Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาหารพร่องแป้ง (Low Carb Diet)

อาหารพร่องแป้ง (Low Carb Diet)

Description: อาหารพร่องแป้ง (Low Carb Diet)

Keywords: อาหารพร่องแป้ง

Search

Read the Text Version

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ความเข้าใจผิดของโคเลสเตอรอลเร่ิมเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1953 เมอ่ื Ancel Keys นกั ระบาดวทิ ยา (ภาพที่ 3.7) เสนอผลงานวชิ าการ อนั น�ำไปส่แู นวคิดท่ีเรยี กวา่ Lipid Hypothesis20 โดยเขารายงานการ ศกึ ษาใน 6 ประเทศ พบวา่ ประเทศท่ีคนกินอาหารท่มี ีไขมนั อ่มิ ตัวและ โคเลสเตอรอลสูงจะพบเป็นโรคหัวใจมากด้วย มีประเทศอังกฤษและ เวลส์ แคนาดา ออสเตรเลยี อิตาลี อเมริกา ญ่ีปุน่ (ภาพที่ 3.8) และ เสนอเพม่ิ เติมในปี ค.ศ. 1970 ในการศกึ ษาใน 7 ประเทศ (six-country study) หลังจากนั้นก็มงี านวิจยั สนบั สนุนอยา่ งกวา้ งขวาง ทำ� ให้ทฤษฎี น้ีได้รับการยอมรับแพร่หลายขึ้นในวงนักวิชาการและถือเป็นหัวใจของ การบ�ำบัดโรคหัวใจของแพทย์แผนปัจจุบันในสมัยนั้นเป็นต้นมาจน ปัจจุบัน เนื่องจากในขณะน้ันอุบัติการณ์การเสียชีวิตของโรคหัวใจใน สหรฐั อเมรกิ าเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ จากรอ้ ยละ 10 เมอื่ ตน้ ศตวรรษที่ 20 มาเปน็ ร้อยละ 30 ในปี ค.ศ. 1950 และร้อยละ 45 จนถงึ ปัจจบุ ัน ภาพที่ 3.8 รายงาน ของ Ancel Keys21 HYPERLINK “http://coconutoil.com/wp-content/uploads/sites/6/2012/04/ancel-keys.gif” http://coconutoil.com/wp-content uploads/ sites/6/2012/04/ancel-keys.gif กองการแพทย์ทางเลือก 43 43 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ถ้าเราดกู ารเปลยี่ นแปลงของอาหารใน 100 ปีท่ผี ่านมา กอ่ นปี ค.ศ. 1900 ในอเมริกายังใช้น้�ำตาลส่วนใหญ่จากอ้อย (sugar cane) ตอ่ มาอตุ สาหกรรมอาหารเพอ่ื ลดตน้ ทนุ ลงกผ็ ลติ นำ�้ ตาลจากบที (sugar beet) และพัฒนามาเป็นน�้ำตาลจากข้าวโพด (corn sugar) หลัง สงครามโลกคร้ังที่ 2 มีการผลิตธัญพืชกันมาก มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารหลายรูปแบบ เชน่ พวกเบเกอรี พาสตา้ จากขา้ วสาลี (wheat products) ขนมปงั ซงึ่ บรรจหุ บี หอ่ ขายกนั ทว่ั ไป ทำ� ใหป้ ระชาชนบรโิ ภค ขา้ ว แป้ง น้ำ� ตาลมากขึ้น22 เช่นเดียวกัน เมื่อราวปี ค.ศ. 1900 คนอเมริกาส่วนใหญ่ยังใช้ น้�ำมันจากเนยแข็ง น�้ำมันหมู (lard) น�้ำมันมะพร้าว น�้ำมันมะกอก ตอ่ มากม็ กี ารพฒั นาใหน้ ำ้� มนั ไมม่ คี วนั มากในการประกอบอาหารและไม่ เหมน็ หืนในเวลาเกบ็ ไวใ้ ช้ โดยใชข้ บวนการ Hydrogenation ทำ� ให้เกิด ผลติ ภณั ฑ์ trans fat ขนึ้ ในขณะเดยี วกนั กม็ ีการผลติ น้�ำมันพชื ใช้แทน นำ้� มนั สตั วก์ นั จนแพรห่ ลาย โดยเฉพาะนำ้� มนั พชื จากถว่ั เหลอื ง ขา้ วโพด การพัฒนาเกดิ ขึ้นตามลำ� ดับจนถงึ ประมาณปี ค.ศ. 1940 หลงั จากนั้น กม็ กี ารเสนอทฤษฎไี ขมนั ของ Ancel Keys ไขมนั อม่ิ ตวั และโคเลสเตอรอล ถกู ทำ� ใหเ้ ปน็ ตวั การกอ่ โรคหวั ใจและมะเรง็ จงึ มกี ารรณรงคใ์ หล้ ดอาหาร ไขมันจากเน้ือสัตว์ ไข่ ตลาดจึงเต็มไปด้วยอาหารประเภท ข้าว แป้ง นำ�้ ตาล ไขมนั พืช และไขมันทรานซ์ ซง่ึ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อสุขภาพ ตามมา เช่น โรคหวั ใจ โรคมะเร็ง เป็นตน้ 22 44 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) จนถงึ ปี ค.ศ. 1977 วุฒสิ มาชิก George McGovern ประธาน Committee on Nutrition and Human needs ไดต้ พี มิ พร์ ายงาน Dietary Goals for the United States23 ซึ่งรายงานดงั กล่าวอาศยั ขอ้ มลู จาก US Department of Agricultural (USDA) ซง่ึ ไดป้ ระกาศวา่ “การบริโภคไขมันมากเกินไป โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัวก่อให้เกิดโรค 6 ใน 10 ท่ีเป็นสาเหตุของการตายในเวลาน้ัน” รายงานดังกล่าวยัง แจ้งเตือนให้ชาวอเมริกันใช้น�้ำมันพืชแทนน้�ำมันสัตว์ ใช้มาการีนและ น้�ำมันข้าวโพดแทนเนยแข็งน้�ำมันจากหมูและวัว (lard and tallow) แนวคดิ เหลา่ น้ีเปน็ ทีม่ าของ USDA Dietary Guideline ในเวลาต่อมา ซ่ึงให้แนวทางด้านโภชนาการแก่ประชาชนโดยให้รับประทานอาหารท่ี ใหพ้ ลงั งานจากไขมนั ตำ่� กวา่ รอ้ ยละ 30 คารโ์ บไฮเดรตสงู รอ้ ยละ 50-60 โปรตนี รอ้ ยละ 20-30 ตามพรี ะมดิ อาหารทปี่ รากฏตามหนงั สอื ตำ� ราดา้ น โภชนาการโดยทว่ั ไป และความคดิ นไี้ ดเ้ ผยแพรไ่ ปใหย้ ดึ ถอื เรยี นกนั ทวั่ โลก ซึ่งเราเรียกวา่ ระบบอาหารไขมันต่ำ� จนถงึ ปจั จบุ ันนี้ ยอ้ นกลับไป ในปี ค.ศ. 1957 John Yudkin ศาสตราจารยด์ า้ น สรีรวิทยาและโภชนาการแห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นผู้กล่าวว่า โรคหวั ใจมสี าเหตมุ าจากอาหารทเ่ี รากนิ และเขาชใ้ี หเ้ หน็ วา่ นำ้� ตาลเปน็ ตัวก่อให้เกิดโรคหัวใจ นอกจากการสบู บหุ ร่ี การขาดการออกก�ำลังกาย ความเครียด และอ่ืน ๆ โดยเขาตีพิมพ์ในหนังสือช่ือ Sweet and Dangerous25 ในปี ค.ศ. 1964 เขาได้ศึกษาพบว่าในคนไข้โรคหัวใจ บริโภคนำ้� ตาลซโู ครส (glucose plus fructose) มากกวา่ คนทว่ั ๆ ไป โดยคนเป็นโรคหัวใจบริโภคน�ำ้ ตาล 147 กรมั ต่อวนั เมอ่ื เทียบกับคนที่ กองการแพทย์ทางเลอื ก 45 45 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ไม่ไดเ้ ป็นโรคหัวใจบริโภค 74 กรมั ตอ่ วนั กลุม่ ควบคุมบรโิ ภค 67 กรัม ต่อวัน และเขาเป็นคนแรกที่แสดงให้เห็นว่าการกินน�้ำตาลมากท�ำให้ ระดับไตรกลีเซอไรด์และอินซูลินในเลือดสูงขึ้น เขาตีพิมพ์งานวิจัย เกี่ยวกับน้�ำตาลซูโครสออกมาจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะน้�ำตาลฟรุกโตส ในปี ค.ศ. 1972 เขาตีพิมพ์หนังสือชื่อ Pure, White and Deadly ออกเผยแพร่ความรู้และได้เตือนสังคมให้ระวังการบริโภคน�้ำตาลไม่ให้ มากเกนิ ไป โดยเฉพาะนำ้� ตาลฟรกุ โตสวา่ จะทำ� ใหเ้ กดิ โรคหวั ใจโรคเบาหวาน โรคตา โรคระบบทางเดินอาหาร โรคที่เกดิ จากการอกั เสบตา่ ง ๆ ในปี ค.ศ. 1972 ในอเมริกา นพ.แอทคินสม์ องเห็นอนั ตรายท่ี เกดิ จากการบรโิ ภคอาหารคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป โดยเฉพาะน�้ำตาล ซ่ึงเขาเชื่อว่ามันเป็นตัวก่อให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ เขาจงึ ใชอ้ าหารทล่ี ดคารโ์ บไฮเดรตลงอยา่ งมากในการรกั ษาโรคเหลา่ นนั้ และไดพ้ มิ พ์หนังสอื ชื่อ Dr. Atkins’ New Diet Revolution24 ซง่ึ เปน็ คัมภรี ์อาหาร low carb diet ส�ำหรบั พิชติ โรคต่าง ๆ ดงั กลา่ ว ไดร้ ับ ความเช่ือถือและใช้กันมาอย่างได้ผลดี จนถึงปี ค.ศ. 1990 จึงมีการ ปรับปรงุ และพมิ พใ์ หมอ่ กี ครั้งหนง่ึ หลงั จากนนั้ ตอ่ มาอกี 3 ทศวรรษ Dr. George Mann26 ผอู้ ำ� นวยการ ร่วมในโครงการวจิ ยั The Framingham study ไดท้ ำ� การศกึ ษา พบว่า โคเลสเตอรอลไม่ใช่สาเหตุของโรคหัวใจ ซึ่งต่อมาศาสตราจารย์ Uffe Ravnskov27 นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนได้ทบทวนรายงานและข้อมูล โดยละเอียด จึงพบว่ามีความผิดพลาดใน Lipid Hypothesis ซ่งึ Keys เคยเสนอเอาไวใ้ นเรือ่ ง six country study ดงั ท่ีกลา่ วถงึ ใน กองการแพทย์ทางเลือก 46 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ตอนตน้ โดยเขาชใ้ี หเ้ หน็ วา่ Keys ใชต้ วั เลขในหกประเทศซง่ึ นอ้ ยเกนิ ไป แต่ถ้าใช้ 22 ประเทศ ซึง่ เขายกมาเปรยี บเทยี บ ก็จะพบวา่ ตรงกันข้าม กับผลท่ี Keys เสนอไว้ว่า ประเทศท่ีคนบริโภคอาหารที่ไขมันอิ่มตัว ปริมาณมากจะมีโรคหัวใจสูงตามไปด้วย แต่เขาพบว่า บางประเทศ บรโิ ภคไขมนั อิม่ ตวั น้อยแตก่ ลับมีคนเปน็ โรคหวั ใจมากก็มี เชน่ จอร์เจีย ทาจิกีสถาน โครเอเชีย มาซิโดเนีย อาร์เซอร์ไบจัน มอนโดวา ยูเครน เปน็ ตน้ บางประเทศคนบรโิ ภคไขมนั อม่ิ ตวั มากแตก่ ลบั เปน็ โรคหวั ใจนอ้ ย เช่น ออสเตรีย ฟินแลนด์ เบลเยี่ยม ไอซ์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ เนเธอรแ์ ลนด์ ฝร่งั เศส เปน็ ต้น (ภาพท่ี 3.9) ภาพที่ 3.9 ไขมนั อม่ิ ตัวกบั โรคหัวใจในประเทศตา่ ง ๆ21 HYPERLINK “https://healthimpactnews.com/wp-content/uploads/sites/2/2011/07/fat-heart-disease.gif” https://healthimpactnews.com/ wp-content/uploads/sites/2/2011/07/fat-heart-disease.gif กองการแพทยท์ างเลอื ก 47 47 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) การกนิ อาหารทม่ี ไี ขมนั อมิ่ ตวั และโคเลสเตอรอลจากสตั วม์ าก ทำ� ใหเ้ ปน็ โรคหวั ใจจรงิ หรอื มงี านวจิ ยั หลายชนิ้ ทนี่ า่ สนใจเกย่ี วกบั เรอื่ งน้ี ตน้ ปี ค.ศ. 1960 Dr.Geoge Mann28 แห่งมหาวิทยาลัย Vanderbilt ไดศ้ ึกษาชนพ้ืนเมืองพวก Masai ในเคนยา พบวา่ ชนพื้นเมอื งเหล่านม้ี ี อาชีพเล้ยี งสัตว์ กนิ อาหารทง้ั หมดเปน็ เนือ้ สัตว์ นม เลือดสัตว์ แตพ่ บว่า คนเหล่านเ้ี ป็นโรคหวั ใจนอ้ ย ระดบั โคเลสเตอรอลกต็ ่ำ� กว่าชาวอเมรกิ นั ถึงครง่ึ หนึ่ง และไดต้ รวจดดู า้ นพยาธิวิทยาของหัวใจชนเผา่ นที้ เี่ สียชีวติ ก็พบมี Artheroscclerosis เหมือนคนอเมริกันแต่ไม่เคยมีอาการเจ็บ หน้าอก (heart attack) (ภาพท่ี 3.10) ภาพที่ 3.10 ชนพื้นเมอื ง Maasai ในเคนยาและ Inuit แถบอาร์คติค21 http://coconutoil.com/wp-content/uploads/sites/6/2012/04/diets-low-risk-heart-disease1.gif 48 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ในปี ค.ศ. 1967 Dr. SL Malhotra29 ไดร้ ายงานผลการศึกษา ลงใน the British Heart Journal ศึกษาพนักงานรถไฟท่ีอยู่ใน รฐั ปญั จาบเหนอื (Panjab) ทางตอนเหนอื ของอนิ เดยี และทอี่ ยใู่ นรฐั มาดาส (Madras) ทางตอนใต้ของอินเดีย พบว่า พนักงานรถไฟปัญจาบทาง เหนอื รบั ประทานเนอื้ สตั วม์ ากกวา่ พนกั งานรถไฟมาดาสทางใต้ 17 เทา่ สบู บหุ รมี่ ากกวา่ 8 เทา่ แตพ่ นกั งานรถไฟในปญั จาบอายยุ นื กวา่ พนกั งาน ในมาดาส 12 ปแี ละพบโรคหวั ใจนอ้ ยกวา่ 7 เทา่ นอกจากนนั้ การศกึ ษา ในชนพวกเอสกิโมก็พบว่าชนเหล่าน้ีกินอาหารทั้งหมดเป็นไขมันสัตว์ เน้ือสัตว์จากทะเล ปลา แต่ไม่พบเป็นโรคหัวใจหรือโรคมะเร็ง30 ในประเทศจีนก็เช่นเดียวกันในการส�ำรวจพ้ืนท่ีอย่างกว้างขวาง พบว่า ในบรเิ วณทค่ี นดม่ื นมมากเปน็ โรคหวั ใจนอ้ ยกวา่ บรเิ วณทคี่ นดมื่ นมนอ้ ย ถงึ 2 เทา่ 31 ในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน พบวา่ คนกรีกรับประทาน อาหารไขมนั จากแพะ ไสก้ รอก เนยจากนมแพะ คดิ เปน็ เกอื บรอ้ ยละ 70 ของพลงั งานในแตล่ ะวนั แตพ่ บอตั ราการปว่ ยเปน็ โรคหวั ใจตำ�่ 32 และใน การศกึ ษาของกลมุ่ Framingham ในตัวอยา่ งคน 16,000 คน ในเมอื ง Framingham ใน Puerto Rico และที่ Honolulu33 เป็นเวลา 6 ปี พบว่า คนทม่ี ี heart attack ส่วนใหญ่อยใู่ นกลมุ่ ทก่ี นิ อาหารทีม่ ไี ขมนั ไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนมากกว่ากลุ่มอื่น การศึกษาในคนท่ีอยู่ในประเทศ จอร์เจียที่กินเนื้อสัตว์มากกลับมีอายุยืนกว่ากลุ่มท่ีกินเน้ือสัตว์น้อย34 หรือในคนญี่ปุ่นที่เกาะโอกินาวาซ่ึงเป็นกลุ่มคนท่ีมีอายุยืนที่สุดในโลก อายุเฉลี่ย 84 ปี พบว่าคนเหล่านี้กินอาหารไขมันจากสัตว์ เช่น ไข่ กองการแพทยท์ างเลือก 49 49 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) เนอ้ื ไก่ เนอื้ หมู เนอ้ื วัว อาหารทะเล มากขึ้นหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 235 ในปี ค.ศ. 1998 มีการทบทวนรายงาน27 ฉบับเกี่ยวกับอาหารกับ โรคหวั ใจ จำ� นวนตวั อย่าง 150,000 คน ไมพ่ บว่ามีความแตกตา่ งกนั ใน เร่ืองอาหารระหว่างคนที่เป็นโรคหัวใจกับพวกท่ีไม่ได้เป็นโรคหัวใจ ในปี ค.ศ. 2002 มงี านวจิ ยั ของนกั วจิ ยั เดนมารค์ ตพี มิ พใ์ น the European Journal of Clinical Nutrition 2002 กไ็ มพ่ บความแตกตา่ งกันของ รปู แบบอาหารในคนไขโ้ รคหวั ใจ โดยกลมุ่ หนง่ึ กนิ อาหารเนอ้ื สตั วก์ บั กลมุ่ ท่ีหลีกเล่ียงอาหารเนื้อสัตว์ และในปี ค.ศ. 2004 กลุ่มนักวิจัยสวีเดน ศกึ ษาพบวา่ ในคนทบ่ี รโิ ภคเนยแขง็ (Butter) ไมม่ คี วามเสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคหัวใจหรอื heart attack ดงั น้ันโดยสรุป การทก่ี ลา่ วว่ากินอาหาร ไขมันอิ่มตัวจากสัตว์มากท�ำให้เป็นโรคหัวใจจึงไม่ถูกต้อง3 และล่าสุดมี การทบทวนรายงานขนาดใหญ่ 2 ชนิ้ โดย Jacobson และคณะ ในปี ค.ศ. 2009 ทบทวนรายงาน21 ฉบบั ในคนไข3้ 47,747 ราย ตดิ ตามไป 5-23 ปี ไมพ่ บความสมั พนั ธข์ องการกนิ อาหารไขมนั อม่ิ ตวั สงู กบั การเกดิ โรคหวั ใจ (cardiac events)36 และ Siri-Tarino และคณะ ในปี ค.ศ. 2010 ทบทวน รายงาน 11 ฉบับ คนไข้ 344,696 ราย ตดิ ตาม 4-10 ปี พบว่า การกิน อาหารไขมนั อ่ิมตวั สงู ไมม่ ีความเกีย่ วขอ้ งกับการเกดิ โรคหัวใจ37 ระดบั โคเลสเตอรอลในเลือดสงู จะท�ำให้เป็นโรคหวั ใจจรงิ หรอื ปัญหาน้ีเป็นปัญหาที่เช่ือกันอย่างกว้างขวางและเป็นท่ีมาของ การใชย้ าลดไขมนั ในเลอื ดกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ถา้ เรามาดกู ารศกึ ษาทผี่ า่ น มาทนี่ า่ สนใจ คือ The Framingham study38 ซ่ึงเรมิ่ ในปี ค.ศ. 1948 กองการแพทย์ทางเลอื ก 50 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากรฐั บาล โดยศกึ ษาชาวเมอื ง Framingham 500 คน ศึกษาถึงปัจจัยเส่ียงต่าง ๆ ต่อโรคหัวใจ พบว่า ระดับโคเลสเตอรอล ในเลือดสงู มีโอกาสเสย่ี งตอ่ โรคหวั ใจ ตอ่ มาอีก 16 ปี กม็ กี ารวิจยั จาก กลุ่มนี้ พบว่า คนไข้ท่ีมีอาการเจ็บหน้าอก และคนที่ไม่ได้มีอาการเจ็บ หน้าอก มรี ะดบั โคเลสเตอรอลไมแ่ ตกตา่ งกนั และคนไขท้ ีม่ อี าการเจ็บ หน้าอกครึ่งหน่ึงมีระดับโคเลสเตอรอลต�่ำ และ 30 ปี หลังจากการ รายงานแรกออกไป พบวา่ ในคนท่เี สียชีวิตทีม่ อี ายุสงู กว่า 47 ปี มีท้งั ระดบั โคเลสเตอรอลทง้ั สงู และตำ่� และพบวา่ คนไขท้ มี่ อี ายมุ ากกวา่ 50 ปี ข้ึนไปท่ีมีโคเลสเตอรอลต�่ำ มีโอกาสเส่ียงต่อการเสียชีวิตจากโรคหัวใจ มากกวา่ คนทม่ี รี ะดบั โคเลสเตอรอลสงู นกั วจิ ยั สำ� นกั นไี้ ดใ้ หข้ อ้ สงั เกตไวว้ า่ การลดลงของระดับโคเลสเตอรอลในเลือดทุก 1 มลิ ลกิ รัมต่อมลิ ลลิ ิตร จะเพิม่ ความเส่ยี งตอ่ โรคหวั ใจและอัตราตายทวั่ ไปมากขนึ้ รอ้ ยละ 11 ภาพที่ 3.11 ขอ้ สรุปของ The Framingham Study21 HYPERLINK “https://www.youtube.com/watch?v=vRe9z32NZHY” https://www.youtube.com/watch?v=vRe9z32NZHY กองการแพทย์ทางเลอื ก 51 51 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) นอกจากนัน้ NHLBI’s Multiple Risk Factor Intervention Trial (MRFIT)39 ศึกษาความสัมพันธ์ของระดับโคเลสเตอรอลกับ โรคหวั ใจในคน 362,000 คน อตั ราตายตอ่ ปมี ตี ง้ั แตต่ ำ�่ กวา่ 1 ตอ่ 1,000 ทีร่ ะดับโคเลสเตอรอล 140 มลิ ลกิ รมั /ดล. ถงึ 2 ต่อ 1,000 คน ท่รี ะดับ โคเลสเตอรอลสงู กว่า 300 มิลลกิ รัม/ดล. การศึกษาของ The International Atherosclerosis Project 40 พบว่า ในการตรวจศพ 22,000รายใน 14 ชาติ ทม่ี ี atheroma ใน หลอดเลอื ดขนาดเท่ากันในสว่ นต่าง ๆ ของโลก ในคนทก่ี นิ อาหารไขมัน สัตว์สูงเปรียบเทียบกับคนท่ีกินมังสวิรัติและในคนท่ีเป็นโรคหัวใจและ คนทีไ่ มไ่ ด้เปน็ โรคหัวใจ พบวา่ ในคนที่มเี สน้ เลือดอดุ ตนั ทีห่ ัวใจมีระดับ โคเลสเตอรอลตำ�่ เปน็ สว่ นใหญ่ มกี ารศกึ ษาในสตรที น่ี า่ สนใจ พบวา่ สตรที มี่ รี ะดบั โคเลสเตอรอล สงู ไมใ่ ชป่ จั จยั เสยี่ งตอ่ โรคหวั ใจ ระดบั โคเลสเตอรอลตำ่� กลบั นา่ กลวั กวา่ ซ่ึงรายงานนี้ตีพิมพ์ใน Circulation ปี ค.ศ. 1992 และก่อนหน้าน้ี มรี ายงานของฝรง่ั เศสใน The Lancet 1989 พบวา่ สตรสี งู อายทุ อ่ี ายยุ นื มกั มรี ะดบั โคเลสเตอรอลสงู และพบวา่ สตรสี งู อายทุ ม่ี รี ะดบั โคเลสเตอรอลตำ�่ มอี ตั ราตายมากวา่ สตรที มี่ รี ะดบั โคเลสเตอรอลสงู ถงึ 5 เทา่ และรายงาน ใน British Medical Journal 2003 รายงานจากมหาวิทยาลัย British Columbia พบว่า การใชย้ ากลมุ่ Statins เพื่อลดไขมนั โคเลสเตอรอล ในเลอื ด ไม่มปี ระโยชนใ์ นการป้องกนั โรคหัวใจ และการศกึ ษาในผปู้ ว่ ย 10,000 รายใน American journal of Cardiology 2003 พบวา่ อตั รา 52 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ตายในคนไขไ้ มแ่ ตกตา่ งกนั ในคนไขส้ ามกลมุ่ คอื กลมุ่ ทไี่ ดร้ บั ยา Lipitor กลมุ่ ทไี่ มไ่ ดร้ บั ยาอะไรเลย และกลมุ่ ทไี่ ดร้ บั ยาลดไขมนั อน่ื ๆ ดงั นนั้ โดย สรปุ ระดบั โคเลสเตอรอลในเลอื ดสงู ไมไ่ ดท้ ำ� ใหเ้ สยี่ งตอ่ โรคหวั ใจตรงขา้ ม กลบั ลดความเสี่ยงต่อโรคหวั ใจในผูส้ ูงอายุดว้ ย3 การกนิ อาหารไขมนั สงู ทำ� ใหร้ ะดบั โคเลสเตอรอลในเลอื ดสงู จรงิ หรอื ไม่ ค�ำถามนี้น่าสนใจ เพราะถา้ มันจรงิ เราควรจะลดการกนิ อาหาร ไขมนั สงู แตถ่ า้ ไมจ่ รงิ เรากก็ นิ อาหารทม่ี ไี ขมนั สงู ได้ มกี ารศกึ ษาทน่ี า่ สนใจ ของ The Framingham study ในปี ค.ศ. 1950 ศกึ ษาในคนทวั่ ไปใน หมบู่ า้ น Framingham รฐั แมสซาชเู ซตส์ 1,000 คน พบวา่ อาหารทเ่ี ขา กนิ กบั ระดบั โคเลสเตอรอลในเลอื ดไมม่ คี วามเกยี่ วขอ้ งกนั ตอ่ มากม็ กี าร ศึกษา The Tecumseh Study เป็นการศึกษาแบบเดียวกับกลุ่ม Framingham ศึกษาคนในหมู่บ้าน Tecumseh รัฐมิชิแกน 2,000 คน ไม่พบความแตกต่างกันของอาหารในคนท่ีมีระดับโคเลสเตอรอลต่�ำ ปานกลาง และสงู แตก่ ลับพบวา่ ในคนท่ีมรี ะดบั โคเลสเตอรอลตำ่� กลบั กินอาหารท่ีมีไขมันอ่ิมตัวมากกว่ากลุ่มอ่ืน รายงานน้ีตีพิมพ์ใน The American Journal of Nutrition 19763 การศึกษาของนักวิจัย มหาวิทยาลัย New York at Buffalo ตีพิมพ์ใน Journal of The American college of Nutrition 2004 ศกึ ษาในคนทวั่ ไป 11 คน โดย ใหก้ นิ อาหารไขมนั ร้อยละ 19 เป็นเวลา 3 สัปดาห์ หลงั จากน้ันเจาะหา ระดบั โคเลสเตอรอล ต่อมาให้คนเหลา่ นัน้ เปลย่ี นมากินอาหารไขมันสงู ร้อยละ 50 อีก 3 สัปดาห์ แล้วเจาะเลือดเปรียบเทียบกันดู พบว่า กองการแพทยท์ างเลือก 53 53 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ในช่วงกินอาหารไขมันสูงจะท�ำให้ระดับ HDL–C สูงขึ้น แต่ LDL-C ไม่สูงข้ึน โดยสรุป เราพบว่า การกินอาหารไขมันสูงไม่ท�ำให้ระดับ โคเลสเตอรอลในเลอื ดสงู ตามไปดว้ ย3 การศึกษา 167 ชิ้น ใน 3,500 คน ใน 50 ปที ผี่ า่ นมา พบวา่ โคเลสเตอรอลในอาหาร 100 มลิ ลกิ รมั /ดล. จะเพมิ่ ระดบั โคเลสเตอรอล ในเลือด 2.2 มิลลิกรัม/ดล.เท่านั้น เรายังพบว่า การกินอาหาร โคเลสเตอรอล ทำ� ให้ ทั้ง LDL-C และ HDL-C เพม่ิ ขน้ึ ด้วย ซ่ึงทำ� ให้ อตั ราสว่ นนีไ้ มเ่ ปล่ียนแปลง เป็นทยี่ อมรับกันทวั่ ไปแล้วว่า อัตราสว่ นนี้ เป็นตัวบ่งชี้ท่ีส�ำคัญของโรคหัวใจ การให้อาหารท่ีมีโคเลสเตอรอลเพ่ิม 100 มลิ ลกิ รมั /ดล. จะทำ� ให้ LDL-C เพิ่มขึ้น 1.9 มลิ ลกิ รัม/ดล. และ HDL-C เพ่มิ ข้ึน 0.4 มิลลิกรมั /ดล. อตั ราสว่ น LDL-C : HDL-C เปลี่ยน จาก 2.60 เป็น 2.61 เทา่ ซง่ึ นอ้ ยมาก41,42 Dr.Willium Castelli ผอู้ ำ� นวยการ The Framingham Study กล่าวย�้ำถึงการค้นพบว่า “คนท่ีกินไขมันอิ่มตัวมาก กินอาหารท่ีมี โคเลสเตอรอลมาก กินอาหารให้พลังงานมาก กลับจะมีระดับ โคเลสเตอรอลต�ำ่ คนเหล่าน้นั นำ�้ หนกั ข้นึ น้อยและรา่ งกายแข็งแรงมาก ดว้ ย”43 นำ้� มันมะพรา้ ว (Coconut oil) น�้ำมันมะพร้าวเป็นน้�ำมันท่ีมีกรดไขมันอ่ิมตัวสายปานกลางท่ีมี ประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพอยา่ งมาก สามารถนำ� มาใชบ้ รโิ ภคเพอ่ื บำ� บดั โรคได้ เป็นอย่างดีในมนุษย์ มีงานวิจัย พบว่า น้�ำมันมะพร้าวมีคุณประโยชน์ อยา่ งมาก กล่าวคอื 3,44 54 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) 1) น้�ำมันมะพร้าวประกอบด้วยร้อยละ 90 เป็นน้�ำมันอิ่มตัว สายปานกลาง (medium chain triglycerides) ซึ่งดดู ซึม ได้เร็วจากทางเดินอาหาร แตกต่างจากกรดไขมันสายยาว ที่ดูดซึมได้ช้า ตับน�ำไปใช้สร้างเป็น Ketone bodies ให้ พลงั งานไดโ้ ดยตรง ไมม่ อี นั ตรายตอ่ รา่ งกายแตเ่ ปน็ ประโยชน์ ในการบำ� บดั โรคของสมอง เช่น โรคลมชกั โรคอัลไซเมอรไ์ ด้ 2) น้�ำมันมะพร้าวเป็นอาหารพื้นเมืองของชาวเกาะต่าง ๆ ชาวพ้ืนเมืองเหล่าน้ีบริโภคน�้ำมันมะพร้าวเป็นอาหารหลัก คดิ เปน็ พลงั งานถึงรอ้ ยละ 60 ของพลังงานในแต่ละวัน เช่น ชนพนื้ เมอื ง Tokelauans ในเกาะของนวิ ซแี ลนดท์ างตอนใต้ ของมหาสมุทรแปซิฟิค และชนพ้นื เมือง Kitavans ซ่งึ พบว่า จากการติดตามศึกษาชนเหล่านี้มีสุขภาพแข็งแรงและไม่มี โรคหัวใจ 3) น้�ำมันมะพร้าวช่วยเพิ่มการเผาผลาญพลังงานได้มากกว่า ไขมนั สายยาว ในปรมิ าณเทา่ กนั มนั จงึ ชว่ ยในการลดนำ้� หนกั ตวั ไดด้ ี ในการศกึ ษาหนงึ่ ถา้ ใหน้ ำ�้ มนั มะพรา้ วซง่ึ มกี รดไขมนั ปานกลาง 1-20 กรมั ต่อวันจะเพ่ิมการเผาผลาญพลงั งานได้ ร้อยละ 5 ใน 24 ชว่ั โมงคิดเปน็ 120 แคลอรตี อ่ วัน 4) กรด lauric ในน้�ำมันมะพร้าว (มีอยู่ประมาณร้อยละ 50) เมอื่ ดดู ซมึ ทางอาหารและถกู ยอ่ ยโดยเอน็ ไซม์ จะเปลย่ี นเปน็ Monolaurin ซึ่งกรดท้ังสองตัวนี้มีฤทธิ์ฆ่าเช้ือแบคทีเรีย ไวรัส และเชือ้ รา กองการแพทยท์ างเลอื ก 55 55 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) 5) การบริโภคน้�ำมันมะพร้าวช่วยลดความอยากอาหารได้ เนื่องจากกรดไขมันสายปานกลางน้ีจะเปล่ียนเป็นสาร Ketones ซ่ึงมีคุณสมบัติท�ำให้เบ่ืออาหาร ซึ่งจะท�ำให้ รับประทานอาหารนอ้ ยลง จงึ ทำ� ให้นำ้� หนกั ตัวลดลงไปดว้ ย 6) น�้ำมันมะพร้าวชว่ ยเพ่มิ HDL-C และเปลีย่ น LDL-C ให้เป็น Benign subtype ในการศึกษาในคนและหนู พบว่า การบรโิ ภคนำ�้ มนั มะพรา้ วจะทำ� ใหร้ ะดบั ไตรกลเี ซอไรด์ และ LDL-C ลดลง เพิ่ม HDL-C ขึ้น ซึ่งช่วยลดความเส่ียงต่อ โรคหวั ใจได้ ซงึ่ แตเ่ ดมิ เขา้ ใจผดิ วา่ นำ�้ มนั มะพรา้ วเพม่ิ ความเสยี่ ง ตอ่ โรคหัวใจ 7) น้�ำมันมะพร้าวซ่ึงใช้ในอาหารแบบ Ketogenic Diet (ใหค้ ารโ์ บไฮเดรตตำ่� มาก ๆ และใหไ้ ขมนั สงู ) ใชร้ กั ษาโรคลมชกั ในเดก็ ทไี่ มต่ อบสนองตอ่ การใหย้ ากนั ชกั เนอื่ งจากกรดไขมนั อิ่มตัวสายปานกลางในน�้ำมันมะพร้าวจะเปลี่ยนเป็น สาร Ketones ซง่ึ จะมผี ลระงบั การชักอยา่ งได้ผลดี 8) การศกึ ษาพบวา่ นำ�้ มนั มะพรา้ วชว่ ยใหเ้ สน้ ผมแขง็ แรง ผวิ หนงั มคี วามชมุ่ ชน้ื ไมแ่ หง้ และใชท้ าปอ้ งกนั แสงแดดได้ นอกจาก นนั้ การใชน้ ำ้� มนั มะพรา้ วอมบว้ นปากยงั ชว่ ยฆา่ เชอ้ื แบคทเี รยี ลดการอกั เสบของเหงอื กและช่วยลดกล่นิ ปาก 9) การศกึ ษาพบวา่ กรดไขมนั ในนำ�้ มนั มะพรา้ วเมอื่ เปลยี่ นเปน็ Ketones แลว้ จะช่วยใหเ้ ซลลส์ มองน�ำไปใชเ้ ปน็ พลงั งาน แทนกลโู คส ซงึ่ เซลลส์ มองในคนไขอ้ ลั ไซเมอรน์ ำ� กลโู คสไป ใชไ้ ด้ลดลง ทำ� ให้คนไขฟ้ ้ืนตัวจากความจำ� เสอ่ื มไดเ้ รว็ 56 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 10) การศึกษาพบว่าการบริโภคน�้ำมันมะพร้าวช่วยลดไขมัน หนา้ ทอ้ งได้ โดยการทดลองในชาย 20 ราย ใหร้ บั ประทาน น�้ำมันมะพร้าววันละ 30 ซซี ตี อ่ วนั พบวา่ รอบเอวลดลงได้ 2.86 ซม. ในสีส่ ัปดาห์ และทดลองในหญิง 40 ราย ให้กนิ น�ำ้ มันมะพร้าว 30 ซีซีต่อวัน พบว่า สามารถลด BMI และ รอบเอวลงไดเ้ ชน่ กัน45 อา้ งองิ 1) Enig M, Fallon S, The Skinny on Fats. The Cookbook that Challenges Politically Correct Nutrition and Diet Dictocrates, second editions, New Trends Publishing, Inc. 1999. 2) Whitney E, Rolfes SR.Understanding Nutrition, Eleventh edition, Belmon t CA, Thomson Wadsworth. 2008. 3) Enig M, Fallon S, Eat Fat Lose Fat, New York, Plum Book.2006. 4) Pinckney, Edward R, Cathey Pinckney. The Cholesterol Controversy, Los Angeles, Sherbourne Press.1973 and Enig M, Fed Proc. 1978 ; 37 : 2215-2230. 5) Machlin IJ, Bendich A. FASEB Journal. 1987 ; 1 : 441-445. 6) Okuyama H, Prog Lipid Res. 1977. 35 ; 4 : 409-457. 7) Simopoulos AP, Salem N, Am J Clin Nutr. 1992;55 : 411-414. 8) Watkins BA et al. Importance of Vitamin E in Bone Formation and in Chondrocyte function. AOCS Proceedings. 1996. 9) Watkins BA, Seifert MF.Food lipids and bone health in Lipids and Health. New York. Mercel Dekker, Inc. 1996. pp 101. กองการแพทย์ทางเลอื ก 57 57 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 10) Darlene M, Dreon, et al. A very low-fat Diet Is Not Associated with Improved Lipoprotein Profiles in Men with a Predominance of Large, Low- Density Lipoproteins, Am J Clin nutr 1999 ; 69(3)411-418. 11) Hays JH, DiSabatino A et al. Effects of a High Saturated Fat and No-Starch Diet on Serum Lipid Subfractions in Patients with Documented Atherosclerotic Cardiovascular Disease. Mayo Clinic Proceeding. 2003 ; 78, no.11 ; 1331-1336. 12) Volek J, Forsythe C. The Case for Not Restricting Saturated Fat on a Low carbohydrate Diet. Nutrition and Metabolism 2005 ; 2 : 21. 13) Kabara JJ. The Pharmacological Effects of Lipids, The American Oil Chemists Society, Champaign, IL, 1978,1-14. And Cohen LA et al. JNati Cancer Inst, 1986 ; 77 : 43. 14) Lawson LD, Kummerov F. Lipids.1979 ; 14 : 501 -503. Garg ML, Lipids. 1989 ; 24(4) : 334-9. 15) คณติ สรณ์ สมั ฤทธิ์เดชขจร. ไขมันทรานซก์ บั โรคหวั ใจและหลอดเลือด,คลินกิ . 2551 ; 24(6) : 527- 532. 16) www.health.gov/dietaryguideline/2015 scientific-report/PDFs. 17) Jone PJ. Am J Clin Nutr, 1997; 66(2) : 438-46. Julius AD, et al. J Nutr. 1982 ; 112(12) : 2240-9. 18) Cranton EM, Frackelton JP, Journal of Holistic Medicine, spring/summer 1984 : 6-37. 19) Engelberg, Hyman. Lancet, 1992 ; 339 : 727-728 . Wood WG, Lipids. 1999 ; 34(3) : 225-234. 20) Keys A. Diet and Development of Coronary Heart Disease Risk-Factor Status. J Chron Dis;1956 : 4(4)364-380. 21) www.youtube.com/Donald W.Miller Jr, Enjoy eating saturated fat. 58 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 22) Ottoboni A, Ottoboni F. The Modern Nutritional Diseases and How to Prevent Them. (Sparks, Nev.: Vincente Books Inc.2002. 23) Dietary Goals for the United states, prepared by the staff of the select committee on Nutrition and Human needs, United states senate. US Government Printing office, Washington.1977. 24) Atkins RC, Dr. Atkins’ New Diet Revolution. New York, Avon Books. 1992. 25) Yudkin J, Sweet and Dangerous. New York, Wyden1972. 26) George V Mann, Coronary Heart Disease : The Dietary sense and nonsense, London, Janus. 1993. 27) Uffe Ravnskov, The Cholesterol Myths, Washington DC : New Trends.2000. 28) Mann GV. Atherosclerosis in the Maasai, Am J Epidemiol1972 ; 95 : 26-37. 29) Malhotra S. Indian Journal of Industrial Medicine. 1968;14 : 219. 30) Price Western, DDS, Nutrition and Physical Degeneration, Price-Pottenger Nutrition Foundation SanDiego, CA, 1945 : 59-72. 31) Chen, Junshi, Diet, Life-style and Mortality in china : A study of the characteristics of 65 Chinese counties, Cornell University Press. Ithica, NY. 32) Willett WC, Am J Clin Nutr. 1995;61(6s):1402s-1406s; Peres–Liamas F. J Hum Nutr Diet, 1996 ; 9 : 463-471. ; Alberti-Fidanza A, Eur J Clin Nutr1994.48 ; 2 : 85-91. 33) Fernandez NA, Cancer Res, 1975; 35 : 3272.; Martines I, Cancer Res 1975 ; 35 : 3265. 34) Pitskhelauri GZ. The Long Living of Soviet Geurgia. New YORK. Sciences Press. 1982. 35) Moore, Thomas J, Lifespan : What Really Affects Human Longevity, New York, Simon and Schuster.1990. 36) Jacobson MU et al. Intake of carbohydrate compared with intake of saturated fatty acid and risk of myocardial infarction : importance of the glycemic index. Am J Clin Nutr 2009;89(5) : 1425-32. กองการแพทยท์ างเลอื ก 59 59 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) 37) Siri-Tarino PW et al. Meta-analysis of Prospective cohort studies evaluating theassociation of saturated fat with cardiovascular disease .Am J Clin Nutr 2010 ; 91(3) : 535-46. 38) Anderson KM, Castelli WP, Levy D.Cholesterol and Mortality : 30 years of follow from the Framingham study. JAMA 1987 ; 257 : 2176-2180. 39) Multiple Risk Factor Intervention Trial; Risk Factor Changes and Mortality Results. JAMA 1982 ; 248(12) : 1465. 40) McGill HC, General findings of the International Atherosclerosis project. Laboratory Interventions1968 ; 18950 : 498. 41) Castelli W. Concerning the possibility of a Nut Archives of Internal Medicine. 1992 ; 152(7) : 1371-72. 42) Namara DJ. Cholesterol Intake and Plasma Cholesterol, an update. J Am Coll Nutr 1977 ; 16(6 ) : 530-534. 43) Namara DJ. The impact of egg limitations on coronary heart disease : do the numbers add up. J Am Coll Nutr. 2000; 19(5 suppl1) : 540s-548s. 44) www.coconutoil.com/research on coconut oil. 45) Assuncao ML et al. Effects of Dietary coconut oil on the biochemical and Anthrometic Profiles of Women Presenting Abdominal Obesity . Lipids 2009 ; 44 : 593-60. 60 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ตอนที่ 4 กลไกการออกฤทธิข์ องอาหารพรอ่ งแป้ง นพ.Norman Kaplan หัวหน้าแผนกความดันโลหิตสูง มหาวทิ ยาลยั Texus Southern Medical Center เมอื ง Dallas รายงาน ใน Archives of Internal Medicine ในปี ค.ศ. 1989 วา่ ในคนไข้ทีม่ ี ความอว้ นสว่ นบนของรา่ งกาย (อว้ นทีพ่ งุ ) จะพบว่ามีภาวะ Glucose intolerance ไตรกลีเซอไรด์สูง และความดันสูงร่วมด้วยได้บ่อย ข้อสังเกตนีค้ ลา้ ยจะบอกเราวา่ พอเราอ้วนที่พงุ ท�ำให้เรามีภาวะทงั้ สาม อยา่ งตามมา รวมเปน็ สส่ี หาย (Quartet) แตเ่ มอ่ื เขาดขู อ้ มลู โดยละเอยี ด พบวา่ แมจ้ ะพบสส่ี หายบอ่ ยกจ็ รงิ แตไ่ มเ่ สมอไป บางคนมเี บาหวาน หรอื มคี วามดนั โลหติ สงู แตไ่ มอ่ ว้ นกม็ 1ี ดงั นนั้ การสรปุ วา่ ภาวะอว้ นทพี่ งุ ทำ� ให้ มคี วามผดิ ปกตอิ นื่ ๆ ตามมาอาจจะไมถ่ กู ตอ้ งทงั้ หมดทเี ดยี ว นพ. Ralph Defronzo2 ศาสตราจารย์ด้านอายุรศาสตร์หัวหน้าแผนกเบาหวาน มหาวิทยาลยั Texus Health Science Center at Antonio ผ้ทู ศี่ ึกษา เรอ่ื งของภาวะ Insulin Resistant เปน็ คนชใี้ หเ้ หน็ วา่ ความดนั โลหติ สงู ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และความอ้วนของคนไข้ เป็นเพียง ภเู ขาน�้ำแขง็ ทโ่ี ผลข่ น้ึ เหนือน�้ำเท่านนั้ แต่รากของมนั ทเี่ ปน็ สาเหตอุ ยู่ใต้ น้ำ� ท่ีเรามองไมเ่ หน็ คอื ภาวะอินซลู นิ ในเลือดสงู (Hyperinsulinemia) ซึ่งถูกบดบังไว้ท�ำให้เราเข้าใจผิด ท�ำให้เราเห็นเฉพาะภาพภายนอก ซึ่งต่อมา ศาสตราจารย์ Gerald Reaven แหง่ มหาวิทยาลัย Stanford ซง่ึ เป็นผทู้ ่ศี กึ ษาเกย่ี วกับ Metabolic effect ของอินซูลนิ เขารายงาน กองการแพทยท์ างเลือก 61 61 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ในปี ค.ศ. 1988 ในวารสาร Diabetes3 เขาเรยี กมนั ว่า Syndrome X ซ่ึงเป็นกลุ่มอาการที่ประกอบไปด้วย ไขมัน VLDL สูงและ HDL ต่�ำ, insulin resistance, hyperinsulinemia, hyperglycemia, hypertension เขากล่าวว่า ทุกอย่างมันเกิดข้ึนจากภาวะอินซูลินใน เลือดสูง (Hyperinsulinemia) และภาวะด้ือต่ออินซูลิน (Insulin Resistance) ทง้ั สิน้ ดังน้ันเร่ืองอินซูลินจึงเป็นหัวใจส�ำคัญของโรคเร้ือรังเหล่าน้ี เมื่อเรารับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตเข้าไป มันจะย่อยสลายเป็น กลูโคสดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือด น้�ำตาลกลูโคสในกระแสเลือดจะ กระตุ้นให้มีการหล่ังฮอร์โมนอินซูลินออกมาเพื่อพากลูโคสเข้าสู่เซลล์ เซลล์ก็จะน�ำไปใช้เป็นพลังงาน ระดับน้�ำตาลในเลือดก็จะลดต่�ำลง ในกรณีท่ีระดับน้�ำตาลในเลือดต่�ำลง ก็จะไปกระตุ้นให้ร่างกายหลั่ง ฮอรโ์ มนอกี ตวั หนงึ่ คอื กลคู ากอน (Glucagon) ซงึ่ มนั จะทำ� หนา้ ทส่ี ลาย กลูโคสที่ร่างกายเก็บเอาไว้ในเซลล์ตับ เซลล์กล้ามเน้ือ เป็นต้น ระดับ น�้ำตาลในเลือดก็จะสูงข้ึน นี่เป็นกลไกการควบคุมให้ระดับน้�ำตาลใน เลอื ดอยใู่ นภาวะปกติ อนิ ซูลินกบั โรคอว้ น4,5,6 ถ้าเรากินน�้ำตาลเข้าไปมาก น้�ำตาลส่วนหน่ึงจะถูกน�ำไปใช้เป็น พลังงานที่เซลล์สมอง เซลล์กล้ามเนอ้ื ในเซลลต์ า่ ง ๆ ของร่างกาย สว่ น หนึง่ เก็บไวใ้ ช้ในเวลาจำ� เปน็ ในตบั ประมาณ 80 กรัม เก็บไวใ้ นกล้ามเนื้อ 62 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ประมาณ 400 กรัม สว่ นหนึ่งเมื่อเขา้ ไปในเซลล์ตับมันจะเปลี่ยนแปลง เปน็ pyruvate แลว้ เขา้ ไปใน Mitochondria แลว้ เปลยี่ นเปน็ Acetyl-Co A แลว้ ผา่ น TCA cycle เปลย่ี นเปน็ พลงั งานในรปู ของ ATP เกบ็ ไวใ้ นตบั Pyruvate ส่วนหน่ึงใน Mitochondria จะกลับเข้ามาใน Cytoplasmในรปู ของ Citrate ผ่าน Citrate Shuttle system ซึ่งเป็น ขบวนการสรา้ งไขมันขน้ึ ใหม่ (De novo lipogenesis) จาก Citrate เปน็ Free Fatty acid ซึ่งมันจะจับกับ apolipoprotein B (Apo B) สรา้ งเปน็ VLDL (ซ่ึงส่วนประกอบของมันสว่ นใหญ่เปน็ ไตรกลีเซอไรด์) ปลอ่ ยออกมาในกระแสเลอื ด ซง่ึ เมอ่ื VLDL ตวั นปี้ ลอ่ ยไตรกลเี ซอไรดใ์ ห้ เซลลไ์ ปใชเ้ ปน็ พลงั งานแลว้ ตัวมันก็กลายเป็น LDL ซ่งึ เปน็ ตวั กอ่ ปัญหา ในเรอ่ื งโรคอว้ น โรคหวั ใจ ดงั นน้ั จะเหน็ วา่ ถา้ เรากนิ แปง้ และนำ�้ ตาลมาก เกินไป มันกจ็ ะถกู นำ� ไปสรา้ งไตรกลเี ซอไรดม์ ากตามไปด้วย และเกบ็ ไว้ ในเซลลไ์ ขมนั เรากจ็ ะอว้ น นอกจากนน้ั ตามทไี่ ดอ้ ธบิ ายในตอนที่ 2 เรอ่ื ง นำ�้ ตาล เราจะพบวา่ อนิ ซลู นิ ยงั ทำ� หนา้ ทสี่ รา้ งโคเลสเตอรอลโดยผา่ นทาง HMGCoA ดังนัน้ การกินอาหารแปง้ น�ำ้ ตาลมาก จึงท�ำใหม้ กี ารสร้างท้ัง โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ไตรกลเี ซอไรด์สะสมอย่ใู น Fat cell มากขน้ึ ๆ เรากอ็ ้วนขน้ึ นอกจากนน้ั อนิ ซลู ินยังท�ำหนา้ ทสี่ ะสมไขมันในเซลลไ์ ขมนั และ ป้องกันไม่ให้มีการเผาผลาญพลังงานจากเซลล์ไขมัน ทางหน่ึงก็คือ อินซูลินไปยับย้ัง Carnitine ซ่ึงท�ำหน้าท่ีในการควบคุมการใช้ Fatty acid ในเซลล์ให้เป็นพลังงาน ดังน้ันถ้าระดับอินซูลินสูงมันก็จะมีการ กองการแพทย์ทางเลือก 63 63 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) สะสมไขมันในเซลล์ไขมันมากขึ้นเราก็อ้วนขึ้น ในเซลล์ไขมันเป็นที่เก็บ ของไขมนั บนผวิ เซลลม์ เี อน็ ไซด์ 2 ชนดิ ตวั หนง่ึ คอื Lipoprotein Lipase เปน็ ตวั พากรดไขมนั เขา้ เซลลแ์ ละสะสมเอาไว้ อกี ตวั หนงึ่ คอื Hormone sensitive Lipase ทำ� หนา้ ทปี่ ลอ่ ยกรดไขมนั ออกมาในกระแสเลอื ดเพอื่ ใช้เปน็ พลังงาน อนิ ซลู นิ กระตุ้นการท�ำงานของ Lipoprotein Lipase ท�ำใหเ้ กิดการสะสมไขมัน ส่วนฮอรโ์ มนกลคู ากอนจะยับยงั้ เอน็ ไซดต์ ัวน้ี ดงั นนั้ คนทกี่ นิ อาหาร Low fat ซง่ึ กต็ อ้ งกนิ คารโ์ บไฮเดรตมากเพอื่ ใหไ้ ด้ พลงั งานเพยี งพอ อนิ ซลู นิ กจ็ ะออกมามาก มนั กจ็ ะทำ� หนา้ ทส่ี ะสมไขมนั เรากจ็ ะลดนำ้� หนกั ไมไ่ ด้ ถา้ กนิ Low Carb นำ�้ หนกั กจ็ ะลดลงไดม้ าก คน ทีก่ ิน Low fat ถา้ จะลดน้�ำหนกั ได้กต็ อ้ งกินทงั้ คาร์โบไฮเดรตและไขมนั ให้น้อยลง ซึง่ กจ็ ะทำ� ให้ไมม่ แี รง ออ่ นเพลียเพราะพลังงานไมพ่ อ ในภาวะด้อื ตอ่ อินซูลิน (Insulin Resistance) เซลลไ์ ม่ยอมให้ น้�ำตาลเขา้ ไปในเซลล์ ระดบั น้�ำตาลในเลอื ดก็สูงขึ้นดว้ ย ตับอ่อนก็หล่ัง อินซูลินออกมามากข้ึนเพ่ือลดระดับน�้ำตาลลง จนถึงจุดหน่ึงตับอ่อนก็ จะลา้ นน่ั คอื เราเปน็ เบาหวานชนดิ ที่ 2 ชดั เจนแลว้ ในภาวะนที้ ง้ั นำ�้ ตาล ในเลอื ดกส็ งู อนิ ซลู นิ กส็ งู โคเลสเตอรอลและไตรกลเี ซอไรดก์ ส็ งู โรคอว้ น ความดันสูง โรคหัวใจก็ตามมา น่ีเป็นท่ีมาของส่ีสหาย ซ่ึงมันมาจากที่ เดยี วกนั คอื อนิ ซลู นิ ทส่ี งู ขนึ้ นน่ั เอง ซง่ึ มนั เกดิ มาจากการกนิ อาหารแปง้ น้�ำตาลมากเกินไป นอกจากกรรมพันธ์ุ การขาดการออกก�ำลังกายและ ความเครยี ดซง่ึ เข้ามาซ้�ำเตมิ เขา้ ไปอีก 64 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) อาหาร low carb ชว่ ยใหล้ ดนำ�้ หนกั ลงไดด้ ี เพราะมนั จะกระตนุ้ ให้หลั่งกลูคากอน ซึ่งมันจะปลดปล่อยกรดไขมันจากเซลล์ไขมันและ เผาผลาญเปน็ พลงั งาน นอกจากนนั้ เมอ่ื ไมม่ อี นิ ซลู นิ ทคี่ อยยบั ยง้ั Carnitine ซึ่งเป็นตัวท�ำให้เกิดการใช้พลังงานจากไขมันในเซลล์กล้ามเนื้อ ก็จะมี การใช้ไขมันเผาผลาญเป็นพลังงานในเซลล์ได้เต็มท่ี และอาหาร Low carb ยังกระตุน้ ฮอร์โมน sensitive lipase ซ่งึ ท�ำหน้าทป่ี ล่อยกรดไข มนั จากเซลล์ไขมันเพอื่ ใชเ้ ปน็ พลงั งาน อนิ ซลู นิ กบั โรคหัวใจ6 อินซูลินท�ำให้ผนังหลอดเลือดแข็ง หนาตัวข้ึน ดังท่ีได้กล่าวมา แตต่ ้นแลว้ วา่ อินซูลนิ ท�ำให้ LDL-C สงู ขึ้น LDL ตวั น้ีเปน็ small dense particle เม่ือมันถูก oxidized และถกู macrophage จบั ไวก้ ลายเปน็ foamed cell ซ่ึงเม่ือมันจับกันเป็นกลุ่มเกาะที่ผนังหลอดเลือดและมี fatty Streak มาจับรวมกันเข้าก็จะสร้างเป็น Plaque ขึ้นท�ำให้อุด หลอดเลือด เราจงึ เป็นโรคหลอดเลอื ดหัวใจตีบตนั LDL โดนท�ำลายโดย ขบวนการ oxidation โดยมนั ถกู reactive oxygen species ซ่งึ เปน็ อนมุ ูลอิสระจบั ไว้ หรอื เกดิ จากขบวนการ Glycation โดย LDL จับกบั โมเลกุลของน�้ำตาลเกิด Advanced GLycolated end-products (AGEs) ซ่ึงท�ำให้ผนังเส้นเลือดแข็งตัว5 อินซูลินนอกจากจะน�ำน�้ำตาล และไขมนั เขา้ สะสมในเซลลแ์ ลว้ มนั ยงั ชว่ ยให้แมกนเี ซยี มเข้าไปในเซลล์ ของกล้ามเนื้อหัวใจด้วย ในภาวะด้ือต่ออินซูลินแมกนีเซียมไม่สามารถ กองการแพทย์ทางเลอื ก 65 65 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) เข้าไปได้ ท�ำใหร้ ะดับของแมกนีเซยี มในกล้ามเน้ือหัวใจลดต่ำ� ลง ท�ำให้ กล้ามเนื้อหัวใจท�ำงานไม่ปกติ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หัวใจเต้นไม่เป็น จังหวะ5 อาหาร Low carb ซ่ึงคาร์โบไฮเดรตต่�ำกว่า 50 กรัมต่อวัน จะท�ำให้ระดับอินซูลินต�่ำมาก เป็นกลไกท่ีส�ำคัญมาก อาหารชนิดน้ีมี ลกั ษณะเดน่ คือ มันช่วยใหไ้ ตรกลเี ซอไรด์ลดลงอยา่ งชัดเจน และ HDL สูงขึ้น ซึ่งช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจที่ส�ำคัญ J Micheal Gaziano อายุรแพทยด์ ้านหัวใจ แหง่ Brigham and Women Hospital และ มหาวิทยาลัย Havard ได้ศึกษาพบว่า ตัวบง่ ช้ขี องโรคหัวใจที่ดีทส่ี ุด คอื อตั ราสว่ นของไตรกลเี ซอไรดต์ อ่ HDL ไมค่ วรเกนิ 2 จะดี ถา้ ไตรกลเี ซอไรด์ สูง HDL ต่�ำ จะมีความเส่ียงต่อโรคหัวใจมากกว่าไตรกลีเซอไรด์ต่�ำแต่ HDL สงู ถงึ 16 เท่า นอกจากน้นั อาหาร low carb ทีก่ นิ ไขมันอิ่มตัว ท�ำให้เกดิ LDL เปน็ ชนิด LDL-A type ซง่ึ มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ไม่ทำ� ให้ เกดิ Plaque ไมใ่ ช่ LDL-B Type ซง่ึ เปน็ small dense LDL ซ่งึ เปน็ ตวั ท�ำให้เกดิ Plaque Formation7 อินซูลินกับความดันโลหติ สูง5,6 อินซูลินท�ำให้ความดันโลหิตสูงได้ 3 ทาง คือ หน่ึง ท�ำให้เกิด Fluid retention โดยออกฤทธ์ิท�ำให้มีการดูดกลับโซเดียมที่ไต สอง ทำ� ใหผ้ นงั เสน้ เลอื ดมกี ลา้ มเนอื้ หนาขน้ึ รขู องหลอดเลอื ดตบี แคบลง สาม ออกฤทธกิ์ ระตนุ้ ระบบประสาททำ� ใหม้ กี ารหลงั่ norepinephrine ทำ� ให้ 66 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) เสน้ เลอื ดหดตวั อาหาร low carb มคี ารโ์ บไฮเดรตตำ่� กจ็ ะกระตนุ้ ใหต้ บั อ่อนหลง่ั อินซลู นิ ออกมาน้อยจึงลดความดนั ลงได้ อินซูลินกบั เบาหวาน5,6 เมือ่ เรากนิ อาหารมากเกนิ ไป โดยเฉพาะแป้ง น้ำ� ตาล และขาด การออกกำ� ลงั กาย พลงั งานสว่ นเกนิ จะถกู เกบ็ ไวใ้ นรปู ของเนอ้ื เยอ่ื ไขมนั เปน็ ไขมนั ใตผ้ วิ หนงั กบั ไขมนั ในชอ่ งทอ้ ง ในรอบ ๆ ตบั ไขมนั หลงั ชอ่ งทอ้ ง ไขมันในช่องท้องจะต่างจากไขมันใต้ผิวหนัง มันมีความสามารถในการ หล่ังกรดไขมันอิสระ (free fatty acid) และสารเคมีที่เรียกว่า adipocytokines เช่น Adiponectines, IL-6, TNF-alpha, Resistin, PAI-1, Angiotensinogen, C-reactive protein เปน็ ตน้ ซึง่ ทำ� ใหเ้ กิด การเสียสมดุลในการท�ำงานของร่างกายตามมา ท�ำให้เกิดเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ภาวะดอ้ื ตอ่ อนิ ซลู นิ เกดิ ลม่ิ เลอื ดอดุ ตนั และการอกั เสบ ในหลอดเลอื ด8 กรดไขมันอิสระท่ีหลั่งจากไขมันในช่องท้องท�ำให้เกิดความผิด ปกตทิ สี่ ำ� คญั คือ ภาวะดอื้ ตอ่ อนิ ซลู นิ อวยั วะทีไ่ ด้รบั ผลกระทบคอื ตับ กล้ามเน้อื ตับอ่อน และหลอดเลอื ด ภาวะดื้อต่ออนิ ซลู นิ ทำ� ใหต้ ับสรา้ ง และหลั่งน้�ำตาลเข้ามาในกระแสเลือดมากข้ึน กล้ามเน้ือจะมีความ สามารถน�ำน�้ำตาลไปใช้ได้น้อยลง ผลตามมาก็คือน้�ำตาลในเลือดจะสูง ถ้าเหตุการณ์เป็นแบบน้ีไปนาน ๆ ตับอ่อนก็จะล้าและสร้างอินซูลิน นอ้ ยลง เมอ่ื อนิ ซลู นิ ไมพ่ อเรากจ็ ะเปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 อาหาร low carb กองการแพทยท์ างเลือก 67 67 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ชว่ ยลดระดบั นำ้� ตาลลง ทำ� ใหล้ ดระดบั อนิ ซลู นิ ลงดว้ ย ทำ� ใหเ้ ซลลต์ า่ ง ๆ ไวตอ่ อนิ ซูลนิ มากขึ้น กระบวนการท�ำงานของรา่ งกายกลบั มาเป็นปกติ มนั จึงแก้ไขภาวะดอื้ ต่ออินซูลนิ และเบาหวานไดด้ ี ถา้ เราดจู ากความเปน็ มาของอาหารพรอ่ งแปง้ (Low Carb Diet) เราจะพบว่าในระยะแรกอาหารชนิดน้ีถูกน�ำมาใช้เพื่อลดความอ้วน แพทย์สังเกตว่าถ้าเราให้คนไข้เปลี่ยนรูปแบบของอาหาร โดยให้คนไข้ โรคอ้วนกนิ เนื้อสตั วแ์ ละไขมันเป็นหลัก แล้วจ�ำกัดอาหารพวกข้าว แป้ง นำ�้ ตาล นำ�้ หนกั คนไข้จะคอ่ ย ๆ ลดลงตามล�ำดับ การศึกษาตอ่ มาพบวา่ โรคเรอื้ รงั เชน่ โรคอว้ น โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ โรคความดนั มนั มตี น้ ตอ จากการกินแป้งและน้�ำตาลมากเกินไปท�ำให้ metabolism ของ คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั โปรตนี ผดิ ปกตไิ ป อนิ ซลู นิ ทำ� งานผดิ ปกติ เกดิ ภาวะ ด้ือต่ออินซูลิน ดังน้ันแพทย์จึงพยายามลดอินซูลินลง โดยการจ�ำกัด อาหารแป้งและน�ำ้ ตาล จนพบวา่ อาหารพรอ่ งแป้ง (Low carb Diet) ทีม่ ีคาร์โบไฮเดรตประมาณวันละ 20-50 กรัม จะมีผลดีดงั นี้ คือ 1) ช่วยลดน้�ำหนักได้ดีกว่าอาหารไขมันต่�ำ แม้ว่าเราจะกิน อาหารพรอ่ งแปง้ โดยไม่จำ� กดั จำ� นวน9 2) ช่วยลดความดันได้อยา่ งมนี ยั สำ� คัญ10,11 3) ช่วยควบคุมระดับน�้ำตาลในคนไข้เบาหวานได้ดีกว่าอาหาร ไขมนั ต่ำ� 12,13,14,15 4) ช่วยเพิม่ HDL,16,17 68 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) 5) ชว่ ยลดไตรกลีเซอไรดไ์ ด้มากกว่า Low fat Diet18,19,20 6) ช่วยเปลี่ยน LDL-C แบบ small dense LDL ซ่ึงเส่ียง ต่อโรคหวั ใจ เปน็ Large LDL ซึ่งไมเ่ สย่ี งตอ่ โรคหวั ใจ20,21 7) รปู แบบของอาหารพรอ่ งแปง้ ปฏบิ ตั ติ ามไดง้ า่ ย ไมต่ อ้ งมกี าร จ�ำกดั พลงั งาน และไม่รสู้ ึกหิวตลอดเวลา22,23 เราจะเห็นว่า พอลดแป้งน้�ำตาลลงให้มาก แล้วเปล่ียนมาใช้ พลังงานจากไขมันเป็นหลัก ทุกตัวบ่งช้ีก็กลับมาเป็นปกติ เราลอง พิจารณาตวั ช้ีวัดไปทล่ี ะตวั ดงั นี้ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) ไตรกลีเซอไรด์ เป็นไขมันหลักท่ีละลายอยู่ในกระแสเลือด ซ่ึงร่างกายของเราจะน�ำไปใช้เป็นพลังงาน ระดับไตรกลีเซอไรด์สูงเป็น ลกั ษณะของ metabolic syndrome เปน็ ตวั บง่ ชขี้ องโรคหวั ใจทส่ี ำ� คญั ลกั ษณะเดน่ ของอาหาร Low carb ก็คือ ไตรกลีเซอไรด์จะลดลง เราดู ไดจ้ ากงานวจิ ยั ทมี่ ชี อ่ื เสยี งของโลกใน การลดลงของไตรกลเี ซอไรดล์ ดลง ทงั้ ระดับ fasting และ Post prandial และการลดลงเกิดข้นึ ท้ังในราย ทน่ี ำ�้ หนกั ลดลงและน�้ำหนกั ไม่ลดลง24,25,26 กองการแพทย์ทางเลือก 69 69 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) HDL-Cholesterol ระดับ HDL-C ที่เพิ่มข้ึนเป็นเครื่องชี้ของสุขภาพดีส�ำหรับ โรคหวั ใจ การปรบั เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ เชน่ การออกกำ� ลงั กาย การลดนำ้� หนกั มักจะเป็นค�ำแนะน�ำเพื่อให้ HDL เพิ่มขึ้น แต่มันเพิ่มข้ึนได้เล็กน้อย เมอ่ื เทยี บกบั การกนิ อาหาร Low-Carb27 ผลอนั นเ้ี กดิ ขน้ึ อยา่ งชดั เจนทงั้ ชายและหญิง28 ไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลเป็นสารอาหาร ท่ีส�ำคัญท่ีท�ำให้ HDLสูงขึ้น และพบว่าการจ�ำกัดอาหารคาร์โบไฮเดรต และใช้ไขมนั แทนเป็นวธิ ีการทท่ี ำ� ให้ HDLเพม่ิ ขึน้ ไดช้ ัดเจน LDL-Cholesterol ถ้าเราดูการศึกษาโดยใช้อาหาร Low Fat จะลด LDL ลงได้ มากกวา่ อาหาร low Carb การใช้ยาลดไขมันก็ตอ้ งการลด LDL ลง แต่ การลด LDL ก็ไมไ่ ดล้ ดความเสย่ี งต่อโรคหัวใจ29 เนื่องจาก อาหาร low fat จะท�ำให้ไตรกลเี ซอไรด์สูงขน้ึ และ HDL ลดลง ซ่ึงเสี่ยงต่อโรคหวั ใจ มากกว่า LDL มขี นาด 2 แบบคือ Small dense และ large particle อาหาร low fat ลด total LDL ลง แต่สว่ นของ Small dense เพม่ิ ขน้ึ ซ่ึงเสีย่ งตอ่ โรคหวั ใจ สว่ นอาหาร Low carb จะช่วยเพิ่มส่วนของ large particle30,31 ซง่ึ ไมเ่ สีย่ งตอ่ โรคหัวใจ มีการศึกษาชดั เจนแล้วว่า อาหาร คารโ์ บไฮเดรตสูงทำ� ให้ small dense LDL เพ่ิมขึน้ น�ำไปสู่ Arterial Plaque ดงั นน้ั การจำ� กดั อาหารคารโ์ บไฮเดรตแลว้ ใชไ้ ขมนั แทนจงึ ชว่ ย ลดความเสยี่ งต่อโรคหวั ใจได3้ 2 70 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) การอักเสบ (Inflammation) การอกั เสบเปน็ กลไกสำ� คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ โรคเรอ้ื รงั การกนิ อาหาร คารโ์ บไฮเดรตมากเกนิ ไป ไขมนั ทรานซท์ ำ� ใหเ้ กดิ การอกั เสบในรา่ งกาย ซงึ่ เราพบวา่ ในการกนิ อาหารคารโ์ บไฮเดรตมาก 1 มอ้ื กส็ ามารตรวจพบ ตวั บง่ ชขี้ องการอกั เสบ เชน่ CRP ไดใ้ นกระแสเลอื ด33 เราพบวา่ ถา้ ใหก้ นิ อาหาร Low carb แล้วเจาะเลอื ดดู ตัวบง่ ชน้ี จี้ ะลดลงถงึ หน่งึ ในสาม34 การศกึ ษาในคนไข้ metabolic syndrome โดยเปรียบเทียบระหวา่ ง อาหาร Low Fat และอาหาร Low Carb พบว่า กล่มุ ทก่ี นิ อาหาร Low Carb จะมตี วั ชว้ี ดั ระดบั การอกั เสบตา่ ง ๆ ลดลงมากกวา่ กลมุ่ ทกี่ นิ อาหาร Low Fat35,36 มีการศึกษาถึงคุณสมบัติการต้านการอักเสบของน�้ำมัน โอเมกา้ 3 (DHA และ EPA) ในเซลล์เพาะเลยี้ ง ในสัตว์ ในคน ซ่ึงพบว่า มีประโยชน์ในการป้องกันโรคหัวใจและเบาหวาน37 ดังนั้นน�้ำมันปลา (Fish oil) จึงถูกน�ำมาใชใ้ นการปอ้ งกันโรคอยา่ งแพรห่ ลาย38 อา้ งองิ 1) Kaplan NM. Deadly Quartet, Upper-Body Obesity, Glucose Intolerance, Hypertriglyceridemia and Hypertension. Arch Intern Med1989 ; 149 : 1514-1520. 2) Defronzo RA, Ferrannini E. Insulin Resistance : A multifaceted syndrome responsible for NIDDM, obesity, hypertension, dyslipidemia and atherosclerotic cardiovascular disease.Diabetes Care.1991 ; 14 : 173-194. กองการแพทย์ทางเลอื ก 71 71 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 3) Reaven GM, Role of insulin resistance in human disease.Diabetes.1988 ; 37 : 1595-1607. 4) Lustig RH.Fat Chance, New York, A Plume Book2012. 5) Bowden J. Living Low Carb, New York, Stering. 2013. 6) Eades MR, Eades MD. Protein Power. New York. Bantam Books. 1996. 7) Gaziano JM. Fasting Triglycerides, Hi-density Lipoprotein and risk of Myocardial Infarction. Circulation 1997 ; 96 : 2520-2525. 8) มยรุ ี หอมสนทิ . โรคอว้ นลงพงุ , สำ� นกั พมิ พ์ หมอชาวบา้ น, คลนิ กิ 2553;26(10) : 771-780. 9) Dyson PA, Beatty S, Matthew DR.A Low Carbohydrate Diet is more effective in reducing body weight than healthy eating in both diabetic and non-diabetic subjects Diabet Med 2007 ; 24(12) : 1430-5. 10) Daly ME, Paisey R, Milward BA et al. Short-term effects of severe dietary carbohydraterestriction advice in type-2 Diabetes, a randomized controlled trials. Diabet Med 2006 ; 23(1) : 15-30. 11) Gardner CD, Kiazand A, Alhassan S et al. Comparison of the Atkins, Zone, Orish and LEARN Diets for change in Weight and related risk factors among overweight premenopausal women : the A to Z Weight loss study : a randomized trials. JAMA 2007 ; 297(9) : 969-77. 12) Westman EC, Yancy WS Jr, Mavropoulos JC et al. The Effects of the low- carbohydrate, ketogenic diet versus low glycemic index diet on glycemic control in type 2 diabetes mellitus. Nutr Metab(lond)2008 ; 19 : 5-36. 13) Yancy WS, Foy M, Chalecki AM, Vernon MC, West EC.A low-carbohydrate, ketogenic diet to treat type 2 Diabetes. Nutr Metab2005 ; 2 : 34. 14) Dashti HM, Mathew TC, Khadada M et al. Beneficial effects of ketogenic diet in obese diabetic subjects. Mol Cell Biochem.2007 ; 302(1-2) : 249-56. 15) Westman EC, Vernon MC. Has carbohydrate-restriction been forgotten as 72 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) a treatment for diabetes mellitus? .A Perspective on the ACCORD study design. Nutr Metb 2008 ; 5 : 10. 16) Foster ED, Waytt HR, Hill JO et al. A randomized trial of a low-carbohydrate for obesity. N engl J Med 2003 ; 248(21) : 2082-90. 17) Brinkworth GD, Noakes M, Buckley JD et al. Long-term effects of a very low carbohydrate weight loss diet compared with an isocaloric low- fat diet after 12 mo. Am J Clin Nutr2009 ; 90(1) : 23-32. 18 Keogh JB, Brinkworth GD, Noake M et al. Effectives of weight loss from a very low carbohydrate diet on endothelial function and markers of cardiovascular disease risk in subjects with abdominal obesity 1’2’3. Am J Clin Nutr 2008 ; 87(3) : 567-576. 19) Krebs NF, Gao D, Gralla J et al. Efficacy and safety of a High Protein, Low Carbohydrate Diet for Weight Loss in Severely Obese Adolescents. J Pediatr 2010 ; 157(2) : 252-258. 20) Volek JS, Phinney SD, Forsythe CE et al. Carbohydrate restriction has a more favorable impact on the metabolic syndrome than a low fat. Lipids2009 ; 44(4) : 297-309. 21) Krass RM, Blanche PJ, Ravolings RS et al. Separate effects of reduced carbohydrate intake and weight loss on atherogenic dyslipidemia. Am J Clin Nutr 2006 ; 83(5) : 1025-31. 22) Nickois-Richardson SM, Coleman MD, Volpe TJ, Hosig KW. Perceived hunger is lower and weight loss is greater in overweight premenopausal women consuming a lowcarbohydrate/high protein vs high-carbohydrate/ low fat diet. J Am Diet Associ 2005 ; 105 (19) : 1433-37. 23) Jonsson T, Grenfeldt Y, Erianson-Albertssson C, Ahren B,Lindeberg S. A Paliolithic diet is more satiating per calorie than a mediteranean-like กองการแพทย์ทางเลอื ก 73 73 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) diet in individuals with ischemic heart disease. Nutr Metab (lond.) 2010 ; 30 : 7-85. 24) Sherman MJ, Gomer AL,Kraemer WJ et al. Very Low - Carbohydrate and Low- fat Diets Affects Fasting Lipids and Postprandial Lipemia Differently in Overweight Men. J Nutr 2004 ; 134 : 880-85. 25) Sherman MJ, Kraemer WJ, Love DM et al. A Ketogenic Diet Favorably Affects Serum Biomarkers for Cardiovascular disease in Normal-Weight Men. J Nutr. 2002 ; 132 : 1879- 1885. 26) Volek MJ, Sherman AL, Gomez TP et al. An Isoenergistic Very Low Carbohydrate Diet Improve Serum HDL, Cholesterol and Triglycerides Concentrations, the Total Cholesterol to HDL. Cholesterol Ratio and Postprandial Lipemic Responses Compared with a Low Fat Diet in normal weight , Normolipemic Women. J Nutr. 2003 ; 133 : 2756-2761. 27) Toth PP.High-Density Lipoprotein as a Therapeutic Target : Clinical evidence and treatment strategies. Am J Cardio. 2005 ; 96 : 50k-58k ; discussion at 34k-35k. 28) Volek JS. ShermanMJ, Forsthe. Modification of Lipoprotein by Very Low Carbohydrate Diets. J Nutr. 2005 ; 135 : 1339-42. 29) Howard BV, Van Horn J, Hsia J et al. Low Fat Dietary Pattern and risk of cardiovascular disease : The Women’s Health Initiative Randomized Controlled Dietary Modification Trial.JAMA ; 2006 ; 295 : 655-666. 30) Dreon DM, Fernstrom HA, Miller B et al. Low Density Lipoprotein subclass Patterns and Lipoprotein response to a reduced- fat diet in men. The FASEB Journal 1994 ; 8 : 121-126. 31) Dreon DM, Fernstrom HA, Willium PT et al. A Very Low-Fat Diet is not associated with improved Lipoprotein Profiles in men with a Predominance of Large, Low-DensityLipoprotein. Am J Clin Nutr. 1999 ; 69 : 411-418. 74 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 32) Volek, Sherman and Forsythe. Modification of Lipoprotein by Very Low Carbohydrate Diets ; RM Krauss. Dietary and Genetic Probes of Atherogenic Dyslipidemia. Arteriosclerosis, Thrombosis, and Vascular Biology. 2005 ; 25 : 2265-22772. 33) Kasim-Karakas SE, Tsodikov A,Singh U et al. Responses of Inflammatory Markers to a low Fat, High Carbohydrate Diet : Effects of Energy Intake. Am J Clin Nutr. 2006; 83 : 774-779.Liu S, Manson JE, Buring JE et al. Relation between a Diet with a High Glycemic Load and Plasma Middle-Aged Women. Am J Clin N utr. 2002 ; 75 : 492-498. 34) Dansinger ML, Gleason A, Griffith JL et al. Comparison of the Atkins, Ornish, Weight Watchers, and Zone Diets for Weight loss and Heart Disease Risk Reduction : A Randomized Trial. JAMA.2 0 0 5 ;2 9 3 : 4 3 -5 3. McAuley KA, Hopkins CM, Smith KJ et al. Comparison of High-Fat and High Protein Diets with a High-Carbohydrate Diet in Insulin- Resistant Obese Women. Diabetologia.2005 ; 48 : 8-16. 35) Seshadri P, Iqbal N, Stern L et al. A Randomized Study Comparing the Effects of Low-Carbohydrate Diet and a Conventional Diet on Lipoprotein Subfractions and C-reactive Protein Levels in patients with severe Obesity. Am J Med. 2004 ; 117 : 398-405. 36) Forsythe CE, Phinny SD, Fernandez ML et al. Comparison of Low Fat and Low Carbohydrate Diets on Circulating fatty acid composition and Markers of Inflammation. Lipids. 2008 ; 43 : 65-72. 37) Calder PC. Polyunsaturated fatty acids and Inflammation . Prostaglandins, Leukotrienes and Essential Fatty acids. 2006 ; 75 : 197-202. 38) Jocobson TA. Secondary Prevention of Coronary Artery Disease with Omega-3 Fatty Acids. Am J Cardio. 2006 ; 98 : 61i-70i. กองการแพทย์ทางเลือก 75 75 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ตอนที่ 5 แนวทางปฏิบัตใิ นการใชอ้ าหารพรอ่ งแปง้ บ�ำบัดโรค อาหารพร่องแป้งสามารถน�ำมาใช้รักษาโรคเรื้อรังต่าง ๆ ได้ดี โรคอว้ น โรคเบาหวาน วธิ กี ารท�ำไดโ้ ดยการจ�ำกดั อาหารคารโ์ บไฮเดรต ใหน้ อ้ ยลง เพอื่ ใหร้ า่ งกายหลง่ั ฮอรโ์ มนอนิ ซลู นิ ออกมาใหน้ อ้ ย เพราะเรา ได้เรยี นร้ใู นบทก่อน ๆ แลว้ วา่ อนิ ซลู ินเป็นตัวสรา้ งปัญหาตา่ ง ๆ ตามมา อย่างมากมาย เม่ือเราลดแป้งน้�ำตาลลงให้มาก ร่างกายจะใช้พลังงาน จากไขมันและโปรตีนแทน จะมีการสร้างสารคโี ตน (Ketone bodies) ออกมา สารคโี ตนเปน็ พลงั งานทมี่ ปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย โดยเฉพาะสมอง เซลล์สมองสามารถใช้คีโตนแทนกลูโคสได้ดี อาหารชนิดนี้จึงมีผลดีใน การบำ� บัดโรคลมชกั โรคสมองเสื่อม และโรคเร้อื รงั ตา่ ง ๆ เราสามารถ รบั ประทานอาหารพรอ่ งแป้งได้โดย1,2,3 1) จำ� กดั อาหารแป้งและนำ้� ตาลวันละไมเ่ กนิ 50-100 กรมั โดย งด ข้าว แป้ง นำ้� ตาล คาร์โบไฮเดรตเลก็ นอ้ ยจะไดจ้ ากผัก ผลไม้ และถ่วั พลงั งานสว่ นใหญ่ไดม้ าจากไขมนั อย่ากลัวไขมันอมิ่ ตัว เนื้อสัตว์ ไข่ นม เนย ซึง่ เป็นอาหารที่มีประโยชนต์ อ่ ร่างกาย 2) รับประทานอาหารโปรตีน เน้อื สตั ว์ต่าง ๆ เช่น เนอื้ วัว หมู ปลา ไก่ ไข่ อาหารทะเล และถว่ั ประมาณ 1.5-2.0 กรมั ตอ่ กโิ ลกรมั ตอ่ วนั ขึ้นกับน้�ำหนักตัว ในคนน�้ำหนักตัว 60 กก. รับประทานประมาณ 90-120 กรมั ตอ่ วนั 76 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 3) ในการประกอบอาหาร ใช้น�้ำมนั อม่ิ ตวั จากสัตว์และพืชน�ำ มาใชบ้ รโิ ภคได้ เชน่ นำ�้ มนั หมู นำ้� มนั มะพรา้ ว นำ้� มนั ปาลม์ นำ�้ มนั รำ� ขา้ ว เปน็ ตน้ และ/หรอื ไขมนั อม่ิ ตวั เชงิ เดยี่ ว เชน่ นำ้� มนั มะกอก นำ�้ มนั คาโนลา่ นำ้� มนั อโวคาโด เปน็ ตน้ หลกี เลย่ี งนำ้� มนั ถว่ั เหลอื ง นำ�้ มนั ขา้ วโพด นำ้� มนั ทานตะวัน นอกจากนน้ั เพิม่ น้ำ� มนั มะพร้าวสกดั เยน็ รับประทานครง้ั ละ 1-2 ช้อนโตะ๊ รว่ มกับอาหาร วันละ 2-3 มือ้ 4) รับประทานผักได้เท่าท่ีต้องการ อย่างน้อยวันละ 1 จาน (ประมาณ 8-10 ทัพพี) เป็นผักสด ผักตม้ ผดั ผกั ก็ได้ หลกี เลย่ี งผกั ที่มี แป้งมาก เชน่ มัน เผือก มันฝร่ัง แครอท ฟกั ทอง ข้าวโพด งดผลไม้ รสหวานทกุ ชนิด เชน่ สม้ องุ่น กลว้ ยสุก แอปเปล้ิ มะม่วงสกุ เป็นตน้ ระยะท่ี 2 และ 3 สามารถเพิม่ ผลไม้ท่ีรสไม่หวานได้บ้าง 5) ถ้ามีข้อสงสัยว่าจะกินแป้งน้�ำตาลเท่าไหร่ ให้กินน้อยเข้าไว้ ถ้ามีขอ้ สงสยั ว่าจะกนิ ไขมันเท่าไหร่ ใหก้ นิ มากเข้าไว้ 6) อาหารท่ตี ้องงดเวน้ คือ ขนมหวานท่ผี ลติ โดยขบวนการทาง อตุ สาหกรรม เช่น เค้ก คุกกี้ เนยเทียม ขนมปงั ชนดิ ตา่ ง ๆ และขนม หวานชนิดต่าง ๆ ในรา้ นเบอเกอรี่ ผลิตภณั ฑ์ขา้ ว ธัญพืชต่าง ๆ บรรจุ หีบห่อสำ� เร็จ วางขายตามรา้ นสะดวกซอื้ 7) งดเครื่องด่ืมท่ีมนี �้ำตาลผสม เช่น นำ้� อัดลม นำ�้ ผลไม้ ชาเขียว น้�ำโซดาท่ีมีน้�ำตาลผสมอยู่ด้วย งดเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทุกชนิด รบั ประทานกาแฟไดบ้ า้ ง 1-2 แกว้ ตอ่ วนั ใชน้ ำ�้ ตาลเทยี มเลก็ นอ้ ย (1-2 ซอง) ชาเขยี วให้ใชใ้ บชา (Chinese green tree) ชงเอง งดแบบบรรจุขวด สำ� เร็จรูป กองการแพทยท์ างเลอื ก 77 77 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) เราสามารถจะจดั ชนดิ ของอาหารไดเ้ องตามความเหมาะสมของ แต่ละบคุ คล ไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งเป็นแบบเดยี วกนั นพ.ดร.วศิ าล เยาวพงศ์ศริ ิ ผเู้ ชยี่ วชาญอาหารพรอ่ งแปง้ ไดแ้ นะนำ� สตู รอาหารพรอ่ งแปง้ แบบไทย ๆ ไว้4 ดงั น้ี อาหารที่รบั ประทานได้ ประกอบดว้ ยอาหารหลัก ๆ ดังนี้ 1) เนอื้ สตั ว์ได้ทกุ ชนิด เนอ้ื หมู ไก่ กุ้ง ปู ปลา เน้ือตดิ มนั บ้างจะ นุม่ นา่ กิน 2) เตา้ ห้กู อ้ น เต้าหหู้ ลอด และฟองเต้าหู้ (แตน่ ้�ำเตา้ หู้ใสน่ ้ำ� ตาล เปน็ ของห้าม) 3) ผกั กา้ น ผักใบ ฟกั ขาว (ฟกั จีน) แตงกวา ฯลฯ และอนโุ ลมให้ ใชม้ ะละกอดบิ ท�ำส้มต�ำ 4) พรกิ เครือ่ งเทศ ใบมะกรดู สะระแหน่ หอม ผักชี มะนาว 5) เครื่องปรงุ ท่มี ีน�ำ้ ตาลนอ้ ย เชน่ ซอี ว้ิ นำ้� ปลา เต้าเจี้ยว 6) น�ำ้ จ้มิ และน้�ำสลัดท่ีไม่มนี ้�ำตาล เชน่ พริกน�้ำปลามะนาว 7) อาหารสามารถทำ� ใหส้ กุ ไดท้ กุ วธิ ไี มว่ า่ ตม้ ตนุ๋ อบ นง่ึ ปง้ิ ยา่ ง รวมทอดในน้ำ� มัน 8) ซุป(น้�ำแกง) ต้มกระดูก ซุปหางวัว ซุปโครงไก่ ต้มฟัก มะนาวดอง 9) เครื่องด่ืมที่ไม่มีน้�ำตาล เช่น น้�ำเปล่า น้�ำโซดา โค้กซีโร่ เปป๊ ซ่ี แมกซ์ 78 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) 10) อาหารจากแหล่งสะดวกซอื้ เชน่ แฮม ไสก้ รอก (ท่ีไร้แป้ง) เนยแข็ง (cheese) ไก่ทอดหาดใหญ่ 11) อาหารทม่ี โี ปรตนี และไขมนั ไมท่ ำ� ใหร้ ะดบั นำ�้ ตาลในเลอื ดสงู ขน้ึ อาหารท่ีมีไขมันบ้างท�ำให้อาหารอร่อย น่ากิน ทั้งกินโปรตีนและไขมัน เพิ่มจะชว่ ยให้อมิ่ เร็วและอ่ิมนาน อาหารท่คี วรหลีกเล่ียง มีดังตอ่ ไป นี้ 1) ข้าว กว๋ ยเต๋ยี ว บะหม่ี รวมข้าวกล้อง วุ้นเสน้ ลูกเดือย และ ธญั พืชทกุ ชนิด 2) ขนมปัง เบอเกอร่ี ขนมหวานทกุ ชนดิ รวมขนมปงั โฮลวที 3) ผลไมท้ กุ ชนดิ ทัง้ หวานและไม่หวาน (ฝรัง่ กม็ ีแปง้ มาก) 4) พชื ผกั ทม่ี ีแปง้ และนำ�้ ตาลสูง เชน่ มัน เผอื ก ฟกั ทอง รวมท้งั มะเขือเทศ หัวไชเทา้ และแครอท 5) นำ้� มนั หอย ซอสปรงุ รสทกุ ประเภททมี่ นี ำ�้ ตาล รวมทงั้ ตม้ พะโล้ ทีใ่ ส่น�ำ้ ตาล 6) เครอ่ื งดืม่ ทกุ ชนิดท่ีมนี ้ำ� ตาล รวมทัง้ นำ้� ผลไม้ น�ำ้ มะเขอื เทศ นมพร่องมันเนย และนมจดื 7) ไก่ย่าง หมปู ้งิ ระวงั บางแห่งมีน้�ำตาลปน 8) ซปุ กว๋ ยเตย๋ี ว (มกั ใส่นำ�้ ตาลกรวด) อาหารถงุ (มักใส่นำ�้ ตาล) กองการแพทย์ทางเลอื ก 79 79 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ในการปรับเปลี่ยนมากินอาหารจ�ำกัดแป้งและน้�ำตาล (Restricted CHO Diets) สำ� หรบั รกั ษาโรคอว้ นและเบาหวาน ช่วงแรก เราอาจจะอนโุ ลมใหก้ นิ อาหารเนอ้ื มากหนอ่ ยหรอื ใหก้ นิ จนอม่ิ ธรรมชาติ ของอาหารโปรตนี จะทำ� ใหอ้ มิ่ เรว็ และนาน กนิ อาหารอยา่ งอนื่ ไดน้ อ้ ยลง (Am J Nutr. 2005 ; 82 : 41) นานวันเข้าจะรสู้ กึ วา่ กินเนือ้ ไดน้ อ้ ยลง เน้อื ควรตดิ มนั บ้างเพื่อให้เน้อื น่ิมและมีรสชาตดิ ีกวา่ ไขมันในอาหารจะ ช่วยกระตุ้นผนังล�ำไส้เล็กให้หล่ังสาร Cholecystokinin (CCK) ซึ่ง ออกฤทธทิ์ สี่ มองทำ� ใหร้ สู้ กึ อมิ่ (Physio Behav. 2004 ; 83 : 617) ทงั้ ชว่ ย ใหอ้ มิ่ เร็วและอ่ิมนานดว้ ย ตรงกนั ขา้ มกับสูตรอาหารไขมนั ต่�ำ นอกจาก จะไมอ่ ร่อย อิ่มช้า หิวเร็ว ทำ� ใหก้ นิ จบุ จิบหรอื กลับกินอาหารมากขึ้น บางคนอาจเปน็ คนตดิ หวาน หรอื มอี าการเสพตดิ นำ้� ตาล (sugar addiction) เม่ือเปล่ียนมากินอาหารที่จ�ำกัดแป้งและน�้ำตาล ก็อาจจะเกิดอาการ “ลงแดง” (withdrawal syndrome) ซงึ่ มกั จะมอี าการงว่ งซมึ ออ่ นเพลยี มคี วามโหยอยากกนิ หวาน บางคนมอี าการเมอื่ ยกลา้ มเนอ้ื อาการมกั จะ เร่ิมในวันท่ีสอง บางคนพบว่าด่ืมโค้กซีโร่อาจจะบรรเทาอาการได้ หากทนไป 2-3 วนั รา่ งกายจะปรบั ตวั ไดแ้ ละอาการ “ลงแดง” จะหายไป กอ่ นจะรบั ประทานอาหารแบบนี้ เราควรจะชงั่ นำ้� หนกั วดั สว่ นสงู วัดความดัน วัดรอบเอว เจาะเลือดตรวจดูน�้ำตาลในเลือด ไขมัน โคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ LDL, HDL, C-reactive Protein เพ่ือดู การเปล่ียนแปลงโดยเฉพาะในคนท่ีเป็นโรคอ้วน โรคเบาหวาน 80 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) นพ.แอทคนิ สแ์ นะนำ� วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการรบั ประทานอาหารแบบนี้ โดยแบง่ ออกเป็น 4 ระยะ1,2 ดังนี้ ระยะท่ี 1 Induction ระยะเรม่ิ ตน้ ใหจ้ ำ� กดั อาหารคารโ์ บไฮเดรต เหลอื 20 กรัมต่อวนั คอื งดข้าว แปง้ น้ำ� ตาล กินแตเ่ นือ้ สัตว์ ไข่ นม เนย และผกั ใบเขยี ว งดผลไม้ เพอื่ ใหร้ า่ งกายใชอ้ าหารไขมนั และโปรตนี แทน คารโ์ บไฮเดรต จะทำ� ใหม้ กี ารสรา้ งสารคโี ตนเกดิ ขน้ึ ซงึ่ ใชเ้ วลา 2 สปั ดาห์ ระดับน�้ำตาลจะต�่ำ อนิ ซลู ินจะหล่งั ออกมานอ้ ย น�ำ้ หนกั จะเร่มิ ลง ระยะท่ี 2 Ongoing weight loss ระยะนี้ค่อย ๆ เพิ่ม คารโ์ บไฮเดรตขึ้นทลี ะเลก็ นอ้ ยคร้ังละ 5-10 กรัม จนถงึ 50 กรัมต่อวนั โดยเพิม่ อาหารพวกถ่ัว ผัก ผลไม้บา้ ง ช่วงนีน้ ำ�้ หนักยังคงลงต่อไป ระยะ เวลาแลว้ แตบ่ คุ คลวา่ จะตอ้ งการใหน้ ำ้� หนกั ลดลงไปเทา่ ไหร่ ถา้ เรายงั อยู่ ในระยะนี้นำ�้ หนักก็จะลดลงไปเร่อื ย ๆ ระยะที่ 3 Premaintenance ระยะนเ้ี ราลดนำ้� หนกั ไดแ้ ลว้ ตรวจดู การเปลย่ี นแปลงในคา่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ราเจาะไวแ้ ตแ่ รก ตงั้ แตน่ ำ้� หนกั ความดนั ระดับน้�ำตาลในเลือด ระดับไขมัน เราจะพบว่าทุกอย่างดีข้ึนพร้อมกับ ความรสู้ กึ แขง็ แรง ไมอ่ อ่ นเพลยี ไมเ่ หนอ่ื ยงา่ ย สามารถทำ� งานทใี่ ชส้ มอง ไดด้ ขี น้ึ นอนหลบั ไดล้ กึ และยาวขนึ้ อนั นจี้ ะเปน็ ความรสู้ กึ ของคนทต่ี งั้ ใจ ฝกึ การกนิ อาหารจำ� กดั คารโ์ บไฮเดรตทที่ ำ� ไดด้ ี รกั ษาระดบั คารโ์ บไฮเดรต ไมใ่ หข้ นึ้ ลงตามเกณฑไ์ ด้ เมอ่ื ถงึ ระยะนใี้ หเ้ ราคอ่ ย ๆ เพม่ิ อาหารแปง้ และ นำ�้ ตาลมากขึน้ จาก 50 กรัม ทลี ะ 5-10 กรมั จนถึงระดับ 80 กรัม กองการแพทยท์ างเลอื ก 81 81 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) ซึ่งในระยะนีเ้ ราตอ้ งคอยสงั เกตวา่ เราเพิ่มเท่าไหรแ่ ลว้ น�ำ้ หนักจะไมล่ ด ลงไปอกี นำ้� หนกั ยงั คงทเ่ี ปน็ เดอื น คารโ์ บไฮเดรตระดบั นเ้ี ปน็ ระดบั ทเี่ รา ตอ้ งการเพอ่ื ใหน้ ำ�้ หนกั คงที่ ถา้ นำ้� หนกั ยงั ลง เรากเ็ พมิ่ ผกั ผลไมเ้ ขา้ ไปอกี เล็กน้อย จนนำ้� หนักไม่ลงตอ่ ไป ระยะท่ี 4 Lifetime Maintenance เปน็ ระยะทเ่ี รารกั ษานำ้� หนกั ใหค้ งทไี่ ดแ้ ลว้ เรากก็ นิ อาหารในแบบนไี้ ปตลอดชวี ติ ซง่ึ เราตอ้ งสงั เกตดู แตล่ ะบคุ คลจะไมเ่ ทา่ กนั โดยการรกั ษาระดบั แปง้ และนำ�้ ตาล โดยทวั่ ไป มักจะอยู่ในระดบั 50-100 กรมั ต่อวนั บางคนอาจจะได้ถงึ 150 กรมั ต่อวนั โดยน�้ำหนกั ไมข่ ้ึน โดยท่ัวไปเราจะใช้วิธีการน้ีในคนท่ีเป็นโรคอ้วน หรือคนที่เป็น เบาหวานทอ่ี ว้ นดว้ ย คนทเ่ี ป็นเบาหวานและอว้ นดว้ ยพบไดร้ ้อยละ 60 แตใ่ นรายทเ่ี ปน็ เบาหวานแตไ่ ม่อว้ นซึง่ มีราวรอ้ ยละ 40 และไม่ต้องการ ใหน้ ้�ำหนกั ลดลง เราอาจจะเร่มิ ทคี่ าร์โบไฮเดรต 50-100 กรมั ต่อวันเลย ก็ไดใ้ นคนไขโ้ รคเบาหวาน ถา้ เราลดแป้งลงมากจะตอ้ งลดยาลงมฉิ ะน้นั จะเกิดภาวะน�้ำตาลในเลือดต�่ำได้ (Hypoglycemia) โดยทั่วไปถ้ากิน อาหารแป้งน้�ำตาลน้อยกว่า 100 กรัมลงมา มักไม่ต้องใช้ยาเบาหวาน หยดุ ยาไดเ้ ลย แตใ่ นรายทรี่ ะดบั นำ้� ตาลในเลอื ดยงั สงู อยบู่ า้ งและตอ้ งการ ใหม้ าใกล้เคยี งปกติ การกนิ ยา Metformil 500 mg. วนั ละ 1 เมด็ เชา้ เยน็ ก็เพยี งพอ5 ยาตวั นีช้ ว่ ยให้เพม่ิ ความไวตอ่ อินซลู ินท่ีกลา้ มเนือ้ ยาตวั น้ีไม่ได้กระตุ้นให้มีการหลั่งอินซูลินในเบาหวานประเภทท่ี 2 เพ่ิมขึ้น สำ� หรบั คนไขเ้ บาหวานประเภทที่ 1 กส็ ามารถใชอ้ าหารชนดิ นไี้ ด้ แตต่ อ้ ง อยใู่ นความดแู ลของแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญ เพราะจะตอ้ งลดขนาดยาอนิ ซลู นิ กองการแพทย์ทางเลือก 82 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ชนดิ ฉดี ใหพ้ อเหมาะ โดยทว่ั ไปสามารถลดยาฉดี ลงไดม้ าก เหลอื ฉดี เพยี ง เล็กน้อยก็อยู่ได้ ในคนไข้เบาหวานที่กินอาหารคาร์โบไฮเดรตระดับ 50 -100 กรมั โดยไมไ่ ดก้ นิ ยา จะไมม่ อี าการนำ้� ตาลในเลอื ดตำ่� เนอ่ื งจาก ร่างกายจะใช้สารคีโตนแทนกลูโคส นอกจากนั้นคีโตนยังมีคุณสมบัติ ทำ� ใหเ้ ราไมร่ ้สู ึกหิวบอ่ ย ในคนท่ัวไปที่ไม่ได้เป็นโรค เราสามารถใช้อาหารประเภทน้ีได้ เพ่ือป้องกันโรคและชะลอความชราภาพ เนื่องจากอาหารแป้งและ นำ้� ตาลตำ�่ ชว่ ยลดการอกั เสบในรา่ งกาย และชว่ ยใหร้ ะดบั ไขมนั ในเลอื ด ปกติโดยเฉพาะไตรกลเี ซอไรด์จะต�ำ่ ลง HDL จะสงู ขึน้ LDL จะเป็นแบบ Large Particle ซ่ึงไม่เส่ียงต่อโรคหัวใจ ดังนั้นอาหาร Low carb จงึ เหมาะกับทุกคน ดังเช่น อาหารแบบ Zoon Diet ของ Barry Sears ลดคารโ์ บไฮเดรตลงมาเหลือร้อยละ 40 โปรตีนและไขมันอยา่ งละ 30 ซ่ึงอาจจะไม่ลดน�้ำหนักแต่ลดการอักเสบและป้องกันโรคหัวใจ ซึ่งเขา เห็นว่าเปน็ อาหารทป่ี รบั ให้ใกลเ้ คยี งอาหารของคนอเมรกิ นั 6 สำ� หรบั ปญั หาในการรบั ประทานอาหารพรอ่ งแปง้ ทพี่ บบอ่ ย6,7 ไดแ้ ก่ 1) อาการคล้ายเปน็ ไขห้ วดั (Keto Flu) มกั จะพบในคนไขท้ ี่เรม่ิ กินอาหารคีโตเจนนิคใน 2-3 สัปดาห์แรก เกิดข้ึนเนื่องจาก เราลด คารโ์ บไฮเดรทลงเหลอื เลก็ นอ้ ยไมเ่ กนิ วนั ละ 50 กรมั ทนั ที ทำ� ใหร้ า่ งกาย ปรบั ตวั ยงั ไมไ่ ดใ้ นชว่ งแรก เราอาจจะมอี าการปวดหวั เวยี นหวั ปวดเมอื่ ย เนอื้ ตัว ออ่ นเพลยี อารมณ์หงดุ หงิดง่าย เบ่ือหนา่ ย เป็นต้น อกี สาเหตุ หนงึ่ คือ การกนิ อาหารชนิดนท้ี �ำให้เรา ปัสสาวะบ่อยข้ึนรา่ งการจะเสีย กองการแพทยท์ างเลอื ก 83 83 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) นำ�้ และเกลือโซเดียมไปมาก วธิ แี ก้ก็คือ ใหล้ ดขา้ ว แปง้ นำ�้ ตาลลงช้า ๆ ใหเ้ วลารา่ งกายปรบั ตวั เชน่ กนิ ขา้ วเหลอื ครง่ึ จานตอ่ มอื้ ไปสกั 1 สปั ดาห์ งดของหวาน นำ้� อดั ลม ผลไม้ แล้วค่อยๆลดลงเหลือ 1 ใน 3 ไปอกี 1 สปั ดาห์ หลงั จากนน้ั คอ่ ยงดขา้ ว กนิ แตก่ บั กนิ ผกั ใหม้ ากพออยา่ งนอ้ ย 1 จาน กินน้�ำให้เพียงพอ อาจจะเพ่ิมเกลือโดยใช้เกลือป่นครึ่งช้อนชา ผสมน�้ำ 1 แกว้ กินเช้า-เยน็ บางคนกิน อาหารคีโตเจนนคิ แต่กินไขมนั น้อยไป รา่ งกายกร็ สู้ ึกออ่ นเพลีย พลงั งานไมเ่ พยี งพอ เราต้องกินไขมัน มอ้ื ละ 1 ช้อนโตะ๊ ดังทแี่ นะนำ� ไว้ (ใชน้ ำ�้ มนั มะพรา้ วหรอื น�ำ้ มนั มะกอก ผสมนำ้� แกงเลก็ น้อย ก็จะกนิ ไดง้ ่าย) 2) ขาเป็นตะครวิ (Leg Cramps) สาเหตเุ กิดจาก การกินอาหาร ชนิดนี้ อินซูลินจะออกมาน้อย การดดู กลบั เกลอื โซเดยี มน้อย จะท�ำให้ ปัสสาวะมากขึน้ รา่ งกายเสยี เกลอื แรไ่ ปทางปัสสาวะ เกลือโซเดียมจะ ถกู ขบั ออกมากไป กลา้ มเนอ้ื กจ็ ะหดเกรง็ เปน็ ตะครวิ ได้ ผเู้ ขยี นเปน็ บอ่ ย วธิ แี กก้ ใ็ หก้ นิ นำ้� ใหเ้ พยี งพอ กนิ เกลอื ปน่ ครง่ึ ชอ้ นชาผสมนำ�้ 1 แกว้ เชา้ เยน็ เกลอื แรท่ สี่ ำ� คญั อกี ตวั หนงึ่ คอื แมกนเี ซยี ม แมงกานสี อนั นเ้ี รากใ็ ช้ เมลด็ พกั ทอง และเมลด็ ทานตะวนั ถวั่ อลั มอนด์ กนิ วนั ละ 1 ชอ้ นโตะ๊ นอกจาก นเ้ี ราใช้ น้�ำส้มสายชหู มกั จาก แอปเปิล (Apple cider vinegar) ซง่ึ มี โปแตสเซียมมาก เราใช้ 1 ชอ้ นโต๊ะ ผสมนำ้� ครึง่ แก้ว กนิ กอ่ นนอน 3) อาการท้องผูกพบได้บ่อย แก้ไขโดยให้กินน้�ำให้เพียงพอ กินผักใหม้ ากพอ ผลไม้ทม่ี ีไฟเบอร์ มาก เช่น แอปเปิล ฝร่งั ชมพู่ บา้ ง เพื่อให้ร่างกายได้รับไฟเบอร์บ้าง นมเปร้ียว โยเกิร์ต ยาคูลส์ เป็น 84 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrb่องDแiปe้ งt) จลุ นิ ทรยี ท์ มี่ ปี ระโยชนช์ ว่ ยในการยอ่ ยสารอาหารในลำ� ไส้ ถา้ จำ� เปน็ ตอ้ ง ใช้ยาระบายก็ใช้ยาน�้ำนมแมกนีเซียม (Milk of Magnesia ชื่อย่อก็ MOM) กนิ 2 ชอ้ นโต๊ะก่อนนอน ก็ช่วยได้ คนทีก่ ินอาหารคโี ตเจนนิค ในระยะแรกบางคนอาจจะมอี าหาร ทอ้ งอดื แน่นท้องมกั จะเปน็ กับคนทก่ี นิ เนื้อสัตว์มากไป อันน้ีแกโ้ ดยลด เน้ือสัตว์ลงบ้าง เน้อื สัตวก์ ินวันละ 60-100 กรัม (ขนาดเทา่ ฝา่ มือเรา) อกี วธิ หี นง่ึ คอื ใชน้ ำ�้ สม้ สายชหู มกั จากแอปเปลิ (Apple Cider Vinegar) 1 ช้อนโต๊ะ ผสมนำ้� ครึง่ หน่งึ แก้ว กนิ หลงั อาหาร กช็ ่วยให้การยอ่ ยดีขนึ้ ไมม่ อี าการแนน่ ทอ้ ง แกป้ ญั หาเรอ่ื งกรดไหลยอ้ นไดด้ ว้ ย นอกจากนนั้ ใน คนทมี่ ปี ญั หาสะอึก ใช้น�้ำสมสายชูตัวน้ี ดื่มเข้าไปในล�ำคอกจ็ ะหายได ้ 4) ลมหายใจมกี ล่นิ คลา้ ยผลไม้สกุ งอม เปน็ กลนิ่ ของสารคโี ตน ซงึ่ มนั จะออกมาทางลมหายใจ พบไมบ่ อ่ ย ในเวลาทเ่ี รากนิ คารโ์ บไฮเดรท น้อยกว่า วันละ 50 กรัม เม่ือร่างกายใช้ไขมันเป็นพลังงาน มันจะให้ สารคโี ตนออกมา กลนิ่ มกั จะไมแ่ รง ใหร้ ะวงั อนามยั ในชอ่ งปาก แปรงฟนั ใหด้ ี กนิ นำ้� ใหเ้ พยี งพอ ถา้ กลนิ่ ยงั แรงกเ็ พมิ่ คารโ์ บไฮเดรทเปน็ 70-100 กรมั ร่างกายก็จะผลติ คีโตนนอ้ ยลงมาก กลิ่นกห็ ายไป 5) อาการใจสั่น อันน้ีเกิดจากการกินอาหารชนิดนี้ท�ำให้ ปัสสาวะบ่อย น้�ำออกทางปัสสาวะมาก ก็เสียเกลือโซเดียมไปด้วย ถา้ กนิ นำ�้ ไม่เพยี งพอ ปรมิ าณน้ำ� ในร่างกายก็จะน้อยลงไป บางครั้งอาจ จะทำ� ให้หัวใจเต้นเร็วขนึ้ เราจะรูสกึ ใจสน่ั อนั นี้ก็แกไ้ ขโดย กนิ น�้ำให้พอ กินเกลอื เพม่ิ ดงั ท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้น ในคนไข้ทีเ่ ป็นโรคความดัน ต้องลด กองการแพทย์ทางเลอื ก 85 85 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ยาลง เนอื่ งจากเวลารา่ งกายขบั น้�ำและเกลอื ออก ความดนั จะลดลงเอง คนไข้ท่ีเปน็ ความดันไมม่ าก กง็ ดยาได ้ ทีเ่ ปน็ มากก็ลดยาลงบา้ ง อันน้ี ตอ้ งให้แพทยช์ ว่ ยลดยาให้ 1 หรอื 2 ขนาน ถา้ เราไมล่ ดยาความดนั ลง ความดนั ก็จะลงมากไป หัวใจกจ็ ะเต้นเร็ว เราจะรูส้ ึกใจส่ัน อันนเี้ ป็นขอ้ ทีต่ ้องระวังในคนไขค้ วามดันท่ีกินอาหารคโี ตเจนนิค ในคนไข้เบาหวานก็เช่นกัน ต้องลดยาเบาหวานลง มิฉะนั้น นำ้� ตาลในเลือดจะต่ำ� ลง ถา้ ตำ�่ มาก ก็จะใจส่ัน มอื สน่ั เพราะ เกดิ ภาวะ นำ้� ตาลในเลอื ดตำ�่ (Hypoglycemia) คนไขเ้ บาหวานสว่ นใหญก่ นิ อาหาร คโี ตเจนนคิ มกั จะไมต่ อ้ งใชย้ าหยดุ ยาไดเ้ ลย เนอ่ื งจากเรากนิ คารโ์ บไฮเดรท น้อยมาก ไม่เกินวันละ 50 กรมั ไม่ต้องใชย้ า ในรายทีย่ ังกนิ ขา้ ว แป้ง น้�ำตาล 100 กรมั ขึน้ ไป มกั ตอ้ งใชย้ าร่วมดว้ ย อนั นเี้ ราอาศยั เจาะเลอื ด ตรวจเดอื นละครงั้ หรอื สปั ดาหล์ ะครง้ั ในชว่ งแรกๆ กจ็ ะสามารถควบคมุ ระดบั นำ�้ ตาลใหใ้ กลเ้ คยี งปกตไิ ด้ (ใหอ้ ยปู่ ระมาณ 100-120 มลิ ลกิ รมั /ดล.) 6) กล้ามเน้อื อ่อนแรง รสู้ กึ ไมม่ ีแรงในการเลน่ กฬี า หรือท�ำงาน ใชก้ ำ� ลงั กาย อนั นจ้ี ะเปน็ ในชว่ ง 1-2 สปั ดาหแ์ รก เนอ่ื งจากรา่ งกายกำ� ลงั ปรับตัวในการใช้พลังงานจากไขมัน มันจะสร้างสารคีโตนได้เต็มท่ีก็เข้า สัปดาห์ท่ี 3 ก�ำลังจะกลับมาเหมือนเดิม หลังจากนั้นร่างกายจะรู้สึก แข็งแรงข้ึน สามารถเล่นกีฬาได้ทนขึ้น โดยเฉพาะนักวิ่งระยะยาว เนื่องจากไขมันให้พลังงานสูงให้กินน�้ำและเกลือแร่ให้เพียงพอ www.youtube.com/low carb performance) ถา้ น้ำ� และเกลือแร่ น้อยไปกล้ามเน้อื กอ็ อ่ นแรงได้เชน่ กัน 86 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) 7) ผมรว่ ง อาการผมรว่ งอาจจะพบไดใ้ นบางคน จะเปน็ ชว่ั คราว ในชว่ ง 3-6 เดอื นแรก แล้วค่อย ๆ กลับมาปกติ ผมจะแข็งแรงดกี ว่าเดิม อนั นเ้ี นือ่ งจากการเปลีย่ นอาหารอยา่ งรวดเร็ว อันน้กี ไ็ ม่ตอ้ งแกไ้ ขอะไร 8) ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงข้ึนจากเดิม คนที่กินอาหาร คโี ตเจนนคิ จะมคี วามเปลย่ี นแปลงทชี่ ดั เจน คอื ไตรกลเี ซอรไ์ รดจ์ ะลดลง และ ไขมนั ดี คอื HDL จะเพ่ิมขึน้ อนั นี้จะพบเหมอื นกันทุกคน สำ� หรบั ไขมันเลว LDL อาจจะขึ้นลงได้เล็กน้อย จะเปล่ียนแปลงไม่มาก แตข่ ้อส�ำคญั คอื LDL ในคนทกี่ นิ อาหารคโี ตเจนนคิ จะเป็นชนดิ ขนาด โมเลกุลใหญ่ ซ่ึงไม่เส่ียงต่อโรคหัวใจ ตัวที่เสี่ยงคือ ตัวโมเลกุลเล็ก หรือ small densed LDL จากผลรวมของการเปลี่ยนแปลงอันน้ี อาจจะท�ำให้ โคเลสเตอรอลโดยรวมข้ึนบ้างไม่มาก จึงไม่ต้องท�ำอะไร โคเลสเตอรอลไม่ใช่ปัญหา มันไม่ใช่สาเหตุของโรคหัวใจ ซึ่งผู้เขียนได้ กล่าวในตอนที่แล้ว ๆ มา ในรายท่ีกินคีโตเจนนคิ แล้ว โคเลสเตอรอลสูง กว่า 400 มิลลกิ รมั /ดล.หรอื LDL สงู กว่า 250 มลิ ลกิ รัม/ดล. อาจจะมี ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ได้ อันน้ีให้ปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจดู โดยละเอยี ดตอ่ ไป 9) โรคเกาตก์ ำ� เรบิ อนั นเี้ กดิ จากการกนิ อาหารโปรตนี มากเกนิ ไป ในคนท่ีเป็นโรคเกาต์อยู่ อย่าให้อาหารโปรตีนมากเกิน 1 กรัม/กก. ประมาณ 60-100 กรมั กะขนาด 1 ฝา่ มือต่อวัน ก็จะไม่มปี ญั หาอะไร ส�ำหรับคนท่ีปกติไม่ได้เป็นโรคเกาต์ การกินอาหารโปรตีนสูงไม่ได้เป็น สาเหตขุ องโรคเกาต์ กองการแพทย์ทางเลือก 87 87 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) โดยทั่วไปแล้ว การรับประทานอาหารพร่องแป้ง มักจะไม่มี อาการข้างเคยี งใด ๆ ร่างกายจะปรับตวั ได้ นพ. Atkins พบว่าในบาง คนในระยะเริ่มต้น ร่างกายอาจจะปรับตัวไม่ได้ดีอาจจะมีอาการ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง (Fatique) ปวดหัวปวดเมื่อยเนื้อตัว เหมือนเป็น ไขห้ วดั (Low Carb Flu) อาการเหลา่ นม้ี กั จะเกดิ ขน้ึ 2-3 วนั แลว้ หายไป ถ้ายังไม่หายไปอาจจะต้องเพิ่มคาร์โบไฮเดรทข้ึนอีกเล็กน้อย เช่น เพม่ิ เปน็ 100 กรมั แลว้ คอ่ ย ๆ ลดลงเหลอื 50 กรมั เนอื่ งจากถา้ ระดบั คารโ์ บไอเดรทต�่ำมาก ท�ำให้ร่างกายยังไม่ชิน ยังปรับตัวไม่ได้บางราย อาจจะมีอาการท้องผูก ก็ให้รับประทานผักให้มาก ด่ืมน�้ำให้เพียงพอ บางรายอาจจะมีอาการเป็นตะคริวท่ขี า เน่อื งจากในช่วยแรกอาจจะมี ความไม่สมดลุ ของเกลอื แรใ่ นรา่ งกาย6 โดยเฉพาะ Potassium เนอื่ งจาก ในระยะแรกทเี่ รากนิ แปง้ และนำ้� ตาลนอ้ ยมาก อนิ ซลู นิ กจ็ ะลดตำ่� ลงมาก ซึ่งไตจะขับน�้ำเกลือโซเดียม โปแตสเซียม ออกไปมาก ระดับเกลือแร่ เหล่านี้ในเลอื ดก็อาจจะลดลงได้ นอกจากนนั้ การรบั ประทาน แคลเซยี ม วันละ 1 เมด็ (500- 1,000 มลิ ลิกรมั ) และแมกนีเซยี ม วันละ 1 เม็ด (100-200 มิลลกิ รมั ) กช็ ว่ ยได้ ผเู้ ชยี่ วชาญบางทา่ นอาจจะมกี ารใหว้ ติ ามนิ เสรมิ เชน่ วติ ามนิ ซี วติ ามนิ บตี า่ ง ๆ วติ ามนิ เอ,อี ดี ในรปู ของยาเมด็ ทมี่ สี ว่ นผสมของวติ ามนิ หลาย ๆ ชนดิ หรือบางท่านใชน้ �้ำมันตับปลาเสริม ซง่ึ จะมีวติ ามินเอ อี ดี อยู่มากก็ได้ ในระหว่างใช้อาหารพร่องแป้ง นพ. Atkins กล่าวว่า ท่านจะใช้วิตามิน เกลือแร่ อาหารเสริมบางตัวรวมท้ัง สารต้านอนุมูล อสิ ระ เสริมในคนไข้ของทา่ นทกุ คน1 กองการแพทย์ทางเลอื ก 88 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ในการรับประทานอาหารพร่องแป้งเราควรจะทราบจ�ำนวน คาร์โบไฮเดรทในอาหารท่ีเรารับประทาน ว่ามีคาร์โบไฮเดรทมากน้อย เพยี งใด เพอ่ื วา่ เราจะไดห้ ลกี เลย่ี งพวกทม่ี คี ารโ์ บไฮเดรทสงู เกนิ ไปหรอื รับประทานแต่น้อย1 อา้ งองิ 1) Atkins RC. Dr. Atkins New Diet Revolution,New York,Avon Books.1992. 2) Westman EC,Phinney SD,Volek JS. The New Atkins for a New You. New York. A Touchstone book.2010. 3) Enig M,Fallon S. Eat Fat Lose Fat.New York, A Plume Book.2006. 4) วิศาล เยาวพงศ์ศริ ิ, คนอว้ น และเบาหวาน เปลี่ยนอาหารเปลยี่ นชวี ติ ได้,หนังสอื เกลยี ว เชอื กฟน่ั ฉบับท่ี สมาคมศษิ ย์เกา่ แพทยศ์ ิรริ าช,กันยายน ๒๕๕๗. 5) Frinman RD,Pogozelski WK,Astrup A,Bernstein RK et al. Dietary carbohydrate restriction as the frist approach in diabetes management: Critical review and evidence base. Nutrition.2014;xxx:1-13. 6) Jonny Boden. Living Low Carb.New York,Stering .2013. 7) www.dietdoctor.com/ low carb side effects and how to cure them. กองการแพทย์ทางเลือก 89 89 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ภาคผนวก อาหารพรอ่ งแป้ ง (Low Carb Diet) 90 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ภาคผนวก คนทที่ านพรอ่ งแปง้ จะต้องเลือกผลไม้ทมี่ ีแปง้ น้�ำตาลต่ำ� เข้าไว้ เนือ่ งจากเราตอ้ งระวังไม่ให้แป้งและน้ำ� ตาลเกินวันละ 50 กรัม ส�ำหรบั คนเป็นโรคเบาหวาน โรคอ้วน ส�ำหรับโรคอื่น ๆ และคนปกติท่ัวไป อาจจะกินไดถ้ งึ 100 กรัมตอ่ วนั นพ.แอนเดยี ร์ เอ็นเฟรดท์ (Andreas EenfeldtMD.)ผเู้ชย่ี วชาญอาหาร low carb แหง่ www.dietdocter.com) ได้แนะน�ำให้เราทราบถึงปริมาณแป้งและน้�ำตาลในผลไม้ 100 กรัม (3 ออนซ์ครึ่ง) 1 ออนซ์ ประมาณ 1 อุ้งมือของเราว่ามีเท่าใด ซ่ึงเรา สามารถดไู ดจ้ ากรปู ภาพ ดงั นี้ (จากนอ้ ยไปหามาก ซา้ ยไปขวา) มะนาวมี 6 กรมั , มะพร้าวมี 7 กรมั , แคนทาลปู มี 7 กรัม, พรมั มี 7 กรัม, พีชมี 9 กรัม, สม้ แตงโม เชอรร์ ี่ ครีเมนไทด์ มี 10 กรัม, สับปะรด แอปเปล้ิ แพร์ กีวี มี 10 กรมั , มะมว่ งมี 13 กรมั องนุ่ มี 16 กรัม กลว้ ยหอมมี 20 กรัม เป็นต้น อันน้ีคิดต่อ 100 กรัม ประมาณ 3 อุ้งฝ่ามือครึ่ง) อันนี้เราก็จะกะง่าย กนิ จำ� นวนพอเหมาะไมใ่ หม้ ากเกนิ ไป ปญั หาทพี่ บคอื กนิ นอ้ ยเกนิ ไปไมเ่ พยี งพอ ส�ำหรับผลไม้หลากสี ที่เราต้องการสารเคมี จากพืช (Phytochemical) ให้เราฝึกหัดกะประมาณดู เราสามารถดู ภาพไดจ้ ากเวบ็ ไซดด์ ังกลา่ ว กองการแพทยท์ างเลอื ก 91 91 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

(LอoาwหาCรพaรrbอ่ งDแiปe้ งt) ภาพจาก HYPERLINK “http://www.dietdoctor.com/fruits” www.dietdoctor.com/fruits ตวั เลขคอื จ�ำนวน กรมั ของคาร์โบไฮเดรท ตอ่ 100 กรัม ผกั ผลไมย้ งั มสี ารอาหารอกี ประเภทหนง่ึ คอื ใยอาหาร (Dietary Fiber) ซึง่ พบได้ในผกั ผลไม้ ธญั พชื ขา้ วไมข่ ดั ขาว ถั่วต่าง ๆ เมลด็ พืช สารพวกนไ้ี ดแ้ ก่ เซลลโู ลส (Cellulose), เฮมเิ ซลลดู ลส, เพคตนิ (Pectin), ลิกนิน (Lignin), กัม (Gum), มิวซิเลส (Mucilages) สารเหล่านี้ มคี วามส�ำคัญมาก งานวจิ ัยพบวา่ มันช่วยป้องกนั โรคมะเร็ง หลายชนิด โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ช่วยย่อยอาหาร เพ่ิมการหลั่งกรดน�้ำดี (Bile acid excretion) ซง่ึ ชว่ ยยอ่ ยไขมนั ชว่ ยใหต้ บั ผลติ โคเลสเตอรอลนอ้ ยลง ปอ้ งกนั โรครดิ สดี วงทวาร ปอ้ งกนั อาการทอ้ งผกู ปอ้ งกนั มะเรง็ ลำ� ไส้ และ 92 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข