Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยาจีน1

Description: ยาจีน1

Search

Read the Text Version

พมิ พ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2556 ผู้เรยี บเรียง พระธาตรี อปุ ฺปลวณโฺ ณ ออกแบบรปู เลม่ พเิ ชษฐ์ พงศิรวิ ลิ ัย จ�ำ นวน 3,000 เลม่ ISBN 978-616-335-788-5 พิมพท์ ่ี บริษัท ริช แอนด์ ซีมลี จำ�กดั จดั ทำ�โดย วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร อ.บา้ นเขว้า จ.ชยั ภมู ิ ลขิ สิทธิ์เป็นของ อโรคยาศาล วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร อ.บา้ นเขว้า จ.ชยั ภูมิ ขอขอบคณุ ปนัดดา ลม้ิ ประดษิ ฐานนท์ พจ.อรอุมา สงั ขารมณ์ พจ.จตุพร พรมชัย พจ.พนชั ดา นวนงาม ธวชั ชยั นาใจคง อธิวัฒน ์ โพธก์ิ ลาง นักศกึ ษาคณะแพทย์แผนจนี มหาวทิ ยาลยั หวั เฉียวเฉลมิ พระเกียรติ ธนภัทร สทิ ธอิ ัฐกร ณัฐพร อรุณภาคย์ วิลาวณั ย์ ช้นั เล็ก ฐานพร พุทธนนทวิทย์ นภสั สรณ์ ศตชัยเรอื งศร ี สุภารตั น์ หงสว์ ชิราภรณ์ อภสั รา ตงั้ วรี ะพงษ์

ค�ำน�ำ ยาจีนเปน็ ขมุ ทรพั ยท์ างปญั ญา อนั ทรงคณุ ค่าของบรรพชนท่ไี ด้ สัง่ สมองค์ความรจู้ ากรนุ่ สู่รุ่น พฒั นาและผสมผสานแนวคิดในการจัดการยาจนี ผา่ นวิถธี รรมชาติทง้ั กาย-จิต และสรรพส่ิงหล่อหลอมรวมกัน กลายเปน็ แนวคิดการจดั การและการบรหิ ารยาจนี บนทฤษฎเี กือ้ กูลหยินหยาง ตอ่ ตรง เชื่อมถึงอวัยวะภายในซอ่ มแซมบำ� รุงสว่ นทส่ี ญู เสยี เพ่ือคนื ความสมดุลให้รา่ งกาย ฟื้นฟสู ว่ นทพี่ ร่องไปให้กลบั มาใชก้ ารไดต้ ามอตั ภาพแหง่ การมชี ีวิตอยผู่ ู้ใช้ ยาจีนนัน้ จะมีความรูแ้ ตกฉานในการใช้ยาจนี ให้มากทีส่ ุดเท่านนั้ เองท้งั นเี้ พ่ือให้ เกิดประโยชน์สูงสดุ ในการนำ� ความรู้ยาจีนมาใช้รักษาโรค ผเู้ ขียนจึงรวบรวมแนวคิด อกี ทง้ั สรรพคณุ ยาจนี และตัวอย่างต�ำรับยา มาเขยี นเปน็ หนังสือยาจีนเลม่ นข้ี ้ึนเพอ่ื ใหแ้ พทย์แผนจนี และผ้ทู ่ีสนใจทวั่ ไปไดศ้ กึ ษา เพมิ่ เติม ใช้เป็นคู่มือการเรยี นรู้ สามารถบริหารจดั การยาจีนบนพ้ืนฐาน ทฤษฎกี ารแพทย์จีนอยา่ งถูกต้องและมปี ระสิทธิภาพตรงตามเจตนาของ ผศู้ กึ ษา ผู้รวบรวมหวังเปน็ อย่างยิง่ วา่ หนังสอื ยาจนี เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ นำ� มาซงึ่ ความรแู้ ก่ผูอ้ ่านไมม่ ากก็นอ้ ย ด้วยเจตนาทขี่ า้ พเจา้ ผู้เขยี นมคี วาม เกือ้ กูลต่อเพ่อื นมนษุ ย์และมงุ่ ประโยชน์ตอ่ การเผยแพร่ความรเู้ ปน็ กศุ ล เจตนาดี ขา้ พเจา้ ขออทุ ศิ กศุ ลและความดแี ก่ปรมาจารยอ์ กี ทัง้ ผูท้ ีม่ ีส่วน เกี่ยวข้องกบั การแพทยจ์ ีนทกุ ทา่ นมา ณ โอกาสนี้ พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ อโรคยาศาล วดั ปา่ กุดฉนวนอุดมพร

前言 “中药”是古人传给我们的一种宝 贵财富,在他们的思想发展过程当中把 体、神 和全世界连在一起,为了能解 释怎么按照中医理论来使用药材治疗各 种疾病,例如 : 在阴阳学说上也有一 部分提到 “阴平阳秘,精神乃治”, 同时它也可以来说明中医 五脏六腑的 病情,“虚则补之, 实则泄之” 。用 中药来治疗疾病取决于各位医生的智慧 和经验,为了能给医生和对中医感兴趣 的人们一个帮助,编者总结多年中药教 学工作经验的基础上就编出了这一本 书。希望读者们能从这本书获得更好的 知识,为解除家人或社会的疾苦,做出 应有的贡献,同时能得到一份真实的幸福。 主编:黄春子 无疾阁

สารบญั ความหมายของยาสมุนไพร 8 ประเภทของสมุนไพรจีนแหล่งเพาะปลูกสมุนไพรจนี 8 การเก็บสมุนไพร 9 กรรมวิธกี ารเตรียมยาสมนุ ไพรเพื่อการใช้ (เผา้ จือ่ ) 10 สรรพคณุ ยาสมุนไพรจนี 11 คณุ ลักษณะของยา 12 การออกฤทธ์ิของยาสมนุ ไพรจีน 12 คณุ สมบตั ิทั้ง 4 (ฤทธ์ิทง้ั 4) 12 คณุ สมบัติทง้ั 4 กับการประยุกต์ทางคลินกิ 13 รสทั้ง 5 13 รสท้ัง 5 กับการประยุกต์ทางคลนิ ิก 14 คณุ สมบัติ ขึ้น-ลง-ลอย-จม 17 การวิง่ เส้นลมปราณ 18 พษิ ของสมนุ ไพรจนี 18 การหลกี เลี่ยงพษิ ของยาสมนุ ไพร 19 การประกอบยา (การใช้รว่ มกัน) 20 ข้อแนะน�ำทางคลินิก 21 ยาที่ต้องระวังหรือยาต้องหา้ มในหญงิ ตัง้ ครรภ ์ 21 ข้อหา้ มในการประกอบยา 22 อาหารแสลง 23 มาตราช่งั สมุนไพรจนี 24 วธิ ตี ม้ ยาและการรับประทานยา 25 ยาระบายกลุ่มอาการภายนอก (接表药) 30 - ยาขบั ระบายลมเย็น(发散风寒药) 31 หมาหวง(麻黄) 32 กุย้ จอื (桂枝) 34

จื่อซูเย่(紫苏叶) 36 เซียงหรู(香薷) 38 จงิ เจย้ี (荆芥) 40 ฝางเฟงิ (防风) 42 เชียงหวั (羌活) 44 ซ่ีซิน(细辛) 46 ไปจ๋ ื่อ(白芷) 48 ชังเออ๋ จ่อื (苍耳子) 50 ซนิ อีฮ๋ วา(辛夷花) 52 เซงิ เจยี ง (生姜) 54 - ยาขบั ระบายลมรอ้ น(发散风热药) 57 ปอ๋ เหอ(薄荷) 58 หนิวป้างจ่อื (牛旁子) 60 ซางเย(่ 桑叶) 62 จวีฮ๋ วา(菊花) 64 ฉนั ทยุ่ (蝉蜕) 66 ม่านจิงจื่อ(蔓荆子) 68 เกอ๋ เกิน(葛根) 70 ไฉห(ู 柴胡) 72 เซงิ หมา(升麻) 74 กลมุ่ ยาขจัดความรอ้ น(清热药) 76 - ยาขจดั ความร้อนระบายไฟ(清热泻火药) 77 สอื เกา(石膏) 78 จอื หม(ู่ 知母) 80 หลเู กนิ (芦根) 82 เทยี นฮวาเฝ่ิน(天花粉) 84 จือจ่ือ(栀子) 86 ตันจเู๋ ย(่ 淡竹叶) 88

- ยาขจัดความรอ้ นสลายความชื้น(清热找事药) 89 หวงฉนิ (黄芩) 90 หวงเหลยี น(黄连) 92 หวงไป(๋ 黄柏) 94 หลงต่านเฉ่า(龙胆草) 96 ขเู่ ซนิ (苦参) 98 - ยาขจัดความรอ้ นล้างพษิ (清热解毒药) 102 จินอ๋นิ ฮวา(金银花) 104 เหลยี นเชี่ยว(连翘) 106 ตา้ ชงิ เย(่ 大青叶) 108 อวซ๋ี ิงเฉา่ (鱼腥草) 110 ผู่กงอิง(蒲公英) 112 จื่อฮวาต้ีติง(紫花地丁) 114 ถูฝ่ ู่หลงิ (土茯苓) 116 เซอ่ กัน(射干) 118 ไป๋โถวเวงิ (白头翁) 120 ไปฮ๋ วาเสอเสอเฉ่า(白花蛇舌草) 122 ชวนซินเหลียน(穿心莲) 124 - ยาขจดั ความร้อนท�ำให้เลอื ดเย็น(清热凉血药) 127 เซิงต้หี วง(生地黄) 128 เสวียนเซิน(玄参) 130 หมู่ตันผ(ี 牡丹皮) 132 ชือ่ เสา(赤芍) 134 สุย่ หนิวเจ่ียว(水牛角) 136 - ยาขจัดอาการร้อนพร่อง(清虚热药) 138 ชิงเฮา(青蒿) 140 ตก้ี ู่ผ(ี 地骨皮) 142 อนิ๋ ไฉห(ู 银柴胡) 144 หหู วงเหลียน(胡黄连) 146

กลุ่มยาระบาย(泻下药) ตา้ หวง(大黄) 150 ฟานเซ่ยี เย(่ 番泻叶) 152 หลฮู ุย่ (芦荟) 154 หวั่ หมาเหริน(火麻仁) 156 กันสยุ้ (甘遂) 158 ผลงานหนังสอื แผนทีก่ ารเดนิ ทางสู่ อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ บรรณานกุ รม 8 ตำ� ราการเรยี นรยู้ าจนี ด้วยตนเอง 1

ยาจีน中药 ลกั ษณะและความหมายของยาจีน ยาจนี มีลักษณะท่ีโดดเดน่ คือ 1. บริหารจัดการบนทฤษฎีท้ังองคร์ วมและพ้ืนฐานตามหลกั การและ ปรัชญาทางการแพทย์จนี อยา่ งลงตวั 2. ใช้ในด้านการปอ้ งกนั การรกั ษา การตรวจวนิ จิ ฉัยท้งั การส่งเสรมิ การ ดแู ลและการรักษาสขุ ภาพแบบบรู ณาการท้งั ภายในและภายนอก 3. ใชใ้ นการเสรมิ สรา้ งและบำ� รุงร่างกายเพ่อื สขุ ภาพท่ดี ี 4. ตวั ยามกี ารบันทกึ ต้ังแตด่ งั้ เดมิ มปี ระมาณ 3,000 ชนดิ ปัจจบุ นั โดยรวม แล้วมีถงึ 12,800 ชนดิ ส่วนประกอบหลักหรอื ประเภทของยาจีน 1. ไดจ้ ากพชื ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 80 2. ไดจ้ ากสตั ว์ รอ้ ยละ 10 3. ได้จากโลหะ แรธ่ าตุ รอ้ ยละ 10 เนือ่ งจากยาจนี ส่วนใหญ่มาจากพืชจงึ เรยี ก本草( เปิ่น-เฉา่ ) แหลง่ ผลิตเพาะปลกู ยาจีน(中药的产地) เนอื่ งจากยาจีนแต่ละชนดิ เติบโตไดด้ ีในภูมิประเทศและภูมอิ ากาศแตกตา่ งกนั ระยะเวลาการเจริญเติบโตไม่เทา่ กัน คุณภาพและสรรพคุณของยาจึงต่างกันทำ� ให้ ยาจนี ทป่ี ลกู ในพืน้ ท่ีบางแห่งเปน็ ยาจีนทมี่ คี ุณภาพดี มชี ่ือเสยี ง อาทเิ ช่น มณฑลเสฉวน :黄连 (หวง-เหลียน) 川芎(ชวน-ซฺรง) 附子(ฟ่-ู จือ่ ) 贝母(เป้ย-หมู)่ 乌头(อ-ู โถว) มณฑลเจยี งซู : 薄荷(ป๋อ-เหอ) 苍术(ชาง-จู)๋ อโรคยาศาล วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 9

มณฑลกวางตงุ้ : 砂仁(ชา-เหรนิ ) 陈皮(เฉนิ -ผ)ี ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจีน : 人参(เหริน-เซนิ )细辛(ซ-ี่ ซิน) 五味子(อ๋วู ์-เว่ย์-จอื่ ) มณฑลยนู นาน : 茯苓(ฝ่-ู หลิง) 三七(ซาน-ซี) มณฑลเหอหนาน : 地黄(ต้ี-หวง) 牛膝(หนิว-ชี) 山药(ซาน-เย่า) มณฑลซานตงุ : 阿胶(อา-เจยี ว) กาวหนงั ลา มองโกเลยี ใน : 黄芪(หวง-ฉ)ี ชงิ ไห่ : 大黄 (ต้า-หวง) กานซู : 当归 (ตัง-กยุ ) หนิงเชยี่ : 枸杞子 (โกว-ฉี-จ่อื ) การเกบ็ ยาจีน采集 การเก็บยาจนี กับสรรพคุณยา การเกบ็ ยาจนี เกย่ี วขอ้ งและสำ� คัญกบั สรรพคณุ ของยาอย่างไร ? 1. เนอ่ื งจากการเจริญเตบิ โตในระยะท่ีแตกตา่ งกนั ของพืชและภูมิประเทศไม ่ เท่ากันทำ� ให้องคป์ ระกอบส�ำคัญในสมนุ ไพรแต่ละชว่ งอายทุ ต่ี า่ งกัน 2. สว่ นต่างๆของยาจนี จงึ มอี งคป์ ระกอบส�ำคญั ในการออกฤทธแ์ิ ตกต่างกัน ช่วงเวลาท่เี กบ็ ยาจีน 1. ทงั้ ตน้ เกบ็ ขณะที่ใบก่งิ ก้านแตกแขนงเต็มที่ และเรมิ่ มีการออกดอก 2. ใบเกบ็ ขณะทเี่ ร่มิ ออกดอก 3. ดอกเกบ็ ขณะที่ดอกตูมหรือกำ� ลังบาน อย่าใหด้ อกร่วงหล่น 4. เกสรดอกเกบ็ ขณะกลบี ดอกบานเต็มท่หี รือเกบ็ ในขณะท่ีกำ� ลงั ดอกตมู 5. ผลสกุ เมลด็ เกบ็ เมื่อผลไม้สกุ ขณะทยี่ งั ไม่ร่วงหล่น 6. ราก เหงา้ เกบ็ เมอ่ื ปลายฤดใู บไม้ร่วง(สงิ หาคม)หรือต้นฤดูใบไมผ้ ล ิ (กุมภาพันธ์)เนื่องจากฤดใู บไมร้ ่วงจะไมม่ ีใบ สารจ�ำเป็นตา่ งๆ จะไม่สง่ ไป ท่ใี บจงึ เก็บส่วนรากเช่นเดียวกบั ต้นฤดูใบไมผ้ ลิ 7. เปลือกตน้ ไม้ เปลอื กรากไม้ เก็บในฤดูใบไมผ้ ลิและฤดูร้อน (ชว่ งท่พี ืช ก�ำลงั เจริญเตบิ โตเต็มท)่ี จะไดส้ ารจ�ำเป็นกักเกบ็ อยู่มาก 10 ต�ำราการเรยี นรยู้ าจีนด้วยตนเอง 1

กรรมวธิ ีการเตรียมยาจนี เพื่อการใช้ (เผา้ จื่อ)中药的炮制 จดุ ม่งุ หมายของการเผ้าจื่อ 炮制的目的 1. เตรยี มยาลา้ งท�ำความสะอาด เพือ่ ใหไ้ ด้มาตรฐานท้งั เชงิ ปรมิ าณและ คุณภาพ เพ่ือแยกแยะส่ิงปนเป้อื นและคดั คุณภาพยา 2. ท�ำให้เปน็ แผน่ และช้ิน เพ่ือความสะดวกและง่ายในการใช้ 3. ทำ� ใหแ้ หง้ งา่ ยต่อการเกบ็ รกั ษา 4. ปรับปรุงรสชาติ กล่นิ ให้ง่ายตอ่ การบริโภค 5. ลดพษิ ของยา ทำ� ใหป้ ลอดภัยในการนำ� มาใช้ 6. ช่วยเพมิ่ ประสิทธิภาพของยา ท�ำใหก้ ารรักษาได้ผลดีย่งิ ขน้ึ 7. เปลี่ยนสรรพคณุ ของยา เพือ่ ใหใ้ ช้ไดก้ วา้ งขวางขนึ้ ปรับเปล่ียนและเพ่มิ ฤทธิ์ของยาทำ� ให้มสี รรพคณุ สูงขึ้น 8. เพอื่ ให้ยาเขา้ ไปยังเป้าหมายท่แี น่นอนตามความต้องการในการรกั ษา วธิ ีการเตรียมยา(เผ้าจอ่ื )炮制的方法 1. การทำ� ความสะอาดและห่นั เป็นชิน้ 修制 2. กระบวนการเตรยี มยาโดยใช้น�ำ้ 水制 2.1 การล้าง ท�ำความสะอาด 洗 2.2 ทำ� ใหน้ ิ่ม 润 2.3 แช่ 漂 ท�ำลายกลนิ่ ละลายสารพิษและสารตกค้างอน่ื ๆ 2.4 การฝน水飞ทำ� ให้เปน็ ผงโดยใช้น้�ำเปน็ ตัวกลางในการจัดการยาเพ่ือน�ำมาใช้ 3. กระบวนการเตรียมยาโดยใชไ้ ฟ火制 3.1 การผัด沙 3.1.1 การผัดเด่ียวๆ清沙แบ่งเป็น - ผัดให้เหลือง沙黄(ผิวออกเหลือง) ลดคณุ สมบตั ิเย็นของยา - ผดั ใหเ้ กรยี มหรอื ผวิ น้ำ� ตาล沙焦 (เนอ้ื เหลือง) เพื่อเสริมระบบย่อย อาหารและขับของเสีย - ผัดให้เปน็ เถา้ ถา่ น沙炭(เนอื้ ดำ� ) เพอ่ื ช่วยหยุดเลือดและการดดู ซมึ 3.1.2 การผดั กับสารหรอื วัตถอุ น่ื 辅科药 เชน่ การผดั กบั ขา้ วสาร ดนิ เปน็ ตน้ เพ่ือลดความเป็นพษิ และเพิม่ สรรพคุณของตวั ยา อโรคยาศาล วดั ป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภูมิ 11

3.2 การผดั กบั สารของเหลว灸เพื่อเปล่ียนคุณสมบัติการออกฤทธขิ์ องยา เช่น ผัดกับเหลา้ ผดั กับนำ้� ผง้ึ ผัดกบั น้ำ� ส้มสายชู ผัดกบั น้ำ� ขงิ ผดั กบั น้�ำเกลือ เปน็ ตน้ 3.2.1 การผัดกับน�้ำผ้ึง密灸ชว่ ยแกไ้ อทำ� ให้ปอดชุ่มชืน้ บ�ำรุงพลัง ลดพษิ ข้างเคยี งของยา บ�ำรุงส่วนกลางของรา่ งกาย 3.2.2 การผดั กับเหล้า 酒灸 ช่วยเสรมิ ฤทธิ์ในการไหลเวยี นเลือด 3.2.3 ผดั กบั น�ำ้ สม้ สายชู 醋灸 ชว่ ยระบายพลังที่ทำ� ใหต้ ับตดิ ขดั และ ระงับอาการปวด 3.2.4 การผดั กบั น้ำ� เกลอื 盐灸และเสรมิ ฤทธิบ์ �ำรงุ ไต บ�ำรุงหยินลดหยาง 3.2.5 การผัดกบั น้�ำขงิ 姜灸ช่วยควบคุมไมใ่ ห้ยาเยน็ จนเกินไปและลด ผลข้างเคยี งของยาช่วยหยุดการอาเจยี นและแกป้ วด 3.3 การเผากับไฟโดยตรงโดยอ้อม煅จดุ มุง่ หมายเพอื่ ท�ำให้บริสทุ ธ์แิ ละทำ� ให้ เปราะงา่ ยหรอื เพิม่ ฤทธิย์ าใหส้ งู ข้นึ 3.4 การห่อและน�ำไฟหมกไฟ 煨 ควรใชก้ ระดาษเปียกหรือแปง้ หอ่ หมุ้ ยาและใส่ไปใน เตาถา่ นเมือ่ ดา้ นนอกเรม่ิ ไหม้ด�ำเป็นอันใช้ได้ จุดม่งุ หมายเพอื่ ใช้ขจัดน้ำ� มนั หรือสาร ระคายเคอื งหรือท�ำลายพษิ ท่ีไมพ่ ึงประสงคก์ ่อนน�ำมาใช้ 4. กระบวนการเตรียมยาโดยใชไ้ ฟและนำ�้ รว่ มกัน水火共制 4.1 การนง่ึ (อบไอน�ำ้ )蒸 4.2 การต้ม煮ใช้สมุนไพรใส่ในนำ�้ หรือของเหลวที่ร้อนเพื่อทำ� ความสะอาด 4.3 การลวก นำ� สมุนไพรไปใส่ในน้ำ� เดอื ดคนให้ทัว่ แล้วลา้ งออก 4.4 การกล่ันซึ่งเป็นการจัดการยาใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ ในรูปแบบไอนำ�้ เพื่อให้ไดย้ าท ่ี มฤี ทธ์แิ รงมุ่งตรงต่อการรักษาโรคที่ให้ผลการรักษาท่ีเร็วข้นึ สรรพคุณยาสมุนไพรจีน(中药的性能) ทฤษฎีแพทยจ์ ีนกล่าววา่ การเกิดโรคใดๆ เปน็ ผลของการตอ่ ส้รู ะหวา่ งเสยี ชี่ และเจ้ิงชี่ (สิง่ ก่อโรคกบั พลังชีวิตพน้ื ฐานของร่างกาย) ในกระบวนการตอ่ ส้กู นั ทำ� ให้ เกดิ ผลกระทบต่อหยิน-หยาง เลือดและพลงั ในลกั ษณะที่มากไปหรอื พรอ่ งลง ทำ� ให้เกดิ ผลกระทบต่อการท�ำงานของอวยั วะภายใน 脏腑 ซึง่ เสียสมดุลตามธรรมชาติ 12 ต�ำราการเรยี นรู้ยาจนี ด้วยตนเอง 1

บทบาทของยาสมนุ ไพรจีน จงึ ครอบคลมุ สรรพคณุ ในขอบเขตของการรักษาเสริม พลงั พืน้ ฐานในร่างกายและการขจดั ปจั จัยกอ่ ให้เกิดโรค 扶正祛邪 เพอื่ บรรลุ จุดมุ่งหมายและมุง่ ตรงเขา้ ไปสู่การท�ำลายเสียชี่ฟืน้ ฟูและปรับสมดุลการทำ� งานของ รา่ งกายเพอื่ ใหเ้ ขา้ สสู่ ภาวะปกติ คณุ ลกั ษณะของยา药性 เน่ืองจากคุณลักษณะของยาเก่ียวขอ้ งกบั สรรพคุณของการรกั ษาโรคเกี่ยว กับยา เน้อื หาจงึ ครอบคลมุ ประเดน็ ตา่ งๆ ดังนี้ 1. คุณสมบัตทิ ง้ั 4 (ฤทธทิ์ ้งั 4) 四气 2. รสท้งั 5 五味 3. คุณสมบตั ิการมุ่งตรงของฤทธ์ยิ า ได้แก่ ข้ึนบน – ลงลา่ ง-ลอย-จม 升-降-浮-沉 4. การวิ่งเส้นลมปราณ (ไปอวยั วะเป้าหมาย) 归经 5. 毒性 หมายถงึ มพี ษิ -ไมม่ ีพษิ ความเป็นพิษ คณุ ลกั ษณะทง้ั หมดนีจ้ ะถูกน�ำไปประสานกบั หลกั พื้นฐานของการแพทย์จีน ทฤษฎี หยนิ หยาง ทฤษฎอี วัยวะจั้งฝู่ ทฤษฎีเสน้ ลมปราณ ฯลฯ เพ่ือประยุกตใ์ ช้ทางคลนิ กิ การออกฤทธ์ิของยาสมนุ ไพรจนี 中药的性能 13 1.การออกฤทธ์ิในการรักษาโรค 2.การออกฤทธ์ทิ ไ่ี ม่พงึ ประสงค์ คอื เกิดพษิ และไมเ่ กิดพษิ คุณสมบตั ทิ งั้ 4 (ฤทธิ์ทั้ง4)四气 ซอื่ ชี่ 四气 บางคร้ังเรยี กว่า ซอื่ ซิง่ 四性เป็นตวั บง่ บอกคณุ สมบัติ หยิน-หยาง หรือฤทธใ์ิ นทางรอ้ น-เย็นของตวั ยาสมนุ ไพร ตัวยาทีม่ ีคุณสมบตั ิหยางคอื รอ้ น 热 อุ่น 温 ตัวยาทม่ี ีคุณสมบัตหิ ยนิ คือเยน็ 寒ค่อนเยน็ 凉 นอกจากนยี้ งั มีคณุ สมบตั ิฤทธ์ิกลางๆ เรยี กว่า 平性(ผงิ -ซงิ่ ) เชน่ 党参(ตา่ ง-เซนิ ) 山药(ซาน-เยา่ )甘草(กนั -เฉา่ ) อย่างไรกต็ ามยาเหล่าน้ีถา้ นำ� มาเตรยี มเพอื่ ใชใ้ น การรักษาจะเปลยี่ นแปลงคณุ สมบัตไิ ด้ เชน่ กนั -เฉ่า ถ้าน�ำมาใช้สดๆจะมฤี ทธ์คิ อ่ น ข้างเยน็ และถา้ นำ� ไปผัดกับน�ำ้ ผึง้ จะมฤี ทธ์ิค่อนข้างไปทางอุน่ ดังนน้ั ฤทธ์ยิ ากลาง ๆ จึง ข้นึ กบั การปรบั สภาพของยาในการใชจ้ รงิ ในสมยั โบราณจึงไมไ่ ด้จัดคุณสมบัตขิ องยา เป็น 5 แบบ แต่จัดคณุ สมบตั ิไว้เพียง 4 แบบเทา่ นนั้ อโรคยาศาล วดั ปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภมู ิ

คุณสมบัติทงั้ 4 กับการประยุกตใ์ ช้ทางคลนิ กิ ยาคณุ สมบัตเิ ย็น-ค่อนเย็น 寒凉性药 สรรพคณุ ขับร้อนระบายไฟท�ำให้เลอื ดเย็นขบั พษิ เสริมหยินและขจดั ความแห้ง ขับร้อนขบั อุจจาระ ขบั ร้อนขับปสั สาวะ ขับละลายเสมหะรอ้ น ระบายหวั ใจเปดิ ทวาร ระบายความรอ้ นของตับสงบลม เป็นตน้ ทางคลินกิ รกั ษารอ้ นแกรง่ กระหายน�้ำ ไข้ผน่ื รอ้ น เลือดรอ้ นท�ำให้ อาเจยี นเปน็ เลือด พษิ ร้อนทำ� ให้เกดิ แผล ท้องผูกจากความร้อน ดีซ่านจากรอ้ นชื้น บวมน�ำ้ จากร้อนชืน้ ไขส้ งู หมดสติไอหอบจากเสมหะร้อน ยาสรรพคุณร้อน-อนุ่ 热温性药 สรรพคุณ อุน่ ภายในกระจายความเยน็ อุ่นตบั กระจายรอ้ น บ�ำรงุ ไฟเพม่ิ หยาง อุ่นหยางเพื่อขบั น้�ำ อ่นุ เสน้ ลมปราณ ชว่ ยการไหลเวยี น น�ำไฟกลบั สตู่ น้ กำ� เนิด 引火归原 ดึงหยางกบั มาเพื่อฟนื้ อาการหมดสติ 回阳救逆 ทางคลินกิ รกั ษาอาการปวดท้องจากกระทบความเย็น ปวดไส้เลอ่ื นจาก ความเยน็ โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ มดลกู เยน็ ไมต่ งั้ ครรภ์ ลมเย็นทำ� ใหป้ วด เลอื ดเย็นประจำ� เดอื นไม่มา ช็อคจากหยางนอ้ ยหรอื พลงั หมด รสทั้ง 5 五味 มคี วามหมายทางการแทพทย์จนี 2 ประการ 1. รสชาตทิ ส่ี มั ผสั รับรู้ ไดแ้ ก่ รสเปรี้ยว ขม หวาน เผ็ด เค็ม 2. ความส�ำคญั ทางคลินิก 2.1 รสของสมุนไพรธรรมชาติมมี ากกว่า 5 ชนิด เชน่ รสจดื รสฝาด เปน็ ต้น แต่รสท้งั 5 เป็นพ้ืนฐานท่ีส�ำคญั ของสมนุ ไพร (รสฝาดจัดอยู่ในรสเปรีย้ ว รสจืด จดั อยูใ่ นรสหวาน) 2.2 ยาสมุนไพรบางตัว ไม่มรี สเหมือนทช่ี มิ สมั ผัสดว้ ยลิ้น แตฤ่ ทธ์ิ สรรพคณุ ทางยาเป็นเหมอื นรสธรรมชาติตามหลกั ทฤษฎี ก็จดั ไว้เป็นคุณสมบตั ทิ างยา นนั้ เปน็ ไปตามหลักทฤษฏี 14 ตำ� ราการเรียนรูย้ าจนี ด้วยตนเอง 1

รสทัง้ 5 กับการประยุกตท์ างคลนิ กิ รสผด็ และประโยชนท์ างการรักษา 1. กระจาย发散 ใชก้ ับโรคทอ่ี ยู่ระดบั ผวิ ภายนอก เชน่ ขบั ลมรอ้ นหรือขบั ลมเยน็ ท่กี ระทบจากปจั จยั ภายนอก 2. เคลอื่ นพลัง 行乞 ใชก้ ับภาวะพลงั อุดกั้นแน่นอึดอัด 3. ผลักดนั เลือด 行血 ใชก้ บั ภาวะเลอื ดอดุ กนั้ ฤทธ์ทิ ี่ไม่พงึ ประสงค์ ถา้ ใชม้ ากท�ำลายพลงั ท�ำลายหยิน คนทพี่ ลงั และหยนิ พรอ่ งต้องระมัดระวังในการใช้ รสหวานและประโยชนท์ างการรักษา 1. บ�ำรุง补益 กรณีพลงั พรอ่ ง 2. ปรบั คณุ สมบัติของยา调和เชน่ ชะเอมเทศ甘草(กนั -เฉา่ ) ปรบั สมาน ยาเข้าดว้ ยกนั มฤี ทธแิ์ ละแก้พิษของยา 3. ปรับสว่ นกลาง 和中 ปวดแนน่ ทอ้ ง เป็นตะคริว 4. แก้ปวด แก้เกร็ง 缓急止痛 เชน่ ท้อง แขนขา เป็นตะครวิ ฤทธ์ิท่ีไมพ่ งึ ประสงค์ ส่วนมากจะมีลกั ษณะเหนียวหนดื ขดั ขวางการท�ำงานของกระเพราะอาหาร ทำ� ให้แน่น มีความช้นื ตกค้าง อาหารตกค้างไมย่ อ่ ย พลังติดขดั แน่นอดึ อดั รสเปรี้ยวและประโยชนท์ างการรักษา 1. พยุงดึงรงั้ 收敛固涩 2. ระงบั เหง่อื 止汗 3. ระงบั ไอ 止咳 4. ระงับอาการทอ้ งเสยี 止泻 5. ดึงร้งั น้ำ� กามเคลอ่ื น 固精 ดงึ ร้ังปสั สาวะ 缩尿 6. หยุดตกขาว 止带 หยดุ ประจ�ำเดอื นมามากผดิ ปกติ 固崩 อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ 15

ฤทธิ์ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ การดงึ รงั้ ทำ� ให้เกิดปัจจยั ก่อโรค邪气(เสียช่ี)อยภู่ ายในรา่ งกาย ไมส่ ามารถขบั ออกจากรา่ งกาย รสขมและประโยชน์ทางการรกั ษา 1. ชว่ ยขบั ระบาย 能泄 - ขบั ไฟร้อน เช่น 黄芩 (หวง-ฉิน) 栀子(จอื -จอ่ื ) - ขับพลงั ลงลา่ ง เช่น 杏仁 (ซิง่ -เหริน) - ขับอจุ จาระ เช่น大黄 (ต้า-หวง) 枳实(จื่อ-สือ) 2. ชว่ ยท�ำให้แห้ง (สลายชื้น) รกั ษากลุ่มอาการรอ้ นช้นื เชน่ 龙胆草(หลง- ตา่ น-เฉา่ ) 黄连(หวง-เหลยี น) 3. รักษาหยินพรอ่ งท�ำใหเ้ กิดไฟ 阴虚火旺 เช่น 知母 (จือ-หมู)่ 黄柏(หวง-ไป๋) ฤทธไ์ิ ม่พึงประสงค์ ถ้าใช้มากจะทำ� ลายสารจิงเย่ 津液(ของเหลวในร่างกาย) ท�ำลายกระเพราะ อาหาร คนท่มี คี วามแหง้ จากยินพร่องหรือโรคกระเพราอาหารออ่ นแอ ไม่ควรใช้ ปริมาณมาก รสเคม็ และประโยชนท์ างการรักษา 1. ชว่ ยทำ� ให้ถา่ ยและระบาย 泄下通便 อจุ จาระท่ีแขง็ และแห้ง เชน่ 芒硝(หมาง-เซยี ว=ดเี กลอื ) 2. ทำ� ใหน้ ่มิ 软坚สลายการเกาะตัวเปน็ กอ้ น散结ตอ่ มนำ้� เหลืองโต ไทรอยด์ กอ้ นเนื้อตา่ งๆ เช่น 海藻(ไห่-เจ่า) ฤทธท์ิ ไี่ มพ่ งึ ประสงค์ 1. ไม่ควรรบั ประทานมากโดยเฉพาะในคนทมี่ ีความดันเลือดสงู หรือหลอดเลือด แดงแข็งตวั 2. รสเค็มบางอย่างทำ� ลายกระเพราะอาหารและม้ามเช่น芒硝(หมาง-เซียว = ดเี กลือ) คนทมี่ า้ มพรอ่ ง ท้องเสยี ไม่ควรใช้ 16 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1

รสจืดและประโยชนท์ างการรกั ษา ชว่ ยขบั ชน้ื ขบั ปัสสาวะ渗湿利小便 เช่น บวมน้ำ� ปสั สาวะขัด เช่น ลกู เดอื ย 薏苡仁 (อว่ี -์ อี-้ เหรนิ ) ฤทธท์ิ ไ่ี ม่พึงประสงค์ ถา้ ใชม้ ากทำ� ลายสารน้�ำ คนทยี่ นิ พรอ่ งหรอื ของเหลวในร่างกายถกู ทำ� ลาย (แห้ง) ไม่ควรใช้ รสฝาดและประโยชนท์ างการรักษา จะพยุง-ดึงรงั้ 收敛固本 เชน่ เหง่ือออก ทอ้ งเสีย ปสั สาวะบอ่ ย นำ�้ กาม เคล่อื น เลือดออกเช่น 莲子 (เหลียน-จอ่ื =เมลด็ บัว) ฤทธ์ทิ ไ่ี ม่พงึ ประสงค์ ถา้ ใชม้ ากจะทำ� ให้เสยี ช่ี (ปจั จัยกอ่ โรค) จะตกคา้ งอยภู่ ายในรา่ งกายตอ้ ง ระมัดระวงั ในการใช้ กรณีทเ่ี สยี ช่ยี ังไม่ถกู ขจัด หมายเหตุ 1. รสฝาดจัดอยูใ่ นรสเปรยี้ ว 2. รสจืดจดั อยใู่ นรสหวาน 3. สมนุ ไพรทกุ ตัวตอ้ งพิจารณาคณุ สมบัติควบคู่กับรสชาติ ถ้าคณุ สมบัติและรสชาตเิ หมอื นกนั สรรพคณุ ยาจะเหมือนกัน ตวั อยา่ ง黄连 (หวง-เหลียน) กับ黄芩(หวง-ฉิน) ขับพิษรอ้ น 4. คุณสมบัตติ ่างกัน รสชาติตา่ งกนั สรรพคณุ ทางการรักษาจะต่างกันตวั อย่าง 黄连(หวง-เหลยี น) คณุ สมบัติเย็น รสขม ขบั พษิ รอ้ น ขับชื้น ขิงแหง้ 干姜 (กนั -เจียง) คณุ สมบตั ริ อ้ น รสเผ็ด อนุ่ สว่ นกลาง กระจายเย็น 5. คณุ สมบตั ิเหมอื นกัน รสชาติตา่ งกัน สรรพคุณทางการรกั ษาจะต่างกัน ตัวอยา่ ง 黄连 (หวง-เหลียน) คณุ สมบตั ิเย็น รสหวาน ขบั พิษรอ้ น ขับช้ืน 生地黄 (เซงิ -ตี้-หวง) คุณสมบตั ิเยน็ รสหวาน ขบั รอ้ น ทำ� ใหช้ มุ่ ชน้ื 6. คณุ สมบตั ติ า่ งกนั รสชาติเหมือนกัน สรรพคณุ ทางการรกั ษา จะต่างกัน ตวั อย่าง ขิงสด 生姜(เซิง-เจยี ง) คุณสมบัติร้อน รสเผด็ ขับลมเยน็ ขบั เหงอ่ื 薄荷 (ปอ๋ -เหอ) คณุ สมบตั ิเยน็ รสเผด็ ขับลมร้อน ขับเหง่ือ อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 17

คณุ สมบัตขิ ้นึ -ลง-ลอย-จม 升-降-浮-沉 หมายถงึ กลไกพลัง เปน็ ทิศทางการเคลอ่ื นทขี่ องยาสมุนไพรเขา้ สู่ภายใน 1. โรคมที ้งั อยู่ท่รี ะดบั ผวิ และระดบั ลึก มีทงั้ อาการท่ีขึ้นด้านบน หรอื อาการที่ดึงลงล่าง 2. การใชส้ มนุ ไพรจีน จงึ ต้องเข้าใจ ใช้หลกั การปรับกลไกพลังของร่างกายใหเ้ กิดสมดลุ 3. ยาทม่ี ีคุณสมบตั กิ ลไกขน้ึ บน (ลอย) และกระจายออกนอก มีคุณสมบัตเิ ป็นหยาง ได้แก่ ยาขับเหงือ่ ขบั ลม กระทงุ้ พษิ ยากระจายเยน็ ยาเปดิ ทวาร ยากระจายการอดุ กน้ั ยาสลายเลือด สลายกอ้ น ยาทะลวงเส้นลมปราณ เป็นต้น 4. ยาที่มคี ณุ สมบัติกลไกจมและลงล่างและเขา้ ดา้ นในมคี ุณสมบตั เิ ปน็ หยนิ ตัวอย่างยาในกลมุ่ น้ี ได้แก่ ยาขบั พษิ ขับรอ้ น ขบั ระบาย ขับนำ้� ยาระงับเกร็ง ควบคมุ หยางของตบั แกอ้ าเจยี น หยุดเลอื ด ดึงเหงอ่ื แก้ไอ แก้ทอ้ งเสยี 5. ตวั อย่างยา -“ขึ้นบน” 黄芪(หวง-ฉี)+升麻(เซิง-หมา)+柴胡(ไฉ-ห)ู แกม้ ดลูก หยอ่ นกระเพราะอาหารหย่อนยาน ท้องเสยี เรือ้ รัง -“ลงลา่ ง” 代赭石(ต้าย-เจอ่ -สอื )沉香(เฉิน-เซยี ง)石决明 (สอื -เจวย๊ี -หมิง) ดงึ ไฟลงล่าง ดึงหยางของตบั ลงล่าง ดงึ พลงั กระเพราอาหารท่ีหย่อน ขึ้นบนกบั ลงข้างล่าง ใชใ้ นโรคความดนั เลอื ดสูง แผลร้อนในเหงือกบวม เวียนศรษี ะ หอบหดื -“ลอย” มกั ใช้กับโรคทอ่ี ยดู่ ้านนอกและด้านใน 麻黄(หมา-หวง) 紫苏 (จอื่ -ซู)防风(ฝาง-เฟงิ ) 羌活 (เชยี ง-หัว) เชน่ หวดั ลมร้อน หวดั ลมเยน็ -“จม” ใชก้ ับโรคทอี่ ย่ใู นสว่ นลา่ ง 大黄(ตา้ -หวง) 木通(มู่-ทง) ใชท้ ำ� ให้ ถา่ ยอุจจาระ ขบั ปัสสาวะ หมายเหตุ 1. รสเผด็ หวานคณุ สมบัติอนุ่ มักจะมคี ณุ สมบตั ิขึน้ และลอย 2. รสเค็ม ขม เปร้ียว คณุ สมบัตเิ ยน็ มักจะลงล่างและจม 3. ส่วนของดอก ใบ กิง่ เปลอื ก มักจะเบา คุณสมบัตจิ ึงคอ่ ยไปทางลอยและขึ้นบน 4. ส่วนของเมล็ด ผลของสมนุ ไพร แร่ธาตุ เปลือกหอย มกั จะหนัก คุณสมบัติจงึ คอ่ นไปทางจมและลงล่าง 5. มขี ้อยกเวน้ จากกฎเกณฑ์เหลา่ นใี้ นทางปฎิบตั ิ 川朴(ชวน-ผอ) รสเผ็ด ดงึ ลง แกห้ อบหดื 18 ต�ำราการเรยี นรยู้ าจนี ดว้ ยตนเอง 1

旋覆花 (เสวยี น-ฟ่-ู ฮวา) เป็นดอก แตด่ ึงลงล่าง 川芎 (ชวน-ซรฺ ง) ท้ังขนึ้ บนลงลา่ งได้ 6. การผัดกบั เหลา้ ทำ� ใหย้ าขน้ึ บนได้มากขน้ึ การผัดกับเกลือหรือผัดกบั น�ำ้ ส้มสายชูท�ำใหย้ าลงลา่ งได้มากข้ึน การวงิ่ เสน้ ลมปราณ归经(กยุ -จงิ ) คณุ สมบัตขิ องยาทส่ี ามารถออกฤทธติ์ ่อส่วนใดสว่ นหน่งึ หรอื อวัยวะจ้งั ฝทู่ ี่เฉพาะ ตามหลักทฤษฏีจงั้ ฝู่และเส้นลมปราณ หรอื อีกนยั หน่งึ \"กยุ -จิง” จะบง่ บอกสรรพคณุ ของยาสมุนไพรทีม่ ีเป้าหมายต่ออวัยวะ หรอื ส่วนของร่างกายทแ่ี น่นอน ตัวอยา่ งยาทีว่ งิ่ เส้นลมปราณเดียวกันและมีสรรพคุณทางยาคล้ายกนั เชน่ 嘛黄(หมา-หวง) 杏仁(ซงิ่ -เหริน) ว่ิงเส้นปอด รกั ษาการไอหอบหืด 青皮(ชิง-ผ)ี 香附(เซยี ง-ฟ)ู่ วิ่งเส้นตับ รักษาโรคของเต้านม แนน่ ชายโครง ไสเ้ ล่อื น ยาทว่ี งิ่ เส้นลมปราณเหมือนกันและมีสรรพคุณทางยาต่างกัน ตัวอยา่ ง เชน่ 羌活(เชียง-หัว) เผ็ด อุ่น กับ 泽泻(เจอ๋ -เซ่ยี ) เยน็ จดื วิ่งเสน้ ลมปราณ กระเพราะปสั สาวะเหมือนกนั แต่ 羌活 (เชยี ง-หวั ) มสี รรพคุณแก้ปวด ขับลมเยน็ ส่วนบน หลังด้านบน 泽泻(เจอ๋ -เซย่ี ) มสี รรพคณุ ขับปสั สาวะ ขับชนื้ พิษของสมุนไพรจีน 中药“毒” 1. ตวั สมุนไพรทมี่ ีผลร้ายต่อร่างกายเรยี กว่า \"สมนุ ไพรมีพิษ\" พิษรนุ แรง อาจถงึ แกช่ วี ิต พิษทีไ่ มร่ ุนแรงท�ำความเสยี หายแก่ร่างกาย 2. ขนาดสมนุ ไพรท่ีเป็นยาในการรกั ษา ขนาดยาท่ีทำ� ให้เกดิ พิษใกลเ้ คียงกับขนาดในการรักษาโรคเรียกว่าไมม่ ี ความปลอดภัยในการใช้ ถา้ ขนาดแตกตา่ งกันมาก ถอื วา่ มคี วามปลอดภัย ในการใช้ (แตไ่ ม่ใชว่ า่ จะปลอดภัยในทกุ กรณี) อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ 19

การหลกี เลยี่ งพิษของยาสมุนไพร 1. เขม้ งวดกระบวนการเตรยี มยา 炮制(เผ้า-จอื่ ) การเผ้าจื่อ มีการตรยี มยาเพือ่ ลดพษิ ของยา ตัวอย่าง 巴豆(ปา-โตว้ )สลอด 附子(ฟ-ู่ จือ่ )โหราเดือยไก่ 2. เข้มงวดขนาดหรอื ปรมิ าณยาท่ใี ช้ ระยะเวลาทีใ่ ช้ 2.1 ควรเร่มิ ใช้ในปรมิ าณท่ีนอ้ ย 2.2 ระมัดระวงั การใช้ระยะเวลานาน 3. เขม้ งวดเทคนคิ ในการใชย้ า 3.1 บางชนดิ ใช้ได้เฉพาะภายนอก เช่น 升药(เซิง-เยา่ ) 3.2 บางชนิดใชเ้ ปน็ ยาลูกกลอน เชน่ 蟾酥(ฉนั -ซู) 3.3 บางชนดิ ผสมกับเหล้า พิษจะรุนแรงขนึ้ ชน่ 川乌(ชวน-อู) 3.4 บางชนดิ ใชก้ บั ตวั ยาอ่นื ช่วยลดพษิ เช่น 附子(ฟู่-จื่อ) กับขิงแห้ง 干姜(กัน-เจยี ง) 4. การใช้ยาใหถ้ ูกกบั อาการและสภาวะของโรค โบราณกลา่ วว่า \"ยาที่ไม่มพี ษิ ก็สามารถก่อใหเ้ กิดโทษได”้ 所谓无毒,亦可伤人。 “ยากับโรคสอดคลอ้ ง –ตา้ หวง大黄(ยาระบาย) ก็สามารถบ�ำรุงร่างกายได”้ 药 证相符,大黄也补。ยากบั โรคไมส่ อดคล้อง โสมและเขากวางอ่อนก็คอื พษิ 药不对症,参茸亦毒。 5. ต้องรูว้ ่ายาบางชนดิ ใชร้ ่วมกันจะเกดิ พษิ ควรหลีกเล่ียงการใชเ้ ช่น 5.1乌头(อู-โถว) เสริมพษิ 半夏(ปัน้ -เซย่ี ), 瓜蒌(กวา-โหลว) 5.2 藜芦(หล-ี หลู) เสริมพษิ 细亲(ซ่ี-ซิน) 芍药(เสา-เยา่ ) 人参(เหริน-เซนิ ) 党参(ต่ัง-เซิน) 玄参(เสวียน-เซิน) 沙参(ซา-เซนิ ) 5.3甘草(กัน-เฉ่า) กับ 海藻(ไห-่ เจ่า) 大戟(ต้า-จ๋)ี 甘遂(กัน-สยุ้ ) 芫花(หยวน-ฮวา) 6. ยาพษิ 毒药 บางครง้ั ใชร้ กั ษาโรคที่รา้ ยแรง โรคทเี่ ปน็ พษิ ได้ โบราณกลา่ ววา่ “ใช้พษิ ท�ำลายพษิ ”以毒攻毒หนามยอกเอาหนามบง่ เชน่ 雄黄(เสวี่ยง-หวง) 砒霜(พี-ซวง) สารหนู 水银(สุ่ย-หยิน) ปรอท ใช้กรณแี ผลเรอื้ รัง กอ้ เน้ือร้าย มะเร็ง โรคเร้ืองรงั ตา่ งๆ อันเกดิ จากพษิ ไฟ เปน็ ต้น 20 ตำ� ราการเรยี นรยู้ าจีนด้วยตนเอง 1

การประกอบยา (การใชย้ าร่วมกนั )中药的配伍 การน�ำเอาสนุมไพรมากกวา่ 2 ชนดิ มาประกอบกันเปน็ ยาเพ่ือการรักษาทางคลินิก ให้ได้ผลทางยาตามความต้องการ จดุ มุง่ หมายในการน�ำยามาประกอบกันหลายชนิด 1. เพอ่ื รักษาภาวะทซ่ี บั ซ้อน ซ่งึ ไมส่ ามารถใช้ยาเดยี่ วๆ ตัวใดตัวหนง่ึ ได้ 2. เพอื่ เพิม่ สรรพคุณในการรกั ษาโรคเพม่ิ ขึ้น 3. เพือ่ ลดภาวะไมพ่ งึ ประสงค์และผลข้างเคยี งของยา 4.เพอ่ื ท�ำลายพิษของยาบางตวั เมอื่ น�ำยาตง้ั แต่ 2 ชนดิ มาประกอบกนั จะเกดิ สถานการณ์หรือสภาพทง้ั 7 (七情) ของการเกดิ คณุ สมบัติทางยาใหม่ 1. ยาตัวเดยี่ ว 单行 ฤทธขิ์ องยาเกดิ ผลตามตัวยาเดี่ยวท่ใี ช้ 2. เสรมิ ฤทธิ์ 相须 ตวั ยาทใ่ี ช้มคี ณุ สมบตั ิและผลการรักษาใกลเ้ คยี งกนั มาใชร้ ว่ มกัน เชน่ - 红花 (หง-ฮวา) กบั 桃仁(เถา-เหริน) - 麻黄(หมา-หวง) กบั 桂枝(กยุ้ -จอื ) - 石膏(สอื -เกา)กบั 知母(จือ-หม่)ู 3. ชว่ ยฤทธ์ิ ยาที่ใช้มคี ณุ สมบตั กิ ารรักษาไม่เหมือน ตัวยาหลกั โดยตรงแต่เมอื่ รวม กันจะไปช่วยออกฤทธิ์มผี ลทางอ้อม เชน่ - 黄芪 (หวง- ฉ)ี กบั 防己(ฝาง-จ)๋ี - บำ� รุงพลงั +ขับน้ำ� - 黄芩(หวง-ฉนิ ) กบั 大黄(ต้า-หวง) - ขบั ร้อน ขบั ไฟ + ทำ� ให้ถา่ ย 4. ถูกท�ำลายพษิ 相使 ตัวยาท่ีใช้มีคุณสมบตั ใิ นการถูกทำ� ลายหรือดดู ลดพิษ และถกู ลดผลขา้ งเคยี งโดยยาตัวอ่นื เช่น 半夏(ป้นั -เซย่ี ) และ 天南星(เทยี น – หนาน-ซิง) ถูกทำ� ลายพิษโดยขงิ สด 生姜 (เซิง-เจยี ง) 5. ทำ� ลายพิษ 相杀 ตัวยาท่ีใชม้ คี ณุ สมบตั ใิ นการทำ� ลายหรอื ลดพิษและลดผล ขา้ งเคียงของยาตัวอ่นื เชน่ - ขิงสด 生姜(เซิง-เจยี ง) ท�ำลายพิษ ของ半夏(ปน้ั -เซ่ีย) และ天南星(เทยี น – หนาน-ซงิ ) 6. ลดสรรพคุณยา 相恶 ยาท่ใี ชม้ ีคณุ สมบัตไิ ปท�ำลายหรือลดสรรพคุณของยา ตวั อ่ืน เช่น เมล็ดผกั กาด 莱菔子(ไหล-ฝ-ู จ่อื ) 茶叶ใบชา 萝卜头หวั ไชเท้า 山楂(ซาน-จา) ท�ำลายหรอื ลดสรรพคุณยา 人参 (เหริน-เซิน) โสมคน อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภมู ิ 21

7. เสรมิ พษิ 相反 ยา 2 ชนิดใชร้ ว่ มกันท�ำใหเ้ กิดพิษของยามากขึ้น ไดแ้ ก่ 18 เสรมิ พิษ เช่น - 甘草(กนั -เฉา่ ) กบั 芫花(หยวน-ฮวา) - 乌头(อู-โถว) กับ半夏(ปน้ั -เซ่ีย) 瓜蒌(กวา-โหลว) 贝母(เป้ย-หม่)ู 白及(ไป-๋ จ๋)ี ข้อแนะน�ำทางคลินิก 1. สมนุ ไพรใช้ในการเสรมิ ฤทธ์ิ 相须 การช่วยฤทธิ์ 相使 ควรพจิ ารณา การใชเ้ พิม่ ประสทิ ธิภาพในการรักษา 2. สมุนไพรท่ีมีพิษหรอื มผี ลขา้ งเคียงมาก ควรพิจารณาการถกู ท�ำลายพิษ 相畏 และการทำ� ลายพิษ 相杀 ประกอบ ตอ้ งระมัดระวงั ในการใช้ 3. สมนุ ไพรทมี่ ีคณุ สมบัตทิ ำ� ลายสรรพคณุ ยา 相恶 และเสรมิ พิษ相反 ควรหลกี เลี่ยงการใช้ ยาท่ีตอ้ งระวงั หรือยาต้องห้ามในหญงิ ต้ังครรภ์ 1. ประเภทท่ีต้องระมัดระวงั ในการใช้ - ยาประเภทขับประจำ� เดือนหรอื สลายการอุดกั้นของเลอื ด 红花(หง-ฮวา) 桃仁(เถา-เหรนิ ) - ยาประเภทสลายทำ� ลายพลังอดุ กน้ั เชน่ 枳实 (จอื่ - สือ) 大黄(ต้า-หวง) - ยาเผด็ ร้อน เชน่ 附子(ฟ่-ู จอ่ื ) 肉桂(โร่ว-ก้ยุ ) - ยาขบั ปัสสาวะ เช่น 冬葵子(ตง-ขยุ -จื่อ) 瞿麦(จว-ี๋ ม่าย) 2. ประเภทท่หี ้ามใชโ้ ดยสิน้ เชิง - ยาทมี่ พี ษิ รงุ แรง 巴豆ปา-โต้ว(สลอด) 牵牛(เชวียน-หนวิ ) - ยาท่อี อกฤทธริ์ ุนแรงหรือทำ� ให้แท้ง 三棱(ซาน-หลิง) 莪术(เอ้อ-จ)ู๋ 川乌(ชวน-อู) 蜈蚣(อู-๋ กง)ตะขาบ 22 ต�ำราการเรียนรยู้ าจีนด้วยตนเอง 1

ข้อหา้ มในการประกอบยา 药材配伍禁忌 十八反(สอื -ปา-ฝ่าน)=18 เสรมิ พษิ : ยาท่ีเสรมิ พษิ และท�ำให้เกิดผลขา้ งเคียงที่ ไมพ่ งึ ประสงค์ 18 ตัว -甘草(กัน-เฉ่า)-เสริมพิษ 甘遂(กัน-สุ้ย)大戟(ต้า-จี๋) 芫花(หยวน-ฮวา) 海藻(ไห่-เจ่า) -乌头(อ-ู โถว)-เสรมิ พษิ 贝母(เปย้ -หม)ู่ 瓜蒌(กวา-โหลว)半夏(ปัน้ -เซย่ี ) 白蘞(ไป-๋ เหล่ยี น)白及(ไป๋-จ)๋ี -藜芦(หลี-่ หล)ู -เสริมพิษ细辛(ซ-ี่ ซิน)白芍(ไป-๋ เสา) 人参(เหริน-เซนิ ) 党参(ต่ัง-เซนิ ) 玄参(เสวียน-เซนิ ) 沙参(ซา-เซิน)丹参(ตัน-เซิน) 苦参(ข่-ู เซนิ ) 十九畏(สอื -จ่ิว-เว้ย):19 ลดสรรพคณุ ของยา คอื ยาที่ประกอบกนั แลว้ ทำ� ใหส้ รรพคุณในการรกั ษาโรคด้อยลง -硫黄(ซ-ู หวง) กับ 扑硝(ผู-่ เซียว) -水银(สุ่ย-หยิน) ปรอทกับ 砒霜(พ-ี ซวง) สารหนู -狠毒(เหิน่ -ต)ู๋ กับ 密陀曾(ม-ี่ ถวั -เจิง) -丁香(ติง-เซยี ง) กบั 郁金(ยวี-๋ จนิ ) -八豆(ปา-โตว้ ) กบั 牵牛(เชวียน-หนิว) -川乌(ชวน-อ)ู 草乌(เฉ่า-อู) กับ犀角(ซ-ี เจ่ียว) -牙硝(หยา่ -เซยี ว) กับ三棱(ซาน-หลิง) -官桂(กวน-กยุ้ ) กบั 石脂(สอื -จอื่ ) -人参(เหรนิ -เซนิ ) กับ五灵脂(อูว่ ์-หลงิ -จื่อ) อาหารแสลง 飲食禁忌 อาหารแสลงหมายถึงอาหารต้องห้ามขณะรบั ประทานยา - โดยท่วั ไปผู้ป่วยทุกรายควรงดอาหารทมี่ ีคุณสมบัตเิ ยน็ จัด อาหารของมนั อาหารเหมน็ คาว อาหารทรี่ ะคายเคอื งหรือมีฤทธ์กิ ระตุ้นรนุ แรง อโรคยาศาล วดั ปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภูมิ 23

- ส�ำหรบั คนท่ีเป็นโรคต่างๆ ห้ามรบั ประทานดังตอ่ ไปนี้ คอื โรคร้อน-ห้ามรบั ประทานอาหาร ทมี่ รี สเผ็ดของทอด ของที่มไี ขมันมาก หวานจดั หรอื ของที่ให้พลังงานมาก โรคเยน็ -ห้ามรบั ประทานทีม่ ฤี ทธ์เิ ยน็ หรอื อาหารดบิ ผปู้ ่วยพวกเสมหะ อดุ กัน้ ในทรวงอก โรคหัวใจขาดเลอื ด – ห้ามของมนั บุหร่ี เหล้า โรคหยางของตับข้นึ บนทำ� ใหเ้ วียนศรษี ะ – ห้ามของเผ็ด โรคกระเพาะอาหารออ่ นแอพร่อง ห้ามของเหนียวเหนอะ และของมนั โรคผวิ หนงั คนั และแผลอกั เสบ เป็นหนอง – ห้ามปลา ปู ก้งุ และของเผ็ด เหด็ หอม หน่อไม้ เปน็ ตน้ โรคหอบหดื ไอ – ห้ามสูบบหุ รี่ อาหารรสเผด็ อาหารมันเหียวเหนอะ อาหารรสหวานจดั ผปู้ ่วยนอนหลบั ยาก – ควรหลีกเลีย่ งรบั ประทานเนอื้ สัตว์ เครอ่ื งในสัตว์ ไขมนั สตั ว์ ชา กาแฟ ผปู้ ว่ ยหยางพรอ่ ง–หนาวง่าย พลังความร้อนของร่างกายไมพ่ อ ต้องหลีกเลย่ี ง อาหาร ผัก ผลไม้ ที่มฤี ทธิ์เย็น น�้ำเยน็ น้�ำแข็ง ผปู้ ่วยหยนิ พรอ่ ง - คอแห้ง ร่างกายแห้ง ขาดสารน้�ำในร่างกาย ร้อนจาก ภาวะหยนิ พรอ่ ง (เซลลแ์ หง้ ) ตอ้ งหลีกเลยี่ ง เหลา้ ของเผด็ ของทอด ของมัน เพราะจะ ท�ำใหเ้ กิดเสมหะและความรอ้ นภายในร่างกายมากขนึ้ มาตราช่ังสมุนไพรจนี วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2522 รัฐบาลจีนไดก้ �ำหนดมาตราชงั่ อย่างเป็นทางการ ระบบทใี่ ช้ในประเทศจีน 1 กิโลกรัม 公斤= 1000 กรมั 克 1 ชัง่ 斤= 500กรมั 克=16 ต�ำลึง 两= 160 สลึง 钱 1 ตำ� ลงึ = 31.25 = ประมาณ 30 กรัม 1 สลงึ = 3.125 กรมั = ประมาณ 3 กรัม 24 ตำ� ราการเรยี นรยู้ าจีนดว้ ยตนเอง 1

ระบบท่ใี ชก้ ันในท้องตลาดในเมืองไทย 1 กโิ ลกรัม公斤= 1.67 ชงั่ 斤= 26.67 ตำ� ลึง 两 1 ชัง่ 斤 = 600 กรัม克 1 ช่ัง斤 = 16 ต�ำลึง两 1 ต�ำลึง两 = 37.5 กรมั 克 1 สลงึ 钱 = 3.75 กรมั 克 (กิโลกรัม公斤 ชัง่ =斤 ตำ� ลงึ =两 สลึง =钱) วิธีการตม้ ยาและการรับประทานยา การตม้ ยาสมนุ ไพร 1. อปุ กรณ์ท่ใี ช้ หม้อดนิ หรือหม้อเคลอื บดีทีส่ ุด หา้ มใช้หมอ้ เหล็ก หม้อทองเหลอื ง หมอ้ อลมู เิ นียม เพ่อื ป้องกนั การทำ� ปฎกิ ริ ยิ าระหวา่ งยากับโลหะ 2. น้ำ� ทใ่ี ช้ตม้ ใช้น�ำ้ สะอาด อาจเป็นน�้ำประปา น�ำ้ พุ น�้ำในบอ่ นำ�้ คลองเป็นตน้ 3. ควรแชย่ าทิ้งไวป้ ระมาณ 30 นาที เพ่ือให้น�้ำซึมเข้ายา 4. ไฟที่ใช้ในการต้มยา จะใช้ไฟแรงหรอื ไฟอ่อน ตามประเภทของยาทีจ่ ะต้ม 5. ไฟแรง ใชก้ ับสมนุ ไพร ท่ีมีน้ำ� มนั หอมระเหย ต้มจนเดอื ด หรไ่ี ฟอ่อนเป็นใช้ได้ 6. ไฟออ่ น ใช้กบั สมุนไพรที่มลี กั ษณะหนดื หรือยาประเภทบำ� รงุ เพราะตัวยาจะ ค่อยๆ ละลายออกมา จะตอ้ งคอ่ ยๆ ใหค้ วามรอ้ นและใช้เวลานาน 7. การรับประทานยาทว่ั ไปมักจะรบั ประทาน 2 ครั้ง/ห่อ/วัน ถ้าเปน็ ยาบำ� รงุ รับประทาน 3 คร้งั /หอ่ /วนั แต่ละครง้ั ตม้ เหลือ 250-300 มลิ ลิลิตร ขอ้ แนะนำ� เกี่ยวกับการตม้ ยา เนอ่ื งจากยามคี ณุ สมบัติและคุณภาพตา่ งกนั ระยะเวลา และวิธีการตม้ จะต้องพิถพี ถิ ัน 1. ยาท่ตี อ้ งต้มก่อน 洗煎 ตม้ กอ่ นยาอืน่ 10-30 นาที เช่น 1.1 พวกสมุนไพรวัตถุ แร่ธาตุ เปลือกหอย หนิ กระดองเตา่ กระดอง ตะพาบน้ำ� ตอ้ งใช้เวลาตม้ นานฤทธิย์ าจงึ ละลายออกมา 1.2 สมนุ ไพรมพี ิษทำ� ให้ลดพษิ ของยาสมนุ ไพร เชน่ 附子 (ฟู่-จอื่ )乌头(อู-โถว) 2. ยาท่ตี อ้ งตม้ ทีหลงั 后下ตม้ ยาตัวอน่ื 10-30 นาที จนเกอื บได้ปริมาณที่ อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภูมิ 25

ตอ้ งการแลว้ จึงใส่สมนุ ไพรท่ตี ม้ ภายหลังนานประมาณ 5 นาทีเปน็ อนั ใชไ้ ด้ เช่น 薄荷 (ป๋อ-เหอ)大黄(ตา้ -หวง)砂仁(ซา-เหรนิ )钩藤(โกว-เถิง) 3. หอ่ ใสถ่ งุ ผ้าตม้ 包煎พวกทีเ่ ป็นเมล็ดเล็กๆ หรือมีขน ไดแ้ ก่ ยาบางตวั เมอื่ ต้มรวมกนั จะทำ� ใหเ้ หนยี วเหนอะ กนิ ล�ำบาก ติดคอ ระคายคอ เช่น 车前子(เชอ-เฉยี น-จือ่ ) 旋覆花(เสวยี น-ฝ-ู่ ฮวา) 4. ต้มหรือตนุ๋ เดย่ี วๆ另炖เหมาะสำ� หรบั สมุนไพรที่มีราคาแพง เพ่ือปอ้ งกัน การดูดซับตวั ยาสมนุ ไพรทม่ี ีราคาแพงเขา้ ไปในสมุนไพรอ่นื เชน่ 人参(โสมคน) 西洋参(โสมอเมริกัน) 羚羊角หลิงหยางเจ่ียว (เขา-กุย) 5. ใช้ในการละลาย烊化เหมาะส�ำหรับสมุนไพรท่ีเปน็ กาวเหนยี ว ละลายยาก ใชส้ มนุ ไพรประเภทกาว เช่น阿胶(กาวหนังลา) 龟胶(กาวกระดองเตา่ ) 饴糖(ตงั เม) 麦芽糖(น�ำ้ ตาลข้าวมอลต)์ เป็นต้น จะละลายในยาสมุนไพรท่ตี ้ม จนไดท้ ่ีแลว้ หรอื แยกละลายในน้ำ� ต่างหาก จากนัน้ นำ� มาเทรวมกับสมนุ ไพรทีต่ ม้ จน ไดท้ ่ี ถ้าละลายไมด่ ีหรือไมห่ มด สามารถนำ� ไปอุ่นไฟอ่อน เพอ่ื ใหล้ ะลายและสะดวก ในการรบั ประทาน 6. ใชเ้ ทชงผสม冲服 สมุนไพรทลี่ ะลายน�้ำงา่ ย หรอื มรี าคาแพง ยาทีไ่ มต่ ้องการ ความร้อน เพราะท�ำลายฤทธยิ์ า เชน่ ซาน-ช三ี 七และน้ำ� คัน้ ของสมุนไพร เชน่ นำ�้ ขิง 姜汁 วิธกี ารรับประทานยา 1. โดยท่วั ไปจะดื่มในขณะทีย่ ายังอ่นุ วันละ 1 หอ่ ต้ม 2 ครง้ั รบั ประทานวนั ละ 2 ครง้ั 2. โรคทีเ่ ฉยี บพลันรุนแรงตม้ ดื่มวันละ 2-3 หอ่ ดืม่ ทกุ 4 ชว่ั โมง/ห่อ(6ช่วั โมง/คร้ัง) 3. โรคเรอ้ื รงั อาจรบั ประทานวนั ละคร้งั หรือวันเว้นวัน 4. โรครอ้ น ดื่มยาขณะเย็น โรคเยน็ ควรดมื่ ยาขณะรอ้ น 5. ยาบ�ำรุง ควรรบั ประทานก่อนอาหาร ยากลอ่ มประสาท รับประทานกอ่ นนอน ยารักษามาลาเรยี รับประทานก่อนเกดิ อาการ 2 ชว่ั โมงหรือโรคเฉยี บพลนั ควรรับ ประทานได้ทันที ไม่ต้องเลอื กเวลา 6. ยาขับพยาธิ ยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ ควรรบั ประทานขณะท้องวา่ ง 26 ต�ำราการเรียนรยู้ าจีนดว้ ยตนเอง 1

7. โรคอยูส่ ่วนบน – ทรวงอก ศรีษะ ตา ลำ� คอ หรือการยอ่ ยไม่ดคี วร รับประทานหลังอาหาร 8. โรคอยู่สว่ นลา่ ง เช่น โรคตับ โรคไต ควรรับประทานกอ่ นอาหาร 9. ไม่ควรรับประทานยารว่ มกบั อาหารท่ียอ่ ยยาก เชน่ พวกถั่ว เน้ือสตั ว์ ของที่ มฤี ทธ์ิเย็น เพราะทำ� ให้การดดู ซึมยาไมด่ ี 10. ยาขบั เหงอ่ื ยากระทงุ้ ผื่น 解表,透疹 ไม่ควรรบั ประทานรว่ มกบั อาหารทฤ่ี ทธิเ์ ย็น รสเปรย้ี ว เพราะจะลดสรรพคณุ ของยาในการรกั ษาโรค 11. ยาบ�ำรงุ ทีม่ ีฤทธิ์อนุ่ รอ้ น ไม่ควรรับประทานร่วมกับนำ้� ชา หัวไชเท้า หน่อไม้ เพราะจะไปทำ� ลายสรรพคุณของยา 12. ไม่ควรรับประทานยารว่ มกับน�้ำชา หรือนม เพราะจะทำ� ใหก้ ารดดู ซมึ ยาไม่ดี 13. แยกรบั ประทานยาสมุนไพรกบั ยาแผนปัจจบุ นั ควรมีระยะห่างอยา่ งนอ้ ย 2 ช่วั โมง อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 27

28 ตำ� ราการเรยี นรู้ยาจนี ดว้ ยตนเอง 1

อโรคยาศาล วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 29

30 ตำ� ราการเรยี นรู้ยาจนี ดว้ ยตนเอง 1

กลุ่มยาระบายลมภายนอก (发散解表药) - ยาขบั ระบายลมเย็น(发散风寒药) - ยาขบั ระบายลมรอ้ น(发散风热药)

ยาขับระบายลมเยน็ (发散风寒药) หมาหวง(麻黄) กุ้ยจอื (桂枝) จ่อื ซูเย่(紫苏叶) เซียงหร(ู 香薷) จิงเจีย้ (荆芥) ฝางเฟิง(防风) เชยี งหัว(羌活) ซี่ซนิ (细辛) ชางเอ๋อร์จอ่ื (苍耳子) ไป๋จื่อ(白芷) ซนิ อี๋ฮวา(辛夷花) เซงิ เจียง(生姜)

หมา-หวง (Mahuang) 麻黄 ชื่อแต้จ๋วิ : มั่ว-อึ้ง ชอื่ พฤกษศาสตร์ : Ephedra Sinica Stapf ชอ่ื เภสชั วิทยา : Herba Ephedrae ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ 33

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขบั เหง่อื แก้เจ็บคอ แก้หวัด ระงบั หอบ ขบั น�้ำ ลดบวม สลายชืน้ รสชาตแิ ละคณุ สมบัติ 辛(เผ็ด) 微苦毒 (ขมมีพษิ เลก็ นอ้ ย) 温(อนุ่ ) เข้าส่เู ส้นลมปราณ 肺(ปอด) 膀胱(กระเพาะปสั สาวะ) ส่วนทใ่ี ช้ ท้งั ต้น ก่งิ ก้าน ปรมิ าณท่ใี ช้ 2–10 กรัม ฤทธท์ิ างเภสชั วิทยา ท�ำใหเ้ ลอื ดหดตัว เพิม่ ความดนั เลอื ด ทำ� ให้ใจสั่น ตนื่ เตน้ ง่าย นอนไมห่ ลบั ลดการหดเกรง็ ของหลอดล�ำไส้ ขบั เมือกเสมหะ ขบั เหงอ่ื ต้านพิษมอร์ฟีนและบาร์บทิ อล ขับปสั สาวะ ลดไข้ ตา้ นแบคทีเรยี และไวรัส 麻黄(去节)หมาหวง (ชฺว้เี จีย๋ ) 9 กรัม ตำ� รับยาท่ีใชท้ างคลินิก 杏仁(去皮尖) ซิ่งเหรนิ (ชวฺ ้ผี ีเจียน) 9 กรมั 桂枝 ก้ยุ จอื 6 กรมั หมาหวงทงั (麻黄汤) 甘草 กันเฉา่ 3 กรัม การออกฤทธิ์ ขับเหง่อื กระทงุ้ หวดั กระจายชที่ ่ีปอด บรรเทาหอบ ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ในคนไขค้ วามดันสงู เพราะหมาหวง (Mahuang) 麻黄 มีฤทธิ์กระตนุ้ ประสาทสว่ นกลาง ทำ� ให้ความดันโลหิตสงู เพม่ิ ข้นึ หา้ มใชก้ ับบคุ คลท่มี ีอาการร่างกายอ่อนแอ เหงอ่ื ออกมากตอนกลางคนื อาการของปอดและไตพรอ่ งทม่ี อี าการอ่อนเพลีย ลิ้นมฝี า้ หนา ชีพจรเร็วตงึ 34 ต�ำราการเรยี นรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1

กุ้ย-จือ (Guizhi)桂枝 ชอ่ื แต้จ๋วิ : กุย้ -กี ช่ือพฤกษศาสตร์ : Cinnamomum cassia Siebold subsp. pseudomelastoma J.C.Liao, Y.L.Kuo & C.C.Lin ช่ือเภสัชวิทยา : Ramulus Cinnamomi ภาพแสดงใหเ้ ห็นลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภูมิ 35

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขบั เหงอื่ อุ่นเส้นลมปราณ เสริมหยาง กระต้นุ การไหลเวียนพลัง รสชาตแิ ละคณุ สมบตั ิ 辛(เผ็ด) 甘(หวาน) 温(อุ่น) เขา้ สู่เสน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 心(หวั ใจ) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ) ปริมาณที่ใช้ 3–10 กรัม ส่วนที่ใช้ กงิ่ ฤทธ์ิทางเภสชั วิทยา ตา้ นแบคทีเรีย ต้านไวรัส ขับปสั สาวะ กระตุ้นการหลง่ั น้ำ� ลาย น�ำ้ ย่อยกระเพาะอาหาร คลายกล้ามเน้อื เรยี บทางเดนิ อาหาร กระตุน้ การไหลเวียนเลือด กระต้นุ การบีบตัวของหวั ใจ แก้ปวด แก้ไข้ 桂枝(กุ้ยจอื ) 9 กรมั 大枣(ตา้ เจ่า) 12 ผล 白芍(ไปเ๋ สา) 9 กรมั ตำ� รบั ยาที่ใช้ทางคลนิ กิ 生姜(เซิงเจยี ง) 9 กรมั 甘草(กนั เฉ่า) 6 กรมั กุย้ จือทัง (桂枝汤) การออกฤทธิ์ กระท้งุ ไขห้ วัด ผอ่ นคลายกลา้ มเนือ้ ผวิ หนงั ปรบั สมดลุ ขององ๋ิ ช(่ี 营气)กับเว่ยช์ (ี่ 卫气) ขอ้ ควรระวงั หา้ มใช้ตาํ รบั ยานีใ้ นผ้ปู ว่ ยโรคหวัดที่เกิดจากการกระทบลมเย็นภายนอกท่ีมีอาการเกรง็ หรือ ผูป้ ว่ ยท่ี ถูกลมร้อนกระทบภายนอก ซ่งึ แสดงออกโดยกลัวลม มเี หง่ือออกเองและมีอาการคอแห้ง ชีพจรเต้นเรว็ ล้นิ ฝา้ ขาวหนา ตวั ยาหา้ มใชส้ ำ� หรับ อาการหวัดร้อน หยินพร่อง ไฟเกนิ เลอื ดรอ้ นจน เกดิ อาการเลือดออก สว่ นสตรมี ีครรภ์และสตรีมปี ระจำ� เดอื นไมค่ วรใชเ้ พราะจะทำ� ให้เลอื ดออกมาก 36 ต�ำราการเรยี นรยู้ าจีนดว้ ยตนเอง 1

จอ่ื -ซ-ู เย่ (Zisuye) 紫苏叶 ชื่อแต้จวิ๋ : จี-๋ โซว-เฮยี ะ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Perilla frutescens L. ex B.D.Jacks. var. purpurascens (Hayata) H.W.Li ชอ่ื เภสัชวิทยา : Folium Perilae ภาพแสดงให้เหน็ ลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 37

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคณุ ขับเหงอื่ ปรับไหลเวียนลมปราณ แกป้ วดเกรง็ สลายเสมหะ รสชาตแิ ละคณุ สมบตั ิ 辛(เผ็ด) 温(อุ่น) เข้าสู่เสน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 脾(มา้ ม) 胃(กระเพาะอาหาร) ปริมาณที่ใช้ 5-10 กรัม ส่วนท่ใี ช้ ใบ ฤทธท์ิ างเภสชั วทิ ยา ลดไข้ ขับเหง่อื โดยการขยายตัวของหลอดเลือด ผวิ หนังและ กระตุน้ การทำ� งานของต่อมเหงือ่ ออกฤทธต์ิ ้านแบคทเี รยี เพ่มิ ระดบั น้ำ� ตาลในเลือด โดยการรับประทานให้ผลเร็วกวา่ การฉีดเข้า ใตผ้ ิวหนัง ลดการหดตัวของกลา้ มเน้ือเรียบของหลอดลม ระงบั อาการหอบหืด แกไ้ อขบั เสมหะ ต�ำรับยาทใ่ี ช้ทางคลินกิ 半夏(ปน้ั เซยี่ ) 12 กรัม 厚朴(โฮว่ ผอ) 9 กรมั   ปั้นเซีย่ โฮว่ ผอทงั 茯苓(ฝูหลงิ ) 12 กรัม 生姜(เซงิ เจียง) 9 กรมั (半夏厚朴汤) 紫苏叶(จ่ือซูเย่) 6 กรมั การออกฤทธิ์ ใช้สลายเสมหะทอี่ ดุ กลนั้ ภายใน ที่เกิดจากพลัง ลมปราณตบั ติดขดั ขอ้ ควรระวัง ตวั ยาในตำ� รับยาน้ีส่วนใหญม่ ีคณุ สมบัตอิ ุ่นแห้ง จงึ เหมาะสำ� หรบั ผ้ปู ่วยที่มีอาการชีต่ ดิ ขดั หรือเสมหะชนื้ อุดกน้ั เทา่ น้นั ห้ามใชใ้ นผปู้ ว่ ยที่ขาดสารน�้ำหล่อเลี้ยงเนอ่ื งจากหยินพรอ่ ง หรือมีความร้อนจากหยนิ พรอ่ ง 38 ต�ำราการเรยี นรู้ยาจนี ดว้ ยตนเอง 1

เซียง-หรู (Xiangru)香薷 ชอ่ื แตจ้ ว๋ิ : เฮียง-ยู้ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Mosla chinensis Maxim. var. kiangsiensis G.P.Zhu & J.L.Shi ชอ่ื เภสชั วทิ ยา : Herba Moslae ภาพแสดงให้เหน็ ลกั ษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภูมิ 39

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับเหงอ่ื ระบายช้ืน ขับนำ�้ ลดบวม รสชาติและคณุ สมบัติ 辛(รสเผด็ ) 微温(อนุ่ เลก็ น้อย) เข้าสเู่ ส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) 脾 (มา้ ม) ปริมาณท่ีใช้ 3-10 กรมั ส่วนทใ่ี ช้ กิ่ง-ก้าน-ดอก-ใบ ฤทธท์ิ างเภสัชวทิ ยา ขบั กระจายลมเย็น สลายความชื้น ปรับสมดลุ จงเจยี ว ขับนำ้� ลดบวม แกป้ วดเกรง็ ตำ� รับยาทใ่ี ชท้ างคลนิ ิก 香薷(เซยี งหรู) 9 กรมั 白扁豆(ไป๋เปย่ี นโตว้ ) 6 กรมั 厚 เซียงหรสู ่าน(香薷散) 朴(โฮว่ ผอ) 6 กรมั การออกฤทธิ์ ขับลมเยน็ ท่ีเกดิ ในชว่ งฤดูร้อน สลายลมเยน็ ขจดั ช้นื ข้อควรระวัง บุคคลทร่ี า่ งกายอ่อนแอ เหงื่อออกงา่ ยหรือมอี าการลมร้อนกระหายนำ�้ ไมค่ วรใช้ 40 ตำ� ราการเรียนรยู้ าจนี ด้วยตนเอง 1

จิง-เจ้ีย (Jingjie) 荆芥 ชอ่ื แตจ้ ๋วิ : เก็ง-ไก่ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Schizonepeta tenuifolia Briq. ช่ือเภสชั วทิ ยา : Herba Schizonepetae ภาพแสดงใหเ้ ห็นลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 41

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคณุ ขับเหงื่อ ระบายชื้น ขบั นำ�้ ลดบวม รสชาติและคณุ สมบตั ิ 辛(เผด็ ) 微温(อนุ่ เลก็ นอ้ ย) เขา้ สเู่ สน้ ลมปราณ 肺 (ปอด) 肝 (ตบั ) ปรมิ าณทีใ่ ช้ 5 – 10 กรัม (ไม่ควรตม้ นาน) สว่ นท่ใี ช้ ดอก ฤทธิ์ทางเภสชั วทิ ยา แกไ้ ข้ ปวดเกรง็ รกั ษาวณั โรค ทำ� ให้หนองฝี ท่ีอักเสบหายเร็วขึ้น ตำ� รับยาท่ีใช้ทางคลินกิ 川芎(ชวนซฺรง) 12 กรัม 羌活(เชยี งหัว) 6 กรัม ชวนซรฺ งฉาเถียวสา่ น 白芷(ไปจ๋ ่อื ) 6 กรมั 细辛(ชชี่ นิ ) 3 กรมั 薄荷(ปอ๋ เหอ) 12 กรัม 荆芥 (จิงเจยี้ ) 12 กรัม (川芎茶调散) 防风 (ฝางเฟงิ ) 5 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 6 กรมั การออกฤทธิ์ กระจายลมเย็นระงบั ปวด รกั ษาอาการไมเกรน ข้อควรระวงั เมอื่ ใชจ้ ะท�ำให้เหงอ่ื ออกมากเนอื่ งจากหยินพรอ่ งหรือพลงั พร่อง ตวั ยาไม่ควรตม้ นาน 42 ตำ� ราการเรยี นรยู้ าจีนด้วยตนเอง 1

ฝาง-เฟิง (Fangfeng) 防风 ชอ่ื แตจ้ ๋วิ : ห่วง-ฮง ช่ือพฤกษศาสตร์ : Siler divaricatum Benth. & Hook.f. ชอ่ื เภสชั วทิ ยา : Radix Ledebouriellae ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 43

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคณุ ขับลม ขับช้ืน แก้ปวด ลดอาการเกรง็ รสชาติและคณุ สมบัติ 辛(เผ็ด) 甘(หวาน) 微温(อนุ่ เลก็ น้อย) เขา้ สู่เสน้ ลมปราณ 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ) 肝(ตับ) 脾(ม้าม) ปรมิ าณที่ใช้ 5–10 กรมั สว่ นทใ่ี ช้ ราก ฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา ลดไข้ ตา้ นแบคทีเรยี ตา้ นเชอื้ รา ต้านพษิ ของสารหนู ระงับปวด ตำ� รับยาทใี่ ชท้ างคลนิ ิก 黄芪(หวงฉ)ี 12 กรัม 白术(ไป๋จ)ู๋ 12 กรมั ยฺวผี่ ิงเฟิงส่าน 防风(ฝางเฟงิ ) 6 กรมั 大枣(ตา้ เจ่า) 1 ผล การออกฤทธิ์ เพมิ่ ช่ี เสริมภมู คิ มุ้ กนั ระงบั เหงื่อ รกั ษาหวัดทเ่ี กดิ (玉屏风散) จากชีพ่ รอ่ ง ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ตำ� รบั ยายวฺ ่ีผิงเฟงิ สา่ นกบั ผ้ปู ว่ ยที่มีเหงอื่ ออกตอนกลางคนื เนอ่ื งจากหยนิ พร่อง ตวั ยา ไมค่ วรใชก้ บั อาการความรอ้ นที่ทำ� ให้เกดิ ลมในกระเพาะอาหาร 44 ตำ� ราการเรียนรยู้ าจีนด้วยตนเอง 1

เชียง-หวั (Jianghuo) 羌活 ชื่อแต้จว๋ิ : เกียง-อวั ะ ช่ือพฤกษศาสตร์ : Notopterygium incisum Ting ex H.T.Chang ชือ่ เภสชั วทิ ยา : Rhizoma seu Radix Notopterygii ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วดั ปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภูมิ 45

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับลมเย็นและสลายชน้ื แก้ปวด รสชาติและคุณสมบตั ิ 温(อ่นุ ) 辛(เผ็ด) 苦(ขม) เข้าสู่เสน้ ลมปราณ 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ) 肾(ไต) ปรมิ าณทีใ่ ช้ 3–9 กรมั ส่วนทใ่ี ช้ ราก ฤทธท์ิ างเภสชั วิทยา ต้านเชอื้ รา แก้ปวดข้อ แกป้ วดเกรง็ กล้ามเนือ้ 羌活(เชียงหวั ) 9 กรมั 防风(ฝางเฟงิ ) 9 กรมั 苍术(ชังจ)ู๋ 9 กรมั 细辛(ซซี่ นิ ) 3 กรมั ตำ� รบั ยาที่ใช้ทางคลินิก 川芎(ชวนซรฺง) 6 กรมั 白芷(ไป๋จอ่ื ) 6 กรัม จ่วิ เวย่ ์เชยี งหัวทัง 生地(เซงิ ต)ี้ 6 กรัม 黄芩(หวงฉนิ ) 6 กรมั 甘草(กันเฉ่า) 6 กรมั (九味羌活汤) การออกฤทธิ์ ขบั เหงอ่ื ขจดั ความช้นื และระบายลมร้อนภายใน แกป้ วด ข้อควรระวงั ตำ� รับยาจวิ่ เวย่ เ์ ชยี งหัวทัง หา้ มใชก้ บั อาการลมร้อนหรืออาการหยนิ พร่องกำ� เนิดไฟ อาการมา้ มกระเพาะอาหารพร่อง ส่วนอาการหยินและเลอื ดพร่อง ร้อนแห้ง ไมค่ วรใช้ ถา้ ใช้ตวั ยาในปรมิ าณมาก อาจทำ� ใหเ้ กิดอารคล่ืนไส้อาเจยี น 46 ตำ� ราการเรยี นร้ยู าจนี ดว้ ยตนเอง 1

ซ่-ี ซนิ (Xixin) 细辛 ช่ือแตจ้ วิ๋ : โซ่ย-ซิง ชื่อพฤกษศาสตร์ : Asarum heterotropoides F.Schmidt f. viride (Sugaya) Yamaji & Ter.Nakam. ชอื่ เภสัชวิทยา : Herba Asari ภาพแสดงใหเ้ ห็นลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภูมิ 47

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ สรรพคุณ ขับลมเยน็ และความชืน้ แก้ปวด ท�ำใหจ้ มูกโลง่ ละลายเสมหะ รสชาติและคุณสมบตั ิ 辛(เผ็ด) 温(อุ่น) เข้าสเู่ สน้ ลมปราณ 心(หัวใจ) 肝(ตบั ) 肾(ไต) ปรมิ าณที่ใช้ 1–3 กรัม ส่วนที่ใช้ ราก ตน้ ใบ ฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยา ต้านเชอื้ รา แกป้ วดข้อ แก้ปวดเกร็งกลา้ มเนื้อ 麻黄(去节) หมาหวง(ชฺวีเ้ จี๋ย) 9 กรัม 桂枝(กุ้ยจือ) 9 กรมั 干姜(กนั เจียง) 6 กรัม 细辛(ซี่ซนิ ) 6 กรมั 白芍( ไปเ๋ สา) 9 กรัม ต�ำรบั ยาทใี่ ช้ทางคลินิก 五味子(อเู่ วย่ จ์ อ่ื ) 6 กรมั 半夏(ป้นั เซ่ีย) 9 กรมั 甘草(กันเฉ่า) 6 กรมั เสีย่ วชงิ หลงทัง การออกฤทธิ์ กระทุ้งไข้หวดั ขับความเยน็ แกไ้ อระงับหอบ (小青龙汤) เสรมิ ความอ่นุ ให้ปอดและสลายของเหลวในปอด ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ต�ำรับยานกี้ ับผู้ป่วยที่มอี าการไอแหง้ ไมม่ ีเสมหะหรอื มเี สมหะสเี หลือง ขน้ เหนยี ว คอแหง้ ปากแหง้ ตวั ยามีพษิ ไม่ควรใช้เยอะและควรต้มนาน ๆ เพือ่ ป้องกันผลข้างเคยี ง ทที่ ำ� ให้ปวด อาเจียน คลน่ื ไส้ ข้ันร้ายแรง อาจทำ� ให้เกดิ อาการชกั และทา้ ยสุดอาจท�ำให้ หายใจไม่ไดจ้ นตาย นอกจากนแ้ี ลว้ อาการช่ีพรอ่ งเหงือ่ ออกเยอะอาการหยนิ พรอ่ งไมค่ วรใช้ รวมทั้งตัวยาห้ามใชก้ ับยาหลห่ี ล(ู 藜芦) 48 ตำ� ราการเรยี นรยู้ าจนี ด้วยตนเอง 1

ไป๋-จื่อ (Baizhi) 白芷 ชื่อแตจ้ ๋ิว : แปะ-จี้ ช่ือพฤกษศาสตร์ : Angelica dahurica (Hoffm.) Maxim. ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Anglicae Dahuricae ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภูมิ 49

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ สรรพคุณ ขับลมเย็นและสลายชื้น แกป้ วด ทำ� ใหจ้ มูกโล่ง ขบั หนอง แก้พิษงู รสชาติและคณุ สมบตั ิ 辛(เผด็ ) 温(อุ่น) เขา้ ส่เู สน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) ปริมาณทใ่ี ช้ 3-10 กรมั ส่วนท่ีใช้ ราก-หัว ฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา ตา้ นแบคทเี รยี แก้พษิ งู แกป้ วด แกห้ วัด 柴胡 (ไฉห)ู 6 กรมั 甘草 (กนั เฉา่ ) 3 กรมั 黄芩 (หวงฉนิ ) 9 กรมั 羌活 (เชียงหวั ) 3 กรมั ตำ� รับยาทใ่ี ชท้ างคลนิ ิก 白芷 (ไปจ๋ อื่ ) 3 กรมั 芍药 (เสาเย่า) 3 กรมั ไฉเก๋อเจยี่ จที งั 桔梗 (เจ๋ียเกิ่ง) 3 กรัม 生姜 (เซงิ เจยี ง) 3 แผ่น 大枣 (ตา้ เจา่ ) 2 ผล (柴葛解肌汤) การออกฤทธิ์ คลายกล้ามเนอื้ ระบายความร้อน ระงับปวด ข้อควรระวัง หา้ มใชต้ �ำรบั ยานี้กบั ผู้ป่วยทีล่ มเย็นกระทบร่างกายแลว้ ยังไม่แปรเปลีย่ นเป็นความร้อน หรือ ผู้ป่วยทมี่ ีอาการของโรคเขา้ สอู่ วัยวะหยางหมงิ (กระเพาะอาหารและล�ำไส้)แลว้ ท�ำให้มีอาการ ทอ้ งผูกและปวดท้อง ตวั ยาไมค่ วรใช้กับอาการหยนิ พรอ่ งและเลือดร้อน 50 ตำ� ราการเรียนรู้ยาจนี ดว้ ยตนเอง 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook