siderophore S sheet erosion การกร่อนแบบแผ่น การเคลื่อนย้ายมวลดินออกไป จากผวิ ดนิ เป็นแผ่นบาง ๆ เน่ืองจากการไหลบ่าของน้ำ� บนผิวดนิ สว่ นใหญ่เกิดบนพ้นื ทีท่ ม่ี ีความลาดชันนอ้ ย shore ชายทะเล เขตระหวา่ งแนวน�้ำทะเลลงต่�ำสุดกบั ขึน้ สงู สุด shoreline แนวชายทะเล แนวน้�ำทะเล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง [ดู shore ประกอบ] shoulder ไหล่เขา ส่วนที่อยู่ถัดจากยอดเขาลงมา มีลักษณะของความลาด เปน็ แบบโคง้ นูน shrinkage characteristic ลกั ษณะเฉพาะของการหดตัว ความสัมพันธ์ ระหวา่ งปรมิ าตรดนิ และปรมิ าตรน�้ำในมวลดินหรือเมด็ ดนิ นนั้ shrinkage coefficient สัมประสิทธ์ิการหดตัว ๑. การเปล่ียนแปลง ของปริมาตรรวมของดินต่อการเปลี่ยนแปลงของมวลน�้ำเม่ือ ความเครยี ดคงท่ี ๒. อัตราการเปล่ียนแปลงของอัตราส่วนช่องดินต่ออัตราส่วน ความช้นื ของดินเมอื่ ความเครยี ดคงท ่ี shringkage limit ขดี จํากัดการหดตวั ระดบั ความช้ืนนอ้ ยทีส่ ดุ ของมวลดนิ ขณะทดี่ นิ เปลย่ี นสภาพจากกง่ึ ของแขง็ เปน็ ของแขง็ และจะไมห่ ด ตวั อกี shrub-coppice dune เนนิ ทรายป่าละเมาะ, เนินทรายปา่ แซม เนินทราย ขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายรูปไข่ หรือเรียวบาง เกิดจากการสะสม ของเมด็ ทรายบริเวณรอบ ๆ ไมพ้ มุ่ ละเมาะท่ีอยู่ใตล้ ม side dressing การใส่ปุ๋ยดา้ นข้าง การโรยหรือใสป่ ุย๋ เป็นแถบข้างแถวพืช หลังการงอก siderophore ซเิ ดอโรฟอร์ สารเมแทบอไลตใ์ นกลมุ่ นอนพอรไ์ ฟรนิ ชนดิ หนงึ่ ซ่ึงคัดหล่ังออกมาโดยจุลินทรีย์บางชนิด เป็นสารประกอบคีเลต กับเหล็ก มีความเสถียรสูง มี ๒ ประเภทหลัก คือ คาทีโคเลต (catecholate) และไฮดรอกซาเมต (hydroxamate) 183
Sierozem soil Sierozem soil ดินซายโรเซม กลุ่มดินหลักกลุ่มหนึ่งในอันดับดินโซนัล ตามระบบการจ�ำแนกดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๔๘๑ (ค.ศ. ๑๙๓๘) เป็นดินท่ีเกิดในสภาพภูมิอากาศ แบบแห้งแล้งของเขตอบอุ่นถึงเขตหนาว ชั้นดินบนสีเทาปน สีน้�ำตาลบนชั้นดินสีเทาจาง พบสารเน้ือปูนในระยะความลึก นอ้ ยกว่า ๓๐ เซนติเมตรจากผวิ หน้าดนิ silica-alumina ratio อตั ราสว่ นซลิ กิ า-อะลมู นิ า ปรมิ าณโมเลกลุ ของซลิ คิ อน ไดออกไซด์ (SiO2) ต่อปริมาณโมเลกุลของอะลูมินัมออกไซด์ (Al2O3) ในแร่ดนิ เหนยี วหรือในดนิ silican คราบซลิ กิ า คราบวตั ถุทป่ี ระกอบด้วยซิลิกาในรูปต่าง ๆ เชน่ คราบ แรค่ วอตซข์ นาดอนภุ าคดนิ เหนยี วและทรายแปง้ (quartzan) และ คราบแร่คาลซโิ ดนีท่ีมรี ะบบผลึกไม่สมบรู ณ์ (chalcedan) silica-sesquioxide ratio อตั ราสว่ นซลิ กิ า-เซสควอิ อกไซด์ ปรมิ าณโมเลกลุ ของซลิ ิคอนไดออกไซด์ (SiO2) ต่อปรมิ าณโมเลกลุ ของอะลูมินมั ออกไซด์ (Al2O3) กบั เหลก็ เฟรร์ กิ ออกไซต์ (Fe2O3) ในแรด่ นิ เหนยี ว S หรอื ในดิน silt ๑. อนภุ าคทรายแป้ง ดูค�ำอธิบายใน soil separate ๒. ดนิ ทรายแปง้ ดคู ำ� อธิบายใน soil texture silting การตกตะกอนทรายแปง้ การตกจมและทับถมของอนุภาคทรายแปง้ ซึ่งเกิดในสภาพน้�ำน่ิงหรือไหลช้า ศัพท์ค�ำน้ีบ่อยครั้งใช้รวมถึง อนุภาคขนาดดินเหนียวถงึ ขนาดทราย silt loam ดนิ ร่วนปนทรายแปง้ ดคู ำ� อธิบายใน soil texture silty clay ดินเหนยี วปนทรายแป้ง ดคู �ำอธบิ ายใน soil texture silty clay loam ดนิ ร่วนเหนยี วปนทรายแป้ง ดคู �ำอธบิ ายใน soil texture simple packing void ช่องว่างแบบเดี่ยว ช่องว่างในดินท่ีเกิดจาก การเกาะกันของอนุภาคทราย มองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ โพลาไรซ์ 184
slickenside S single fertilizer; straight fertilizer ปยุ๋ เชิงเด่ยี ว ตามพระราชบัญญัติ ปุ๋ย พ.ศ. ๒๕๕๐ หมายถงึ ปยุ๋ เคมีทม่ี ีธาตอุ าหารหลกั ธาตุเดียว ได้แก่ ปยุ๋ ไนโตรเจน ป๋ยุ ฟอสเฟต และปุย๋ โพแทช sinkhole หลุมยุบ หลุมหรือแอ่งบนแผ่นดินที่ปากหลุมเกือบกลม และมีเส้นผ่านศูนย์กลางราว ๒๐ เมตรถึงกว่า ๒๐๐ เมตร เกิดจากน้�ำละลายเกลือหิน หินยิปซัม หรือหินปูนที่อยู่ข้างใต้ ออกไป ทำ� ให้พื้นดินตอนบนยบุ ลงเป็นหลมุ ใหญ่ siphon tube ท่อกาลักน้�ำ, ท่อไซฟอน ท่อขนาดเล็กท่ีใช้ในการดูดน้�ำ ชลประทานข้ามขอบคลองหรือสันดินหัวร่องไปยังร่องระหว่าง แถวพชื หรือรอ่ งลกู ฟกู skeletal soil ดินปนกรวด ดินท่ีมีอนุภาคขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางสมมูล มากกว่า ๒ มิลลิเมตรปนอยู่ในเน้ือดิน เช่น เศษหินและกรวด ในปรมิ าณตั้งแตร่ อ้ ยละ ๓๕ ข้นึ ไปโดยปรมิ าตร และพบภายใน ความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผิวดิน skeletan คราบอนภุ าคหยาบ คราบวตั ถทุ ป่ี ระกอบด้วยเม็ดอนุภาคหยาบ [ดู cutan และ skeleton grain ประกอบ] skeleton grain เม็ดอนุภาคหยาบ อนุภาคเดี่ยวในดินซ่ึงมีความเสถียร และเคลื่อนย้ายได้ยาก มีการสะสมหรือจัดเรียงตัวกันใหม่ โดยกระบวนการเกิดดิน หมายรวมถึงอนุภาคแร่ซิลิกาที่คงทน และอนภุ าคอนิ ทรยี สารทม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ คอลลอยด์ [ดู plasma ประกอบ] slaked lime; hydrated lime ปนู สกุ , ปนู ขาว ดู hydrated lime; slaked lime slickenside รอยไถล รอยถูไถที่ผิวในหน้าตัดดิน มีลักษณะเรียบมัน เกิดจากการเล่ือนไถลระหว่างมวลของก้อนดินท่ีอยู่ติดกัน เนื่องจากการขยายตัวและหดตัวของก้อนดินเมื่อเปียกและแห้ง 185
slick spot โดยเฉพาะในดนิ เหนยี วประเภททม่ี กี ารยดื และหดตวั สงู โดยทวั่ ไป พบในหนา้ ตดั ดินตอนลา่ ง slick spot จุดรอยไถล พื้นท่ีที่มีรอยถูไถขนาดเล็ก ๆ ของผิวหน้าตัดดิน มลี กั ษณะเรยี บและมนั เกดิ จากการเลอ่ื นไถลไปมาของมวลกอ้ นดนิ [ดู slickenside ประกอบ] slit planting; slot planting การปลูกตามรอยแยก วิธีการปลูกพืช โดยการเปิดร่องเล็ก ๆ ในดิน เพ่ือหยอดเมล็ดในความลึก ที่เหมาะสม อาจมีการฉีดพ่นสารก�ำจัดวัชพืชก่อนการปลูก พร้อมการปลูก หรือหลังการปลกู พชื เพ่อื ลดการไถพรวน slope ความลาด ความเอียงของพื้นผิวไปจากแนวระนาบ โดยแสดงเป็น ค่ารอ้ ยละหรอื องศา slope complex land ท่ีดินลาดชันเชิงซ้อน พ้ืนท่ีซ่ึงมีความลาดชัน เฉลี่ยมากกว่าร้อยละ ๓๕ ลักษณะของดินมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของหินและความลาดชัน ที่ดินลาดชันเชิงซ้อน จัดเป็นหน่วยแผนท่ีดนิ ประเภทพน้ื ทเ่ี บ็ดเตลด็ S slot planting; slit planting การปลูกตามรอยแยก ดู slit planting; slot planting slough ปลักโคลน, ปลักตม หนองและบึงท่ีมีน�้ำตื้น และอาจมีการไหล ของน้ำ� อยา่ งช้า ๆ slow release fertilizer ปยุ๋ ปลดปลอ่ ยชา้ ปยุ๋ ทมี่ อี งคป์ ระกอบละลายชา้ ๆ หรือปุ๋ยละลายง่ายท่ีเคลือบด้วยสารประกอบที่น�้ำผ่านได้ยาก เพ่ือควบคุมการปลดปล่อยธาตุอาหารทเ่ี ป็นประโยชน์ slump การเลื่อนไถล การเคล่ือนท่ีของมวลหินหรือเศษดินเศษหินลงมา ตามความลาดชันหรือตามระนาบโค้งเว้า ส่วนใหญ่เกิดบริเวณ หนา้ ผา ไหล่เขา ตามตลง่ิ แมน่ ำ�้ หรือขอบบ่อเหมอื งแร่ small-scale map แผนที่มาตราส่วนเล็ก แผนท่ีที่มีมาตราส่วนเล็กกว่า ๑ : ๑,๐๐๐,๐๐๐ 186
sod waterway; grassed waterway S smectite สเมกไทต์ กล่มุ แร่ดนิ เหนียวอะลูมิโนซลิ ิเกตชนดิ ๒ : ๑ มีความจุ แลกเปล่ียนแคตไอออนสูง ประมาณ ๑๑๐ เซนติโมลต่อกิโลกรมั เดมิ เรียกว่า กลุม่ มอนต์มอรลิ โลไนต์ กลุ่มแร่ดนิ เหนยี วสเมกไทต์ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คอื ๑. ไดออกตะฮดี รอน ประกอบ ดว้ ยมอนตม์ อรลิ โลไนต์ ไบเดลไลต์ (beidellite) และนอนโทรไนต์ (nontronite) และ ๒. ไทรออกตะฮีดรอน ประกอบด้วย แซโพไนต์ (saponite) เฮกเทอไรต์ (hectorite) และซอโคไนต์ (sauconite) sodic soil ดนิ โซดกิ ดนิ ซง่ึ มปี รมิ าณโซเดยี มทแี่ ลกเปลย่ี นไดจ้ ากสารละลาย ดนิ ทสี่ กดั ไดจ้ ากดนิ ทอ่ี มิ่ ตวั ตง้ั แตร่ อ้ ยละ ๑๕ ขน้ึ ไป มคี า่ อตั ราสว่ น การดูดซับโซเดียมต้ังแต่ ๑๓ ขึ้นไป สภาพน�ำไฟฟ้าต่�ำกว่า ๔ เดซิซีเมนส์ต่อเมตรท่ีอุณหภูมิ ๒๕ องศาเซลเซียส มีพีเอช สูงกวา่ ๘.๕ sodification กระบวนการโซดิก กระบวนการที่ท�ำให้ปริมาณโซเดียม ท่ีแลกเปลี่ยนไดใ้ นดินเพมิ่ ขนึ้ sodium adsorption ratio (SAR) อตั ราสว่ นการดดู ซบั โซเดยี ม (เอสเอ อาร์) อัตราส่วนระหว่างโซเดียมท่ีละลายน�้ำได้กับแคลเซียม และแมกนเี ซยี มทล่ี ะลายนำ้� ได้ ใชใ้ นการประเมนิ ชนดิ ของดนิ เคม็ อตั ราส่วนการดูดซบั โซเดียมค�ำนวณไดด้ งั นี้ เมื่อความเข้มขน้ ของ [Na+], [Ca2++Mg2+] มีหน่วยเป็นโมล ของไอออนตอ่ ลติ ร sod waterway; grassed waterway ทางน้�ำหญ้าคลุม ดู grassed waterway; sod waterway 187
soil soil ดิน วัสดุตามธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลก เกิดจากการผุพังสลายตัว ของหินและแร่ ผสมกับอินทรียวัตถุ ท�ำหน้าที่เป็นฐานส�ำหรับ การเจรญิ เตบิ โตของพืช soil acidity สภาพกรดของดนิ ระดบั หรือความรนุ แรงของความเป็นกรด ในดนิ ซ่งึ แสดงโดยค่าพเี อชของดนิ ที่ต�ำ่ กวา่ ๗.๐ ประกอบดว้ ย สภาพกรดจริงและสภาพกรดตกค้าง [ดู active acidity และ residual acidity ประกอบ] soil aeration การถา่ ยเทอากาศในดนิ กระบวนการทอี่ ากาศในดนิ ถกู แทนที่ โดยอากาศจากบรรยากาศ soil aggregate กอ้ นอนภุ าคดิน มวลดนิ ที่เกิดจากการเกาะกันของอนุภาค ดินเป็นกลุ่ม เกิดโดยกระบวนการตามธรรมชาติ [ดู ped; soil ped และ soil clod ประกอบ] soil aggregation การเกดิ ก้อนอนภุ าคดิน กระบวนการเกาะตวั ของอนุภาค เดี่ยวเป็นเม็ดดิน ซึ่งเกิดจากแรง เช่น แรงจากการยืดหดตัว S ของดนิ และเกดิ จากสารเชอ่ื มตามธรรมชาติ เชน่ สารขบั จากราก จากกิจกรรมของจลุ นิ ทรยี ์ soil air อากาศในดิน แกส๊ ต่าง ๆ ทีเ่ ปน็ สว่ นประกอบของดินซึ่งอยใู่ นช่อง ของดิน soil alkalinity สภาพด่างของดิน ระดบั หรือความรุนแรงของความเป็นเบส ในดิน แสดงโดยค่าพเี อชของดนิ ทสี่ ูงกว่า ๗.๐ soil amendment วสั ดปุ รบั ปรงุ ดนิ วสั ดทุ เี่ ตมิ ลงดนิ เพอ่ื แกไ้ ขและปรบั ปรงุ สภาพของดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ปูน ยบิ ซมั ขเ้ี ลอ่ื ย ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ คอก เศษพชื สารสงั เคราะห์ สารเหลา่ นี้ อาจมธี าตุปุ๋ยเป็นองคป์ ระกอบ [ดู soil conditioner ประกอบ] soil association หน่วยดินสัมพันธ์ หน่วยแผนที่ดินที่ประกอบด้วย หน่วยดินทแ่ี ตกตา่ งกนั ตงั้ แต่ ๒ ชนิดข้นึ ไป และมคี วามสมั พนั ธ์ กันตามสภาพภูมิประเทศท่ีพบ ไม่สามารถจ�ำแนกได้ด้วยแผนท่ี 188
soil category S มาตราสว่ น ๑ : ๕๐,๐๐๐ แตจ่ ำ� แนกไดใ้ นพน้ื ทจ่ี รงิ เชน่ หนว่ ยดนิ สัมพันธ์ของชุดดินโคราชและชุดดินร้อยเอ็ด (Khorat/Roi Et association) ชุดดินทั้ง ๒ ชุดจะเกิดในสภาพภูมิประเทศ ที่ตดิ ตอ่ กนั ชดุ ดินโคราชจะพบในบรเิ วณทสี่ งู กวา่ ชุดดินร้อยเอด็ [ดู soil complex และ undifferentiated soil group ประกอบ] soil auger สว่านเจาะดิน เคร่อื งมือเก็บตัวอย่างดิน โดยการหมนุ เจาะลงไป ในดิน มหี ลายแบบ เชน่ แบบเกลยี ว (screw auger) แบบท่อ (tube auger) แบบใบมดี (blade auger) soil biochemistry ชวี เคมดี ิน สาขาหน่งึ ของปฐพีศาสตรท์ ศ่ี กึ ษาเกีย่ วกับ กระบวนการสร้างและใช้ประโยชน์ขององค์ประกอบทางเคมี ของส่งิ มีชีวติ ในดนิ soil block ตวั อยา่ งดนิ แบบบลอ็ ก ตวั อยา่ งดนิ ทเี่ กบ็ แบบไมร่ บกวนดนิ ดว้ ย กล่องคูบินาส�ำหรับเก็บตัวอย่างดิน ใช้ศึกษาการเคล่ือนย้ายสาร และการไหลแบบ ๓ มิติ soil buffer compound สารประกอบบัฟเฟอรข์ องดิน สารประกอบที่ สามารถต้านทานต่อการเปล่ียนแปลงความเป็นกรดเป็นเบส ของดิน เช่น คาร์บอเนต ฟอสเฟต ออกไซด์ ฟิลโลซิลิเกต สารอินทรีย์บางชนดิ soil bulk density ความหนาแน่นรวมของดิน อตั ราส่วนของนำ�้ หนักแห้ง ของดินท่ีผ่านการอบที่ ๑๐๕ องศาเซลเซียสกับปริมาตรรวม ของดิน มหี นว่ ยเป็นเมกะกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (Mg/m3) soil category ขั้นการจ�ำแนกดิน ล�ำดับข้ันของการจ�ำแนกดินในระบบ อนุกรมวิธานดินโดยใช้ลักษณะเฉพาะของดินเป็นพื้นฐาน ในการจดั จำ� แนกดนิ เขา้ เปน็ ชน้ั การจำ� แนกดนิ เดยี วกนั ซง่ึ แบง่ ชน้ั อนกุ รมวธิ านออกเป็น ๒ ข้ัน คอื ขัน้ สงู และขั้นต่�ำ ดังนี้ ๑. การจ�ำแนกขั้นสูง (higher category) ประกอบด้วยอันดับ อันดับยอ่ ย กลุ่มใหญ่ และกลุ่มยอ่ ย 189
soil characteristic ๒. การจ�ำแนกขั้นต่�ำ (lower category) ประกอบด้วยวงศ์ดิน และชุดดิน soil characteristic ลกั ษณะเฉพาะของดนิ สมบตั ขิ องดนิ ซงึ่ สามารถอธบิ าย และตรวจสอบไดใ้ นภาคสนามหรอื หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เชน่ สี อณุ หภมู ิ โครงสร้าง พเี อช และการแลกเปล่ยี นแคตไอออนของดิน soil chemistry เคมีของดิน สาขาหน่ึงของปฐพีศาสตร์ท่ีศึกษาเก่ียวกับ องคป์ ระกอบ สมบตั ิ และปฏกิ ริ ิยาเคมีของดนิ soil classification การจำ� แนกดนิ การจำ� แนกและจดั เรยี งดนิ ออกเปน็ กลมุ่ หรือข้ันอย่างมีระบบบนพ้ืนฐานของลักษณะดินน้ัน การจัดกลุ่ม อย่างกว้าง ๆ จะใช้ลักษณะทั่วไป เช่น อันดับใช้ลักษณะ ของภูมิอากาศ ช้ันดินวินิจฉัย และการจัดกลุ่มย่อยจะใช้ความ แตกตา่ งในสมบตั ทิ เ่ี ฉพาะเจาะจงมากขน้ึ เชน่ วงศด์ นิ ใชช้ นั้ ขนาด อนุภาค ชนิดของแร่ ระบอบอุณหภูมิดิน ช้ันปฏิกิริยาดิน มาประกอบในการจำ� แนก S soil clod ก้อนดิน ดินท่ีแตกออกเป็นก้อน ๆ จากการกระท�ำของมนุษย์ โดยการไถพรวน การขุด หรือวิธีกลอ่ืน ๆ ในขณะที่ดินเปียก หรือแห้งเกินไป ท�ำให้ดินถูกอัดตัว หรือแตกออกจากหน่วยท่ี มีขนาดใหญ่กวา่ soil colloid คอลลอยด์ดนิ ดคู ำ� อธบิ ายใน colloid soil column ตัวอย่างดินแบบแท่ง ตัวอย่างดินที่เก็บแบบไม่รบกวนดิน ตามแนวตั้งด้วยกระบอกเก็บดินหรือสว่านเจาะดินแบบท่อ ใช้ศกึ ษาการเคล่ือนยา้ ยสารและการไหลในแนวด่ิง soil compaction การอดั แนน่ ของดนิ กระบวนการทอี่ นภุ าคดนิ ถกู จดั เรยี ง ตัวโดยการลดปริมาตรช่อง ท�ำให้อนุภาคเกาะตัวกันแน่นขึ้น สง่ ผลให้ความหนาแน่นรวมเพิ่มข้ึน 190
soil consociation S soil complex ดนิ เชิงซ้อน หนว่ ยแผนท่ดี ินทปี่ ระกอบด้วยดนิ ตั้งแต่ ๒ ชนดิ ข้ึนไป ซง่ึ เกิดปะปนกนั อย่างซบั ซอ้ นและไม่สามารถแบ่งขอบเขต ออกจากกันได้ในแผนที่ดินมาตราส่วนเล็กกว่า ๑ : ๒๔,๐๐๐ โดยเขยี นเปน็ หนว่ ยแผนทด่ี นิ เชน่ ชดุ ดนิ ทา่ มว่ ง-สรรพยา-ชยั นาท soil conditioner วสั ดุปรบั สภาพดิน วสั ดุที่ใชป้ รับปรุงสมบัติทางฟสิ กิ ส์ ของดินเพื่อการปลูกพืชหรือการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เช่น แกลบ ขเ้ี ลื่อย ป๋ยุ หมัก สารพอลิเมอรส์ ังเคราะห์ soil conservation การอนุรักษ์ดิน ๑. การป้องกันการสูญเสียดินและ ความอุดมสมบูรณ์ของดินจากการกร่อน หรือการเส่ือมสภาพ ทางเคมีท่เี กดิ ตามธรรมชาติหรือกิจกรรมของมนษุ ย์ ๒. การบูรณาการวิธีการจัดการและการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพอื่ ปอ้ งกนั การสญู เสยี ดนิ หรอื การเสอ่ื มสภาพโดยธรรมชาตหิ รอื โดยกจิ กรรมของมนุษย์ ๓. สาขาวิชาทางปฐพศี าสตรท์ ่ีศึกษาเกีย่ วกบั การอนรุ กั ษ์ดนิ soil consistency การยึดตัวของดิน สมบัติของดินที่มีผลมาจาก การเชื่อมแน่นและการประสานกับวัตถุอื่นภายในดินที่ปริมาณ ความชนื้ ตา่ ง ๆ ประเมนิ ไดโ้ ดยการเปรยี บเทยี บระดบั ความคงทน ของดินต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือการแตกหัก โดยท่ัวไป ประเมนิ เมื่อดนิ มสี ภาพแห้ง ชน้ื และเปียก soil consociation หน่วยดินเดี่ยว หน่วยแผนที่ดินที่ประกอบด้วย หน่วยจ�ำแนกดินเด่ียว หรือหน่วยแผนที่ดินเบ็ดเตล็ดลักษณะ เดี่ยวเป็นส่วนใหญ่ และต้องมีพื้นท่ีอย่างน้อยที่สุดคร่ึงหน่ึง ของพนื้ ทที่ ป่ี รากฏบนแผนทแี่ ตล่ ะขอบเขต สว่ นทเ่ี หลอื จะเปน็ ดนิ ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ และมศี กั ยภาพในการใชป้ ระโยชนเ์ ทา่ เทยี ม กันกบั หนว่ ยดนิ หลกั [ดู component soil, soil association และ soil complex ประกอบ] 191
soil correlation soil correlation สหสัมพันธ์ดิน การเปรียบเทียบหน่วยการจ�ำแนกดิน หรอื หนว่ ยแผนทด่ี นิ ทพี่ บในพน้ื ทสี่ ำ� รวจใหมก่ บั ดนิ ทมี่ ชี อ่ื อยแู่ ลว้ เพอ่ื การตง้ั ชอื่ และใหอ้ ยู่ในมาตรฐานการจ�ำแนกเดียวกนั soil creep การคืบของดิน การเคล่ือนของมวลดนิ และวสั ดุดินอย่างช้า ๆ ลงตามความลาดด้วยอิทธิพลของแรงดึงดูดของโลก โดยมีน้�ำ หรือการละลายของนำ้� แข็งหรือหมิ ะเปน็ ตวั ชว่ ย soil crust ชั้นแผ่นแข็งผวิ ดิน ชน้ั ผวิ ดนิ ทมี่ คี วามหนาตง้ั แต่ ๐.๒-๓ เซนตเิ มตร มคี วามแน่นมากกวา่ โครงสรา้ งทบึ กว่า หรือเชื่อมตัวแน่นกวา่ ชนั้ ท่อี ยถู่ ัดลงไป soil extract สารสกดั จากดิน สารละลายท่ีแยกออกมาจากสารละลายดนิ โดยการกรอง การหมุนเหวีย่ ง การดดู หรอื การใช้แรงดัน soil fabric เนื้อพ้ืนของดิน ลักษณะทางกายภาพของวัสดุดินท่ีแสดง การจัดเรียงตัวของอนุภาคที่เป็นของแข็งและช่องที่เกิดร่วมกัน ปรกติดูด้วยกล้องจุลทรรศน์โพลาไรซ์ ค�ำนี้ใช้ในทางจุลสัณฐาน วทิ ยาดนิ S soil fertility ความอุดมสมบรู ณด์ นิ ๑. ความสามารถของดนิ ในการใหส้ าร อาหารทจ่ี ำ� เปน็ ในปรมิ าณเพยี งพอและสมดลุ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ของพืช ๒. สาขาหนึ่งของปฐพีศาสตร์ซึ่งศึกษาเก่ียวกับความสามารถ ของดนิ ในการให้ธาตุอาหารพืชเพือ่ การเจรญิ เติบโตของพืช soil formation factor ปัจจัยการเกิดดิน ปัจจัยที่ควบคุมการเกิด และพัฒนาการของดิน ประกอบด้วย ๕ ปัจจัยหลัก ได้แก่ วัตถุต้นก�ำเนิดดิน สภาพภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิตหรือพืชพรรณ สภาพภูมปิ ระเทศ และเวลา 192
soil individual S soil genesis การก�ำเนดิ ดนิ ๑. กระบวนการเกดิ ดนิ ซงึ่ เปน็ ผลมาจากปัจจยั การสรา้ งตวั ของดนิ ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาชน้ั โซลมั ของดนิ จากวตั ถุ ตน้ ก�ำเนิดดนิ ๒. สาขาหนึง่ ของปฐพีศาสตร์ซงึ่ ศึกษาเกีย่ วกับการกำ� เนดิ ดิน soil geography ภูมิศาสตร์ดิน สาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์กายภาพ และปฐพีศาสตรซ์ ึ่งศกึ ษาเกีย่ วกับการกระจายเชิงพ้นื ทขี่ องดิน soil horizon ช้ันดิน ชั้นของดินหรือวัสดุดินท่ีขนานหรือเกือบขนาน กบั ผวิ หนา้ ดนิ มสี มบตั หิ รอื ลกั ษณะทางกายภาพ เคมี และชวี ภาพ แตกต่างจากช้ันดินที่อยู่ติดกัน เช่น สี โครงสร้าง เนื้อดิน การยดึ ตัว ปฏิกริ ยิ าดนิ ชนดิ และปรมิ าณของส่งิ มีชวี ติ ที่ปรากฏ ในดิน ช้ันดินหลักประกอบด้วย ชั้นโอ (O horizon) ชั้นเอ (A horizon) ชั้นอี (E horizon) ชั้นบี (B horizon) ช้ันซี (C horizon) และชนั้ อาร์ (R layer) soil hydrology อทุ กวทิ ยาดิน สาขาหนง่ึ ของอทุ กวทิ ยาทศ่ี กึ ษาเกีย่ วกับ สมบัตแิ ละกระบวนการพื้นฐานของน�้ำในเขตวาโดส soil hydrophobicity; soil water repellency สภาพไม่ซึมนำ้� ของดิน สมบัติของดินในการต้านทานการซึมน�้ำหรือเปียกน�้ำเม่ือหยด นำ้� ลงบนผิวหนา้ ดิน [ดู hydrophobic soil และ water drop penetration time test ประกอบ] soil inclusion ดินเจือปน หน่วยแผนที่ดินที่ประกอบด้วยพอลิพีดอน หรือกลุ่มพอลิพีดอนที่มีขนาดเล็กและมีการกระจายไม่แน่นอน ไม่สามารถเขียนขอบเขตหรืออธิบายในชื่อของหน่วยแผนที่ ในการทำ� แผนทด่ี ิน soil individual ดนิ ปัจเจก ดนิ ท่ีมลี ักษณะเฉพาะ สามารถเขยี นขอบเขต ในแผนทไี่ ด้ [ดู polypedon ประกอบ] 193
soil interpretation soil interpretation การแปลความหมายดิน การคาดคะเนความสามารถ ของดินต่อการใช้และการจัดการเฉพาะอย่างจากลักษณะและ คณุ ภาพของดิน soil legend ค�ำอธบิ ายสญั ลักษณ์ดนิ ค�ำบรรยายสัญลกั ษณ์ดนิ ในแผนที่ดิน [ดู soil symbol ประกอบ] soil loss tolerance ความทนตอ่ การสญู เสียดิน ๑. ปรมิ าณการสญู เสีย ดินเฉลี่ยต่อปีสูงสุดจากการกร่อน ซ่ึงยังคงสามารถปลูกพืชได้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และรกั ษาผลติ ภาพดนิ ไวไ้ ด้ โดยไมต่ อ้ งมกี ารจดั การ เพมิ่ เติม ๒. ปรมิ าณการสญู เสยี ดนิ สงู สดุ จากการกรอ่ น ซงึ่ ยงั คงรกั ษาสมดลุ ระหว่างการสูญเสียดินกับการเกิดดินทดแทนตามการพัฒนา ของดนิ ในอัตราสงู สดุ ตามทฤษฎี soil management การจัดการดนิ ๑. วิธกี ารตา่ ง ๆ ซ่ึงปฏบิ ัติตอ่ ดนิ เพื่อ การผลิตพชื เช่น การไถพรวน การใชป้ ุ๋ย การใช้ปูน การปลูกพืช หมนุ เวียน S ๒. สาขาหนงึ่ ของปฐพศี าสตรซ์ งึ่ ศกึ ษาเกย่ี วกบั การปรบั ปรงุ บาํ รงุ ดนิ และรกั ษาคุณภาพดินเพอ่ื ใหผ้ ลติ ภาพสงู อยู่เสมอ soil map แผนที่ดิน แผนท่ีซึ่งแสดงขอบเขตและการกระจายของดิน หรือหน่วยแผนท่ีดินโดยสัมพันธ์กับลักษณะทางกายภาพและ การปลูกพืชบนพืน้ ผิวโลก แผนทด่ี ินมีหลายประเภท ดงั น้ี ๑. แผนทีด่ ินแบบท่ัวไป (generalized soil map) ๒. แผนท่ีดินแบบกว้าง (schematic soil map) ๓. แผนท่ีดนิ แบบหยาบ (reconnaissance soil map) ๔. แผนท่ีดินแบบค่อนข้างหยาบ (detailed reconnaissance soil map) 194
soil mineral S ๕. แผนทีด่ นิ แบบค่อนขา้ งละเอยี ด (semi-detailed soil map) ๖. แผนทด่ี นิ แบบละเอยี ด (detailed soil map) soil mapping unit หน่วยแผนที่ดิน ชนิดหรือกลุ่มของดินท่ีมี ลกั ษณะเฉพาะ ซง่ึ เขยี นขอบเขตแสดงไวใ้ นแผนทด่ี นิ อาจเปน็ ชอ่ื ในระบบการจำ� แนก เชน่ ชดุ ดนิ วงศ์ดนิ กลุ่มดินหลกั หรอื เปน็ ชื่อ เฉพาะทางการส�ำรวจดิน เช่น พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน หนว่ ยพน้ื ที่ เบด็ เตลด็ ขึ้นอยู่กบั มาตราส่วนของแผนที่ soil matrix วัสดุพื้น ส่วนประกอบของดินซ่ึงมีสถานะของแข็ง โดยท่ัวไป จะใช้กล่าวถึงในเร่ืองระบบช่องภายในก้อนดิน ใช้ศึกษาทาง ดา้ นจลุ สณั ฐานวิทยาดนิ soil mechanics ปฐพีกลศาสตร์ สาขาหนึ่งของปฐพีศาสตร์ท่ีศึกษา เก่ียวกับผลของแรงบนดินและการประยุกต์ใช้หลักการทาง วศิ วกรรมในการแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กีย่ วข้องกับดิน soil microbial diversity ความหลากหลายของจุลินทรีย์ดนิ การแสดง ถงึ ชนดิ ของจลุ นิ ทรยี ด์ นิ และกจิ กรรมในระดบั พนั ธกุ รรม สายพนั ธ์ุ และระบบนิเวศดิน โดยวัดจากประชาคมมากกว่าสายพันธุ์ ของจลุ ินทรยี ์ soil microbiology จุลชีววิทยาดิน สาขาหนึ่งของปฐพีศาสตร์ที่ศึกษา เกย่ี วกับจลุ นิ ทรียด์ ิน รวมถงึ หน้าทีแ่ ละกิจกรรมตา่ ง ๆ soil micromorphology จลุ สณั ฐานวทิ ยาดนิ สาขาหนึง่ ของปฐพศี าสตร์ ทศี่ กึ ษาเกย่ี วกบั สณั ฐานและการกำ� เนดิ ของดนิ ดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ โพลาไรซ์ โดยใชเ้ ทคนคิ การทำ� แผน่ ตดั บาง soil mineral แรใ่ นดนิ ๑. แรท่ ่เี กดิ เป็นองคป์ ระกอบของดินหรอื อยู่ในดิน ๒. สารประกอบอนินทรยี ์ซ่งึ เกิดข้นึ ตามธรรมชาติในดิน มีสมบตั ิ ฟิสิกส์ เคมี และผลึกทแ่ี นน่ อน 195
soil mineralogy soil mineralogy วทิ ยาแรใ่ นดนิ สาขาหนง่ึ ของปฐพศี าสตรท์ ศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั แร่ที่พบในดิน ซง่ึ สว่ นใหญ่เปน็ แรด่ นิ เหนียว และแร่ท่ีทนทานต่อ การสลายตัว soil moisture ความชนื้ ดนิ นำ้� ทถ่ี ูกดดู ซบั บนผวิ อนภุ าคดิน ขังอยู่ชวั่ คราว หรืออยู่ในสภาวะไอน�้ำในช่องระหว่างอนุภาคดิน น�้ำเหล่านี้จะ ระเหยหมดไปเมื่ออบท่ีอุณหภูมิ ๑๐๕-๑๑๐ องศาเซลเซียส ไมน่ อ้ ยกว่า ๒๔ ช่ัวโมง [มคี วามหมายเหมือนกับ soil water] soil moisture characteristic; soil water characteristic ลกั ษณะ เฉพาะของความชื้นดิน ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความช้ืน ของดินกับศักย์วัสดุพื้นของน้�ำในดิน แสดงในรูปกราฟเส้นโค้ง ปรกติจะมี ๒ เส้น คอื กราฟเสน้ โค้งขณะดนิ แหง้ ลง และกราฟ เส้นโค้งขณะดินชื้นขึน้ ซงึ่ จะไมท่ ับซ้อนกันสนิท [ดู hysteresis; swelling hysteresis ประกอบ] soil moisture control section ช่วงควบคมุ ความชืน้ ดนิ ชว่ งความหนา S ของดินในหน้าตัดท่ีน้�ำในดินถูกยึดไว้ด้วยแรงน้อยกว่า ๑,๕๐๐ กิโลพาสคัล ในระดับความลึกต่าง ๆ จากผิวดินตามชั้นขนาด อนุภาคดิน (particle size class) ท่ีก�ำหนดเป็นมาตรฐาน ของการจ�ำแนกในระบบอนุกรมวิธานดนิ มี ๓ ชนิด ดังนี้ ๑. ดนิ ทม่ี ชี นั้ ขนาดอนภุ าครว่ นละเอยี ด (fine-loamy) ทรายแปง้ หยาบ (coarse-silty) ทรายแป้งละเอียด (fine-silty) และดินเหนียว (clayey) ช่วงควบคุมความช้ืนดินอยู่ระหว่าง ๑๐-๓๐ เซนติเมตร ๒. ดินที่มีชั้นขนาดอนุภาคร่วนหยาบ (coarse-loamy) ช่วงควบคมุ ความชน้ื ดินอย่รู ะหว่าง ๒๐-๖๐ เซนตเิ มตร ๓. ดินที่มีชั้นขนาดอนุภาคทราย (sandy) ช่วงควบคุมความช้ืน ดนิ อยรู่ ะหว่าง ๓๐-๙๐ เซนติเมตร 196
soil organic residue S soil moisture regimes ระบอบความชื้นดิน สภาพความชน้ื ดนิ ในอนกุ รม วธิ านดนิ โดยพจิ ารณาจากนำ้� ซงึ่ ถกู ยดึ ไวด้ ว้ ยแรงนอ้ ยกวา่ ๑,๕๐๐ กิโลพาสคัล ในช้ันใดชั้นหน่ึงของหน้าตัดดินในช่วงควบคุม (control section) ระบอบความชื้นดินแบ่งออกเป็นระบอบ ความช้ืนแบบแอควิก ระบอบความชื้นแบบแอริดิก ระบอบ ความชน้ื แบบทอรร์ กิ ระบอบความชนื้ แบบยดู กิ ระบอบความชนื้ แบบอัสติก และระบอบความชน้ื แบบเซอรกิ soil moisture storage; soil water storage การเก็บกักน�้ำของดิน ปรมิ าณนำ้� ทดี่ นิ กกั เกบ็ ไวใ้ นสภาวะทก่ี ำ� หนด เชน่ ทคี่ วามชนื้ สนาม หน่วยของการเก็บกักน้�ำในดินที่สะดวกต่อการใช้ คือ ปริมาตร ของน้�ำต่อหน่วยพ้ืนที่ซ่ึงมีมิติเป็นความสูงน�้ำต่อความลึกดิน ท่กี ำ� หนดให้ soil moisture tension แรงดึงความช้ืนดนิ แรงที่อนุภาคดินใช้ในการดดู ยดึ น้�ำ [ดู soil water potential ประกอบ] soil monolith แท่งหน้าตัดดิน แท่งดินในแนวด่ิงซึ่งได้จากหน้าตัดดิน ในธรรมชาติ เพือ่ ใช้ในการแสดงหรอื การศกึ ษาชนิดของดิน soil morphology ๑. สัณฐานดิน ลักษณะและสมบัติต่าง ๆ ของดิน ซง่ึ สามารถมองเหน็ ไดใ้ นสนามและตรวจสอบไดใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ๒. สณั ฐานวทิ ยาดนิ สาขาหนง่ึ ของปฐพศี าสตรซ์ งึ่ ศกึ ษาเกย่ี วกบั ลักษณะและรูปร่างของหน้าตัดดิน สามารถมองเห็นได้ในสนาม และตรวจสอบไดใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เชน่ สดี นิ เนอื้ ดนิ โครงสรา้ งดนิ การเรียงตวั ของช้ันดนิ soil organic matter อินทรียวัตถุในดิน เศษวัสดุอินทรีย์ในดินท่ีผ่าน การสลายตัวแลว้ soil organic residue วสั ดุอนิ ทรยี ต์ กคา้ งในดิน เศษซากพชื และซากสตั ว์ ทีย่ อ่ ยสลายไมส่ มบูรณ์ สามารถบอกถงึ แหล่งท่มี าได้ 197
soil oxygen diffusion rate soil oxygen diffusion rate อตั ราการแพร่ออกซเิ จนของดิน ๑. อัตรา การแพร่ของออกซิเจนผ่านดินตามกฎของฟิก (Fick’s law) ๒. อตั ราการแพรข่ องออกซเิ จนทวี่ ดั โดยไมโครแพลทนิ มั อเิ ลก็ โทรด เพอ่ื ใชป้ ระเมนิ ความสามารถในการใหอ้ อกซเิ จนของดนิ ทสี่ มั พนั ธ์ กับความตอ้ งการของรากพืช soil particle อนุภาคดนิ อนุภาคเดย่ี วของแรห่ รือสารอนนิ ทรยี ท์ ่เี ปน็ องค์ ประกอบของดิน มี ๓ กลมุ่ ขนาด คอื ทราย ทรายแป้ง และเคลย์ soil ped; ped ก้อนดิน ดู ped; soil ped soil pH พีเอชของดิน, ความเป็นกรด-ดา่ งของดิน คา่ แสดงความเปน็ กรด เปน็ ดา่ งของสารละลายดนิ คำ� นวณไดจ้ ากสมการ pH = log (H +) เมอื่ H+ คือ ความเขม้ ข้นของไฮโดรเจนไอออนเป็นโมลตอ่ ลิตร (mole/litre) soil phase ประเภทดิน หนว่ ยแผนทีด่ ินซึ่งแบ่งย่อยจากชุดดิน ดนิ คลา้ ย S หรือพ้ืนท่ีเบ็ดเตล็ด เน่ืองจากมีลักษณะหรือสมบัติของดิน ซึ่งมีผลต่อการใช้ประโยชน์และการจัดการดินแตกต่างกัน เช่น การกรอ่ นดนิ ปรมิ าณหนิ โผล่ การมเี กลอื สภาพพน้ื ท่ี ความลาดชนั การเรยี กชอื่ ประเภทดนิ ใชช้ อ่ื ชดุ ดนิ ดนิ คลา้ ย หรอื พน้ื ทเ่ี บด็ เตลด็ แล้วต่อด้วยลักษณะที่แตกต่างออกไป เช่น ประเภทดินร้อยเอ็ด ท่ีมีเกลือ (Roi-Et saline phase; Re-sa) soil physical property สมบัติทางฟิสิกส์ของดิน สมบัติท่ีเกี่ยวข้อง กับลักษณะและสภาวะทางฟิสิกส์ของดินจากอิทธิพลของแรง พลงั งาน อณุ หภมู ิ ความชนื้ แสง คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมถงึ สถานะ และพฤตกิ รรมการเคลอื่ นยา้ ยของมวลสารและพลงั งานของดนิ soil physics ฟสิ ิกสด์ ิน สาขาหนง่ึ ของปฐพีศาสตรซ์ ึ่งศกึ ษาเก่ยี วกับสมบัติ ทางฟิสิกส์ของดิน โดยเน้นถึงสถานะและการเคล่ือนย้าย ของมวลสาร โดยเฉพาะน�ำ้ อากาศ และพลงั งานในดิน 198
soil reaction S soil pollution มลพษิ ทางดนิ ๑. สภาวะของดนิ ซง่ึ มสี ารมลพิษปนเปอ้ื น และเปน็ อันตรายต่อสิง่ มชี วี ติ ๒. สาขาหน่ึงของปฐพีศาสตร์ซ่ึงศึกษาเกี่ยวกับสภาวะของสาร มลพษิ ทปี่ นเปือ้ นในดินและเปน็ อันตรายตอ่ สิ่งมชี วี ิต รวมถงึ การ แก้ไขปัญหาภาวะมลพษิ ของดนิ soil population ประชากรในดนิ สงิ่ มีชีวติ ทงั้ หมดท่อี าศัยอยูใ่ นดนิ soil pore; void ช่องดิน ส่วนของปริมาตรรวมของดินที่ไม่มีของแข็ง หรอื อนุภาคดินอยู่ soil porosity ความพรุนของดิน อัตราส่วนระหว่างปริมาตรของช่อง กับปรมิ าตรรวมของดนิ soil productivity ผลติ ภาพดนิ ความสามารถของดนิ ในการทำ� ใหพ้ ชื ทปี่ ลกู มผี ลผลติ ไดร้ ะดับหนึ่งภายใตร้ ะบบการจดั การท่เี หมาะสม soil profile หนา้ ตดั ดนิ หนา้ ตดั ในแนวดง่ิ ของดนิ ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ชนั้ ดนิ ตา่ ง ๆ ตัง้ แตผ่ ิวดินจนถึงช้นั ท่เี ป็นวตั ถุต้นกำ� เนิดดนิ soil profile description คำ� อธิบายหนา้ ตัดดนิ รายละเอียดของขอ้ มูล หน้าตัดดนิ ประกอบดว้ ย ๒ ส่วนหลกั คอื ๑. ลกั ษณะหนา้ ตัดดินแต่ละชนั้ ดิน เช่น ชอ่ื ชั้นดิน ความลึก สีดิน เนือ้ ดนิ โครงสรา้ งดิน การยึดตัวของดนิ คราบวัตถุ ปฏิกริ ิยาดนิ ๒. สภาพแวดลอ้ มการเกดิ ดนิ เชน่ ชอื่ ดนิ สญั ลกั ษณ์ พกิ ดั ตำ� แหนง่ วัตถุต้นก�ำเนิด ความลาดชัน การระบายน�้ำของดิน ภูมิอากาศ ลกั ษณะหินโผล่ ปรมิ าณน�้ำฝน พืชพรรณ การใชป้ ระโยชน์ soil quality คุณภาพดิน ความสามารถของดินในการคงผลิตภาพ ของสิ่งมีชีวิตและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายในระบบนิเวศ หนึ่ง ๆ soil reaction ปฏิกิริยาดิน ระดับความเป็นกรด-ด่างของดิน ซ่ึงบอก เป็นค่าพเี อชของดนิ แบ่งออกเปน็ หลายระดับ ดงั น้ี 199
soil salinity สภาพกรดรุนแรงมากที่สดุ (ultra acid) พเี อชนอ้ ยกว่า ๓.๕ สภาพกรดรนุ แรงมาก (extremely acid) พเี อช ๓.๕-๔.๕ สภาพกรดจัดมาก (very strongly acid) พีเอช ๔.๕-๕.๐ สภาพกรดจดั (strongly acid) พีเอช ๕.๑-๕.๕ สภาพกรดปานกลาง (moderately acid) พีเอช ๕.๖-๖.๐ สภาพกรดเล็กน้อย (slightly acid) พีเอช ๖.๑-๖.๕ สภาพเปน็ กลาง (neutral) พเี อช ๖.๖-๗.๓ สภาพดา่ งเลก็ นอ้ ย (slightly alkaline) พเี อช ๗.๔-๗.๘ สภาพดา่ งปานกลาง (moderately alkaline) พีเอช ๗.๙-๘.๔ สภาพดา่ งจัด (strongly alkaline) พเี อช ๘.๕-๙.๐ สภาพดา่ งจดั มาก (very strongly alkaline) พเี อชมากกวา่ ๙.๐ soil salinity ภาวะเค็มของดิน ปรมิ าณเกลือทลี่ ะลายได้ในดิน วัดจากค่า สภาพนำ� ไฟฟา้ ของสารละลายดินที่สกัดจากดินทอี่ มิ่ ตวั ด้วยน้�ำ soil sample ตวั อยา่ งดนิ ดนิ ที่เป็นตวั แทนของพื้นทหี่ นึง่ ๆ หรือส่วนหน่งึ ของพืน้ ที่ เพื่อน�ำมาวิเคราะห์สมบัติทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวภาพ S soil science ปฐพีศาสตร์ สาขาหนงึ่ ของวิทยาศาสตรท์ ศี่ ึกษาเก่ียวกบั ดิน ซง่ึ เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตบิ นพน้ื ผวิ โลก เชน่ ศกึ ษาการกำ� เนดิ ดนิ การจ�ำแนกดิน การส�ำรวจดิน สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางชีวภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การใช้และ การจดั การดนิ [ดู edaphology และ pedology ประกอบ] soil separate กลมุ่ ขนาดอนภุ าคดนิ อนภุ าคอนนิ ทรยี ท์ มี่ เี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง สมมูลน้อยกว่า ๒ มิลลิเมตร การก�ำหนดพิสัยของกลุ่มขนาด อนุภาคดนิ ที่ใช้กันทั่ว ๆ ไปในทางปฐพศี าสตร์มี ๒ ระบบ คือ ๑. ระบบของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (United States Department of Agriculture) แบ่งขนาดอนุภาคดินเป็นกลุ่ม ดงั น้ี 200
soil sequence S - อนุภาคทรายหยาบมาก (very coarse sand) ๒.๐-๑.๐ มลิ ลิเมตร - อนุภาคทรายหยาบ (coarse sand) ๑.๐-๐.๕ มลิ ลเิ มตร - อนุภาคทรายปานกลาง (medium sand) ๐.๕-๐.๒๕ มลิ ลเิ มตร - อนภุ าคทรายละเอยี ด (fine sand) ๐.๒๕-๐.๑๐ มลิ ลเิ มตร - อนภุ าคทรายละเอยี ดมาก (very fine sand) ๐.๑๐-๐.๐๕ มิลลเิ มตร - อนภุ าคทรายแปง้ (silt) ๐.๐๕-๐.๐๐๒ มิลลเิ มตร - อนภุ าคดนิ เหนียว (clay) < ๐.๐๐๒ มิลลิเมตร ๒.ระบบของสหภาพวทิ ยาศาสตรท์ างดนิ นานาชาติ (International Union of Soil Science) แบ่งขนาดอนภุ าคดินเปน็ กลุ่ม ดังน้ี - อนุภาคทรายหยาบ (coarse sand) ๒.๐-๐.๒ มลิ ลิเมตร - อนุภาคทรายละเอยี ด (fine sand) ๐.๒-๐.๐๒ มิลลิเมตร - อนุภาคทรายแป้ง (silt) ๐.๐๒-๐.๐๐๒ มิลลิเมตร - อนภุ าคดินเหนียว (clay) < ๐.๐๐๒ มิลลเิ มตร soil sequence ลำ� ดับดนิ การเรยี งล�ำดบั หน่วยดนิ หรอื ชนดิ ของดนิ ทพ่ี บ ในพน้ื ทต่ี อ่ เนอื่ งกนั ซงึ่ มลี กั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ แตกตา่ งกนั ตาม ความแตกต่างของปัจจัยท่ีให้ก�ำเนิดดิน รูปแบบของการเรียง ล�ำดับนั้นจะต้องมีรูปแบบเดียวกันแม้ว่าจะพบในบริเวณต่างกัน โดยแบ่งลำ� ดบั ดินตามปจั จยั ตา่ ง ๆ ดงั นี้ ๑. ลำ� ดบั ชีวภาพ (biosequence) ดนิ ทส่ี มั พนั ธ์กันแต่มีความ แตกต่างกันเนอื่ งจากชนดิ ปริมาณของพชื และจลุ นิ ทรีย์ดนิ ๒. ลำ� ดบั กาล (chronosequence) ดนิ ทสี่ มั พนั ธก์ นั แตม่ คี วาม แตกต่างกนั เนื่องจากระยะเวลาพัฒนาการของดิน ๓. ลำ� ดับภมู ิอากาศ (climosequence) ดนิ ทส่ี ัมพนั ธก์ ันแต่มี ความแตกตา่ งกันเนื่องจากสภาพภมู ิอากาศ 201
soil series group ๔. ล�ำดับหิน (lithosequence) ดินที่สัมพันธ์กันแต่มีความ แตกตา่ งกนั เนอื่ งจากชนดิ หนิ ซึง่ เปน็ วตั ถตุ น้ ก�ำเนดิ ดนิ ๕. ล�ำดับภูมิประเทศ (toposequence) ดินท่ีสัมพันธ์กัน และเกิดจากวัตถุต้นก�ำเนิดชนิดเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกัน เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ๖. ล�ำดบั อุณหภมู ิ (thermosequence) ดนิ ที่สมั พันธก์ ันแต่ มคี วามแตกต่างกนั เนื่องจากอุณหภูมิ ๗. ล�ำดับความเอียง (clinosequence) ดินท่ีมีสัมพันธ์กัน แต่มีลักษณะและสมบัติดินแตกต่างกันเนื่องจากความลาดชัน ของพ้นื ที่ soil series group กลมุ่ ชดุ ดนิ หนว่ ยแผนทดี่ นิ ทร่ี วมชดุ ดนิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ลี กั ษณะ ดินและการจัดการดินคล้ายกันไว้ด้วยกัน ในประเทศไทย กลุ่มชุดดินจะใช้หมายเลข ๑-๖๒ โดยกลุ่มชุดดินที่ ๑-๒๕ เป็นดินในพ้ืนท่ีลุ่ม กลุ่มชุดดินท่ี ๒๖-๖๑ เป็นดินในพื้นท่ีดอน S และกลุ่มชุดดินที่ ๖๒ เป็นดินในพ้ืนท่ีลาดชันเชิงซ้อน หรือ พ้นื ท่ีภูเขา soil shrinkage การหดตวั ของดนิ กระบวนการทดี่ นิ สญู เสยี นำ�้ ทำ� ใหป้ รมิ าตร ดนิ ลดลง soil solution สารละลายดิน สว่ นของดินทเี่ ป็นของเหลว soil strength ความตา้ นแรงของดิน สมบตั ิดนิ เก่ยี วกับสภาวะการเกาะยดึ และเช่ือมแน่นของดินเป็นพีดอน ช้ันดิน หรือหน่วยดินย่อย ท่ีมีสถานะของแข็ง ความต้านแรงของดินจะเปล่ียนแปลง ตามปรมิ าณนำ�้ ในดนิ ความหนาแนน่ รวม เนอ้ื ดนิ แรอ่ งคป์ ระกอบ การเชอ่ื มตัว แคตไอออน และปริมาณอนิ ทรียวตั ถุ 202
soil structure grades S soil structure โครงสรา้ งดนิ รปู แบบการเกาะยดึ และการเรยี งตวั ของอนภุ าค ดนิ เปน็ เมด็ ดนิ โครงสรา้ งดนิ จำ� แนกโดยอาศยั ความแตกตา่ งของ ชั้นขนาด (size class) ระดับ (grade) และประเภท (type) ประเภทของโครงสรา้ งดิน ประกอบดว้ ย ๑. โครงสรา้ งดนิ แบบกอ้ นเหลยี่ ม ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภทคอื ๑.๑ โครงสร้างดนิ แบบก้อนเหลี่ยมมมุ คม ๑.๒ โครงสร้างดินแบบกอ้ นเหลย่ี มมุมมน ๒. โครงสรา้ งดินแบบแผ่น ๓. โครงสรา้ งดินแบบแท่งหวั เหลยี่ ม ๔. โครงสรา้ งดินแบบแท่งหัวมน ๕. โครงสร้างดินแบบก้อนกลม ๖. โครงสร้างดนิ แบบกอ้ นกลมพรุน [ดู angular blocky soil structure, blocky soil structure, columnar soil structure, granular soil structure, platy soil structure, prismatic soil structure และ subangular blocky soil structure ประกอบ] soil structure grades ระดับโครงสร้างดิน การจำ� แนกกล่มุ โครงสรา้ งดนิ โดยอาศัยการเกาะยึด เช่ือมแน่น หรือความเสถียรภายใน และระหว่างก้อนมวลดิน ระดับของโครงสร้าง แบ่งเป็น ๔ ประเภท ดังน้ี ๑. ไม่มีโครงสร้าง (structureless) ดินไม่เกาะยึดเป็นก้อน ๒. โครงสร้างอ่อนแอ (weak) ดินเกาะยึดเป็นก้อนไม่ชัดเจน ถ้าดินถูกรบกวนเพียงเล็กน้อยจะแตกแยกออกจากกนั ๓. โครงสร้างแข็งแรงปานกลาง (moderate) ดินเกาะยึดเป็น กอ้ นชดั เจนในสภาพทีไ่ มถ่ กู รบกวน แตถ่ า้ ดินถูกรบกวน ก้อนดิน จะแตกแยกออกจากกนั และไมเ่ ป็นกอ้ น 203
soil structure shapes ๔. โครงสร้างแข็งแรง (strong) ดินเกาะยึดเป็นก้อนชัดเจนใน สภาพทไ่ี ม่ถกู รบกวน และถา้ ถกู รบกวนกอ้ นดนิ จะแตกแยกออก จากกันเป็นกอ้ น ๆ soil structure shapes รูปรา่ งโครงสรา้ งดนิ รปู ร่างของกลมุ่ อนุภาคดนิ หรอื เมด็ ดนิ ในชน้ั หนา้ ตดั ดนิ ประกอบดว้ ย โครงสรา้ งดนิ แบบแผน่ โครงสร้างดินแบบแท่งหัวเหลี่ยม โครงสร้างดินแบบแท่งหัวมน โครงสร้างดินแบบก้อนเหล่ียมมุมคม โครงสร้างดินแบบก้อน เหลยี่ มมมุ มน และโครงสรา้ งดนิ แบบกอ้ นกลม [ดู soil structure sizes ประกอบ] soil structure sizes ขนาดโครงสร้างดิน ขนาดของเม็ดดินและก้อน อนภุ าคดิน จ�ำแนกความแตกต่างตามรูปรา่ งของโครงสร้างดินได้ ดังน้ี ชน้ั ขนาดโครงสร้างดนิ (มิลลิเมตร) S รูปร่างโครงสรา้ งดิน ละเอยี ดมาก ละเอียด ปานกลาง หยาบ หยาบมาก (soil structure shapes) (very fine) (fine) (medium) (coarse) (very coarse) โครงสร้างดนิ แบบแผ่น <๑ ๑-๒ ๒-๕ ๕-๑๐ >๑๐ (platy soil structure) <๑๐ ๑๐-๒๐ ๒๐-๕๐ ๕๐-๑๐๐ >๑๐๐ โครงสร้างดินแบบแทง่ หัวเหลีย่ ม <๑๐ ๑๐-๒๐ ๒๐-๕๐ ๕๐-๑๐๐ >๑๐๐ (prismatic soil structure) <๕ ๕-๑๐ ๑๐-๒๐ ๒๐-๕๐ >๕๐ โครงสรา้ งดินแบบแทง่ หัวมน (columnar soil structure) <๕ ๕-๑๐ ๑๐-๒๐ ๒๐-๕๐ >๕๐ โครงสร้างดินแบบก้อนเหล่ยี มมมุ คม (angular blocky soil structure) โครงสรา้ งดินแบบกอ้ นเหล่ยี มมุมมน (subangular blocky soil structure) โครงสร้างดินแบบก้อนกลม <๑ ๑-๒ ๒-๕ ๕-๑๐ >๑๐ (granular soil structure) 204
soil temperature regimes S soil suitability classification การจ�ำแนกความเหมาะสมของดิน ชั้นความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของประเทศไทย ซึ่งช้ันความ เหมาะสมของดนิ ส�ำหรบั ข้าว พชื ไร่ และไมผ้ ล จ�ำแนกเปน็ ๕ ชน้ั ส�ำหรับยางพาราจ�ำแนกเป็น ๔ ช้ัน และส�ำหรับมะพร้าว และทุง่ หญ้าเล้ียงสัตวจ์ ำ� แนกเป็น ๓ ชนั้ soil survey การส�ำรวจดิน ๑. การส�ำรวจหาข้อมูลและข้อสนเทศ ทางวิทยาศาสตร์ของดินในบริเวณใดบริเวณหนึ่งแล้วบันทึกเป็น รายงานการสำ� รวจดนิ และแผนท่ดี นิ ๒. สาขาหน่ึงของปฐพีศาสตร์ซึ่งศึกษาเก่ียวกับการตรวจสอบ การทำ� คำ� อธบิ ายหนา้ ตดั ดนิ การจำ� แนกดนิ และการทำ� แผนทด่ี นิ ในบรเิ วณใดบริเวณหน่ึงอย่างเปน็ ระบบ soil symbol สญั ลักษณ์ดิน อักษรย่อหรือตวั เลขท่ใี ชแ้ ทนชือ่ ดินหรอื หนว่ ย แผนทดี่ นิ ซง่ึ แสดงไว้บนแผนท่ี [ดู soil legend ประกอบ] soil taxonomy อนกุ รมวธิ านดนิ ระบบการจำ� แนกดนิ ของกระทรวงเกษตร สหรฐั อเมรกิ า ทใ่ี ชส้ มบตั ขิ องดนิ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะประจำ� ตวั ของดนิ เปน็ พน้ื ฐานในการจำ� แนก มเี กณฑเ์ ชงิ ปรมิ าณทต่ี รวจสอบไดด้ ว้ ย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และให้ชื่อดินท่ีมีลักษณะเฉพาะ ใชภ้ าษาซง่ึ สว่ นใหญม่ รี ากศพั ทแ์ สดงถงึ ลกั ษณะของดนิ นน้ั ๆ แบง่ เปน็ การจำ� แนกขน้ั สูง ๔ ขั้น การจำ� แนกขัน้ ต�ำ่ ๒ ข้นั ระบบนี้เรมิ่ ใชต้ ัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ (ค.ศ. ๑๙๗๕) [ดู soil category ประกอบ] soil temperature regimes ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ คา่ อณุ หภมู ดิ นิ รายปเี ฉลย่ี วัดทร่ี ะดับความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผิวดิน หรือท่ีแนวสมั ผัส วสั ดแุ นน่ ทบึ แนวสมั ผัสหนิ แขง็ แนวสมั ผัสหนิ เนื้อออ่ น แลว้ แต่ กรณีใดจะตนื้ กวา่ ในระบบอนกุ รมวิธานดิน ระบอบอุณหภูมิดนิ แบง่ ออกเป็น ระบอบอณุ หภมู ดิ ินแบบเจลิก ระบอบอณุ หภูมดิ ิน แบบไครอิก ระบอบอุณหภูมิดินแบบฟริจิด ระบอบอุณหภูมิ 205
soil test ดินแบบเมซิก ระบอบอุณหภูมิดินแบบเทอร์มิก และระบอบ อณุ หภูมิดนิ แบบไฮเพอร์เทอรม์ กิ soil test การตรวจสอบดิน การตรวจสอบสมบัติทางเคมี ฟิสิกส์ แร่ และชวี ภาพ เพอื่ ประเมนิ ความเหมาะสมของดนิ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ของพชื soil test calibration การสอบเทยี บคา่ ตรวจสอบดนิ กระบวนการกำ� หนด ความต้องการธาตุอาหารพืช โดยดูผลการตอบสนองของพืช ท่คี า่ ตรวจสอบดินต่าง ๆ soil test correlation สหสมั พันธก์ ารตรวจสอบดิน กระบวนการประเมนิ ความสัมพันธ์ระหว่างการดูดใช้ธาตุอาหารพืชหรือผลผลิต กับปริมาณธาตุอาหารท่ีสกดั ไดจ้ ากวิธีการตรวจสอบดนิ soil test critical concentration ความเขม้ ขน้ วกิ ฤตคา่ ตรวจสอบดิน ระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารในดินที่พืชไม่ตอบสนอง ตอ่ ธาตุอาหารที่ใส่เพมิ่ S soil test interpretation การตคี วามคา่ ตรวจสอบดนิ กระบวนการพฒั นา ค�ำแนะน�ำการใส่ปุ๋ยจากค่าตรวจสอบดินและข้อมูลดินอื่น ๆ ประกอบกบั ขอ้ มลู พืช ภมู อิ ากาศ ส่ิงแวดล้อม และเศรษฐกิจ soil texture เนอื้ ดนิ ความหยาบ ความละเอยี ดของดนิ ทพ่ี จิ ารณาจากสดั สว่ น สมั พทั ธโ์ ดยนำ้� หนกั ของกลมุ่ ขนาดอนภุ าคดนิ ทม่ี ขี นาดเลก็ กวา่ ๒ มลิ ลเิ มตร แบ่งประเภทของเนือ้ ดินดังน้ี ๑. ดินทราย (sand) ดินที่ประกอบด้วยอนุภาคทรายมากกว่า ร้อยละ ๘๕ และปรมิ าณของอนุภาคทรายแป้งรวมกบั ๑.๕ เทา่ ของอนภุ าคดนิ เหนยี วน้อยกว่าร้อยละ ๑๕ แบ่งออกเป็น ๑.๑ ดินทรายหยาบ (coarse sand) ดินที่ประกอบด้วย อนุภาคทรายหยาบมาก และทรายหยาบ รวมกันตั้งแต่ร้อยละ ๒๕ ขน้ึ ไป และมีอนุภาคทรายขนาดอน่ื ๆ ขนาดเดยี วน้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ 206
soil texture S ๑.๒ ดินทราย (sand) ดินท่ีประกอบด้วยอนุภาคทราย หยาบมาก ทรายหยาบ และทรายปานกลางรวมกันตัง้ แตร่ อ้ ยละ ๒๕ ขนึ้ ไป และจะตอ้ งมอี นภุ าคทรายหยาบมาก และทรายหยาบ รวมกันน้อยกว่าร้อยละ ๒๕ อนุภาคทรายละเอียดน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ และอนุภาคทรายละเอียดมากนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ๑.๓ ดินทรายละเอียด (fine sand) ดินที่ประกอบด้วย อนุภาคทรายละเอียดต้ังแต่ร้อยละ ๕๐ ข้ึนไป และจะต้องมี อนภุ าคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกันน้อยกว่าร้อยละ ๒๕ และอนุภาคทรายละเอียดมาก น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ๑.๔ ดินทรายละเอียดมาก (very fine sand) ดินที่ ประกอบดว้ ยอนภุ าคทรายละเอยี ดมากตง้ั แต่ร้อยละ ๕๐ ข้นึ ไป ๒. ดินทรายปนดินร่วน (loamy sand) ดินที่ประกอบด้วย อนุภาคทรายร้อยละ ๗๐-๙๑ และมีปริมาณอนุภาคทรายแป้ง รวมกับ ๑.๕ เทา่ ของอนุภาคดินเหนยี วตงั้ แต่รอ้ ยละ ๑๕ ข้นึ ไป และปริมาณอนุภาคทรายแป้งรวมกับ ๒.๐ เท่าของอนุภาค ดินเหนยี วน้อยกว่ารอ้ ยละ ๓๐ แบง่ ออกเป็น ๒.๑ ดินทรายหยาบปนดินร่วน (loamy coarse sand) ดินที่ประกอบด้วยอนุภาคทรายหยาบมาก และทรายหยาบ รวมกันต้งั แต่รอ้ ยละ ๒๕ ขน้ึ ไป และมอี นภุ าคทรายขนาดอนื่ ๆ ขนาดเดยี วนอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕๐ ๒.๒ ดนิ ทรายปนดนิ รว่ น (loamy sand) ดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ย อนภุ าคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกนั ตัง้ แตร่ ้อยละ ๒๕ ข้นึ ไป และจะตอ้ งมีอนุภาคทรายหยาบ และทรายหยาบมาก รวมกนั นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๒๕ อนุภาคทราย ละเอียดนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ อนุภาคทรายละเอยี ดมากนอ้ ยกว่า ร้อยละ ๕๐ 207
soil texture ๒.๓ ดินทรายละเอียดปนดินร่วน (loamy fine sand) ดินท่ีประกอบด้วยอนภุ าคทรายละเอียดตง้ั แต่รอ้ ยละ ๕๐ ขึน้ ไป หรือจะต้องมีอนุภาคทรายละเอียดมากน้อยกว่าร้อยละ ๕๐ และอนภุ าคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกันนอ้ ยกว่าร้อยละ ๒๕ ๒.๔ ดินทรายละเอียดมากปนดินร่วน (loamy very fine sand) ดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ยอนภุ าคทรายละเอยี ดมากตง้ั แตร่ อ้ ยละ ๕๐ ขน้ึ ไป ๓. ดนิ รว่ นปนทราย (sandy loam) ดนิ ทปี่ ระกอบดว้ ยอนภุ าค ดนิ เหนยี วรอ้ ยละ ๗-๒๐ มอี นภุ าคทรายมากกวา่ รอ้ ยละ ๕๒ และ จะต้องมปี ริมาณอนภุ าคทรายแปง้ รวมกบั ๒ เท่าของอนุภาคดนิ เหนียวต้งั แตร่ อ้ ยละ ๓๐ ขน้ึ ไป หรือมอี นภุ าคดินเหนยี วน้อยกว่า รอ้ ยละ ๗ จะตอ้ งมอี นุภาคทรายแป้งนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ และ อนภุ าคทรายมากกวา่ รอ้ ยละ ๔๓ แบง่ ออกเป็น S ๓.๑ ดินร่วนปนทรายหยาบ (coarse sandy loam) ดินที่ประกอบด้วยอนุภาคทรายหยาบมาก และทรายหยาบ รวมกันตัง้ แต่ร้อยละ ๒๕ ขน้ึ ไป และมีอนุภาคทรายขนาดอืน่ ๆ ขนาดเดยี วน้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ๓.๒ ดินรว่ นปนทราย (sandy loam) ดินท่ปี ระกอบด้วย อนุภาคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกนั ตงั้ แตร่ อ้ ยละ ๓๐ ขน้ึ ไป แตจ่ ะตอ้ งมอี นภุ าคทรายหยาบมาก และทรายหยาบรวมกันน้อยกว่าร้อยละ ๒๕ และอนุภาคทราย ละเอียด ทรายละเอียดมากน้อยกว่าร้อยละ ๓๐ หรือมีอนุภาค ทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกนั น้อยกว่าร้อยละ ๑๕ และอนุภาคทรายละเอียด ทรายละเอียด มากน้อยกว่าร้อยละ ๓๐ พร้อมท้ังมีอนุภาคทรายละเอียด ทรายละเอยี ดมาก รวมกันน้อยกว่ารอ้ ยละ ๔๐ 208
soil texture S ๓.๓ ดนิ รว่ นปนทรายละเอยี ด (fine sandy loam) ดนิ ท่ี ประกอบด้วยอนุภาคทรายละเอียดต้ังแต่ร้อยละ ๓๐ ขึ้นไป และจะตอ้ งมอี นภุ าคทรายละเอยี ดมากนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๓๐ หรอื มอี นภุ าคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกันอยู่ระหว่างร้อยละ ๑๕-๓๐ หรือมีอนุภาคทรายละเอียด ทรายละเอยี ดมาก รวมกนั มากกวา่ รอ้ ยละ ๔๐ โดยทค่ี รงึ่ หนงึ่ หรอื มากกว่าของจ�ำนวนน้ีจะต้องเป็นทรายละเอียด และจะต้องมี อนภุ าคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกนั ไม่เกนิ รอ้ ยละ ๑๕ ๓.๔ ดินร่วนปนทรายละเอียดมาก (very fine sandy loam) ดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ยอนภุ าคทรายละเอยี ดมากตง้ั แตร่ อ้ ยละ ๓๐ ขึ้นไป และจะต้องมีอนุภาคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายหยาบปานกลาง รวมกันน้อยกว่าร้อยละ ๑๕ หรือมี อนุภาคทรายละเอียด ทรายละเอียดมาก รวมกันมากกว่า รอ้ ยละ ๔๐ โดยทมี่ ากกวา่ ครงึ่ หนงึ่ ของจำ� นวนนจ้ี ะตอ้ งเปน็ ทราย ละเอียดมาก และจะต้องมีอนุภาคทรายหยาบมาก ทรายหยาบ และทรายปานกลาง รวมกนั นอ้ ยกว่าร้อยละ ๑๕ ๔. ดนิ รว่ น (loam) ดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ยอนภุ าคดนิ เหนยี วรอ้ ยละ ๗-๒๗ อนภุ าคทรายแปง้ รอ้ ยละ ๒๘-๕๐ และอนภุ าคทรายไมเ่ กนิ ร้อยละ ๕๒ ๕. ดนิ รว่ นปนทรายแปง้ (silt loam) ดนิ ทปี่ ระกอบดว้ ยอนภุ าค ทรายแปง้ ต้ังแต่ร้อยละ ๕๐ ขึน้ ไป และอนุภาคดนิ เหนียวรอ้ ยละ ๑๒-๒๗ หรือมีอนุภาคทรายแป้งร้อยละ ๕๐-๘๐ และจะต้องมี อนภุ าคดนิ เหนยี วนอ้ ยกว่าร้อยละ ๑๒ ๖. ดนิ ทรายแปง้ (silt) ดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ยอนภุ าคทรายแปง้ ตงั้ แต่ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป และอนุภาคดนิ เหนียวน้อยกว่าร้อยละ ๑๒ 209
soil texture ๗. ดนิ รว่ นเหนยี วปนทราย (sandy clay loam) ดนิ ทป่ี ระกอบ ดว้ ยอนภุ าคดนิ เหนยี วรอ้ ยละ ๒๐-๓๕ อนภุ าคทรายแปง้ นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๒๘ และอนุภาคทรายมากกวา่ ร้อยละ ๔๕ ๘. ดินรว่ นเหนียว (clay loam) ดินทป่ี ระกอบด้วยอนภุ าคดิน เหนียวรอ้ ยละ ๒๗-๔๐ และอนภุ าคทรายร้อยละ ๒๐-๔๕ ๙. ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง (silty clay loam) ดินที่ ประกอบดว้ ยอนภุ าคดนิ เหนยี วรอ้ ยละ ๒๐-๔๐ และอนภุ าคทราย น้อยกวา่ ร้อยละ ๒๐ ๑๐. ดินเหนียวปนทราย (sandy clay) ดินที่ประกอบด้วย อนภุ าคดนิ เหนยี วตง้ั แตร่ อ้ ยละ ๓๕ ขน้ึ ไป และอนภุ าคทรายตงั้ แต่ ร้อยละ ๔๕ ขน้ึ ไป ๑๑. ดนิ เหนียวปนทรายแปง้ (silty clay) ดินทปี่ ระกอบดว้ ย อนุภาคดนิ เหนียวตั้งแตร่ อ้ ยละ ๔๐ ข้นึ ไป และอนภุ าคทรายแปง้ ตั้งแตร่ อ้ ยละ ๔๐ ข้ึนไป S ๑๒. ดินเหนียว (clay) ดินที่ประกอบด้วยอนุภาคดินเหนียว ตั้งแตร่ ้อยละ ๔๐ ข้นึ ไป อนุภาคทรายนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๔๕ และ อนุภาคทรายแป้งนอ้ ยกว่าร้อยละ ๔๐ 210
soil water diffusivity S soil textural triangle สามเหล่ียมเน้ือดิน แผนภาพสามเหลี่ยมแสดง การจ�ำแนกเนื้อดินออกเป็น ๑๒ ประเภท โดยพิจารณาจาก รอ้ ยละของอนุภาคขนาดดนิ เหนยี ว ทรายแปง้ และทราย [ดู soil texture ประกอบ] soil type ชนิดดิน หนว่ ยแผนท่ดี นิ ซ่ึงแบ่งย่อยจากชุดดนิ ดว้ ยความแตกตา่ ง ของเน้อื ดนิ บน เช่น ชนดิ ดินรอ้ ยเอด็ ที่เปน็ ดินร่วน จะมีลกั ษณะ สัณฐานของดนิ สมบตั ดิ นิ และพัฒนาการของหน้าตดั ดินเหมือน ชดุ ดนิ ร้อยเอด็ แต่ดินบนมเี น้อื ดินเป็นดินร่วน soil variant ดินคลา้ ย หนว่ ยแผนทด่ี นิ ซึง่ ดินมีลกั ษณะและสมบัติของดิน แตกต่างจากชุดดินที่เคยกําหนดไว้แล้ว และมีลักษณะเด่นชัด พอท่ีจะกําหนดเป็นชุดดินใหม่ได้ตามระบบการจําแนกดิน แต่เน่ืองจากเนื้อที่ซ่ึงส�ำรวจพบยังน้อยกว่าพิกัดที่กําหนดไว้ จงึ แยกเปน็ ดนิ อกี หนว่ ยหนง่ึ โดยใชช้ อ่ื ชดุ ดนิ ซง่ึ มลี กั ษณะใกลเ้ คยี ง มากท่ีสุด แล้วกํากับด้วยลักษณะท่ีแตกต่างกับชุดดินท่ีให้ช่ือ เชน่ ดนิ สตกึ ท่มี เี บสสงู (Satuk, high base variant) soil water น�ำ้ ในดิน ดู soil moisture soil water characteristic; soil moisture characteristic ลักษณะ เฉพาะของความชน้ื ดนิ ดู soil moisture characteristic; soil water characteristic soil water content ปริมาณนำ้� ในดนิ มวลของนำ�้ ที่ถกู ดูดซบั อยใู่ นช่องดนิ ณ เวลาใดเวลาหน่ึง ด้วยแรงน้อยกว่า ๑,๕๐๐ กิโลพาสคัล มีหนว่ ยเป็นปริมาตรต่อน�้ำหนักดินแหง้ soil water diffusivity สภาพการแพรข่ องนำ�้ ในดิน อัตราสว่ นระหว่าง สภาพน�ำน�้ำกับความจุความชื้นอนุพันธ์ หรืออัตราส่วนระหว่าง ฟลักซ์ของน�ำ้ กบั ลาดความชืน้ มีหน่วยเป็นตารางเมตรตอ่ วินาที 211
soil water potential soil water potential ศักย์น�้ำในดิน พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนท่ี ของมวลนำ้� จากทหี่ นงึ่ ไปยงั จดุ ทกี่ ำ� หนด ถา้ ปรมิ าณนำ้� กำ� หนดเปน็ ปรมิ าตร นำ้� หนกั หรอื มวล ศกั ยน์ ำ�้ ในดนิ มหี นว่ ยเปน็ พาสคลั เมตร หรือจูลต่อกิโลกรมั ตามลำ� ดับ [มีความหมายเหมือนกบั water tension] soil water repellency; soil hydrophobicity สภาพไม่ซมึ น้�ำของดนิ ดู soil hydrophobicity; soil water repellency soil water storage; soil moisture storage การเก็บกักน้�ำของดิน ดู soil moisture storage; soil water storage solifluction การไหลลงของดิน การเล่ือนไถลของดินอย่างช้า ๆ ลงไป ตามลาดเขาในเขตอากาศหนาว เกิดเน่ืองจากน�้ำแข็งและหิมะ ท่ีละลายในฤดูร้อนไหลซึมลงไปในดินชั้นบน ท�ำให้ดินชื้นแฉะ ในขณะท่ีดินชั้นล่างยังคงมีอุณหภูมิที่จุดเยือกแข็งอยู่ ดินชั้นบน จงึ คอ่ ย ๆ ไหลเล่ือนลงไป คำ� น้ีแตเ่ ดมิ ใชใ้ นความหมายเดียวกบั S ดินคืบ แต่ในปัจจุบันถือว่าการไหลลงของดินมีอัตราการไหล เร็วกวา่ ดนิ คบื คอื มีอตั รา ๐.๕-๕.๐ เซนตเิ มตรต่อปี Solodized-Solonetz soils ดนิ โซโลไดซด-์ โซโลเนตซ์ กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบการจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินที่ เกิดจากตะกอนน้�ำพาเก่าซึ่งมีปริมาณเกลือโซเดียมคลอไรด์ ผสมอยู่มาก หรือได้รับผลกระทบจากเกลือโซเดียมคลอไรด์ ของน�้ำใต้ดินในสภาพภูมิอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง ชั้นดินบนมี เนอื้ ดนิ รว่ นปนทราย ชน้ั ดนิ ลา่ งมเี นอื้ ดนิ เหนยี วและโครงสรา้ งดนิ แบบแท่งหัวมนหรือแท่งหัวเหล่ียม ดินมีการระบายน้�ำเลว ในฤดูแล้งจะพบคราบเกลือโซเดียมคลอไรด์บนผิวหน้าดิน ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดปานกลางถงึ ดา่ งจดั มหี นา้ ตดั ดนิ แบบ A-A2- Bt-C ชุดดินท่ีส�ำคัญของกลุ่มดินหลักน้ี คือ ชุดดินกุลาร้องไห้ และชดุ ดินหนองแก 212
Solum S Solonchak soils ดนิ โซลอนชกั กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนงึ่ ในระบบการจำ� แนกดนิ ประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินเกิดจากตะกอนน้�ำพาเก่า ซง่ึ ไดร้ บั ผลกระทบจากเกลอื โซเดยี มคลอไรดข์ องนำ�้ ใตด้ นิ ในสภาพ ภูมิอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง ชั้นดินบนมีเน้ือดินทรายปนดินร่วน ช้ันดินล่างมีเนื้อดินเหนียวสลับกับช้ันดินทราย ดินมีการระบาย นำ�้ เลว ในฤดแู ลง้ จะพบคราบเกลอื โซเดยี มคลอไรดบ์ นผวิ หนา้ ดนิ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงด่างจัด มีหน้าตัดดินแบบ Apg-Bg-Cg ชุดดินทส่ี �ำคญั ของกลุม่ ดินหลกั น้ี คอื ชุดดินอดุ ร solstice อายนั จดุ ๒ จดุ บนวงอคี ลปิ ตกิ หรอื วงโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ และอยกู่ ง่ึ กลางระหวา่ งวษิ วุ ตั จงึ เปน็ จดุ ทม่ี รี ะยะสงู สดุ จากเหนอื และใต้ของเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า คนบนโลกในต�ำแหน่งท้ังสองน้ี จะเห็นดวงอาทิตย์หยุดการเปล่ียนเดคลิเนชัน (declination) คอื ดวงอาทติ ยจ์ ะมคี า่ เดคลเิ นชนั เหนอื หรอื ใตม้ ากทสี่ ดุ ในซกี โลก เหนอื จดุ ทเี่ หน็ ดวงอาทติ ยอ์ ยเู่ หนอื เสน้ ศนู ยส์ ตู รมากทส่ี ดุ เรยี กวา่ อตุ รายนั หรอื ครษี มายนั (summer solstice) ตรงกบั ประมาณ วันที่ ๒๑-๒๒ มิถุนายน ซ่ึงดวงอาทิตย์มีค่าเดคลิเนชันเหนือสุด คร่ึงโลกฝ่ายเหนือจะได้รับแสงอาทิตย์มากท่ีสุดและส่องลงมายัง พน้ื โลกเกอื บตรงดงิ่ ระหวา่ งกลางวนั ยาวกวา่ กลางคนื และทำ� นอง เดยี วกนั จดุ ทเี่ หน็ ดวงอาทติ ยอ์ ยใู่ ตเ้ สน้ ศนู ยส์ ตู รมากทส่ี ดุ เรยี กวา่ ทกั ษณิ ายัน หรอื เหมายนั (winter solstice) ตรงกบั ประมาณ วันที่ ๒๑-๒๒ ธันวาคม ซึ่งดวงอาทิตย์มีค่าเดคลิเนชันใต้สุด คำ� นใี้ ชส้ �ำหรับการจำ� แนกระบอบอุณหภูมดิ นิ แบบเซริก soluan คราบผลึกสารละลาย คราบวตั ถซุ ่งึ ประกอบด้วยเกลือชนิดตา่ ง ๆ เชน่ คราบยปิ ซัม คราบคารบ์ อเนต คราบแคลไซต์ คราบเฮไลต์ [ดู cutan ประกอบ] Solum ชั้นท่เี ปน็ ดิน, โซลัม ชุดชน้ั ดนิ ที่เกดิ จากกระบวนการเกดิ ดินเดียวกัน ประกอบด้วย ชนั้ เอ ช้ันอี ชน้ั บี และชัน้ เปลีย่ นแปลง 213
solute potential solute potential ศักย์ตัวละลาย องคป์ ระกอบหนึง่ ของศกั ย์น�้ำในดินเกดิ จากอทิ ธพิ ลของแรงดดู นำ้� ของไอออนหรอื โมเลกลุ ทล่ี ะลายปะปน อยู่ในน�้ำ ซึ่งมีผลลดความเป็นอิสระของไอออนหรือโมเลกุล ศกั ยต์ วั ละลายจงึ มเี ครอื่ งหมายเปน็ ลบ และจะมคี า่ ลดลง (เปน็ ลบ มากขึ้น) เม่ือความเข้มข้นของตัวละลายเพิม่ ขึ้น sombric diagnostic horizon; sombric horizon ชนั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั ซอมบรกิ ชน้ั ดนิ ลา่ งวนิ จิ ฉยั ในระบบอนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ชนั้ ดนิ แรม่ สี เี ขม้ กวา่ ช้ันดินท่ีอยู่ด้านบน แต่ขาดสมบัติของช้ันดินวินิจฉัยสปอดิก พบในดนิ ชน้ื เยน็ บนที่สงู ของเขตรอ้ น somewhat excessively drained soil ดินระบายน�้ำค่อนข้างมาก ดนิ ทม่ี กี ารไหลซมึ ของนำ�้ ออกจากดนิ อยา่ งรวดเรว็ โดยปรกตเิ นอื้ ดินหยาบ มีความพรุนมาก พบบริเวณที่ดอนท่ีมีระดับน้�ำใต้ดิน ลึกกว่า ๒ เมตรตลอดทงั้ ปี จะไมพ่ บลกั ษณะการเปยี กแฉะ ดินมี สีแดง สเี หลอื ง หรอื สีน้�ำตาลตลอดหน้าตดั ดิน S somewhat poorly drained soil ดินระบายน�้ำค่อนข้างเลว ดินท่ีมี การไหลซึมของน�้ำออกจากดินค่อนข้างช้า ท�ำให้ดินเปียกแฉะ อยเู่ ปน็ ระยะเวลานาน โดยเฉพาะในชว่ งฤดฝู น ระดบั นำ้� ใตด้ นิ อยู่ เหนือความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผิวดิน พบบริเวณท่ีราบต่�ำ ใช้ทำ� นาเป็นสว่ นใหญ่ sorption การซึมซับ การเคลื่อนย้ายของไอออนหรือโมเลกุลท่ีอยู่ ในสารละลายโดยการดดู ซึมและการดดู ซับของอนภุ าคดนิ sorptivity ความสามารถซมึ ซบั นำ้� การเคลอื่ นทข่ี องนำ้� เขา้ ไปในดนิ หรอื วสั ดุ กอ่ สร้างทม่ี รี ูพรนุ ตามแนวนอน มสี ตู รดังนี้ เม่อื S คอื ความสามารถซึมซับน�้ำ ซ่ึงข้ึนกับปริมาณน�้ำเริ่มต้น และขอบเขตการแพรก่ ระจายของนำ้� ในดนิ และปจั จยั อนื่ ๆ ที่เก่ียวข้อง 214
spodic diagnostic horizon; spodic horizon S I คือ ปรมิ าณน�้ำซึมผ่านสะสม (มหี นว่ ยเปน็ มิลลิเมตร) และ t คอื เวลาท่ีน�้ำซมึ ผา่ น (มีหน่วยเปน็ นาที) spatial variability ความแปรผนั เชิงพ้นื ที่ ความแปรปรวนของสมบัติดนิ ในแนวราบตามสภาพภูมิประเทศ หรือในแนวด่ิงตามความลึก ของดิน specific adsorption การดดู ซบั จำ� เพาะ การดดู ซบั ของไอออนหรอื โมเลกลุ ท่ีผิวของคอลลอยด์ดินอย่างเหนียวแน่น ท�ำให้การแลกเปล่ียน ของไอออนและโมเลกลุ เหลา่ น้เี กิดขึ้นไดย้ าก specific humidity ความชน้ื จ�ำเพาะ อัตราสว่ นระหวา่ งน้�ำหนักของไอน�ำ้ ในอากาศกบั นำ้� หนักของมวลอากาศนั้น specific water capacity ความจนุ ำ้� จำ� เพาะ การเปลยี่ นแปลงของปรมิ าณ น�้ำในดินตามการเปลีย่ นแปลงศกั ย์วัสดุพื้นของน�้ำในดิน spit สันดอนจะงอย สันดอนทรายหรือกรวดมีลักษณะแคบและยาว ด้านหน่ึงติดอยู่กับฝั่งอีกด้านหนึ่งย่ืนออกไปในทะเล และมักมี ตอนปลายงอโคง้ เปน็ จะงอยตามอทิ ธพิ ลของกระแสนำ้� และคลน่ื ถา้ สนั ดอนจะงอยประกอบดว้ ยทรายลว้ น เรยี กวา่ สนั ดอนจะงอย ทราย (sand spit) splash erosion การกรอ่ นแบบกระเดน็ การกรอ่ นทเ่ี กดิ จากการตกกระแทก ของเม็ดฝน ท�ำให้อนุภาคดินขนาดเล็กกระเด็นลอยไปในอากาศ และเคลอื่ นทอ่ี อกไปจากท่เี ดมิ spodic diagnostic horizon; spodic horizon ชัน้ ดินวนิ ิจฉยั สปอดกิ ช้ันดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นช้ันดินแร่ท่ี มีความหนาอย่างน้อย ๒.๕ เซนติเมตร ปรกติพบอยู่ใต้ช้ันโอ ช้ันเอ ชั้นเอพี (Ap) หรือชั้นอี เป็นช้ันสะสมท่ีมีวัสดุอสัณฐาน อย่างน้อยร้อยละ ๘๕ ซ่ึงประกอบด้วยอะลูมิเนียม คาร์บอน อนิ ทรีย์ และอาจมีเหลก็ หรือไมก่ ็ได้ 215
Spodosols Spodosols สปอโดซอลส์ อันดับดินอันดับหนึ่งในการจ�ำแนกตามระบบ อนุกรมวิธานดิน เป็นดินแร่ท่ีมีชั้นดินวินิจฉัยสปอดิกภายใน ความลกึ ๒๐๐ เซนตเิ มตรจากผวิ ดนิ แร่ โดยชั้นดินวนิ ิจฉัยอัลบกิ และช้ันดินวินิจฉัยสปอดิกมีความหนารวมกันต้ังแต่ร้อยละ ๕๐ ของหน้าตัดดิน และไม่มีชั้นดินวินิจฉัยแพลกเจน ชั้นดินวินิจฉัย อาร์จิลลิก หรือช้ันดินวินิจฉัยแคนดิก อยู่เหนือช้ันดินวินิจฉัย สปอดิก ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดนิ ออกซซิ อลสจ์ าํ แนกเปน็ อนั ดบั ยอ่ ย ดงั นี้ แอควอดส์ (Aquods) เจลอดส์ (Gelods) ฮิวมอดส์ (Humods) ไครออดส์ (Cryods) และออทอดส์ (Orthods) โดยอันดับย่อยท่ีพบในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ออทอดส์ spray irrigation การชลประทานแบบพ่น การให้น้�ำโดยการพ่นฝอย หรอื พน่ หมอกไปบนผวิ หนา้ ดนิ [ดู mist irrigation และ sprinkler irrigation ประกอบ] S sprinkler irrigation การชลประทานแบบฉีดฝอย การให้น�้ำท่ัวผิวดิน ผ่านหัวพ่นน�้ำหรือปนื ฉดี นำ้� แรงดันสูง stadial moraine; recessional moraine กองตะกอนธารนำ้� แขง็ ถอยกลบั ดู recessional moraine; stadial moraine stereoscope กลอ้ งมองภาพสามมติ ิ กลอ้ งมองภาพแบบสองตาซง่ึ ออกแบบ เพอ่ื ใช้ประโยชนใ์ นการดวู ตั ถุบนภาพถ่ายค่ใู หเ้ ปน็ ภาพสามมิติ stern layer สเตริ น์ เลเยอร์ ชน้ั ทไ่ี อออนบวกจบั แนน่ กบั ผวิ อนภุ าคดนิ เหนยี ว stickiness ความเหนียว ความสามารถของดินในการยึดเกาะกับสิ่งอื่น การทดสอบกระท�ำด้วยวิธีการนวดดินในมือโดยเพ่ิมความชื้น จนกระทง่ั ดนิ มคี วามเหนยี วมากทสี่ ดุ และบบี ดนิ ดว้ ยนวิ้ หวั แมม่ อื และนวิ้ ชี้ 216
stone line Stokes’ law กฎของสโตกส์ กฎว่าด้วยการตกจมของอนุภาคของแข็ง ในของเหลวท่ีมีแรงพยุงตัวภายใต้อุณหภูมิและแรงดันมาตรฐาน มสี ูตรดงั นี้ เมือ่ คือ แรงตา้ นทานการพยุงตวั เท่ากบั ๓.๑๔๑๖ คือ แรงพยงุ ตวั ของของเหลว คอื เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของอนภุ าค และ คือ ความเร็วในการตกจม กฎของสโตกสใ์ ชใ้ นการศกึ ษาการตกตะกอนของอนภุ าคขนาดตา่ งๆ ตามการตกจมเพอ่ื ใช้ประเมินเน้ือดิน ค�ำนวณได้จากสมการ เมอื่ คอื ความถว่ ง S คือ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางอนภุ าค คอื ความหนาแนน่ อนภุ าค และ คอื ความหนาแน่นของของเหลว stone ก้อนหิน หินหรือเศษช้นิ สว่ นแรท่ ่มี รี ปู ร่างทรงกลมหรือทรงลกู บาศก์ มเี สน้ ผ่านศูนยก์ ลางระหวา่ ง ๒๕๐-๖๐๐ มิลลิเมตร ถ้าเปน็ แบบ แผ่นจะมีความยาวระหว่าง ๓๘๐-๖๐๐ มิลลิเมตร [ดู rock fragment ประกอบ] stone line แนวก้อนหิน ชิ้นส่วนหยาบท่ีปรากฏในตะกอนดินช้ันบน สว่ นมากเปน็ กรวดกลางหรอื หนิ มนเลก็ ปรกตจิ ะวางตวั เหนอื วสั ดุ ทเ่ี กดิ จากการผพุ งั อยกู่ บั ทใ่ี นกระบวนการเกดิ ดนิ ทร่ี ะดบั ความลกึ ๕๐-๓๐๐ เซนติเมตร ชิ้นส่วนเหล่านี้เป็นตะกอนที่มาทับ หรือเข้าไปแทนที่วัสดุเดิมที่ถูกกร่อนออกไป โดยชิ้นส่วนหยาบ 217
stoniness เหลา่ นเ้ี กดิ จากการกรอ่ น และถกู เคลอื่ นยา้ ยมากบั นำ�้ ไหลบา่ หนา้ ผวิ ดินมาตกตะกอนพร้อมกับตะกอนดินชน้ั บน stoniness สภาพก้อนหินปน สัดส่วนสัมพัทธ์ของก้อนหินซึ่งปะปน อยู่บนหรือใกล้ผิวหน้าดิน โดยใช้เป็นประเภทดินหนึ่งในหน่วย แผนท่ดี ิน straight fertilizer; single fertilizer ปยุ๋ เชิงเดี่ยว ดู single fertilizer; straight fertilizer strath terrace ตะพักหินกรอ่ น ตะพักลำ� น้ำ� ในพน้ี ที่หบุ เขาค่อนข้างกว้าง เกิดจากการกร่อนผิวหน้าของหินพ้ืนและการตัดของลําน�้ำทาง ด้านข้าง มีลักษณะราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ และมี ตะกอนน�ำ้ พาปกคลุมเป็นชน้ั บาง ๆ straw mulching การคลมุ ด้วยฟาง การใช้ฟางคลมุ ผวิ ดินเพ่ือการอนรุ ักษ์ ดนิ และน�ำ้ ลดอุณหภมู ิดนิ และควบคมุ วัชพชื stream erosion การกร่อนร่องธาร การกร่อนท่ีเกิดจากการกัดเซาะ ของน้ำ� ไหลในระบบธารน้ำ� S stream order ล�ำดับทางน�้ำ, ล�ำดับธาร การจ�ำแนกล�ำดับทางน�้ำตาม ตำ� แหนง่ โครงขา่ ยทางนำ้� ซง่ึ เปรยี บเสมอื นกงิ่ กา้ นสาขาของตน้ ไม้ สาขาปลายสุดก�ำหนดให้เป็นทางน�้ำล�ำดับที่ ๑ ถ้าล�ำดับท่ี ๑ สองสายมารวมกันจะเปน็ ล�ำดบั ที่ ๒ ลำ� ดบั ท่ี ๒ กบั ล�ำดับที่ ๒ มารวมกันเปน็ ลำ� ดับที่ ๓ และ ๔ ไปเรื่อยๆ จนกระทัง่ ถึงปากน�้ำ ดงั ภาพ 218
subangular blocky soil structure S stream terrace ตะพักล�ำน�้ำ ภูมิลักษณ์ที่อยู่ในหุบเขาของล�ำน�้ำ มีลักษณะเป็นที่ราบแคบ วางตัวขนาบเป็นแนวขนานหรือ เกอื บขนานดา้ นขา้ งสองฝง่ั ของรอ่ งนำ�้ มรี ะดบั ลดหลนั่ กนั เหมอื น ข้ันบันได โดยตะพักล�ำน�้ำที่มีอายุมากจะอยู่สูง ส่วนท่ีอายุน้อย จะอยลู่ ดหลัน่ กนั ลงมาตามลำ� ดบั strip cropping การปลกู พืชสลับแถบ การปลกู พชื ตงั้ แต่ ๒ ชนดิ ขนึ้ ไปสลบั เปน็ แถบ ถา้ เปน็ ตามแนวระดบั ขวางความลาดเทเรยี กวา่ การปลกู พืชสลับแถบตามแนวระดับ (contour strip cropping) และถา้ ปลกู พชื เปน็ แถบในพนื้ ทร่ี าบขวางทศิ ทางลมและการไหล ของนำ�้ เรยี กวา่ การปลกู พชื สลบั แถบตามสภาพพนื้ ท่ี (field strip cropping) เพ่ือลดการกร่อนของดิน แถบพืชประกอบด้วยพืช อนุรักษด์ ิน เช่น หญ้า พชื คลุมดิน กบั แถบพชื ไร่ เช่น ข้าวโพด ขา้ วฟ่าง ฝ้าย มันสำ� ปะหลัง structural basin แอง่ โครงสรา้ ง บริเวณพน้ื ท่ตี �ำ่ ในเปลอื กโลกซึ่งมีกำ� เนดิ จากการแปรโครงสร้าง เป็นบริเวณที่มีการสะสมของตะกอน ลักษณะแอ่งโครงสร้างนั้นเคยเป็นแอ่งในช่วงที่มีการสะสม แต่ปัจจุบันอาจไม่มีการสะสมแล้วก็ได้ เช่น แอ่งแม่เมาะ แอ่งลี้ แอ่งเชียงใหม่ แอง่ ฝาง structural shrinkage การหดตัวเชิงโครงสร้าง การหดตัวที่น้อยกว่า ปริมาตรน�้ำท่ีสูญเสียไปเน่ืองจากการระบายน้�ำออกจากช่อง ขนาดใหญ่เมอื่ ความจนุ ้ำ� ของดนิ สงู stubble mulching การคลุมดินด้วยเศษพืช การใช้เศษเหลือหรือ ปล่อยเศษเหลือของพืชไว้คลุมผิวหน้าดินภายหลังการเก็บเกี่ยว ผลผลติ แล้ว เพ่อื รกั ษาความช้นื และป้องกันการกร่อนดิน subangular blocky soil structure โครงสรา้ งดนิ แบบกอ้ นเหลยี่ มมมุ มน โครงสร้างดินแบบก้อนเหลี่ยม ซ่ึงมองเห็นเหล่ียมมุมของ 219
subgroup โครงสร้างไม่ชัดเจน [ดู blocky soil structure และ soil structure ประกอบ] subgroup กลุ่มย่อย หน่วยจ�ำแนกดินย่อยลงมาจากช้ันกลุ่มใหญ่ของดิน ในระบบอนกุ รมวธิ านดนิ การจำ� แนกดนิ ออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยตา่ ง ๆ พิจารณาจากลักษณะของดินหรือกระบวนการซ่ึงมีอิทธิพล ตอ่ สมบตั ดิ นิ หรือระดับขน้ั พฒั นาการของดิน เชน่ ชั้นดนิ วินิจฉยั สภาพเปยี กและแหง้ ของดิน สีดนิ การยืดและหดตวั การระบาย น�้ำ โดยลักษณะและสมบัติของดินท่ีใช้พิจารณานั้นต้องไม่ใช้ ในการจำ� แนกชนั้ ท่สี ูงกว่าของกลุ่มยอ่ ยน้นั ๆ subirrigation การชลประทานใต้ผิวดิน การให้น�้ำลงไปในดินเพ่ือยก ระดับนำ้� ใต้ดนิ ให้สงู ข้ึนถงึ เขตรากพืช submerged soil ดนิ นำ้� ขงั ดนิ ในพ้นื ทล่ี ่มุ ซึง่ มนี �้ำท่วมขงั เป็นชว่ งระยะเวลา หนง่ึ จนท�ำใหด้ ินอย่ใู นสภาพขาดออกซเิ จน suborder อันดับยอ่ ย หน่วยจำ� แนกดนิ ยอ่ ยลงมาจากชั้นอนั ดบั ดินในระบบ S อนุกรมวิธานดิน การจ�ำแนกดินออกเป็นอันดับย่อยต่าง ๆ พิจารณาจากลักษณะส�ำคัญบางประการของดิน เช่น ระบอบ ความชน้ื ดนิ ชนดิ ของแรต่ กคา้ งในดนิ สภาพการสลายตวั ของวสั ดุ อนิ ทรยี ์ ระบอบอณุ หภมู ดิ ิน subsoil ดินล่าง ชั้นดินที่อยู่ใต้ช้ันเอ หรือชั้นไถพรวน ลงไปจนถึงช้ันซี หรือช้ันวัตถุต้นก�ำเนิดดิน ในดินที่มีการพัฒนาหน้าตัดดิน อยา่ งชดั เจน ดนิ ล่าง คือ ดินช้นั บี subsoiling; subsurface tillage การไถพรวนดนิ ล่าง การไถเพื่อท�ำลาย ชั้นดินดานหรือช้ันแน่นทึบท่ีอยู่ใต้ช้ันดินบน เพ่ือให้รากพืช แทงทะลุ และ/หรอื น�ำ้ ซึมลงไปได้ดีข้นึ substratum ช้ันใต้ช้ันที่เป็นดิน, ซับสตราตัม ชั้นที่อยู่ใต้ช้ันท่ีเป็นดิน โดยทัว่ ไป คอื ชั้นซี และ/หรือชัน้ อาร์ 220
surface creep S subsurface tillage; subsoiling การไถพรวนดินล่าง ดู subsoiling; subsurface tillage sulfidic material วสั ดุซัลไฟด์ วสั ดอุ นนิ ทรยี ์หรือวัสดอุ ินทรยี ซ์ ่งึ มกี าํ มะถัน เป็นองค์ประกอบในปริมาณสูงและอยู่ในสภาพน�้ำขัง โดยมี ก�ำมะถันในรูปซัลไฟด์ตั้งแต่ ๗.๕ กรัมต่อกิโลกรัมดินข้ึนไป เมื่อบ่มดินในสภาพความชื้นสนาม ณ อุณหภูมิห้อง ภายใน ๘ สปั ดาหจ์ ะทำ� ให้ค่าพเี อช (ดนิ : น�ำ้ เทา่ กับ ๑ : ๑) ลดลง ๐.๕ หน่วยหรอื มากกว่า จนพีเอชมีคา่ ๔.๐ หรอื นอ้ ยกว่า sulfur cycle วฏั จกั รก�ำมะถัน ลำ� ดบั การเปล่ียนรูปของกำ� มะถัน โดยเรมิ่ จากสงิ่ มชี ีวิตนำ� ก�ำมะถันอนนิ ทรีย์ไปใชป้ ระโยชน์ และเปลย่ี นรปู เปน็ กำ� มะถนั อินทรีย์ เมื่อสง่ิ มชี ีวิตตายและผพุ ัง กำ� มะถนั อินทรยี ์ จะถูกย่อยสลายและเปลี่ยนรปู เป็นกำ� มะถนั อนนิ ทรียด์ งั เดิม sulfuric diagnostic horizon; sulfuric horizon ชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั ซลั ฟวิ รกิ ช้ันดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นช้ันดินแร่ ที่มีความหนาอย่างน้อย ๑๕ เซนติเมตร มีค่าพีเอช (ดิน : น�้ำ เทา่ กบั ๑ : ๑) ไม่เกนิ ๓.๕ และพบจดุ ประสีเหลอื งฟางขา้ วของ แร่จาโรไซตใ์ นดนิ summer solstice อตุ รายัน, ครีษมายนั ดูค�ำอธิบายใน solstice superphosphate ซูเปอรฟ์ อสเฟต ปุย๋ ท่ผี ลติ ไดจ้ ากปฏิกิริยาระหวา่ งหนิ ฟอสเฟตกับกรดก�ำมะถัน กรดฟอสฟอริก หรือส่วนผสมของ กรดทง้ั สองน้ี supplemental irrigation การชลประทานเสรมิ การให้น้ำ� เพ่ิมในพน้ื ท่ี ปลูกพืชซึ่งตามปรกติได้รับน้�ำฝนเป็นหลัก เพ่ือให้เพียงพอ ตามความต้องการของพืช surface creep การคืบผิวหน้า การกลิ้งของอนุภาคดินขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง ๐.๕-๑.๐ มิลลิเมตรไปตามผิวหน้าดินโดยอิทธิพล ของลม 221
surface drainage surface drainage การระบายนำ�้ ผิวดนิ การเคลื่อนยา้ ยของนำ้� สว่ นเกิน ออกจากพื้นท่ีทางผิวหน้าดิน ขึ้นอยู่กับระดับความสูงของพ้ืนที่ และระดบั น�้ำใต้ดิน surface hydrology อุทกวิทยาผิวดิน อุทกวิทยาที่ศึกษาเก่ียวกับ การกระจายและการสง่ นำ�้ บนผวิ ดนิ [ดู hydrology ประกอบ] surface irrigation การชลประทานผิวดิน การให้น�้ำไปตามผิวดิน ตามล�ำราง ตามรอ่ ง หรือท่วมแปลง surface sealing การอดุ ตนั ผิวดนิ การทบั ถมของอนุภาคขนาดเลก็ บริเวณ ผวิ ดนิ เปน็ ช้นั ดินเน้อื ละเอยี ดแนน่ ทึบบาง ๆ โดยอทิ ธิพลของนำ�้ หรือการเรียงตัวและจับกันแน่นของอนุภาคขนาดเล็กท่ีผิวดิน ทำ� ให้เกดิ การอุดตนั ท่ผี วิ ดินและลดสภาพซึมน้�ำได้ของดิน surface soil ชั้นดินบน ช้ันดินที่อยู่บนสุด ปรกติเป็นช้ันท่ีมีการไถพรวน (ชั้นเอพี) ถ้าไมเ่ คยไถพรวนจะมีความหนา ๗-๒๕ เซนติเมตร surface subsidence การยุบตัวผิวหน้า ดูค�ำอธิบายใน vertical shrinkage S surfactant ๑. สารลดแรงตึงผวิ สารลดแรงทกี่ ระทำ� ต่อผิวของเหลวต่อ ๑ หนว่ ยความยาวของผิว ๒. สารลดความตงึ ผวิ สารทลี่ ดสมบตั กิ ารดงึ ดดู ของผวิ ของเหลว ที่มีต่อผิวภาชนะที่บรรจุหรือผิวท่ีสัมผัสด้วย หรือลดสมบัติ ของของเหลวซึ่งท�ำให้ของเหลวนนั้ เสมอื นมีผิวทีย่ ืดหย่นุ หมุ้ surge irrigation การชลประทานเปน็ ชว่ ง เทคนคิ การใหน้ ำ้� บนผวิ ดนิ ทปี่ ลอ่ ย ให้น้�ำไหลไปตามร่อง โดยให้มีการหยุดเป็นช่วง ๆ ในระหว่าง การให้น�ำ้ ชุดหนึง่ ๆ suspension การแขวนลอย การทอี่ นภุ าคขนาดเลก็ มาก อาจเป็นของแขง็ กึ่งของแข็ง หรอื ของเหลว กระจายอยู่ในตวั กลางทีเ่ ป็นของเหลว หรือแก๊ส 222
synergism S suspension fertilizer ปยุ๋ แขวนลอย ปยุ๋ เคมเี หลวทมี่ ที ง้ั สารอาหารทลี่ ะลาย และไมล่ ะลายเปน็ องคป์ ระกอบ โดยปรกตสิ ารอาหารทไี่ มล่ ะลาย จะจบั ตวั กบั สารแขวนลอย เชน่ ดนิ เหนยี วทอี่ ยใู่ นปยุ๋ แขวนลอยนน้ั ในการผสมปยุ๋ ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งกวนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมำ�่ เสมอกอ่ นใส่ ลงดนิ sustainable agriculture เกษตรกรรมแบบยงั่ ยนื เกษตรกรรมทผี่ สมผสาน เทคโนโลยกี ารจดั การดนิ และพชื เพอ่ื การผลติ อาหาร ขณะเดยี วกนั กป็ รบั ปรงุ ผลติ ภาพดนิ และคงสภาพสง่ิ แวดลอ้ ม sustained yield ผลผลิตยั่งยืน ปริมาณผลผลิตของพืชในแต่ละฤดูปลูก อันเป็นผลจากการจัดการที่รักษาศักยภาพการผลิตของพ้ืนท่ี ประหยดั และรกั ษาสภาพแวดลอ้ มของระบบนเิ วศ [ดู sustainable agriculture ประกอบ] swamp ที่ลมุ่ น้�ำขัง บริเวณพื้นท่ีต่�ำท่ีมนี �ำ้ ทว่ มขงั ตลอดเวลา swelling hysteresis; hysteresis ความไม่ซ้�ำรอย ดู hysteresis; swelling hysteresis sylvite ซลิ ไวต์ แร่ชนิดหนึ่งในกลุ่มแรเ่ ฮไลต์ มสี ตู รเคมี KCl ผลกึ รปู ลกู บาศก์ ใส ไม่มีสี รสเฝอื่ น เกดิ รวมอยู่กับเฮไลต์ เปน็ สนิ แรส่ ำ� คัญทใี่ ห้ธาตุ โพแทสเซียม symbiosis ภาวะอยรู่ ว่ มกนั การอยรู่ ่วมกนั ของส่ิงมชี วี ติ ต่างชนิด ซง่ึ ต่างมี ความสมั พนั ธแ์ ละ/หรอื มบี ทบาทตอ่ กนั ในรปู แบบใดรปู แบบหนงึ่ คอื อยรู่ ว่ มกนั แบบภาวะองิ อาศยั ภาวะพง่ึ พากนั หรอื ภาวะปรสติ [ดู commensalism, mutualism และ parasitism ประกอบ] synergism สภาวะเสริม การที่ส่ิงมีชีวิต ๒ ชนิดอยู่ร่วมกันจะก่อให้เกิด ประโยชน์มากกว่าการที่ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดแยกกันอยู่เดี่ยว ๆ โดยทส่ี ิ่งมีชีวติ แตล่ ะชนิดสามารถด�ำรงอยไู่ ด้ด้วยตัวเอง 223
talc T talc ทัลก์ แรซ่ ลิ เิ กตชนดิ หนง่ึ มสี ตู รเคมี Mg3Si4O10(OH)2 เนอ้ื คลา้ ยเทยี นไข และลื่นมือ อ่อนจนเล็บขูดเป็นรอย จัดเป็นแร่มาตรฐานท่ีระดับ ความแข็ง ๑ ตามสเกลของโมส์ ส่วนใหญ่ใช้เป็นส่วนประกอบ ในการทำ� สี เครอ่ื งส�ำอาง เครือ่ งดินเผา และกระดาษ talus ลาดหนิ เชิงผา ลานของหินทหี่ ักพังตามธรรมชาติลงมากองอย่ทู ต่ี ีนผา taxadjunct หน่วยอนุกรมวิธานผนวก หน่วยแผนที่ดินซ่ึงได้รวมดิน ที่มีลักษณะและสมบัติทางสัณฐานวิทยา องค์ประกอบ และพฤตกิ รรมนอกพิกัด แตกตา่ งจากชุดดินที่จัดไวแ้ ล้วน�ำเข้าไว้ ในชุดดินที่คล้ายคลึงมากที่สุด เนื่องจากความแตกต่าง ของลกั ษณะและสมบตั ยิ งั ไมม่ คี วามสำ� คญั เพยี งพอทจี่ ะจดั ตงั้ เปน็ T ชุดดินใหม่ จึงแยกเป็นดินอีกหน่วยหน่ึง โดยใช้ช่ือชุดดิน ซง่ึ มลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ มากทส่ี ดุ แลว้ กาํ กบั ดว้ ยลกั ษณะทแี่ ตกตา่ ง taxon ช้ันอนกุ รมวิธาน ชนั้ หน่งึ ๆ ในระดบั การจำ� แนกตามระบบอนกุ รม วธิ านดนิ เชน่ อนิ เซปทซิ อลสเ์ ปน็ ชน้ั อนกุ รมวธิ านดนิ ระดบั อนั ดบั TDR (time-domain reflectometer) ทดี อี าร์ (เครอื่ งวดั การสะทอ้ นกลบั เชงิ เวลา) ดู time-domain reflectometer (TDR) tensiometer เทนซโิ อมเิ ตอร์ เคร่อื งมอื วดั ความชน้ื ของดนิ ประกอบดว้ ย กระเปาะเซรามกิ พรนุ มาตรแรงดนั และทอ่ นำ�้ ทเ่ี ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง กระเปาะเซรามิกพรุนกบั มาตรแรงดนั terminal moraine กองตะกอนธารน�้ำแข็งปลายสุด ส่วนปลายสุด ของกองตะกอนธารน้�ำแข็งปลายธาร หรือส่วนนอกสุดของเนิน 224
thermic soil temperature regime T ตะกอนของพืดน้�ำแข็ง เป็นบริเวณท่ีแสดงการแผ่ออกไปไกลสุด ของพดื น้ำ� แข็ง terrace ๑. ตะพัก ภูมิลักษณ์ซ่ึงเกิดตามธรรมชาติ มีลักษณะราบหรือ คอ่ นขา้ งราบคล้ายขนั้ บนั ไดทอี่ ยูต่ ดิ กบั แมน่ ้ำ� ไดแ้ ก่ ตะพักลำ� น�้ำ บริเวณชายฝั่ง ได้แก่ ตะพักคล่ืนสร้างและตะพักคล่ืนเซาะ หรือบริเวณหุบเขาและเชิงเขา ได้แก่ ตะพักเหลือจากการกร่อน ๒. ขน้ั บนั ได ทร่ี าบแบบขน้ั บนั ไดซงึ่ สรา้ งขนึ้ ในบรเิ วณลาดชนั สงู มีแนวคันดินหรือหินเป็นขอบ เพื่อท�ำให้พ้ืนท่ีเหมาะแก่การไถ พรวนและปอ้ งกันการกรอ่ นดิน ๓. คันดนิ แนวคันดินท่ีสร้างขึ้นขวางความลาดเทเพ่ือชะลอ ความเร็วของน้�ำ ควบคุมการไหลของน�้ำ ป้องกันการกร่อนดิน และรกั ษาความช่มุ ช้นื ของดนิ terra rossa ดินเหนียวสีแดง, ดินแทร์รารอสซา ดินเหนียวท่ีมีแร่เหล็ก ไฮดรอกไซด์ปะปนอยู่สูง มักพบอยู่ตามบริเวณแอ่งหินปูน ในเขตอากาศแบบรอ้ นหรอื กง่ึ รอ้ น ซงึ่ มฝี นไมช่ กุ นกั และมฤี ดรู อ้ น แห้งแล้ง ในประเทศไทยมักพบอยู่กับสัณฐานภูมิประเทศ แบบคาสต์ thermal capacity; heat capacity ความจคุ วามรอ้ น ดู heat capacity; thermal capacity thermal conductivity; heat conductivity สภาพน�ำความร้อน ดู heat conductivity; thermal conductivity thermal property สมบัตทิ างความร้อน สมบัตขิ องตัวกลางทเี่ กยี่ วขอ้ ง กบั การรบั และถา่ ยเทความรอ้ น เชน่ การนำ� ความรอ้ น การแผร่ งั สี ความจคุ วามรอ้ นจำ� เพาะ thermic soil temperature regime ระบอบอณุ หภูมดิ นิ แบบเทอร์มกิ ชั้นอุณหภูมิดินซึ่งมีค่าอุณหภูมิดินเฉล่ียรายปีสูงกว่า ๑๕ องศาเซลเซยี ส แตต่ ำ่� กวา่ ๒๒ องศาเซลเซยี ส และความแตกต่าง 225
thermodynamics ระหว่างอุณหภูมิดินเฉล่ียของฤดูร้อนกับฤดูหนาวมากกว่า ๖ องศาเซลเซยี ส โดยวัดทีร่ ะดบั ความลึก ๕๐ เซนตเิ มตรจากผวิ ดิน หรอื เหนอื ชัน้ หิน [ดู soil temperature regimes ประกอบ] thermodynamics อุณหพลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ ระหว่างความร้อน งาน พลังงาน และการแปลงรูปพลังงาน (energy conversion) thermogenic soil ดนิ เขตอณุ หภมู สิ งู ดนิ ทม่ี สี มบตั ติ า่ ง ๆ ซง่ึ เกดิ จากอทิ ธพิ ล ของอุณหภูมิสูงเป็นปัจจัยเด่นในกระบวนการเกิดดิน เกิดได้ทั้ง ในพืน้ ทเ่ี ขตภมู ิอากาศร้อนช้นื และเขตภมู อิ ากาศกึง่ ร้อนช้ืน thermophilic organism สิง่ มีชวี ติ ชอบรอ้ น สิง่ มชี ีวิตทเ่ี จริญเติบโตได้ดีที่ อณุ หภมู สิ งู กวา่ ๔๕ องศาเซลเซยี ส thermosequence ลำ� ดับอณุ หภูมิ ดูค�ำอธิบายใน soil sequence tidal flat ท่ลี ุ่มราบนำ้� ข้นึ ถงึ พนื้ ทีร่ าบลมุ่ ใกลฝ้ ่ังทะเล มีลกั ษณะเปน็ ทราย ปนโคลนหรือดินแฉะ ซึ่งเป็นบริเวณท่ีน�้ำท่วมถึงเม่ือเวลาน้�ำขึ้น และโผล่เม่อื เวลาน�ำ้ ลง T till ๑. ตะกอนธารน้�ำแข็งไม่แสดงชน้ั ดู glacial till; unstratified drift ๒. การเตรียมดนิ การไถพรวนดินเพอื่ การปลูกพืช tillage การไถพรวน การเปลย่ี นแปลงสภาพหนา้ ตดั ดนิ โดยวธิ ที างการเกษตร หมายรวมถงึ การเปลย่ี นแปลงสภาพดนิ การจดั การเศษเหลอื ของ พชื วชั พชื และ/หรอื การผสมคลกุ เคลา้ สารเคมี เพอื่ การเพาะปลกู tillage erosion การกร่อนไถพรวน การกร่อนของอนุภาคดินที่เกิดจาก การเคล่ือนยา้ ยไปตามความลาดเน่อื งจากการไถพรวน tillage furrow รอ่ งไถพรวน ๑. รอ่ งทเี่ กิดจากการใชไ้ ถหวั หมหู รือผาลไถ ไถเปดิ ผวิ หนา้ ดนิ ๒. ร่องต้ืนระหว่างแถวปลูกพืช ส�ำหรับควบคุมน�้ำผิวดิน และการสญู เสยี ดนิ หรือสำ� หรบั ใหน้ ้ำ� ชลประทาน 226
toposequence T tillage hill มูนดินไถพรวน เนินดินที่เกิดจากการไถพูนโคนต้นพืชท่ีปลูก เปน็ แถว till plain ทรี่ าบตะกอนธารนำ้� แขง็ พนื้ ทร่ี าบถงึ ลกู คลนื่ ลอนลาดทเี่ กดิ บน ตะกอนธารน�ำ้ แข็งไม่แสดงช้ัน tilth ทิลท์ ลักษณะทางฟิสิกส์ของดินที่ไถพรวนได้ง่าย เหมาะส�ำหรับ การเพาะกลา้ การงอกของตน้ กลา้ และการไชชอนของราก time-domain reflectometer (TDR) เครอ่ื งวดั การสะทอ้ นกลบั เชงิ เวลา (ทีดีอาร์) เคร่ืองมือส�ำหรับวัดความช้ืนในดิน ประกอบด้วย เครื่องวัด หวั ตรวจ (probe) สายนำ� สัญญาณ และ/หรือท่อท่ฝี งั ในดนิ โดยใชห้ ลกั การของการสะทอ้ นกลบั ของคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และค่าไดอเิ ลก็ ทริก (dielectric) ซ่งึ สัมพันธ์กบั ความช้นื ของดนิ ถา้ ดินมีความชนื้ มาก คา่ ไดอิเล็กทรกิ ของดนิ จะสูง toeslope ทรี่ าบเชิงเขา พื้นทีท่ ่อี ยรู่ ะหว่างเชงิ เขากบั หบุ เขาทม่ี ีความลาดชนั เลก็ นอ้ ย top dressed fertilizer ปยุ๋ แตง่ หน้า ป๋ยุ ที่หวา่ นบนผวิ หน้าดนิ หลังจากพชื ตั้งตวั แล้วโดยไม่กลบ top dressing การใสป่ ยุ๋ แตง่ หนา้ การหวา่ นปยุ๋ ลงบนผวิ หนา้ ดนิ หลงั พชื งอก [ดู top dressed fertilizer ประกอบ] topographic map แผนท่ีภูมิประเทศ แผนท่ีแสดงรายละเอียด ของพื้นผิวโลก เช่น ภูมิลักษณ์ รวมทั้งส่ิงที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ตามปรกติมักเป็นแผนที่ มาตราส่วนใหญ่ topography ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพท่วั ไปบนผิวโลกซึง่ ประกอบดว้ ย สง่ิ ทเ่ี ปน็ อยตู่ ามธรรมชาติ เชน่ ภเู ขา หบุ เขา แมน่ ำ้� และสง่ิ ทมี่ นษุ ย์ ดัดแปลงข้นึ เชน่ ทางน�้ำ แหล่งนำ�้ ถนน เมือง toposequence ล�ำดบั ภูมปิ ระเทศ ดคู ำ� อธบิ ายใน soil sequence 227
topsoil topsoil ดนิ บน ชน้ั ดนิ ทอ่ี ยบู่ นสดุ โดยปรกตหิ มายถงึ ชนั้ เอ ในพนื้ ทเี่ กษตรกรรม ท่มี กี ารไถเตรยี มดินเพ่อื การปลกู พืช หมายถึงชัน้ เอพี (Ap) หรอื ดนิ ทน่ี ำ� มาถมเป็นหนา้ ดนิ Torrands ทอร์แรนดส์ อันดับยอ่ ยอันดบั หนง่ึ ของอันดบั ดินแอนดิซอลสใ์ น ระบบอนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซงึ่ เกดิ ขนึ้ ภายใตร้ ะบอบความชนื้ ดนิ แบบทอร์ริกหรือระบอบความชื้นดินแบบแอริดิก ไม่พบอันดับ ยอ่ ยนใ้ี นประเทศไทย [ดู Andisols, aridic soil moisture regime และ torric soil moisture regime ประกอบ] Torrerts ทอรเ์ รติ ส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ เวอรท์ ซิ อลสใ์ นระบบ อนุกรมวิธานดิน ถ้าไม่มีการชลประทาน ดินจะไม่มีรอยแตก ระแหงนานตอ่ เนอื่ งน้อยกว่า ๖๐ วนั ในชว่ งทีอ่ ุณหภูมิดนิ สงู กว่า ๘ องศาเซลเซียสที่ระดับความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผิวดินแร่ ไม่พบอันดับย่อยนใี้ นประเทศไทย [ดู Vertisols ประกอบ] torric soil moisture regime ระบอบความชื้นดินแบบทอร์ริก สภาพความชื้นของดินในช่วงควบคุมเหมือนกับระบอบความชื้น T ดินแบบแอริดิก แต่ระบอบความช้ืนดินแบบทอร์ริกใช้ใน ข้ันอนุกรมวิธานดินระดับอันดับย่อย และระดับกลุ่มใหญ่ [ดู aridic soil moisture regime ประกอบ] Torrox ทอร์รอกซ์ อนั ดบั ย่อยอันดบั หนงึ่ ของอันดับดินออกซซิ อลสใ์ นระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซงึ่ มรี ะบอบความชน้ื ดนิ แบบแอรดิ กิ หรอื ระบอบความชนื้ ดนิ แบบทอรร์ กิ ไมพ่ บอนั ดบั ยอ่ ยนใี้ นประเทศไทย [ดู aridic soil moisture regime, Oxisols และ torric soil moisture regime ประกอบ] total acidity สภาพกรดรวม ผลรวมของสภาพกรดซึ่งถกู แทนท่ีดว้ ยเกลือ กบั สภาพกรดตกคา้ ง คา่ นหี้ าไดจ้ ากผลตา่ งระหวา่ งความจใุ นการ แลกเปลย่ี นแคตไอออนกับปริมาณเบสทแ่ี ลกเปลีย่ นได้ 228
tree-tip pit T total soil water potential ศักย์รวมน้�ำในดิน พลังงานที่ต้องใช้ เคลื่อนย้ายน้�ำบริสุทธ์ิ ๑ หน่วย ณ ระดับความสูงค่าหนึ่งท่ี ความดนั บรรยากาศไปยงั แหลง่ นำ้� ในดนิ ตรงจดุ ทกี่ ำ� หนด ศกั ยร์ วม ของน�้ำในดินเป็นผลบวกของศักย์ความดัน ศักย์วัสดุพื้น ศักย์ ออสโมซสิ และศักยโ์ น้มถว่ งของนำ้� ตรงจุดทพ่ี ิจารณา toxicity สภาพพษิ , ความเป็นพษิ คุณภาพ สถานะ หรือระดบั ของอันตราย ทเ่ี กิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยสภาพแวดลอ้ ม trace element จลุ ธาตุ ดู micronutrient transitional horizon ชน้ั ดนิ เปลย่ี นแปลง ชน้ั ดนิ ซงึ่ แสดงสมบตั ขิ องชนั้ ดนิ หลัก ๒ ชั้น ระบดุ ว้ ยอักษรภาษาอังกฤษ ๒ ตัว โดยอักษรตัวหน้า แสดงถึงช้ันดินหลักท่ีชั้นดินเปล่ียนแปลงมีความคล้ายคลึงมาก ท่ีสดุ [ดู soil horizon ประกอบ] transitional soil ดินในเขตเปลี่ยนแปลง ดินที่มีลักษณะของหน่วยดิน ๒ หน่วยที่อยู่ติดกัน ไม่สามารถจ�ำแนกเป็นหน่วยดินใด หนว่ ยดนิ หนึ่งได้ transmission zone เขตซึมผ่าน ส่วนของหน้าตัดดินใต้เขตเปียกน�้ำ ซ่ึงมีการซึมผ่านของน้�ำโดยท่ีปริมาณน�้ำในดินส่วนน้ีไม่เพ่ิมขึ้น ระหวา่ งการซึมผ่าน transpiration การคายน้�ำ การที่พืชสูญเสียน้�ำในรูปไอน้�ำท่ีระเหย สบู่ รรยากาศภายนอกทางปากใบ ผวิ ใบ และลำ� ต้นอ่อน transported material วสั ดถุ กู นำ� พา วสั ดทุ ถี่ กู เคลอื่ นยา้ ยมาจากทอี่ น่ื โดย ตัวการต่าง ๆ เชน่ น้�ำ ลม แรงดงึ ดูดของโลก มาทับถมเป็นวัตถุ ต้นก�ำเนิดดิน tree-tip mound มนู รากพชื กองเศษรากของตน้ ไมท้ ถี่ กู ถอนขนึ้ มาไวบ้ นดนิ tree-tip pit หลุมรากพืช หลุมทเ่ี กดิ จากการขุดรากตน้ ไมท้ ่ถี กู ตดั ออกไป 229
trickle irrigation; drip irrigation trickle irrigation; drip irrigation การชลประทานแบบหยด ดู drip irrigation; trickle irrigation tripartite symbiosis ภาวะพงึ่ พาไตรภาคี การอยู่ร่วมกันแบบพง่ึ พาอาศยั ของสิง่ มชี วี ติ ๓ ชนิด เชน่ ถ่วั เหลือง-ไรโซเบยี ม-ไมคอรไ์ รซา trophic level ระดับการถ่ายทอดสารอาหาร ระดับของส่งิ มชี ีวิตในห่วงโซ่ อาหารที่มีการกินหรือการถ่ายทอดพลังงานไปตามล�ำดับขั้น พลังงานจะถ่ายทอดผา่ นผู้บรโิ ภคลำ� ดับตา่ ง ๆ โดยพืชสีเขยี วเป็น ผู้ผลติ สารอาหาร สตั วก์ ินพืชเป็นผู้บรโิ ภคระดบั ท่ี ๑ สัตวก์ ินสตั ว์ เปน็ ระดบั ที่ ๒-๔ พลงั งานทถี่ า่ ยทอดจะลดลงระดบั ละรอ้ ยละ ๑๐ tuff หนิ เถา้ ภเู ขาไฟ หนิ ทเี่ กดิ จากการตกทบั ถมอดั แนน่ ของเถา้ และฝนุ่ ภเู ขาไฟ ต้ังแต่ร้อยละ ๕๐ ขน้ึ ไป Tundra soil ดินทนุ ดรา กลมุ่ ดินหลกั กลมุ่ หนงึ่ ในอันดับดินโซนัลตามระบบ การจ�ำแนกดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๔๘๑ (ค.ศ. ๑๙๓๘) เป็นดินที่เกิดในสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นจัด และช่มุ ช้ืน หน้าตัดดนิ ประกอบด้วยชนั้ พตี และมัก สีน้�ำตาลเข้ม T บนชน้ั ดนิ สเี ทาทมี่ จี ดุ ประและชน้ั เยอื กแขง็ ดนิ มกี ารระบายนำ้� เลว turbulent flow การไหลป่ันปว่ น การไหลทไี่ มเ่ ปน็ ระเบียบและก่อให้เกิด กระแสไหลวน โดยท่ัวไปเกิดขึ้นกับของไหลท่ีมีค่าความหนืดต�่ำ มที ศิ ทางและความเร็วของการไหลไม่แน่นอน และมีการผสมกัน ระหว่างช้ันของไหลในขณะเคลือ่ นท ี่ turn strip; turnrow พ้ืนที่หัวแปลง พื้นที่ตรงมุมของแปลง ใช้เป็นท่ี กลบั รถไถ 230
udic soil moisture regime U U Udalfs ยูดัลฟส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนงึ่ ของอนั ดบั ดนิ แอลฟซิ อลสใ์ นระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซง่ึ มรี ะบอบความชนื้ ดนิ แบบยดู กิ ตวั อยา่ ง ชุดดินในประเทศไทยของอันดับย่อยน้ี คือ ชุดดินโอลัมเจียก และชดุ ดนิ ผกั กาด [ดู Alfisols และ udic soil moisture regime ประกอบ] Udands ยแู ดนดส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หน่ึงของอนั ดับดินแอนดิซอลส์ในระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซง่ึ มรี ะบอบความชนื้ ดนิ แบบยดู กิ ไมพ่ บ อนั ดบั ยอ่ ยนใี้ นประเทศไทย [ดู Andisols และ udic soil moisture regime ประกอบ] Udepts ยเู ดปตส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ อนิ เซปทซิ อลสใ์ นระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซง่ึ มรี ะบอบความชนื้ ดนิ แบบยดู กิ ตวั อยา่ ง ชดุ ดนิ ในประเทศไทยของอนั ดบั ยอ่ ยนี้ คอื ชดุ ดนิ บงึ ชะนงั และ ชดุ ดนิ มะขาม [ดู Inceptisols และ udic soil moisture regime ประกอบ] Uderts ยูเดิตส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินเวอร์ทิซอลส์ในระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซง่ึ มรี ะบอบความชน้ื ดนิ แบบยดู กิ ไมพ่ บ อันดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู udic soil moisture regime และ Vertisols ประกอบ] udic soil moisture regime ระบอบความชน้ื ดนิ แบบยดู กิ สภาพความชน้ื ของดนิ ในชว่ งควบคมุ ทแ่ี หง้ สะสมไมเ่ กนิ ๙๐ วนั หรอื แหง้ ตอ่ เนอ่ื ง ไม่เกิน ๖๐ วันในช่วง ๙๐ วันหลังจากวันครีษมายัน (วันท่ี 231
Udolls กลางวันยาวท่ีสุดในรอบปี) เม่ืออุณหภูมิดินที่ระดับความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผวิ ดนิ สงู กวา่ ๕ องศาเซลเซยี ส Udolls ยูดอลส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินมอลลิซอลส์ในระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซง่ึ มรี ะบอบความชนื้ ดนิ แบบยดู กิ ตวั อยา่ ง ชุดดินในประเทศไทยของอันดับย่อยน้ี คือ ชุดดินโป่งน้�ำร้อน [ดู Mollisols และ udic soil moisture regime ประกอบ] Udox ยูดอกซ์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินออกซิซอลส์ในระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซงึ่ มรี ะบอบความชน้ื ดนิ แบบยดู กิ ตวั อยา่ ง ชดุ ดนิ ในประเทศไทยของอันดับย่อยนี้ คือ ชุดดินท่าใหม่ และ ชุดดนิ อา่ วลกึ [ดู Oxisols และ udic soil moisture regime ประกอบ] Udults ยูดัลตส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินอัลทิซอลส์ใน ระบบอนกุ รมวิธานดนิ เป็นดินซงึ่ มรี ะบอบความช้นื ดนิ แบบยูดิก ตวั อยา่ งชดุ ดนิ ในประเทศไทยของอนั ดับยอ่ ยนี้ คือ ชุดดนิ กันตัง ชุดดินชุมพร ชุดดินนาทวี ชุดดินภูเก็ต ชุดดินสะเดา ชุดดิน หนองบอน ชดุ ดนิ หว้ ยโปง่ และชดุ ดนิ ตราด [ดู udic soil moisture U regime และ Ultisols ประกอบ] Ultisols อัลทิซอลส์ อันดับดนิ อนั ดับหน่ึงในการจำ� แนกตามระบบอนุกรม วธิ านดนิ เปน็ ดนิ แรท่ มี่ ชี นั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั อารจ์ ลิ ลกิ หรอื ชนั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั แคนดิก และมีความอิ่มตัวเบสจากผลรวมของแคตไอออน น้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ท่ีความลึก ๑๒๕ เซนติเมตรจากขอบบน ของชั้นดินวินิจฉัยอาร์จิลลิกหรือช้ันดินวินิจฉัยแคนดิก หรือท่ี ความลึก ๑๘๐ เซนติเมตรจากผิวดินแร่หรือท่ีแนวสัมผัสหิน โดยพิจารณาจากความลึกทต่ี น้ื ทส่ี ุด ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดนิ อัลทิซอลสจ์ ําแนกเป็นอันดับยอ่ ย ดงั นี้ แอควัลตส์ (Aquults) ฮวิ มลั ตส์ (Humults) ยดู ลั ตส์ (Udults) อสั ทลั ตส์ (Ustults) และ 232
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 456
Pages: