่น และแผน่ แมกนีเซียม ๑ แผ่น sequum ชุดลำ� ดบั ชั้นดิน ชุดช้ันดินซ่งึ ประกอบดว้ ยช้นั ดินบน ชน้ั ดนิ สะสม และชัน้ ดนิ ซึมชะ series ชดุ หนว่ ยจำ� แนกดนิ ขนั้ ตำ�่ สดุ ในระบบอนกุ รมวธิ านดนิ ซง่ึ มขี อ้ จาํ กดั พิสัยของลักษณะเฉพาะ และสมบัติต่าง ๆ ของดินสม�่ำเสมอ มากกว่าหน่วยจ�ำแนกดินอ่ืน ๆ การจ�ำแนกชุดดินพิจารณาจาก ลักษณะเฉพาะของดิน การจดั เรียงของชน้ั ดิน วัตถุต้นก�ำเนดิ ดนิ สมบัติทางสัณฐาน สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทาง S ชวี ภาพ และตอ้ งมีพน้ื ทค่ี รอบคลุมมากกวา่ ๒๐ ตารางกโิ ลเมตร (ใชเ้ ฉพาะในประเทศไทย) การกำ� หนดชอ่ื ของชดุ ดนิ จะใชช้ อ่ื สถานที่ ซึ่งพบชุดดินนั้นเปน็ ครง้ั แรก หรอื ช่อื ของบริเวณซึง่ มลี กั ษณะเด่น เป็นทร่ี ู้จักกนั อย่างแพรห่ ลาย เชน่ จังหวัด อำ� เภอ ต�ำบล หมบู่ ้าน serpentine เซอร์เพนทีน แรป่ ระกอบหินกลมุ่ หนงึ่ มสี ูตรเคมี (Mg6, Fe6) (Si4O10)(OH)8 ผลกึ มขี นาดเล็กมาก และมสี เี ขียวออ่ น sesquan คราบเซสควอิ อกไซด์ คราบวตั ถซุ ง่ึ ประกอบดว้ ยเซสควิออกไซด์ [ดู cutan และ sesquioxide ประกอบ] sesquioxide เซสควิออกไซด์ ออกไซด์และไฮดรอกไซด์ของเหล็ก และอะลูมิเนียม shale หนิ ดนิ ดาน หนิ ตะกอนเนอื้ ละเอยี ด เกดิ จากการอดั แนน่ ของดนิ เหนยี ว ทรายแป้ง หรือโคลน มีโครงสร้างเป็นช้ันบางท�ำให้หินแตกเป็น แผน่ ไดง้ ่าย 182
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 456
Pages: