Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบันทึกจดหมายเหตุเหตุการณ์สำคัญ

คู่มือการบันทึกจดหมายเหตุเหตุการณ์สำคัญ

Description: คู่มือการบันทึกจดหมายเหตุเหตุการณ์สำคัญ

Search

Read the Text Version

คมู ือ การบันทกึ จดหมายเหตุเหตกุ ารณสําคญั : หลกั เกณฑก ารเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั สาํ นกั หอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

คูมอื การบนั ทึกจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คัญ : หลกั เกณฑก ารเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตุการณสําคญั สาํ นกั หอจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม

คูมือการบันทึกจดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคญั : หลกั เกณฑก ารเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คัญ กรมศลิ ปากรจดั พมิ พ พมิ พค รงั้ แรก พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ จาํ นวน ๑,๐๐๐ เลม ขอมูลทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหงชาติ กรมศลิ ปากร สํานกั หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ คูมือการบันทกึ จดหมายเหตุเหตุการณสําคญั : หลกั เกณฑการเรยี บเรยี ง จดหมายเหตุเหตุการณส าํ คญั . -- กรุงเทพฯ : หา งหุนสวนจํากัดอดุ มศกึ ษา, ๒๕๕๘ ๒๔๐ หนา 1. ไทย--จดหมายเหต.ุ I.ชื่อเรื่อง. 959.3 ISBN 978-616-283-183-6 ทีป่ รึกษา นายบวรเวท รงุ รจุ ี อธิบดกี รมศลิ ปากร นายพรี พน พิสณุพงศ รองอธิบดกี รมศลิ ปากร นางสาวพมิ พพรรณ ไพบูลยหวงั เจริญ นักอักษรศาสตรท รงคณุ วุฒิ (ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นภาษา เอกสารและหนงั สอื ) บรรณาธกิ าร นางสาวนยั นา แยมสาขา ผูอ าํ นวยการสาํ นกั หอจดหมายเหตุแหงชาติ ผูเรยี บเรยี ง นางสาวทรงสรรค นลิ กําแหง อดีตเลขาธิการราชบัณฑติ ยสถาน คณะผูจ ัดทาํ นางสาวนันทกา พลชยั นางสาวอรอุมา คุณพนั ธ นางสาวสวุ คนธ ตงั สหุ น นางสาวฐติ ิภัทร พงุ ไธสง นางณชิ ชา จริยเศรษฐการ นางสาวบษุ บงกช เชื้อเมืองพาน นางสาวอักษร เสนะเปรม นางสาววไิ ลวรรณ ร่าํ รวย ศิลปกรรม นายธนากร กําทรพั ย ภาพประกอบ สาํ นักหอจดหมายเหตแุ หง ชาติ พิมพท ่ี หา งหุนสว นจาํ กัดอุดมศกึ ษา ๗๘ ซอยตรอกไข ถนนบํารงุ เมือง แขวงสาํ ราญราษฎร เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศพั ท ๐๒ ๗๕๑ ๗๔๖๘

คํานํา งานบนั ทกึ เหตกุ ารณ เปน ภารกจิ สาํ คญั ภารกจิ หนง่ึ ของสาํ นกั หอจดหมายเหตุ แหงชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม การบันทึกเรียบเรียงเหตุการณเปนงาน ซ่ึงประกอบดวยองคความรูที่เกี่ยวของกับวิชาการหลายแขนงท้ังความรูทางวิชาการ ความรทู างภาษา ความรทู างเนอ้ื หา รวมทง้ั ความรใู นการตรวจแกต น ฉบบั จดหมายเหตุ ความรูในการบรรณาธิกรตนฉบับ สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติจึงไดจัดทําคูมือ หลกั เกณฑก ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั ตามโครงการจดั การองคค วามรู ดา นการบนั ทกึ จดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั ของกรมศลิ ปากรขนึ้ เพอ่ื ใชเ ปน เครอื่ งมอื ในการถา ยทอดความรหู รอื ระเบยี บวธิ กี ารดาํ เนนิ งานดา นนี้ ใหส บื ทอดตอ กนั จากรนุ สู รนุ และเพอ่ื ใหน กั จดหมายเหตุ เจา หนา ท่ี และเครอื ขา ยทมี่ สี ว นเกย่ี วขอ งกบั การบนั ทกึ เรียบเรียงเหตกุ ารณใชเปนเคร่อื งมือในการปฏบิ ตั ิงานไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ องคความรู หรือหลักเกณฑในการบันทึกเรียบเรียงเหตุการณ และการเก็บ รวบรวมเอกสารเพอ่ื บนั ทกึ เรยี บเรยี งเหตกุ ารณส าํ คญั ไมว า จะเปน การบนั ทกึ เรยี บเรยี ง เหตุการณขนาดสั้นที่อาจยังไมมีโอกาสจัดพิมพเผยแพร หรือการบันทึกเรียบเรียง เหตุการณท่ีมีความสําคัญปานกลาง มีจํานวนพิมพตั้งแตพันเลมหรือการบันทึก เรียบเรียงเหตุการณท่ีมีความสําคัญมากที่ไดรับการจัดพิมพเปนหนังสือที่ระลึก ในโอกาสสําคัญของประเทศ มีจํานวนพิมพหลายหม่ืนเลม ตางลวนไดช่ือวาเปนการ บันทึกเหตุการณสําคัญ ซ่ึงจะเปนประวัติศาสตรของชาติ ที่สามารถใชอางอิงในการ ศกึ ษาวจิ ยั ไดใ นอนาคต ดงั นนั้ ผจู ดั ทาํ จงึ ตอ งใชป ระโยชนจ ากองคค วามรใู นการบนั ทกึ เรียบเรียงเหตกุ ารณต ามหลกั เกณฑอยา งรอบคอบ ถถ่ี ว น และประณตี เสมอกนั กรมศิลปากร หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือหลักเกณฑการเรียบเรียงจดหมายเหตุ เหตุการณสําคัญเลมน้ี จะเปนเครื่องมือท่ีชวยใหผูสนใจในการบันทึกเรียบเรียง เหตกุ ารณส าํ คญั ตา ง ๆ สามารถนาํ องคค วามรทู รี่ วบรวมไวไ ปใชใ นงานบนั ทกึ เรยี บเรยี ง เหตุการณสําคัญไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมายในการเปนเอกสารบันทึก เหตุการณสําคัญที่มีคุณคาและอํานวยประโยชนเพ่ือการศึกษา คนควา อางอิงแก สาธารณชนสบื ไป (นายบวรเวท รงุ รจุ ี) อธบิ ดีกรมศลิ ปากร (3)



สารบญั หนา (๓) คํานาํ (๕) สารบญั ๙ บทนาํ ๑๓ บทที่ ๑ การเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคัญ ๑๓ ๑๖ ๑. เหตุการณส าํ คัญ ๑๗ ๒. การเรียบเรยี งจดหมายเหตเุ หตุการณสําคญั ๑๗ บทท่ี ๒ องคความรูในการเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตุการณส ําคญั ๑๘ ๑. องคความรูทางวิชาการ ๒๗ ๒๗ ๑.๑ ความรูท่ัวไป ๓๔ ๑.๒ ความรูเฉพาะดาน ๓๖ ๔๓ - ศพั ทศ ลิ ปกรรม ๔๗ - ความรทู างวิศวกรรมศาสตร ๕๗ - ความรูทางสถาปต ยกรรมศาสตร ๕๗ - ความรทู างโบราณคดี ๕๗ ๑.๓ ความรูด านการบริหารจัดการ ๖๔ ๒. องคค วามรูท างภาษา ๗๑ ๒.๑ ความรเู กยี่ วกับคาํ ๗๒ ๒.๑.๑ คําและความหมายของคํา ๘๖ ๒.๑.๒ ศพั ทบ ญั ญัติ ๙๑ ๒.๑.๓ คาํ ทับศพั ท ๙๒ ๒.๑.๔ ราชาศัพท ๑๐๐ ๒.๑.๕ การใชค าํ เชื่อมคํา เชอ่ื มความ เชอ่ื มประโยค ๒.๑.๖ ลกั ษณนาม ๒.๑.๗ คาํ นําหนานาม ๒.๑.๘ การเวน วรรค (5)

๒.๑.๙ การเขยี นคาํ ยอ หนา ๒.๑.๑๐ การใชเ ครื่องหมายวรรคตอน ๑๐๓ ๒.๑.๑๑ การเรียงลําดับหัวขอ หรือรายการ ๑๐๕ ๒.๒ ความรเู กี่ยวกับการเขยี น ๑๐๙ ๒.๒.๑ การผูกประโยค ๑๑๓ ๑๑๓ ๑) ประโยคความเดยี ว ๑๑๕ ๒) ประโยครวม ๑๑๖ ๓) ประโยคความซอ น ๑๑๖ ๒.๒.๒ ลกั ษณะประโยคทดี่ ี ๑๑๘ ๑) ภาษาท่ีกระชับ ๑๑๙ ๒) ภาษาท่สี ละสลวย ๑๒๐ ๓) ภาษาที่เกิดภาพพจน ๑๒๐ ๓. องคค วามรทู างเนือ้ หา ๑๒๗ ๓.๑ การพิจารณาคัดเลือกเหตกุ ารณสําคัญ ๑๒๗ ๓.๒ การศกึ ษาคน ควา ภมู หิ ลงั และประวตั คิ วามเปน มาของเหตกุ ารณ ๑๕๒ ๓.๓ การรวบรวมเอกสารขอมูลทเ่ี กย่ี วขอ งกบั เหตกุ ารณ ๑๕๖ ๓.๔ การสงั เกตการณแ ละการบันทกึ เหตุการณ ๑๕๗ ๓.๕ การเรียบเรยี งจดหมายเหตุ ๑๗๘ ๓.๕.๑ การศึกษาเอกสารขอ มลู ทรี่ วบรวมได ๑๗๘ ๓.๕.๒ การกาํ หนดโครงเรอ่ื ง ๑๗๘ ๓.๕.๒.๑ ประวัติความเปนมา ๑๗๙ ๓.๕.๒.๒ การจัดเตรยี มงาน ๑๗๙ ๓.๕.๒.๓ การดําเนนิ งานและผลการดาํ เนนิ งาน ๑๗๙ ๓.๕.๒.๔ ภาคผนวก ๑๗๙ ๓.๕.๓ การเรียบเรียง ๑๗๙ ๓.๕.๓.๑ การเรียบเรยี งในลกั ษณะความเรียง ๑๗๙ ๓.๕.๓.๒ การเรยี บเรียงในลักษณะแบงหัวขอ ๑๘๑ ๓.๖ การจดั เกบ็ ตน ฉบบั จดหมายเหตุและเอกสารขอ มลู ๒๐๑ ๓.๗ การใหบรกิ ารศกึ ษาคนควาวจิ ัย ๒๐๒ (6)

บทท่ี ๓ องคความรใู นการตรวจแกต น ฉบับจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คัญ หนา ๑. ผตู รวจแกต นฉบับ ๒๐๓ ๒. การดําเนนิ งานตรวจแกต นฉบบั ๒๐๓ ๒.๑ การตรวจแกโ ครงเร่อื งของตนฉบบั ๒๐๔ ๒.๒ การตรวจแกสาํ นวนภาษา ๒๐๔ ๒.๓ การตรวจแกเน้ือหา ๒๐๔ ๒.๓.๑ ความเปนกลาง ๒๐๕ ๒.๓.๒ สาระสาํ คญั ทางวิชาการ ๒๐๕ ๒๐๘ บทท่ี ๔ องคความรูในการบรรณาธิกรตน ฉบบั จดหมายเหตเุ หตุการณส ําคัญ ๒๑๕ ๑. การบรรณาธิกรรูปแบบ ๒๑๖ ๑.๑ รปู แบบของหนงั สอื ๒๑๖ ๑.๑.๑ โครงสรางของหนังสอื ๒๑๖ ๑.๑.๒ โครงสรางของตนฉบับ ๒๑๗ ๑.๒ รูปแบบของตนฉบบั ๒๑๘ ๑.๒.๑ เนื้อเร่อื ง ๒๑๘ ๑.๒.๒ ภาพประกอบ ๒๑๙ ๒. การบรรณาธิกรภาษา ๒๒๕ ๓. การบรรณาธกิ รเน้ือหา ๒๒๕ ๔. การควบคมุ การพิมพ ๒๒๖ ๒๒๗ หนงั สอื อางอิง ๒๓๑ ภาคผนวก รายชือ่ หนงั สือจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คัญที่ สาํ นกั หอจดหมายเหตุแหงชาตจิ ดั พิมพ (7)



บทนาํ เหตุการณตาง ๆ ท่ีจะบันทึกไว อาจเปนเหตุการณสําคัญระดับชาติ ระดับทองถิ่น หรอื เฉพาะขององคก ร และอาจเปน เหตุการณทีเ่ กิดข้นึ ภายในไมกน่ี าที หน่ึงวัน หลายวนั หรือหลายเดือนก็ได โดยท่ีการบันทึกเหตุการณสําคัญจะเริ่มตนตั้งแตมีเหตุการณเกิดขึ้น และเหตกุ ารณน น้ั ดาํ เนนิ สบื เนอื่ งไปจนเหตกุ ารณน น้ั ไดส น้ิ สดุ ลง จงึ ถอื วา จบเรอื่ งการบนั ทกึ เหตกุ ารณ องคความรใู นการบันทกึ เรียบเรียงเหตุการณแ บงไดเปน ๕ ประการ คอื องคค วามรู ทางวชิ าการ องคค วามรทู างภาษา องคค วามรทู างเนอื้ หา องคค วามรใู นการตรวจแกต น ฉบบั และองคความรใู นการบรรณาธกิ รตนฉบบั ๑. องคค วามรทู างวิชาการ หมายถึง ความรอบรทู างวชิ าการอนั เปน พน้ื ฐานของ เหตุการณท จี่ ะบันทกึ เรียบเรยี งซง่ึ มักเกย่ี วของกบั วชิ าการหลายแขนง เชน ประวตั ศิ าสตร โบราณคดี วศิ วกรรมศาสตร สถาปต ยกรรม สถาปต ยกรรมไทย ชา งสบิ หมู การบรหิ ารจดั การ โครงการ และบุคคลท่ีมีสวนเกี่ยวของในเหตุการณ ผูบันทึกเรียบเรียงไมจําเปนตองมี ความรูลึกซึ้งอยางผูทรงคุณวุฒิ แตจําเปนตองมีความรูพื้นฐานทางวิชาการเพียงพอท่ีจะ เขา ใจในวชิ าการนนั้ ๆ และสามารถบนั ทกึ เรยี บเรยี งไดอ ยา งถกู ตอ ง ไมต คี วามผดิ หรอื ลาํ ดบั ความผิด ความรูทางวิชาการท่ีจําเปนตอการบันทึกเรียบเรียงเหตุการณ ประกอบดวย ความรูท ั่วไป ความรูเฉพาะดา น และความรูดา นการบรหิ ารจัดการ ๒. องคความรูทางภาษา หมายถึง ความรูเก่ียวกับคํา หรือศาสตรแหงการ ใชคาํ และความรเู กี่ยวกบั การใชคาํ หรอื ศลิ ปแหงการใชค าํ การเรยี บเรียงเหตกุ ารณสาํ คญั เปนการใชภาษาเพ่ือส่ือความหมายเปนลายลักษณอักษร โดยนําคําท่ีเลือกแลววาถูกตอง เหมาะสม มาเรยี งลาํ ดบั เปน รปู ประโยคทม่ี เี นอื้ ความชดั เจน กระชบั สละสลวย สอื่ ความหมาย ไดครบถวนตามตอ งการ และมีลกั ษณะเปนภาษาราชการ ผเู รียบเรียงเหตุการณส าํ คญั ตอง รจู กั หลกั เกณฑท างภาษาทสี่ าํ คญั บางเรอื่ ง เชน การเวน วรรค การใชเ ครอ่ื งหมายวรรคตอน คาํ นําหนานาม และใชไดอยา งถูกตอง บทนาํ 9

๓. องคค วามรูทางเน้ือหา เหตุการณสําคญั ตา งๆ ทเ่ี กิดข้นึ ทัง้ ในระดับชาติ ระดบั ทอ งถน่ิ หรอื สาํ คญั เฉพาะองคก รใดองคก รหนงึ่ ลว นมหี ลกั ฐานปรากฏในหลายลกั ษณะ เชน ภาพถาย วีดิทัศน รายงานขาว เอกสาร ส่ิงพิมพ วัตถุ วัสดุคอมพิวเตอร อาคารสถานที่ ตลอดจนคําบอกเลาของผูรูเห็นเหตุการณ หลักฐานเหลาน้ีหากไมไดรวบรวมเก็บรักษาไว ใหเปนระบบ หลักฐานบางรายการอาจสูญหายหรือเสื่อมสภาพไป หรือหากไดรวบรวม เกบ็ รกั ษาไวก เ็ ปน ขอ มลู ทกี่ ระจดั กระจายอยใู นเอกสารหลายรปู แบบ หลายองคก รทเ่ี กยี่ วขอ ง กวา จะไดร บั การประเมนิ คณุ คา เพอื่ สง เกบ็ รกั ษาในหอจดหมายเหตุ กอ็ าจเหลอื เพยี งบางสว น ไมค รบถว นสมบรู ณ เมอ่ื เวลาผา นไป การศกึ ษาวจิ ยั ทางประวตั ศิ าสตรข องชาตทิ เี่ กย่ี วขอ งกบั เหตกุ ารณน น้ั ๆ ยอ มกระทาํ ไดย ากขนึ้ การบนั ทกึ เรยี บเรยี งจงึ เปน กลวธิ หี นง่ึ ในการรอ ยเรยี ง หลักฐานเหลาน้ันเขาดวยกัน ตั้งแตเหตุการณนั้นเกิดขึ้นจนสิ้นสุดลงโดยทันที ผูวิจัยท่ี ประสงคจ ะสบื คน ยอ นไปยงั เอกสารปฐมภมู ขิ องเรอ่ื งทเ่ี รยี บเรยี งไวก ส็ ามารถกระทาํ ไดง า ยขน้ึ ดงั นนั้ ความรทู างเนอ้ื หา ในการบนั ทกึ เรยี บเรยี งตน ฉบบั เหตกุ ารณส าํ คญั จงึ เปน สง่ิ สาํ คญั ยงิ่ และมกี ระบวนในการดาํ เนินงาน ๗ ขน้ั ตอน คือ ๓.๑ การพจิ ารณาคดั เลอื กเหตุการณส ําคัญ ๓.๒ การศกึ ษาคน ควาภูมหิ ลงั และประวตั ิความเปน มาของเหตุการณ ๓.๓ การรวบรวมเอกสารขอ มลู ท่ีเก่ยี วขอ งกับเหตุการณ ๓.๔ การสงั เกตการณแ ละบนั ทึกเหตกุ ารณ ๓.๕ การเรียบเรียงจดหมายเหตุ ๓.๖ การจัดเกบ็ ตนฉบับจดหมายเหตแุ ละเอกสารขอมลู ๓.๗ การใหบ รกิ ารศกึ ษาคน ควา วจิ ยั ๔. องคค วามรใู นการตรวจแกต น ฉบบั เปน กระบวนงานทจี่ ดั ทาํ โดยผทู รงคณุ วฒุ หิ รอื ผเู ชย่ี วชาญทางวชิ าการของหนว ยงาน หรอื อาจเปน ผทู รงคณุ วฒุ ภิ ายนอกทมี่ ปี ระสบการณ และความเช่ียวชาญ เพ่ือใหตนฉบับเหตุการณท่ีเรียบเรียงข้ึน มีความถูกตองสมบูรณ ใชเปนหลักฐานอางอิงทางประวัติศาสตรของชาติ ของทองถิ่น หรือขององคกรตอไป องคความรูในการตรวจแกตนฉบับจดหมายเหตุมีลักษณะเดียวกันกับองคความรูในการ เรยี บเรยี งเหตกุ ารณ 10 คมู อื การบันทกึ จดหมายเหตุเหตุการณส าํ คัญ : หลักเกณฑการเรียบเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คญั

๕. องคค วามรูในการบรรณาธกิ รตน ฉบบั การบรรณาธิกรตนฉบับเปนหนาท่ีของ บรรณาธิการ ในการตรวจพิจารณาวาตนฉบับจดหมายเหตุน้ันมีรูปแบบของความเปนตน ฉบับหนังสือครบถวนหรือไม ภารกิจบางสวนอาจเปนของบรรณาธิการ บางสวนอาจเปน ของผตู รวจแก ผเู รียบเรียง องคความรใู นการบรรณาธิกรตน ฉบับ เปน ภารกจิ สุดทายของ การเรียบเรียงตนฉบับจดหมายเหตุเหตุการณสําคัญ ผูเปนบรรณาธิการตองประสานงาน กับผูตรวจแกและผูเรียบเรียงอยางใกลชิด และเปนผูประสานงานโดยตรงกับโรงพิมพ ซึง่ รับผดิ ชอบงานศิลปกรรมการเขา หนา การจัดหนา การจดั รูปเลม และการพิมพ การบรรณาธกิ รตน ฉบบั มีขอบขายภารกิจ คือ ๕.๑ การบรรณาธิกรรูปแบบ คือการตรวจพิจารณาวาตนฉบับน้ันมีรูปแบบ ของหนงั สือครบถวนหรือไม ตัง้ แตปกหนาถงึ ปกหลัง ๕.๒ การบรรณาธิกรภาษา คือการอานตนฉบับจดหมายเหตุอยางละเอียด โดยใชอ งคค วามรทู างภาษาเชนเดียวกับผเู รยี บเรียงจดหมายเหตุและผูตรวจแก ๕.๓ การบรรณาธิกรเน้ือหา การตรวจแกเนื้อหาตนฉบับเปนหนาท่ีของ ผตู รวจแก แตห ากบรรณาธกิ ารตรวจพบวา ยงั มขี อ ผดิ พลาดบกพรอ งในเนอื้ หาหลงเหลอื อยู ควรประสานงานโดยตรงกับผูตรวจแกตนฉบับ และควรตรวจสอบและขออนุญาตเจาของ ลิขสิทธ์ิไวเ ปน ลายลักษณอ กั ษร ๕.๔ การควบคุมการพิมพ บรรณาธิการตองเปนผูประสานงานโดยตรงกับ โรงพมิ พ ในการกาํ หนดขนาดและลกั ษณะตวั อกั ษร ระยะยอ หนา ตามระดบั หวั ขอ และระดบั ขอ ความ รวมทง้ั เปนผใู หความเหน็ ชอบในงานศิลปกรรมการเขาหนา การจัดหนา การจัด ภาพประกอบ การจัดรปู เลม และการพิมพท ุกขน้ั ตอน การเรียบเรียงตนฉบับเหตุการณตาง ๆ ท่ีสําคัญลวนเปนการบันทึกเหตุการณ สําคญั ทางประวัติศาสตรของชาติ ทีใ่ ชอ างอิงในการศกึ ษาวิจัยได จงึ ตอ งใชองคความ รูในการจัดทําอยางถี่ถวนและประณีต ซ่ึงองคความรูตาง ๆ ในการเรียบเรียงสามารถ นําไปใชในงานเขียนไดในทุกลักษณะ ดังหลักเกณฑท่ีจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป โดยลําดับ บทนํา 11



บทท่ี ๑ การเรียบเรยี งจดหมายเหตุ เหตุการณส าํ คัญ ในแตล ะวันมีเหตุการณตาง ๆ เกดิ ข้นึ เปน จํานวนมาก เหตุการณต า ง ๆ เหลา นัน้ มี ทั้งที่เปนเหตุการณท่ีเกิดข้ึนเปนประจําทุกวัน และที่เกิดข้ึนเพียงครั้งเดียวหรือไมกี่ครั้งใน รอบปหรือในหลาย ๆ ป บางเหตุการณจัดเปนเหตุการณสําคัญท่ีเปนหลักฐานสําคัญทาง ประวตั ศิ าสตรของบคุ คลของทองถน่ิ ขององคก ร ของชาติ ที่ควรจะตอ งบันทกึ เรียบเรยี งไว เปน จดหมายเหตใุ หผ อู นื่ หรอื แมแ ตผ เู ปน เจา ของเหตกุ ารณส าํ คญั นนั้ ๆ เองไดศ กึ ษา คน ควา และใชประโยชนสบื ตอ ไป ๑. เหตกุ ารณส ําคัญ เหตกุ ารณส าํ คญั ทหี่ อจดหมายเหตหุ รอื องคก รใดประสงคจ ะบนั ทกึ เรยี บเรยี งไวเ ปน จดหมายเหตุ อาจเปน เหตกุ ารณส าํ คญั ระดบั ชาติ ระดบั ทอ งถนิ่ หรอื เฉพาะขององคก ร และ อาจเปน เหตุการณท ีเ่ กดิ ข้ึนภายในไมก ีน่ าที หน่ึงวนั หรือหลายวนั หลายเดอื นก็ได แตก าร บันทึกเรียบเรียงจะเร่ิมตนต้ังแตมีกระแสเหตุการณนั้นเกิดข้ึน จนเรื่องสืบเน่ืองท่ีตามมา สิน้ สดุ จึงถือวา จบเรื่อง จบขอบเขตการเรียบเรียง กระแสเหตกุ ารณ ทก่ี ลา วนี้ มใิ ชต วั เหตกุ ารณ แตเ ปน ขอบเขตของเหตกุ ารณ ดงั เชน เหตุการณสําคัญซึ่งมีลักษณะเปนพิธีการท่ีอาจใชเวลาไมก่ีชั่วโมง แตกระแสเหตุการณ จะเรมิ่ ตง้ั แตค วามเปน มาหรอื ความสาํ คญั ของพธิ กี าร การจดั เตรยี มพธิ ี การประกอบพธิ ี และ เรือ่ งสืบเนอ่ื งท่ีตามมา มกี ารสมโภชเฉลมิ ฉลอง การสรางส่ิงอนสุ รณ เปน ตน ตัวอยา งเชน บทที่ ๑ การเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคญั 13

(ภาพเหตกุ ารณ) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงยืนท่ีมุขเด็จ พระท่ีน่ังจักรีมหาปราสาท ในการเสดจ็ ออกมหาสมาคม รับการถวายพระพรชยั มงคล เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๐ วันพธุ ที่ ๕ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ (ภาพเหตกุ ารณ) คณะขาราชการเฝาทูลละอองธุลีพระบาทท่ีสนามหนามุขเด็จ พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท วันพุธ ท่ี ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา คอื วนั ท่ี ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมายกําหนดการพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา กําหนดระหวา งวันท่ี ๔ ถึงวนั ที่ ๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ แตข อบเขตการจัดงาน เฉลมิ พระเกยี รตเิ รม่ิ ตงั้ แตว นั ที่ ๑ มกราคม ถงึ ๓๑ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ การบนั ทกึ เรยี บเรยี งจดหมายเหตตุ อ งเรม่ิ แตก ารจดั เตรยี มงานของคณะกรรมการฝา ยตา ง ๆ ทงั้ ภาครฐั ภาคเอกชน ซึ่งเร่ิมแตพุทธศักราช ๒๕๔๙ ไปจนประมาณพุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามแต ขอมูลการจัดงานเฉลิมฉลองตลอดจนโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสวนใหญ ซง่ึ มีทั้งโครงการระยะส้ันและโครงการระยะยาวจะสน้ิ สดุ ลง 14 คูม อื การบันทึกจดหมายเหตเุ หตุการณส าํ คญั : หลกั เกณฑก ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณส าํ คัญ

ปกหนงั สอื จดหมายเหตเุ หตกุ ารณธ รณพี บิ ตั จิ ากคลน่ื สนึ ามิ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๔๗ เหตุการณธรณีพิบัติจากคล่ืนสึนามิ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ เนื่องจากการ เกดิ แผน ดนิ ไหวระดบั ๙.๐ รกิ เตอร เมอ่ื เวลา ๐๗.๕๘.๕๓ นาฬก า วนั อาทติ ย ที่ ๒๖ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗ ทางทิศตะวันตกนอกชายฝงเกาะสุมาตราตอนเหนือของสาธารณรัฐ อนิ โดนีเซยี ไดกอ ใหเกิดคล่ืนสนึ ามิทสี่ รา งความเสยี หายแกหลายประเทศรอบชายฝงทะเล อันดามันและมหาสมุทรอนิ เดยี มผี ูเสยี ชวี ติ และสญู หายถึง ๒๙๖,๙๖๒ ราย จงั หวัดชายฝง ทะเลอนั ดามนั ๖ จังหวัดของประเทศไทย คือ จังหวัดกระบ่ี ตรงั พังงา ภเู กต็ ระนอง และ สตลู เกดิ ธรณพี บิ ตั จิ ากคลน่ื สนึ ามเิ ขา ถงึ ฝง ทะเลจงั หวดั ดงั กลา ว ชวั่ เวลาประมาณ ๒๐ นาที แตการเรียบเรียงจดหมายเหตุเหตุการณดังกลาว เร่ิมตั้งแตเมื่อเกิดแผนดินไหว การเกิด คลน่ื สนึ ามิ ความเสยี หาย การอาํ นวยการชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั การคน หาผรู อดชวี ติ ผบู าดเจบ็ ผเู สยี ชวี ติ ผสู ญู หาย ทง้ั ชาวไทยและชาวตา งประเทศ ความชว ยเหลอื จากภาครฐั ภาคเอกชน และมิตรประเทศ การฟนฟูกลุมจังหวัดท่ีประสบธรณีพิบัติ การเตรียมพรอมรับธรณีพิบัติ ในอนาคต ยตุ กิ ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตทุ กี่ ารจดั งานครบรอบ ๑ ป ธรณพี บิ ตั จิ ากคลน่ื สนึ ามิ เม่ือวนั ที่ ๒๖ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๔๘ แมว าการดําเนนิ งานชวยเหลอื บางดานยังไม ส้นิ สดุ ดนี ักก็ตาม บทท่ี ๑ การเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณส ําคญั 15

๒. การเรียบเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คญั จากตวั อยา งการเรยี บเรยี งจดหมายเหตุ ๒ ตวั อยา งขา งตน จะเหน็ ไดว า การเรยี บเรยี ง จดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั มหี ลกั เกณฑซ ง่ึ เปน องคค วามรใู นการเรยี บเรยี งจดหมายเหตุ ที่ตองใชท งั้ ศาสตรท างวิชาการ และศิลปท างภาษากบั การเรยี บเรยี งเนอื้ หาประกอบกัน ในการจดั ทําจดหมายเหตเุ หตุการณสําคัญ ๑ เรอ่ื ง สามารถแบง องคความรูในการ จัดทําไดเปน ๓ สวน คือ สวนที่เปนองคความรูในการบันทึกเรียบเรียงเหตุการณสําคัญ สวนท่ีเปนองคความรูในการตรวจแกตนฉบับจดหมายเหตุเหตุการณสําคัญ และสวนท่ี เปนองคความรูในการบรรณาธิกรตนฉบับจดหมายเหตุเหตุการณสําคัญ ซึ่งจะไดกลาวถึง รายละเอยี ดขององคค วามรูแ ตล ะสวนในบทตอ ๆ ไป 16 คูมือการบันทึกจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คัญ : หลกั เกณฑการเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณส ําคญั

บทที่ ๒ องคค วามรใู นการเรยี บเรยี งจดหมายเหตุ เหตุการณส าํ คญั ดงั ไดก ลา วไวในบทที่ ๑ แลววา การบันทึกเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตุการณส าํ คัญ เปนการบันทึกเรียบเรียงเหตุการณสําคัญน้ัน ๆ ไวเปนหลักฐานเพื่อการคนควาอางอิง ดงั นน้ั การบนั ทกึ เรยี บเรยี งจดหมายเหตจุ งึ ตอ งมหี ลกั เกณฑใ นการบนั ทกึ เรยี บเรยี ง เพอื่ ให จดหมายเหตทุ ด่ี าํ เนนิ การแลว เสรจ็ เปน หลกั ฐานทม่ี คี ณุ คา ครบถว น ทงั้ ในดา นขอ มลู เนอื้ หา ท่ถี กู ตอ ง ภาษาทถ่ี กู ตอ ง อานเขา ใจงาย หลักเกณฑใ นการบันทกึ เรยี บเรยี งจดหมายเหตุดังกลา วนั้นกค็ ือ องคค วามรทู ่สี ่งั สม สบื ทอดประสบการณจ ากผทู ม่ี คี วามรคู วามชาํ นาญในการบนั ทกึ เรยี บเรยี งจดหมายเหตจุ าก รุนสูร นุ องคค วามรใู นการเรยี บเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั แบง ไดเ ปน ๓ ประการ คอื ๑. องคความรูท างวิชาการ ๒. องคค วามรทู างภาษา ๓. องคค วามรทู างเนอื้ หา ๑. องคความรทู างวชิ าการ องคค วามรทู างวชิ าการ ในทีน่ ห้ี มายถงึ ความรอบรทู างวิชาการอนั เปน พื้นฐานของ เหตุการณสําคัญท่ีจะเรียบเรียงเปนจดหมายเหตุ จดหมายเหตุเร่ืองหน่ึง ๆ มักเกี่ยวของ กับวิชาการหลายแขนง เชน การกอสรางอาคารสถานท่ีสําคัญ อาจมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประวตั ศิ าสตร โบราณคดี วิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรม สถาปต ยกรรมไทย ชางสบิ หมู ซ่ึงรวมชางศิลปไทยแขนงตาง ๆ นอกจากน้ียังเก่ียวโยงถึงการบริหารจัดการโครงการ การแตงต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน ขอบเขตอํานาจหนาที่ บทที่ ๒ องคค วามรูในการเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตุการณส ําคญั 17

ความรับผิดชอบของหนวยงานและบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของในการกอสรางอาคารสถานท่ี สําคัญดังกลา ว ผเู รียบเรยี งจดหมายเหตุไมจ ําเปนตองมคี วามรลู ึกซึ้งอยา งผทู รงคณุ วฒุ ทิ าง วศิ วกรรม สถาปต ยกรรม หรอื ชา งศลิ ปไ ทย แตจ าํ เปน ตอ งมคี วามรอบรทู างวชิ าการพน้ื ฐาน เพียงพอทีจ่ ะเขาใจวธิ กี ารดําเนนิ งานกอสราง และสามารถบนั ทึกเรียบเรยี งไดอยางถกู ตอ ง ตามหลกั วิชา ไมตคี วามผิด หรือลาํ ดบั ความผิด องคค วามรทู างวชิ าการทจ่ี าํ เปน ตอ การบนั ทกึ เรยี บเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั ประกอบดวย ความรูท่ัวไป ความรูเฉพาะดาน และความรดู านการบริหารจัดการ ๑.๑ ความรทู ัว่ ไป หมายถึงความรเู กี่ยวกบั โบราณราชประเพณี ขนบธรรมเนยี มประเพณี การเขยี นช่ือ บคุ คล คาํ ทมี่ คี วามหมายและทีใ่ ชโดยเฉพาะ อันบคุ คลทัว่ ไปพึงรูแ ละใชใ หถ ูกตอง อาทิ พระปรมาภิไธยพระมหากษัตรยิ  คําวา “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” เปนคํากลาง หมายถึงพระมหากษัตริยท่ี ทรงรับพระบรมราชาภิเษกแลว สว น “สมเด็จพระเจาอยหู วั ” หมายถึงพระมหากษตั ริยท ี่ ยงั มไิ ดท รงรบั พระบรมราชาภเิ ษก การเรยี บเรยี งจดหมายเหตซุ ง่ึ เปน เอกสารสาํ คญั ของชาติ อนั จะปรากฏตอ ไปชว่ั กาลนาน จงึ มกั เขยี นพระปรมาภไิ ธยไวโ ดยชดั เจน เพอื่ สะดวกแกก าร อางองิ การเขียนพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริยนอกจากใชคําวา พระบาทสมเด็จพระ นาํ พระปรมาภไิ ธยแลว ยังมีวิธีเขยี นพระปรมาภไิ ธยไดเ ปน ๓ อยา ง คือ ๑) การเขยี นอยา งยง่ิ คอื การเขยี นพระปรมาภไิ ธยเตม็ ตามทจ่ี ารกึ ในพระสพุ รรณบฏั เชน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ ร ๒) การเขยี นอยางกลาง คอื การเขียนโดยละสรอ ยพระปรมาภิไธยบางสวน เชน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลา เจาอยูห วั 18 คูมือการบันทกึ จดหมายเหตุเหตกุ ารณสาํ คญั : หลักเกณฑก ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตกุ ารณส าํ คัญ

๓) การเขียนอยา งยอ คอื การเขียนยอเอาแตสว นสาํ คญั ของพระปรมาภิไธยไว แต บางพระองคทรงไดรับการสถาปนาเฉลิมพระปรมาภิไธยเพิ่มในภายหลัง ตองเขียนไวดวย เชน พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลาเจา อยูห ัว พระมหาเจษฎาราชเจา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช พระบรมสาทสิ ลักษณ พระบรมสาทสิ ลกั ษณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลาเจาอยหู วั รชั กาลท่ี ๑ แหง กรงุ รตั นโกสนิ ทร พระมหาเจษฎาราชเจา รัชกาลที่ ๓ แหง กรุงรัตนโกสินทร พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยูหวั พระอัฐมรามาธบิ ดินทร และพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะทรงพระเยาว บทที่ ๒ องคความรูในการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตุการณสําคัญ 19

การเขยี นพระนามาภไิ ธย พระนาม ของพระบรมวงศานวุ งศ กม็ หี ลกั เกณฑค ลา ยคลงึ กนั และพงึ ระมดั ระวงั การใชว รรคตอนในพระนามาภไิ ธยและพระนามใหถ กู ตอ ง ดงั ตวั อยา ง “สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราช กมุ าร ทรงจดุ ธปู เทยี นบชู าพระพทุ ธสมั พรรโณภาศปรมนิ ทรมหาราชนมสั นยั ทรงกราบราบ แลว ทรงจดุ ธปู เทยี นเครอ่ื งทองนอ ยถวายสกั การะพระบรมอฐั ิ และพระอัฐิพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั สมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทรา บรมราชนิ ี สมเดจ็ พระศรี พชั รินทรา บรมราชนิ นี าถ สมเด็จพระศรสี วรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัส สาอัยยิกาเจา ทรงกราบราบ ขณะนั้น ชาวพนักงานประโคมสังข แตรงอน แตรฝรั่ง จากนัน้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเ จา พนักงานภษู ามาลาเชญิ พระโกศพระอัฐิสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร เขาที่ประดิษฐาน ณ พระวิมานตะวันออก สมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ทรงจดุ ธปู เทียนเคร่ืองทองนอย ถวายสักการะพระบรมอัฐิและพระอัฐิพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธบิ ดินทร สมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินี สมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ทรงกราบราบ” (จดหมายเหตุงานพระศพสมเดจ็ พระเจา พ่นี างเธอ เจา ฟากลั ยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร, เลม ๒, ๒๕๕๓, หนา ๘๓๐) 20 คมู อื การบันทึกจดหมายเหตเุ หตุการณส ําคญั : หลกั เกณฑการเรยี บเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คัญ

(ภาพเหตกุ ารณ) (ภาพเหตกุ ารณ) สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ พระที่น่ังราเชนทรยานทรงพระโกศพระอัฐิเทียบยังเกยหนา ราชกมุ าร และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจา ฟา มหาจกั รสี ริ นิ ธร อฒั จันทรต ะวันออกพระที่นั่งจกั รมี หาปราสาท สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดาํ เนินพรอ มดวยพระอนุวงศ ตามขบวนพระอิสรยิ ยศ เชญิ พระโกศพระอฐั ิ (ภาพเหตกุ ารณ) เจา พนกั งานภษู ามาลาเชญิ พระโกศพระอฐั สิ มเดจ็ พระเจา พน่ี างเธอ เจา ฟา กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร ขน้ึ ประดษิ ฐาน ณ พระวมิ านพระทนี่ ง่ั จกั รมี หาปราสาท สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกุมาร เสดจ็ พระราชดําเนนิ ตามพระโกศ พรอ มดวยพระอนวุ งศ บทท่ี ๒ องคความรูในการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคญั 21

คําซ่ึงมคี วามหมายเฉพาะ เชน ทรงกราบ หมายถึง ทรงคกุ พระชงฆ ประนมพระหตั ถ แลว ทรงกราบบนพระแทน ทรงกราบ (ภาพเหตกุ ารณ) สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า เจา ฟา มหาจกั รสี ิรนิ ธร สยามบรมราชกุมารี ทรงกราบสักการะพระปฐมเจดีย และ พระพฆิ เนศวรประจาํ พระราชวงั สนามจนั ทร ในโอกาสเสดจ็ พระราชดําเนินทรงเปด นิทรรศการเฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั และสมเดจ็ พระเจา ภคนิ เี ธอ เจา ฟา เพชรรตั นราชสดุ า สิริโสภาพัณณวดี ณ พระราชวังสนามจนั ทร จังหวดั นครปฐม วนั จันทร ท่ี ๒๔ มิถุนายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ ทรงกราบราบ ทรงหมอบกราบ หมายถึง ประทับราบบนพ้ืน ประนมพระหัตถ แลว ทรงกราบลงที่พนื้ ถวายพรพระ หมายถึง พระสงฆเจรญิ ชัยมงคลคาถาสรรเสริญพระพทุ ธเจา กอ นท่ี จะรบั ประเคนและฉันภตั ตาหารในพิธีตา ง ๆ ถวายพระพรลา หมายถึง รองประธานสงฆกลาวลาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อเสร็จพระราชพิธีหรือพิธี กอนท่ีพระสงฆ จะลกุ จากอาสนส งฆ 22 คูม อื การบนั ทึกจดหมายเหตุเหตกุ ารณสาํ คัญ : หลักเกณฑการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คัญ

ถวายอนโุ มทนา หมายถงึ พระสงฆใ หพ รในพระราชพธิ แี ละพธิ ี หรอื ทเ่ี รยี กเปน สามญั วา “ยถา สพพ ี” (ภาพเหตุการณ) พระสงฆอนุโมทนา ในงานสวดพระอภิธรรมสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ ตาํ หนกั เพ็ชร วดั บวรนเิ วศวิหาร วันอาทติ ย ท่ี ๓ พฤศจกิ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ หมายกําหนดการ หมายถึง เอกสารแจงกําหนดข้ันตอนของงานพระราชพิธี โดยเฉพาะ ลักษณะของเอกสารตองอางพระบรมราชโองการ คือข้ึนตนดวยขอความวา “นายกรฐั มนตรี หรอื เลขาธกิ ารพระราชวงั รบั พระบรมราชโองการเหนอื เกลา เหนอื กระหมอ ม สง่ั วา” เสมอไป กําหนดการ หมายถึง เอกสารแจงกําหนดข้ันตอนของงานโดยท่ัวไปที่ทางราชการ หรือเอกชนจัดทําขึ้นเอง แมวางานนั้น ๆ จะเปนงานท่ีเก่ียวของกับพระมหากษัตริย และพระบรมวงศานุวงศ เชน เปนงานท่ีเสด็จพระราชดําเนิน แตถางานน้ันมิไดเปนงาน พระราชพธิ ซี งึ่ กาํ หนดขึน้ โดยพระบรมราชโองการแลว เรียกวา กาํ หนดการ ทง้ั ส้ิน บทที่ ๒ องคความรูในการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตกุ ารณสําคญั 23

24 คมู อื การบนั ทึกจดหมายเหตุเหตกุ ารณส าํ คัญ : หลกั เกณฑก ารเรยี บเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสําคญั

รถยนตพระทีน่ ง่ั เครอ่ื งบนิ พระทน่ี งั่ ใชแก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั สมเดจ็ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ดงั ตวั อยา ง “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนต พระที่น่ัง จากพระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิตไปยังวัดเทพ ศิรนิ ทราวาส” (ภาพเหตุการณ) พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ โดยรถยนตพ ระทนี่ ง่ั จากโรงพยาบาลศริ ริ าชไปในการพระราชทานเพลงิ พระศพสมเดจ็ พระเจา ภคนิ เี ธอ เจา ฟา เพชรรตั น ราชสดุ า สริ โิ สภาพณั ณวดี ณ พระเมรุ ทองสนามหลวง วันจันทร ท่ี ๙ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๕ (ภาพเหตุการณ) รถยนตพ ระทนี่ งั่ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอื่ ครง้ั เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ในการพระราชพธิ ที รงบาํ เพญ็ พระราชกศุ ลสตมวาร (๑๐๐ วนั ) ถวายพระศพสมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ณ ตําหนักเพช็ ร วดั บวรนิเวศวหิ าร วันศุกร ที่ ๓๑ มกราคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ บทที่ ๒ องคค วามรใู นการเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คัญ 25

รถยนตท่ีนั่ง เคร่ืองบินท่ีนั่ง ใชแก พระราชวงศช้ันสมเด็จเจาฟาและพระองคเจา ดังตัวอยาง “สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี เสดจ็ โดยรถยนตท นี่ งั่ จากพระตาํ หนกั จกั รบี งกช จงั หวดั ปทมุ ธานี ไปยงั คณะ แพทยศาสตรศ ิริราชพยาบาล โรงพยาบาลศริ ิราช” รถยนตพระประเทียบ ใชแก สมเด็จพระสังฆราช รถของหมอมเจาท่ีเสด็จแทน พระองคพ ระมหากษตั ริย รถเชิญพระพุทธรปู สาํ คัญ รถยนตประเทียบ ใชแก องคมนตรที ่เี ปน ผูแทนพระองคพระมหากษตั ริย (ภาพเหตุการณ) รถยนตพระประเทียบ เชญิ พระพุทธรูปประจาํ พระชนมวาร สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปรณิ ายก ในขบวนรถอญั เชญิ พระศพสมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก จากโรงพยาบาล จฬุ าลงกรณ สภากาชาดไทย มายงั วัดบวรนิเวศวิหาร ในวันศุกร ท่ี ๒๕ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ 26 คูมือการบันทกึ จดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคัญ : หลกั เกณฑการเรียบเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คญั

๑.๒ ความรเู ฉพาะดา น ความรเู ฉพาะดา น เปน ความรเู ฉพาะเรอื่ ง เฉพาะวชิ า เชน การเรยี บเรยี งจดหมายเหตุ งานดานศิลปกรรมไทยเก่ียวกับการบูรณปฏิสังขรณราชรถ ราชยาน โบราณสถานสําคัญ การกอสรางพระเมรุมาศ พระเมรุ ผูเรียบเรียงตองศึกษาหาความรูเฉพาะดานในงาน สถาปตยกรรมไทย งานชางสิบหมู หรืองานชางศิลปไทยแขนงตาง ๆ ศัพทเฉพาะทาง ศิลปกรรมไทยท้ังที่เปนคํานามและคํากริยา จึงจะทําใหการสังเกตการณและการบันทึก เรยี บเรียงเปนไปอยางถูกตองตามหลกั วชิ าและขอ เทจ็ จริง เชน ศพั ทศิลปกรรม พระมหาพชิ ยั ราชรถ เปน ราชรถทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นในพุทธศักราช ๒๓๓๘ เพื่อใชเชิญ พระโกศพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกออกถวายพระเพลิง ณ พระเมรมุ าศทอ งสนามหลวง ทาํ ดว ยไมส กั แกะสลกั ลายทาชาด ปด ทองประดบั กระจก พระมหาพชิ ัยราชรถ บทที่ ๒ องคความรใู นการเรยี บเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส ําคัญ 27

พระมหาพิชัยราชรถ โครงเคร่ืองลางซึ่งเปนสวนรับนํ้าหนักประกอบดวยลอเหล็กดานหนา (ลอ เลี้ยว) ๒ ลอ ลอ เหลก็ ดา นหลงั (ลอหลกั ) ๔ ลอ ลอ นําบังคับเล้ียว ๑ ลอ มีลอประดับซายขวา ๔ ลอ เฉพาะลอประดับทําดวยไมสักแกะสลักลาย ปดทองประดับกระจก ระหวางลอหนากับลอหลังท้ังสองดานมีแปรกประกับ สว นหนา สดุ ของราชรถประกอบดว ยงอนรถ ๓ งอน ทาํ ดว ยไมก ลงึ รปู รที าสแี ดง เรียบ งอนรถดานซายและขวาปลายแกะสลักเปนรูปเศียรนาค สวนงอนรถ งอนกลางแกะสลักเปนรูปนาคสามเศียร ประดับธงสามชายพ้ืนแดงลาย ทองแผลวดประดับพสู ขี าวท้ัง ๓ งอน ตวั ราชรถ พ้ืนทาสีแดง ประกอบดวยช้ันเกรนิ ลดหล่นั กัน ๕ ชัน้ พนม ของเกรินแตละชั้น ดานหนาประดับไมแกะสลักเปนรูปหัวนาคประกอบลาย กระหนกปดทองประดับกระจก ดานหลังประดับไมแกะสลักลายกระหนก ทา ยเกรนิ ปด ทองประดบั กระจก เกรนิ ชนั้ ท่ี ๑ หนา เกรนิ ตดิ ตงั้ แทน ทน่ี งั่ ประดบั ลายกระหนกหัวนาคสําหรับเปนท่ีน่ังของสารถี ถือแพนหางนกยูง ทายเกริน ตดิ ตง้ั แทน ทนี่ งั่ ประดบั ลายกระหนกสาํ หรบั เปน ทน่ี ง่ั ของผเู ชญิ พดั โบก ใตฐ าน เกรินช้ันที่ ๑ มีหวงสําหรับคลองเชือกที่ใชฉุดชักราชรถ ทําดวยเชือกมนิลา หมุ ผาแดง ดานหนา ๔ สาย ดา นหลัง ๒ สาย เหนือทองไมข า งเกรนิ ช้ันท่ี ๒ ชน้ั ท่ี ๓ และชนั้ ที่ ๔ ประดบั ไมแ กะสลกั รปู เทพนมปด ทองประดบั กระจก ชน้ั ละ ๕๘ องค ชั้นท่ี ๕ มี ๒๒ องค เหนอื ฐานเกรินช้นั ที่ ๕ ประดิษฐานบุษบก 28 คูมอื การบันทกึ จดหมายเหตเุ หตกุ ารณสําคัญ : หลักเกณฑการเรยี บเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คัญ

บษุ บก บุษบกสาํ หรับประดษิ ฐานพระโกศพระบรมศพหรือพระศพ ฐานพนกั ดานซายถอดประกอบได เพ่ือใหพระโกศเคลื่อนเขาประดิษฐานในบุษบกได ใตอ งคบ ษุ บกมกี วา นไขพน้ื บษุ บกสง พระโกศขณะเขา ประดษิ ฐานอยใู นบษุ บก ใหส งู ขน้ึ พน พนื้ พนกั เหน็ เดน ชดั สงา งามตลอดทง้ั องค เมอื่ จะเลอ่ื นพระโกศลง บทท่ี ๒ องคค วามรใู นการเรียบเรียงจดหมายเหตุเหตกุ ารณส าํ คญั 29

เกรินจะหมุนกวานลงเพ่ือใหฐานพระโกศเสมอพื้นบุษบกเชนเดิม เสาบุษบก ยอมุมไมสิบสอง โคนเสาบุษบกประดับกาบพรหมศร หัวเสามีคันทวย สลักลาย เสาบุษบกแตละตนผูกมานตาดทองซับในสีแดง รวบกลางมานที่ ประจาํ ยามรัดอกของเสา หลังคาบษุ บกประกอบชั้นเชงิ กลอน ๕ ช้นั ประดับ บันแถลง ชอ ฟา บราลี นาคปก องคร ะฆัง เหม ๓ ช้ัน แกะสลกั ยอมุมไมส ิบ สอง บวั กลุม ๕ ชัน้ ปลียอดปดทองทึบ ลูกแกวแกะสลกั ลาย ยอดประกอบ ดว ยเมด็ นาํ้ คา งและพมุ ขา วบณิ ฑ เพดานหลงั คาบษุ บกประดบั ลายดาวจงกล และดอกจอก ลงรกั ปด ทอง ประดบั กระจก เปน งานของชา งรกั ในกลมุ ชา งสบิ หมู รกั เปน ยางไมท ไี่ ด จากตนรักตามธรรมชาติ ใชลงพื้นวัสดุใหเรียบเพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงาน ชางตาง ๆ เชน รักรองพ้ืน ใชยางรักที่กรองแลวทาบนพื้นดวยแปรง หากเปนพ้ืนปูน ตอ งประสะผวิ ปนู ใหห มดความเคม็ กอ น รกั สมกุ ใชย างรกั ผสมถา นใบตองหรอื ถา นหญา คาหรอื ผงดนิ บดละเอยี ด อยา งใดอยา งหนงึ่ คลกุ เคลา ใหเ หนยี วแลว วางบนแผน กระดาน ใชล กู กลงิ้ อยา ง หนิ บด บดใหเ นอ้ื รกั และสว นผสมเขา กนั จนเหนยี วพอปน ได มกั ใชเ กลย่ี ทบั บน รักรองพนื้ ทง้ิ ใหแ หง แลวขัดจนเรียบ รักน้ําเกลี้ยง เปนรักแหงเร็ว ใชเน้ือรักกรองสะอาดผสมน้ํามันสน ทาทับบนรกั สมุกทข่ี ัดเรียบเกลย้ี งดีแลวเพอ่ื ใหพ ื้นรักดเู ปนเงางามมากขึ้น รักทง้ั ๓ ชนดิ น้ใี ชใ นงานศลิ ปะหลายอยา ง โดยเฉพาะรกั รองพืน้ กับรัก สมกุ ใชใ นงานศลิ ปะทีต่ อ งปด ทองเกือบทุกประเภท เชน ลายรดนํ้า ชางใชกระดาษปรุลายดวยแปงในถุงลูกประคบบนพื้นรัก แลว เขยี นลายดว ยนาํ้ ยาหรดาลในพน้ื เสน ทโ่ี รยไว โดยทง้ิ ตวั ลายเปน สรี กั ลงพนื้ ดว ยหรดาลเต็มท้งั หมด แลว ใชร กั เช็ด ซง่ึ เปน รกั ผสมนา้ํ มันยางอยา งใสเช็ดลง บาง ๆ จากนน้ั ปด ทองใหท ว่ั ทง้ั แผน ใชน า้ํ ราดรดใหน า้ํ ยาหรดาลพองตวั ละลาย ออก กจ็ ะทาํ ใหต วั กระหนกลายกลายเปน ทอง พน้ื ลายเปน สดี าํ คอื สขี องพน้ื รกั นน่ั เอง การใชน ้าํ ราดรดเมื่อปดทองแลวจงึ เรียกวา ลายรดน้าํ 30 คมู อื การบันทกึ จดหมายเหตเุ หตุการณสาํ คัญ : หลกั เกณฑการเรียบเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คญั

การปดทอง การปดทองบนพื้นลายสลักไม มักลงพื้นดวยการทารง แลวใชร ักรองพน้ื ทาบาง ๆ ท้ิงไวใหแ หง แลวทาทับอีก ๒ - ๓ ครัง้ จนรกั ปด เนอ้ื ไมส นทิ ดแี ลว ใชร กั เชด็ ทา จากนนั้ จงึ ปด ทอง สว นมากจะไมป ลอ ยพนื้ ลายไว จึงใชสีแดงทาในชองพ้ืนระหวางตัวลายใหทองสดใสขึ้นเรียกวา ลองชาด สวนการปดทองพระพุทธรูป มักจะลงรักสมุกทับเน้ือโลหะเพื่อทําพ้ืนใหเรียบ เกลยี้ ง แลว ชะโลมดว ยรกั นาํ้ เกลยี้ งอกี ชนั้ หนง่ึ จากนน้ั จงึ ทารกั เชด็ แลว ปด ทอง (ภาพเหตกุ ารณ) การประดับกระจกราชรถ เพ่ือใชในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพณั ณวดี การประดับกระจก สวนมากเปนการตกแตงอาคารสถานท่ี สิ่งของ เชน ตู เตียง ธรรมาสน โดยใชรักรองพ้ืนลงบนสิ่งของนั้น ๆ แลวลงรักสมุก พอควร จากนนั้ ทานาํ้ รกั ทเ่ี คยี่ วจนเหนยี วลงบนลวดลาย ตดั ชนิ้ กระจกประดบั ตามลวดลาย กระจกมหี ลายชนิด อยา งบางทเี่ รยี กวา กระจกเกรียบ มีสขี นุ แต ตดั งา ยกวา โดยตัดแยกเปนชดุ เปนสี ตัดใหเ ขาเหล่ียมเรยี งตามเน้อื ท่ี และอาจ สลบั สีใหเกิดความงาม บทที่ ๒ องคค วามรใู นการเรียบเรยี งจดหมายเหตเุ หตุการณส ําคญั 31

(ภาพเหตกุ ารณ) การจดั ทําเครือ่ งสดในงานพระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพสมเดจ็ พระเจาภคนิ ีเธอ เจาฟา เพชรรตั นราชสุดา สริ ิโสภาพัณณวดี เคร่อื งสด เปนงานศลิ ปะของไทยแบบหนึง่ ทตี่ องอาศัยความชํานาญ ความคิดรเิ ริ่ม ความสังเกต และมีประสบการณในเร่ืองของธรรมชาติ ทั้งตองเปนผูมี ความสามารถในการเขยี นลวดลายไดอ ยา งดี จงึ จะสามารถสลกั ผกั ผลไมต า ง ๆ ใหเปนรูปตัวสัตว ใบไม ดอกไม การสลักเครื่องสดนิยมใชชั่ววันเดียว เชน การแทงหยวกประดับเมรุ การสลักเครื่องสดในการเทศนมหาชาติ การสลัก ผลไมในงานเลี้ยง ผูสลักเคร่ืองสดที่ชํานาญสามารถจะปวนฟกทองทั้งลูก ใหเ ปน แผน ยาว ๖ - ๗ เมตร คําวา “ปวน” เปนคําเรยี กวิธเี ฉอื นฟกทองทง้ั ลกู ใหเปนแผนยาวบางโดยไมขาดจากกนั 32 คมู อื การบันทกึ จดหมายเหตเุ หตกุ ารณสําคญั : หลกั เกณฑการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คญั

ปูนกอหรือปูนสอ ปูนขาวท่ีไดจากการเผาหินแลวนํามาหมักกับน้ําใหปูนเปอย หมั่นเปลี่ยนนํ้าจนไดเน้ือปูนที่จับเขากันดี จากน้ันเตรียมทรายท่ีรอนสะอาด ไวผสม เตรยี มตม กาวหนงั สัตวหรอื ยางไมท่ชี วยใหเ หนยี ว และเตรียมนาํ้ ออย ไวผ สม ปนู กอ หรอื ปนู สอผสมดว ยปนู ขาว ทราย และนา้ํ กาวใชใ นการประสาน แผนอิฐใหเ รียงตอ กัน เชนการกอเสา ผนงั กําแพง หรือกอฐานพระพทุ ธรปู ปูนปน ปูนขาวซึ่งกรองอยางดี ผสมทรายละเอียดเล็กนอย และฟางแชนํ้าใสครก โขลกใหละเอียดจนเขากันเปนเน้ือเดียว กอนจะนําปูนไปปนลวดลายหรือ ปน รปู จะคลกุ เคลา ดว ยนา้ํ ออ ยและนาํ้ กาวจนเหนยี วดจี งึ ใชป น ชา งปนู ปน ตอ ง มคี วามแมน ยาํ เพราะเมอ่ื นาํ ปนู เขา ปน แลว ยากแกก ารเอาออก จะขดู แตง กต็ อ ง กระทําเมื่อปนู ยงั ไมแ ข็งตัว ตางจากชา งปน ท่ัวไปทีใ่ ชเน้ือดินปน เมอ่ื ประสงค จะขูดเน้ือดนิ สวนใดออกก็ทาํ ไดต ามใจชอบ (ภาพเหตุการณ) งานปนู ปนสัตวหมิ พานต เพื่อใชตกแตง บริเวณพระเมรสุ มเด็จพระเจา ภคนิ ีเธอ เจา ฟาเพชรรัตนราชสุดา สริ โิ สภาพัณณวดี บทที่ ๒ องคค วามรใู นการเรยี บเรียงจดหมายเหตเุ หตุการณส ําคัญ 33

ความรูทางวศิ วกรรมศาสตร จดหมายเหตบุ างเรอ่ื งผเู รยี บเรยี งอาจตอ งสรปุ ความจากรายงานการสาํ รวจวจิ ยั ทาง วศิ วกรรมศาสตรใหไ ดสาระสําคญั ถูกตอ ง ดงั ตัวอยาง “การศึกษาสภาพดินบริเวณลุมแมนํ้าเจาพระยาตอนลาง โดยเฉพาะ บริเวณกรงุ รตั นโกสินทร ไดมผี ศู ึกษาไวห ลายดา น ท่สี มควรนํามาบนั ทึกไวใน จดหมายเหตนุ ้ี คอื การศกึ ษาทางดา นวศิ วกรรม เพราะจะมคี วามสาํ คญั ตอ งาน อนรุ กั ษก รงุ รตั นโกสนิ ทรต อ ไปขา งหนา ในการศึกษาสภาพดินทางดานวิศวกรรมท่ีสําคัญ ๒ ครั้ง คร้ังแรก กระทาํ โดยนายชยั มกุ ตพนั ธ นายไพโรจน ถรี ะวงศ และนายวเิ ชยี ร เตง็ อาํ นวย แหง คณะวศิ วกรรมศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ไดศ กึ ษาเฉพาะสภาพดนิ ในเขตตัวเมืองของกรุงรัตนโกสินทร โดยไดรับความสนับสนุนจากสภาวิจัย แหงชาติ และไดพิมพเผยแพรผลการศึกษาในหนังสือ Engineering Properties of Bangkok Subsoil เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๐๙ ตอมา วศิ วกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ รว มกบั กองวเิ คราะห และวจิ ยั กรมทางหลวง ไดศ กึ ษาตอ จากขอ มลู ของนายชยั มกุ ตพนั ธ และคณะ โดยขยายพื้นที่ใหกวางขวางออกไปจนครอบคลุมท่ัวบริเวณที่เปนดินออน ภาคกลาง ในลมุ แมน า้ํ เจา พระยาตอนลา ง และเนน หนกั ถงึ สภาพดนิ ในบรเิ วณ กรุงรัตนโกสินทร พิมพเผยแพรผลการศึกษาในหนังสือ ขอมูลสภาพดิน บริเวณลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๒๐ สรุปผล การสํารวจไดวา บรเิ วณลมุ แมน าํ้ เจา พระยาตอนลา งเปน อาณาบรเิ วณของดนิ ตะกอนกวา ง และลึกมาก สันนษิ ฐานวา เปน แองรูปกรวยตัดครง่ึ ดนิ ตะกอนช้นั บนสดุ เปน ดินออนท่ีมีสวนประกอบของเม็ดดิน เปนดินเหนียวเสียสวนใหญ ชั้นดินนี้ หนาประมาณ ๑๕ - ๒๐ เมตร ปกคลมุ ปากอา วไทยบริเวณตั้งแตช ลบุรไี ปถงึ ราชบุรี และข้ึนไปทางเหนือถึงอยุธยา ดินในช้ันดินออนนี้แบงออกไดเปน ๒ สวน คือ สวนแรกเปนตอนบนของชั้นดิน หนาประมาณ ๓ - ๕ เมตร จากผิวดินลงไปเกิดจากการตกตะกอนของนํ้าทะเลในอาวไทย ซ่ึงขึ้นลง 34 คูมือการบันทึกจดหมายเหตุเหตกุ ารณสาํ คัญ : หลักเกณฑก ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คญั

อยูตลอดเวลา ผสมกับตะกอนดินที่ถูกพัดพามาจากภาคเหนือของประเทศ นํามาท้ิงไวในขณะเกิดนํ้าทวม ดินสวนที่เหลือจากความลึกประมาณ ๕ - ๑๒ เมตร เปนดินที่เกิดจากการตกตะกอนของน้ําทะเลเปนสวนใหญ อายุของดินออนช้ันบนนี้ประมาณไมเกิน ๑๐,๐๐๐ ป ดินยังอยูในสภาพที่ ออ นถงึ ออ นมาก พรอ มทจี่ ะไหลและยบุ ตวั ไดม ากเมอื่ มแี รงมากระทบ สว นใน เน้ือดินมีปริมาณนํ้าปนอยูเปนอัตราสวนท่ีสูงมาก การยุบตัวจึงไมเกิดทันที ทนั ใดทง้ั หมด โดยจะยบุ ตวั เปน ระยะเวลานบั ปข นึ้ ไป เปน ชน้ั ดนิ ทสี่ รา งปญ หา ใหแกวิศวกรในปจจุบันเปนอยางมาก ใตช้ันดินออนลงไปเปนช้ันดินตะกอน ทีอ่ ดั ตวั กนั แนน ของดนิ เหนียว ทราย กรวด เปน ชั้น ๆ แยกกนั อยูแ ละปนกนั อยบู า ง จนถงึ ชนั้ หนิ ดานซง่ึ อยลู กึ จากผวิ ดนิ ไมส มา่ํ เสมอ บางแหง อยลู กึ ประมาณ ๔๓๐ เมตร บางแหง ลกึ ๕๘๐ เมตร บางแหง กล็ กึ มากขนึ้ ไปอกี ถงึ ๑,๘๐๐ เมตร ท่ีบริเวณใกลปากอาว ชั้นหินดานน้ีจะตื้นเขินขึ้นเม่ือหางปากอาวออกมา จนกระทั่งถึงจงั หวดั ชัยนาท ความลึกจะลดลงเหลือประมาณ ๗๐ เมตร คุณสมบัติที่สําคัญ ๆ ของช้ันดินตะกอนในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร จาํ แนกตามแนวตา ง ๆ ไดด งั นี้ แนวท่ี ๑ คลองประปา เรมิ่ จากสถานรี ถไฟกรุงเทพฯ ขนานกับทาง รถไฟสายเหนอื ไปตดั ตอนทบี่ รเิ วณตดั กนั ระหวา งทางรถไฟสายเหนอื กบั ถนน ประชาชนื่ แลว เลาะไปตามถนนประชาชน่ื อกี ประมาณ ๗.๕ กโิ ลเมตร สภาพดนิ ตามแนวดงั กลา ว ตอนบนสดุ เปน ชนั้ ดนิ เหนยี วออ นหนาประมาณ ๑๓ - ๑๕ เมตร บางแหงมีแองของช้ันดินเหนียวออนนี้ลึกลงไปถึงประมาณ ๒๕ เมตร ชน้ั ดนิ ถดั ไปเปน ชนั้ ดนิ เหนยี วปานกลางมอี ยเู ปน บางแหง มคี วามหนาโดยเฉลย่ี ประมาณ ๒ เมตร ตั้งแตความลึกประมาณ ๑๕ เมตร ลงมาเปนดินแข็ง สวนใหญเปนดินเหนียวแข็งไปจนถึงความลึกประมาณ ๒๕ - ๓๐ เมตร บางแหง ลกึ ถงึ ๓๕ เมตร จากนน้ั เปน ชน้ั ทรายทแี่ นน ตวั ผวิ บนสดุ ของชนั้ ทราย ตามแนวนี้ขรขุ ระมากไมร าบเรยี บ” ฯลฯ (จดหมายเหตกุ ารอนุรักษกรงุ รตั นโกสินทร, ๒๕๒๕, หนา ๔ - ๖) บทที่ ๒ องคความรใู นการเรียบเรียงจดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคัญ 35

แผนผงั จากวศิ วกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ : ขอ มลู สภาพดนิ บรเิ วณ ลมุ แมน า้ํ เจา พระยาตอนลา ง ความรทู างสถาปตยกรรมศาสตร จดหมายเหตเุ รอื่ งเกยี่ วกบั การกอ สรา งบรู ณปฏสิ งั ขรณอ าคารสถานทส่ี าํ คญั นอกจาก การสงั เกตการณแ ละการสมั ภาษณแ ลว ผเู รยี บเรยี งจดหมายเหตคุ วรมคี วามสามารถในการ อานและทําความเขาใจแบบพิมพเขียวและเอกสารประกอบแบบรายการที่เก่ียวของดวย ดังตัวอยา ง “การออกแบบต้ังเสาชิงชาในการบูรณปฏิสังขรณเสาชิงชาในคร้ังนี้ ไดคํานึงถึงความม่ันคงแข็งแรง และตองการใหเสาชิงชามีอายุยืนยาวที่สุด จากการศึกษาแบบพิมพเขียวการบูรณะเสาชิงชาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๔ โดยแผนกสถาปตยกรรม กองแบบแผน ฝา ยการโยธา เทศบาลนครกรุงเทพ ลงวนั ที่ ๒๓ สิงหาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๔ พบวาการทเ่ี สาไมหลักทั้ง ๒ ตน ของเสาชิงชาเปนแบบไมตอ ๓ ทอน เปนสาเหตุหนึ่งของการผุพัง ดังน้ัน จงึ ควรหลกี เล่ียงการตอ ไมน ับตั้งแตฐ านรากจนถงึ ยอดเสา 36 คมู ือการบันทกึ จดหมายเหตเุ หตุการณส ําคญั : หลกั เกณฑก ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คญั

แบบผังการบูรณปฏิสงั ขรณเสาชงิ ชารปู ดานหนาและดา นขา ง ฐานรากของเสาชิงชาเดิมน้ันเปนเสาคอนกรีตเสริมเหล็กรองรับเสา ชิงชาขางละ ๓ ตน ตอมอของฐานรากเปนฐานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด ๑.๙ x ๓.๐ เมตร สงู ๒.๔ เมตร จากน้นั ฝงปลอกเหลก็ เหล่ยี มหนา ๑ น้ิว มีขนาดภายในประมาณ ๓๐ เซนติเมตร สูง ๒ เมตร ฝงอยูในตอมอ ๓๐ เซนตเิ มตร โผลข นึ้ มาเหนอื ฐาน ๑๗๐ เซนตเิ มตร ภายในปลอกเหลก็ นมี้ เี ดอื ย คอนกรตี เสรมิ เหลก็ ยาว ๗๐ เซนตเิ มตร สว นฐานของเสาหลกั และเสาตะเกยี บ ท้งั ๖ ตนจะอยูในปลอกเหลก็ น้ี ๑๐๐ เซนติเมตร ล็อกดว ยการรอยนอตสกรู ทั้งดานซายและดานขวา แลวจึงใชไมแผนหนาตกแตงผิวภายนอกปดปลอก เหล็กไวอ ยางมิดชิด แลว แตงไมใ หกลมเปน แนวเดยี วกับเสาสวนที่อยดู า นบน จงึ ดเู หมอื นวา สว นฐานของเสาหลกั และเสาตะเกยี บหยง่ั ลกึ ลงไปในดนิ ซงึ่ การ ตอ ไมในลักษณะน้นี า จะเปน สว นหนง่ึ ท่ีทําใหเ สาชิงชา ผุ เพื่อใหการออกแบบฐานรากของเสาชิงชาใหมมีความมั่นคงแข็งแรง คณะอาํ นวยการบรู ณปฏสิ งั ขรณเ สาชงิ ชา จงึ ไดข อความรว มมอื ไปยงั วศิ วกรรม สถานแหงประเทศไทย เพ่ือรวมพิจารณาหาทางเลือกท่ีเหมาะสมสําหรับ ฐานรากของเสาชิงชา ใหมท่เี หมาะสมตอไป บทที่ ๒ องคค วามรูในการเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตกุ ารณส ําคญั 37

การโลช งิ ชา ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ เสาชงิ ชาหลงั การบูรณะเสรจ็ เรยี บรอ ย ผลจากการพจิ ารณาอยา งรอบคอบจงึ ไดข อ สรปุ วา ตอมอ ของเสาชงิ ชา ใหมค วรจะเปน ปลอ งคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ๑.๕ เมตร เพอื่ ความแขง็ แรง โดยท่ี เสาตะเกยี บทง้ั ๔ ตน จะทาํ หนา ทถ่ี า ยนาํ้ หนกั ของเสาประธานลงสตู อมอ แทน ดงั นนั้ เสาหลกั ทั้ง ๒ ตนของเสาชงิ ชา ใหมจะลอยอยเู หนือแทน ฐานและเพอ่ื ปอ งกนั ไมใ หเ สาตะเกยี บทง้ั ๔ ตน ทอ่ี ยใู นปลอ งคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ผอุ นั เนอ่ื ง มาจากความชนื้ จงึ ไดอ อกแบบใหม ที อ ออ นทสี่ ามารถเปา ลมระบายความชน้ื ออกจากฐานเสาชงิ ชา ได” (จดหมายเหตุการบูรณปฏิสงั ขรณเสาชงิ ชา พทุ ธศักราช ๒๕๔๙, ๒๕๕๑, หนา ๑๑๘) 38 คูมือการบันทกึ จดหมายเหตเุ หตกุ ารณสําคญั : หลกั เกณฑการเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คัญ

เตาถวายพระเพลิงพระศพ การพระราชทานเพลิงพระศพครั้งน้ีเปลี่ยนแปลงจากเดิมท่ีใชฟนเผา เปนใชเตาเผาดวยแกสเพ่ือลดมลพิษในอากาศ เตาเผาน้ีตั้งบนพระเมรุมุข ทศิ ตะวนั ออก นายเกรียงไกร สมั ปช ชลติ อธิบดกี รมศลิ ปากร ไดว า จา งหาง หุนสวนจํากดั ป.ว.ช. ลิขิตการสราง กอ สรางเตาถวายพระเพลิงพระศพและ ฉากบงั เพลงิ (สว นบงั เตาถวายพระเพลงิ พระศพ) ในราคา ๒,๒๒๓,๐๐๐ บาท (สองลานสองแสนสองหมืน่ สามพนั บาทถว น) เตาถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระเจา พ่ีนางเธอ เจา ฟา กลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร (ดานหนา ) โครงสรางเตา ประกอบดวยเหล็กกลองขนาด ๗๕ x ๗๕ มิลลิเมตร และเหล็กรางน้ํา ๑๒๕ x ๖๒.๕ มิลลิเมตร ดานหนาใชเหล็กหนาขนาด ๑๘ มิลลเิ มตร ประตูใชเ หล็กแผน หนา ๕ มลิ ลเิ มตร ตรงกลางบดุ ว ยฉนวน กันความรอนชนิดเซรามิกไฟเบอร หนา ๒ น้ิว เทบุทับดวยคอนกรีตทนไฟ บทท่ี ๒ องคค วามรใู นการเรยี บเรียงจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส ําคญั 39

ทนอุณหภมู ิไมนอยกวา ๑,๔๐๐ องศาเซลเซยี ส ควบคุมการเปด - ปดประตู ปอนพระศพดวยระบบมอเตอรเกียรที่ใหความปลอดภัยสูงสุดโดยไมตองมี ระบบบล็อกเพื่อกันประตตู ก ระบบหวั เผาพระศพดบั อตั โนมัติเมื่อประตเู ปด และติดใหมอีกครั้งเมื่อประตูปด ประตูดานหลังมีชองมองเพ่ือสังเกตการ เผาไหมพระศพ มีปลองระบายอากาศเสีย เสนผาศูนยกลางไมนอยกวา ๔๕ เซนติเมตร ภายนอกทําดว ยเหล็กหนาไมนอยกวา ๓ มลิ ลิเมตร บภุ ายใน ดว ยวสั ดทุ นไฟตง้ั แตต วั เตาถงึ พน้ื บรเิ วณดา นหลงั เตามชี อ งสาํ หรบั กวาดเกบ็ เตาถวายพระเพลิงพระศพสมเดจ็ พระเจา พน่ี างเธอ เจาฟากัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร (ดา นหนา) พระอังคารและพระอัฐิแยกตางหาก พ้ืนเตาภายในหองเผาพระศพหลอเปน ชิ้นเดยี วกนั แบบ MONOLITIC ความหนาไมนอ ยกวา ๑๕ - ๓๕ เซนติเมตร และปูทับดวยอิฐทนไฟเบอร k 23 ความหนาไมนอยกวา ๒.๕ เซนติเมตร ผนงั เตาภายในประกอบดว ยวสั ดุทนไฟ แบง เปน ๕ ช้ัน 40 คมู ือการบันทกึ จดหมายเหตุเหตกุ ารณสําคญั : หลักเกณฑก ารเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตุการณส าํ คัญ

ชัน้ ที่ ๑ เปน แผนเซรามิกและอิฐฉนวนทนความรอนและเปลวไฟ ช้นั ที่ ๒ เปนฉนวนทนความรอนชนิดเซรามิกไฟเบอร มีคุณสมบัติ ทนความรอนที่อุณหภูมิ ๑,๐๐๐ องศาเซลเซียส ความหนาไมนอยกวา ๕ เซนตเิ มตร ชนั้ ที่ ๓ ทาํ ดว ยเหลก็ แผน ทนความรอ น ความหนา ๔ มลิ ลเิ มตร พรอ ม สีเคลอื บกนั สนิม ๒ ชั้น ชน้ั ท่ี ๔ เปนฉนวนทนความรอนชนิดเซรามิกไฟเบอร ทนความรอน ทอี่ ุณหภมู ิ ๑,๐๐๐ องศาเซลเซียส ความหนาไมนอยกวา ๒.๕ เซนตเิ มตร ชั้นที่ ๕ ผนังภายนอกทําดวยเหล็กแผน ความหนา ๓ มิลลิเมตร พรอ มเคลอื บสที นความรอ น โดยมอี ณุ หภมู ผิ นงั เตาภายนอกไมเ กนิ ๖๕ องศา เซลเซียส มีระบบผนงั ภายในแบบ Air Cool ๒ ชนั้ ข้ันตอนการทํางานของเตาถวายพระเพลิงพระศพ เปนเตาเผาปลอด มลพษิ ชนดิ ๒ หองเผา ประกอบดวย เตาถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร (ดา นหลงั ) บทที่ ๒ องคค วามรูใ นการเรียบเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณสําคญั 41

หอ งเผาหลัก (หอ งเผาพระศพ) ทาํ หนา ทเี่ ผาพระศพและวัสดุตาง ๆ เชน ดอกไมจันทน โดยใชเคร่ืองจายความรอนจายโดยตรงเขาเตาเผา เพอื่ เพมิ่ อณุ หภมู ภิ ายในหอ งเผาใหถ งึ จดุ ทหี่ บี พระศพสามารถลกุ ไหม มลี กั ษณะ เวียนจากหลังเตาไปหนาเตาแลววนกลับมาอีกคร้ัง เม่ือภายในเตาเกิดการ ลุกไหมขึ้น ระบบจายอากาศชวยในการเผาไหมจะจายอากาศในปริมาณ ท่ีเพียงพอใหภายในเตาลุกไหมไดอยางสมบูรณ โดยใหเกิดมลพิษตํ่าท่ีสุด การควบคมุ การเผาไหมและการจายอากาศควบคุมอณุ หภูมใิ ช PLG เปน ตวั ควบคุมและสง่ั งาน หองเผารอง (หองเผาควัน) ใชเทคนิคการผสมอากาศชวยการ เผาไหมในหองเผาควันพรอมกับการจายความรอนจากเคร่ืองจายความรอน เปนระบบที่ทําใหสามารถลดปริมาณ NOX จากการเผาไหมใหลดลงได เม่ือควันท่ีเหลือจากการเผาไหมของหองเผาพระศพเคลื่อนตัวมายังหอง เผาควัน จะมีการเพิ่มอุณหภูมิและอากาศทําใหควันจากหองเผาพระศพ สามารถสนั ดาปในตวั ไดอ กี ครงั้ ในขณะทเ่ี ดนิ ทางภายในหอ งเผาจนออกจาก ปลอ ง โดยมรี ะยะเวลาในการเดนิ ทางมากกวา ๑ วินาที ในระหวา งทางเดิน ของอากาศในหองเผาควันมีการเตมิ อากาศชว ย เพือ่ ปองกนั การเผาไหมทไี่ ม สมบรู ณอ นั เนอื่ งมาจากวสั ดอุ ปุ กรณท น่ี าํ เขา ไปเผาอาจจะมปี รมิ าณและชนดิ ตา งกนั ออกไป ดงั นนั้ อากาศทอ่ี อกจากปลอ งระบายอากาศเสยี จะเหลอื เพยี ง ความรอ นจากการเผาไหมเทา น้ัน” (จดหมายเหตุงานพระศพสมเดจ็ พระเจา พ่ีนางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร เลม ๑, ๒๕๕๓, หนา ๔๑๖ - ๔๑๗) 42 คูมือการบันทกึ จดหมายเหตเุ หตุการณส าํ คัญ : หลักเกณฑการเรยี บเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณส าํ คัญ

ความรทู างโบราณคดี การบรู ณปฏสิ งั ขรณอ าคารสถานทส่ี าํ คญั บางแหง อาจมกี ารขดุ คน ทางโบราณคดดี ว ย ดงั เชน การบรู ณปฏสิ งั ขรณเ สาชงิ ชา เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๙ กลมุ วชิ าการ สาํ นกั โบราณคดี กรมศลิ ปากร ไดด ําเนินการขดุ คน ทางโบราณคดี ๒ บริเวณ คอื บริเวณท่ี ๑ บริเวณภายใน วงกลมแทนฐานเสาชิงชา และบริเวณท่ี ๒ บริเวณหลุมระบายน้ํานอกแทนฐานเสาชิงชา ดานวัดสุทัศนเทพวราราม เน่ืองจากบริเวณเสาชิงชาเปนถนนที่มีมาต้ังแตสมัยพระบาท สมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑ แหง กรงุ รัตนโกสนิ ทร มชี อ่ื วา ถนน เสาชงิ ชา เปน ถนนสายสาํ คญั ทใ่ี ชใ นการเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ จากพระบรมมหาราชวงั มายงั บรเิ วณเสาชงิ ชา ในการประกอบพระราชพธิ ตี รยี มั ปวาย - ตรปี วาย และการอญั เชญิ พระศรี ศากยมนุ ีวดั มหาธาตุจงั หวดั สโุ ขทยั จากทา ชา งมาประดษิ ฐานณวดั สทุ ศั นเทพวรารามปรากฏ ผลการศึกษาทางโบราณคดีท่ีสําคัญ ซึ่งผูเรียบเรียงจดหมายเหตุควรประมวลสรุปไวดวย ดงั ตวั อยาง “จากหลกั ฐานทางโบราณคดที ี่ปรากฏ เมื่อนาํ มาวิเคราะหรวมกบั ชน้ั ดิน อฐิ เอกสาร แผนที่ และแผนผังโบราณ สรปุ ผลเปน ขอ สันนษิ ฐานไดว า หลกั ฐานที่พบนาจะเปนแนวถนนโบราณ ซ่ึงสรางซอ นทบั กันประมาณ ๓ ช้นั กลา วคอื (ภาพเหตกุ ารณ) การขดุ คนทางโบราณคดบี ริเวณใตฐ านรากเสาชิงชา พบแนวส่ิงกอ สรา งถนนบาํ รงุ เมืองเดมิ บทท่ี ๒ องคความรูในการเรียบเรียงจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คญั 43

๒.๘.๖ ถนนสมัยแรก เปนสิ่งกอสรางชั้นลางสุดท่ีพบ สรางทับบนชั้นดินเดิมหรือช้ันดิน ธรรมชาติ มีลักษณะเปนถนนปูอิฐเรียง ๓ ชั้น ดานขางถนนมาทางดาน หนาวดั สทุ ศั นเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร ทาํ เปน ลานปูอฐิ หากพิจารณา จากเอกสารในสมยั รัชกาลท่ี ๑ ทีก่ ลา วถึงถนนเสาชิงชา อาจจะเปน ไปไดวา ถนนสมัยแรกท่ีพบนี้ อาจจะเปนถนนเสาชิงชาท่ีกลาวถึงในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ถนนเสนนีน้ า จะมีขนาดแคบกวาถนนในสมัยที่ ๒ ดงั น้ันแนวถนนนนี้ า จะอยู ภายในบริเวณท่ี ๑ และมขี นาดกวางประมาณ ๔ - ๕ เมตร สวนบริเวณดานขางถนนหนาวัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร คงจะทําเปนลานปูอิฐเรียงชั้นเดียว เน่ืองจากในการขุดตรวจพบวา แนว ส่งิ กอสรา งช้นั ที่ ๑ ในบรเิ วณท่ี ๒ เปน อฐิ เรียงเพยี งชั้นเดียว บรเิ วณดงั กลาว นา จะเปน ลกั ษณะของลานกวา ง เพอื่ ใชป ระกอบกจิ กรรมในพระราชพธิ ตี า ง ๆ เชน พระราชพธิ ตี รยี มั ปวาย - ตรปี วาย การอญั เชญิ พระศรศี ากยมนุ ี หรอื เปน ทตี่ ้ังกระบวนแหต าง ๆ นอกจากน้ี ถนนเสาชิงชายังอาจใชเปนเสนทางสัญจรหลักท่ีใชมา ตงั้ แตส มยั รชั กาลที่ ๑ เชน เปน เสน ทางนาํ ศพหรอื คนตายมาออกทางประตผู ี (ปจ จบุ นั คอื บรเิ วณสแี่ ยกสาํ ราญราษฎร) ดงั นน้ั ถนนเสน นคี้ งไดม กี ารปรบั ปรงุ อยางตอเน่ือง โดยบางชวงถนนอาจเปนดินถม บางชวงอาจเปนถนนปูอิฐ เชน บริเวณเสาชิงชา อยา งไรกต็ าม ถนนสายน้ีก็คงมีการถมอดั ใหแ นนหนา พอทจ่ี ะรบั นา้ํ หนกั ขบวนแหต า ง ๆ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในชว งทมี่ งี านพระราชพธิ ี คงจะใชท รายโรยทับแลวเกล่ียใหเรยี บเสมอกนั ๒.๘.๗ ถนนสมัยที่ ๒ เปนถนนดินท่ีมีการกออิฐเปนคันสองขางและทําชองระบายน้ํา จากเอกสารในสมัยรัชกาลท่ี ๔ กลาวถึงการโปรดเกลาฯ ใหสรางถนน บํารุงเมืองขึ้น ลักษณะของถนนที่กลาวถึงในเอกสารใกลเคียงกับสิ่งกอสราง ทพี่ บ กลา วคอื กอ อฐิ เปน ขอบสองขา งถนนและทาํ ชอ งระบายนา้ํ สว นพนื้ ถนน คงจะถมดวยดนิ 44 คูมือการบนั ทกึ จดหมายเหตเุ หตุการณส ําคญั : หลกั เกณฑการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตกุ ารณสําคญั

เมื่อพิจารณาผลการศึกษาอิฐ พบวาอิฐที่กอเปนขอบถนนสมัยที่ ๒ มีการเผาในอุณหภูมิสูงกวาอิฐที่พบในสมัยแรก ดังน้ัน เตาเผาอิฐในสมัยนี้ คงจะเปนเตาเผาที่สามารถควบคุมอุณหภูมิไดสูงกวา ๗๐๐ องศาเซลเซียส ทําใหไดอิฐที่มีเน้ือแกรงมากข้ึน ทําใหอาจสันนิษฐานไดวา ถนนบํารุงเมือง เดิมน้ีมีความกวางประมาณ ๖ เมตร ซึ่งตรงกับความกวางท่ีกลาวถึงใน เอกสาร คือ ๓ วา แนวถนนบาํ รงุ เมืองนี้คงจะสรา งทับแนวถนนเสาชงิ ชา เดิม กลาวคือ หัวถนนเริ่มจากแยกถนนสนามไชย (ขางพระบรมมหาราชวัง) ผา นสะพานชา งโรงสี สกี่ ก๊ั เสาชงิ ชา เสาชงิ ชา และตรงไปสดุ ถนนทว่ี ดั สระเกศ ราชวรมหาวหิ าร ความยาวของถนนประมาณ ๑ กโิ ลเมตร ๑๘๙.๙๐ เมตร ๒.๘.๘ ถนนสมยั ที่ ๓ พบชั้นของถนนสมยั น้ีซอนทับกัน ๒ ช้ัน กลาวคอื ชนั้ ที่ ๑ เปน ลกั ษณะถนนปดู ว ยเศษอฐิ บดอดั ทบั ลงบนถนนดนิ ในสมยั ท่ี ๒ ชนั้ ท่ี ๒ เปน ลกั ษณะถนนปหู นิ ยอ ยบดอดั ทบั ลงบนถนนเศษอฐิ ในสมยั เดียวกัน นับเปนถนนชนั้ บนสุดที่พบในบรเิ วณนี้ จากเอกสารในรัชกาลท่ี ๕ กลาววา โปรดเกลาฯ ใหปรับปรุงถนน บํารุงเมืองเดิมใหแข็งแรงและรับน้ําหนักไดมากขึ้น พรอมกับขยายถนน ใหกวางขึ้น เม่ือนํามาเปรียบเทียบกับหลักฐานที่พบ ซ่ึงพบเพียงชั้นถนนท่ี เปน เศษอิฐบดอดั และหนิ ยอย แตไมพ บสวนอ่ืน ๆ ตามที่กลา วถึงในเอกสาร เน่ืองจากพืน้ ทีถ่ กู รบกวน อยา งไรก็ตาม จากผลการวเิ คราะหช น้ั ดิน พบวามีการขุดตดั ลงไปเพอื่ ฝงทอ เหล็กจากชั้นทเี่ ปนถนนเศษอฐิ ทาํ ใหส นั นิษฐานไดวา ช้นั ถนนทีป่ ดู ว ย เศษอิฐน้ีเปนชั้นผิวหนาของถนนในสมัยน้ี และคงจะอยูในสมัยรัชกาลท่ี ๕ เนอื่ งจากทอ เหลก็ ทพี่ บนา จะเปน ลกั ษณะของทอ ประปา ซงึ่ ระบบการประปา เกิดขนึ้ คร้ังแรกในสมยั รชั กาลท่ี ๕ นอกจากน้ี ในเอกสารยังกลาวถึงการปรับปรุงซอมแซมถนนในสมัย รชั กาลที่ ๕ อยเู ปน ระยะ ๆ จงึ เปน ไปไดว า ถนนปหู นิ ยอ ยทพี่ บชน้ั บนสดุ ของแนว สิง่ กอสรา งสมัยที่ ๓ น้ี เปนถนนบาํ รงุ เมืองท่ไี ดร บั การซอมแซมครัง้ หลงั สดุ บทที่ ๒ องคความรใู นการเรยี บเรียงจดหมายเหตุเหตุการณส ําคญั 45

อาจกลาวโดยสรุปไดวา แนวถนนทั้ง ๒ ช้ันที่พบ คือถนนเศษอิฐบด และถนนหินยอยน้ีเปนแนวถนนบํารุงเมืองสมัยหลังสุดท่ีมีการใชงาน (สมยั รชั กาลท่ี ๕) กอ นทจ่ี ะยา ยเสาชงิ ชา จากหนา เทวสถาน (โบสถพ ราหมณ) มายังหนาวัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร อันเปนท่ีต้ังในปจจุบัน (ชวงระหวางพุทธศกั ราช ๒๔๓๙ - ๒๔๔๔) โดยไดสรา งทับบนถนนเสาชิงชา หรือถนนบาํ รงุ เมืองเดมิ ในคร้ังแรกไดท ําเปนถนนปดู ว ยเศษอฐิ บดอดั และ ตอ มาภายหลงั ไดม กี ารปรบั ปรงุ ถนนอกี ครงั้ โดยใชห นิ ยอ ยปทู บั สว นขอบถนน ทั้งสองขางคงจะทําเปนลักษณะของรองระบายนํ้า ซ่ึงในการขุดตรวจไมพบ ขอบถนนดงั กลา ว สาํ หรบั บรเิ วณนอกแนวถนนดา นหนา วดั สทุ ศั นเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร ก็คงจะเปนลักษณะของสนามกวาง ใชเปนท่ีประกอบ งานพธิ ีตาง ๆ อยางไรก็ดี พื้นท่ีบริเวณเสาชิงชาน้ีเปนพ้ืนท่ีสําคัญที่มีการใชงาน อยางตอเนื่องทุกสมัยจนถึงปจจุบัน ดังนั้นจึงคงไดรับการซอมแซมปรับปรุง เปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทําใหหลักฐานท่ีพบถูกทําลายไปบางสวนและ ไมสมบูรณเทาที่ควร ประกอบกับการดําเนินงานถูกจํากัดดวยพ้ืนที่และ ระยะเวลา การศึกษาวิเคราะหครัง้ นี้จึงเปน เพียงขอสันนิษฐานเบื้องตน และ อาจมกี ารเปล่ยี นแปลงได หากพบหลักฐานเพิ่มเตมิ ในอนาคต” (จดหมายเหตุการบรู ณปฏิสังขรณเสาชิงชา พุทธศกั ราช ๒๕๔๙, ๒๕๕๑, หนา ๑๑๓ - ๑๑๕) ความรูเฉพาะดานท่ีคัดมาเปนตัวอยางขางตน แมจะเปนความรูจากผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งเชย่ี วชาญในวชิ าการน้นั ๆ โดยตรง แตผเู รยี บเรยี งจดหมายเหตุตองมีความรคู วามเขาใจ เพยี งพอดว ย เพอ่ื ใชด ลุ พนิ จิ เลอื กคดั กลน่ั กรองขอ มลู ทม่ี อี ยเู ปน จาํ นวนมาก กอ นจะประมวล สรุปเฉพาะสวนท่เี ห็นวา สําคัญสมควรบันทึกไวในจดหมายเหตุเรอื่ งน้ัน ๆ 46 คมู อื การบันทึกจดหมายเหตุเหตุการณสาํ คัญ : หลักเกณฑก ารเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตกุ ารณสาํ คัญ

๑.๓ ความรูดานการบริหารจัดการ ผูเรียบเรียงจดหมายเหตุตองมีความเขาใจในโครงสรางดานการบริหารจัดการของ หนวยงานหรือหลายหนวยงานที่รวมกันรับผิดชอบดําเนินการในเหตุการณสําคัญท่ีจะ เรยี บเรยี ง อาจเปน องคก รประจาํ เชน สว นราชการ หนว ยงานภาครฐั ภาคเอกชน องคก าร เฉพาะกิจ เชน คณะกรรมการดําเนินการ คณะอนุกรรมการ คณะทาํ งาน ทไ่ี ดรับแตงต้งั โดยเฉพาะ องคก รผสม ทอี่ ยใู นรปู คณะกรรมการผแู ทนสว นราชการทเี่ กยี่ วขอ ง ผทู รงคณุ วฒุ ิ ทีไ่ ดรบั แตง ตั้งมอบหมายใหรวมดาํ เนนิ การ องคก รทรี่ บั ผดิ ชอบดาํ เนนิ การดงั กลา ว ตอ งมกี ารกาํ หนดอาํ นาจหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ โดยชดั เจน และลดหลนั่ กนั ผเู รยี บเรยี งจดหมายเหตตุ อ งมคี วามเขา ใจในอาํ นาจหนา ทข่ี อง แตละฝายท่ีมารวมกันปฏิบัติงาน สายการบังคับบัญชาท่ีเช่ือมโยงหรือประสานการปฏิบัติ ระเบียบราชการ ตลอดจนขั้นตอนการดําเนินงาน ซึง่ จะมีความสาํ คญั ยง่ิ ในการกลนั่ กรอง และประเมินคุณคาเอกสารขอมูลของหนวยงานเหลานี้ เม่ือนํามาใชในการเรียบเรียง จดหมายเหตุ ตวั อยา งเชน การจัดงานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นายกรัฐมนตรีมีคําสั่งแตงตั้งคณะ กรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๐ มนี ายกรฐั มนตรี เปน ประธาน ปลดั สํานักนายกรัฐมนตรี เปน กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการอํานวยการจัดงานฯ ไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ ฝา ยตาง ๆ รวม ๑๐ คณะ และคณะกรรมการฝายตาง ๆ ดังกลาว ไดมคี าํ ส่งั แตงต้ังคณะอนกุ รรมการและคณะทํางานชวยเหลอื การปฏิบตั งิ านดงั น้ี ๑. คณะกรรมการฝายพิธี ๑.๑ คณะอนุกรรมการฝายจัดงานพระราชพิธีเสด็จออกมหา สมาคมรับการถวายพระพรชยั มงคล ๑.๒ คณะอนกุ รรมการฝา ยจดั พธิ เี สกและอญั เชญิ นา้ํ พระพทุ ธมนต ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ บทท่ี ๒ องคค วามรใู นการเรียบเรียงจดหมายเหตเุ หตุการณสําคัญ 47

ตวั อยา งการแตงต้งั คณะกรรมการอาํ นวยการจัดงานเฉลมิ พระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ 48 คูมอื การบันทกึ จดหมายเหตุเหตุการณสําคญั : หลกั เกณฑก ารเรียบเรยี งจดหมายเหตเุ หตกุ ารณสาํ คญั

๑.๓ คณะอนกุ รรมการฝา ยจัดงานศาสนพิธี ๑.๔ คณะอนกุ รรมการฝา ยจัดงานสโมสรสนั นบิ าตและงานถวาย พระกระยาหารค่าํ เฉลิมพระเกยี รติ ๑.๕ คณะอนุกรรมการฝายจัดงานถวายพระพรและงานมหรสพ สมโภช ๑.๖ คณะอนกุ รรมการฝา ยพจิ ารณากลน่ั กรองการขอใชง บประมาณ ๑.๗ คณะอนุกรรมการฝายจัดแสดงพลุและดอกไมไฟเฉลิม พระเกียรติ ๒. คณะกรรมการฝา ยโครงการและกจิ กรรม ๒.๑ คณะอนกุ รรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการและกจิ กรรม ๒.๒ คณะอนกุ รรมการพฒั นาและบรู ณาการโครงการและกจิ กรรม เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เนอ่ื งในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๓. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ๓.๑ คณะอนกุ รรมการจดั ทําหนังสือจดหมายเหตุ ๔. คณะกรรมการฝายประชาสมั พันธ ๔.๑ คณะอนกุ รรมการสารัตถะ ๔.๒ คณะอนกุ รรมการจดั งานมหกรรมดนตรีเฉลิมพระเกียรติ ๔.๓ คณะอนุกรรมการจัดงานมหกรรมดนตรีเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา “รอ ยใจไทยเปน หนง่ึ เดยี ว” แบง เปน ๗ กลมุ ยอ ย ตามลกั ษณะภารกจิ แตล ะกลมุ ยอ ยมปี ระธานและเลขานกุ าร ของตนเอง ๑) คณะอนกุ รรมการอํานวยการ ๒) คณะอนุกรรมการฝายจัดการแสดงบนเวที ๓) คณะอนกุ รรมการฝา ยนทิ รรศการและออกราน บทที่ ๒ องคค วามรูใ นการเรยี บเรยี งจดหมายเหตุเหตุการณส ําคัญ 49