100
101 ผล รูปกระสวย ยาว 1.2-2 เซนติเมตร ซ่อนตัวอยู่ในกระพุ้งโคนปีก มีปีกยาวรูปขอบขนานแคบๆ 3 ปีก ปลายมนกลม ยาว 8 เซนติเมตร มีเส้น ตามยาวปีก 10 เสน้ ปีกสัน้ มี 2 ปกี ผลแก่ ปกี และผลเป็นสนี ำ้ ตาลแดง เมื่อแก่ จะหลดุ รว่ ง ปีกหมุนลอยไปไดไ้ กล การขยายพนั ธ์ุ นิยมใชเ้ มล็ด ลักษณะเน้ือไม้ เมื่อแปรรูปใหม่ๆ มีสีเหลืองอ่อน ท้ิงไว้นานๆ จะกลาย เป็นสีน้ำตาล มักมีเส้นสีดำหรือสีท่ีแก่กว่าสีพื้นพาดผ่านเสมอ เส้นน้ันคือท่อ น้ำมันหรือยาง เน้ือค่อนข้างหยาบ แข็ง สามารถเลื่อย ไสกบ ตกแต่งได้ง่าย มองเผินๆคลา้ ยไมต้ ะเคียนทอง ประโยชน์ เนื้อไม้แปรรูป ใช้ทำหมอนรางรถไฟ เสาบ้านเรือน เรือขุด และใช้ใน การกอ่ สรา้ ง เช่น พืน้ ฝา ใชแ้ ทนไมต้ ะเคียนทองไดด้ ี น้ำฝาด ใช้ฟอกหนงั เปลอื ก รสฝาด ใชเ้ ปน็ ยาสมานลำไส้ แกท้ อ้ งเดิน ดอก ผสมยาแกไ้ ข้ และยาหอมแก้ลม บำรงุ หวั ใจ ดอกออ่ น รับประทานได้ ดอกสดๆ นำมาลวกเป็นผักจิ้มน้ำพริก หรือนำมาทำแกงส้มหรือต้มจืด ก็ได ้ (ขอ้ มลู และภาพจากหนงั สือตน้ ไมย้ าน่ารู้ โดย ธงชยั เปาอินทร์ และนิวัตร เปาอนิ ทร)์
102 โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีพ้ืนบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในประเภท เครื่องตี มีลักษณะโดดเด่นกว่าเครื่องตีชนิดอื่นคือ เป็นเครื่องตีท่ีสามารถตีเป็น ทำนองและจงั หวะไปพรอ้ มกนั โปงลาง เดิมมีชื่อเรียกว่าขอลอ ซึ่งมีวิวัฒนาการมาจากเกราะหรือ ขอลอ ที่กำนันหรือผู้ใหญ่บ้านใช้ตีเป็นสัญญาณเรียกประชุมชาวบ้าน และยังมี แขวนไว้ตามเถียงนาสำหรับตีแจ้งเหตุต่างๆ ขอลอทำมาจากปล้องไม้ไผ่ เจาะ ด้านข้างให้เป็นช่องเพ่ือให้มีเสียงดังกังวาน หรือบางแห่งอาจใช้ไม้เน้ือแข็ง ขนาดเทา่ ลำแขนมาผกู เชือก แขวนไวต้ ามขือ่ บ้านเรือน จากเสยี งสูงๆ ตำ่ ๆ ของขอลอท่ีขนาดแตกตา่ งกนั เป็นแรงบันดาลใจให้ มีคนประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่สามารถบรรเลงเป็นทำนองเพลง โดยอาศัยเสียง แคนเปน็ หลกั ในการเทยี บเสยี ง และเรยี กชอื่ เครอ่ื งดนตรชี นดิ นวี้ า่ ขอลอ ภายหลงั เม่ือลายเพลงโปงลางเริ่มเป็นที่นิยม ขอลอจึงนำเอาลายเพลงโปงลางไปบรรเลง ซ่ึงมีความไพเราะใกล้เคียงกับเสียงโปงลางมาก จนขอลอเป็นที่รู้จักกันอย่าง แพรห่ ลาย จากชอื่ เดมิ ขอลอจงึ เปลยี่ นไปเรยี กวา่ โปงลาง ตามลายเพลงทบี่ รรเลง จนกระทั่งเป็นเคร่อื งดนตรใี นปจั จุบนั ท่ีมาของโปงลางกาฬสินธุ์ ถือกำเนิดจากท้าวพรหมโคตรซึ่งเคยอยู่ ประเทศลาว และได้อพยพครอบครวั มาตั้งถน่ิ ฐานที่บา้ นกลางหม่นื อำเภอเมอื ง กาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ ท้าวพรหมโคตรได้คิดค้นทำเกราะลอข้ึน โดยเลียน แบบเกราะทใี่ ชต้ ีตามหมู่บา้ นในสมยั น้ัน เกราะลอทำดว้ ยไม้หมากเหล่ือมซึง่ เป็น ไม้เน้ืออ่อน สีขาว มีเสียงกังวาน นำมาตัดเป็นท่อนแล้วใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียง ตามลำดับกันไปจำนวน 6 ท่อน นำไปแขวนไว้ตามเถียงนาเพ่ือใช้ตีไล่นกกา ท่ีมากินข้าวในนา หรือใช้ตีเคาะจังหวะเป็นทำนองลายต่างๆ ตามจินตนาการ เรมิ่ แรกเปน็ การตเี ลน่ กันเฉพาะคนทอ่ี อกไปทำไร่ทำนาเทา่ น้ัน ต่อมาไดม้ ีผู้พฒั นาเกราะลอจาก 6 ลูก เป็น 9 ลูก และยังพฒั นาการตี ไดอ้ กี หลายลาย เกราะลอจงึ กลายเปน็ เครอ่ื งดนตรีเด่ยี วพนื้ บา้ นทเี่ ป็นธรรมชาติ ที่สดุ ในขณะนัน้ แต่ยังคงเป็นการเลน่ เฉพาะนอกหมูบ่ า้ นเท่าน้ัน
103 ประมาณ พ.ศ. 2490 นายเปลื้อง ฉายรัศมี ได้นำเกราะลอเข้าไปตีใน หมู่บ้านโดยนำไปเล่นร่วมกับเคร่ืองดนตรีทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือชนิดอื่น จึงทำให้เกราะลอเป็นที่รู้จักในท้องถิ่นมากข้ึน จากนั้น นายเปลื้อง ได้พัฒนา รูปแบบของเกราะลอ โดยต้ังช่ือเรียกใหม่ว่า “โปงลาง” (โปงฮาง) หมายถึง เครื่องดนตรีที่นำมาผูกร้อยเรียงกันเป็นราง ส่วนไม้ท่ีใช้ทำลูกโปงลางก็เปล่ียน จากไม้หมากเหลื่อมมาเป็นไม้มะหาด (ไม้หมากหาด) เพราะเป็นไม้เน้ือแข็ง มี เสียงดังกังวานและแข็งแรง อายุการใช้งานก็นานกว่า สำหรับไม้ตีโปงลางใช้ไม้ พยุงหรือไม้ประดู่ เพราะเหนียวและไม่หักง่าย นอกจากนี้ยังพัฒนาจำนวนลูก โปงลางจาก 9 ลูก เป็น 12 ลูก ทำให้ไล่บันไดเสียงได้เพ่ิมข้ึน บรรเลงลายได้ มากขนึ้ ด้วย ต่อมานายเปล้ืองก็เพ่ิมลูกโปงลางจาก 12 ลูก เป็น 13 ลูก ทำให้เล่น เสียงได้มากข้ึนอีก เมื่อนำไปเล่นร่วมกับเคร่ืองดนตรีชนิดอื่นก็ไพเราะข้ึน และ ยังทำใหม้ ลี ายโปงลางเกิดเพ่ิมขนึ้ อกี หลายลาย วงโปงลางกาฬสินธ์ุได้ถูกนำออกแสดงให้ประชาชนได้ชมครั้งแรก ใน วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันท่ี 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2511 บรเิ วณทว่ี า่ การอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ จากนนั้ ก็ไปแสดงตามสถานทต่ี ่างๆ ทง้ั ในและต่างประเทศ จนวงโปงลางกาฬสินธุเ์ ป็นที่ รจู้ ักกนั อย่างแพรห่ ลาย ส่วนประกอบของโปงลางแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ผืนโปงลาง ขาโปงลาง และไม้ตีโปงลาง ลายเพลงโปงลางที่ใช้บรรเลงส่วนใหญ่เกิดจากการเลียนเสียง ธรรมชาติท่ีพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีช่ือเรียกแตกต่างกันไป เช่น ลายนกไล่ บนิ ข้ามทุง่ ลายแมงภ่ตู อมดอก และลายแม่ฮ้างกลอ่ มลูก เป็นต้น (เรียบเรยี งจากวิทยานพิ นธ์เรื่อง การทำโปงลางกับวิถีชวี ติ ชาวบา้ น ในเขตอำเภอเมือง จงั หวัดกาฬสินธุ์ โดย ฉัตรพงศ์ อนิ ทฤทธ์)ิ
104 ยทุ ธหัตถี หมายถึง การต่อสู้กันด้วยอาวุธบนหลังช้าง เป็นวิธีการรบอย่าง กษตั รยิ ์ในสมยั โบราณ บนหลังช้างจะมีคนนั่งอยู่ 3 คน แม่ทัพจะน่ังถือง้าวอยู่ที่คอช้าง คนท่ี นั่งกลางช้างอยู่บนกูบจะถือหางนกยูงซ้ายขวาใช้โบกเป็นสัญญาณและคอยส่ง อาวุธใหแ้ มท่ ัพ ทท่ี า้ ยช้างมีควาญนง่ั ประจำท ี่ ตามเทา้ ช้างทัง้ 4 มีพลประจำเรยี กวา่ จตลุ งั คบาท ท้ังหมดจะถืออาวธุ เชน่ หอกซดั ของ้าว ถ้าเป็นช้างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้าแดง 2 เล่ม ช้างที่เข้ากระบวนทัพ จะสวมเกราะ ใส่เกือกหรือรองเท้าเหล็กสำหรับกันขวากหนาม โดยเท้าท้ัง 4 สวมหน้าราห์ มีปลอกเหล็กสวมงาทั้งคู่ และมีเกราะโซ่พันงวงช้าง สำหรับพัง ค่ายศตั รโู ดยไมไ่ ด้รับอนั ตรายหรอื เจบ็ ปวด (เรียบเรยี งจากหนงั สอื พระนเรศวรมหาราช โดย พิมาน แจ่มจรัส) พระไตรปฎิ ก ไตรปิฎก แปลวา่ กระจาดหรือตะกรา้ อันเปน็ ภาชนะสำหรับใสร่ วมของ ต่างๆ เข้าไว้ นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นที่รวบรวมคำสอนในพระพุทธ- ศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว พระไตรปิฎกจึงแปลว่า คัมภีร์ที่บรรจุพุทธพจน์ 3 ชุดหรือประมวลแห่งคัมภีร์ที่รวบรวมพระวินัย 3 หมวด กล่าวคือ วินัยปิฎก สุตตันตปฎิ ก อภิธรรมปิฎก พระไตรปฎิ กมเี นือ้ ความท้ังหมด 84,000 พระธรรมขนั ธ์ แบ่งเปน็ พระวินยั ปฎิ ก 21,000 พระธรรมขนั ธ์ พระสุตตนั ตปิฎก 21,000 พระธรรมขันธ์ พระอภธิ รรมปิฎก 42,000 พระธรรมขนั ธ์ (ขอ้ มลู จากพจนานุกรมพทุ ธศาสน์ ฉบบั ประมวลศพั ท ์ โดย พระธรรมปิฎก มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย)
105 ดอกพดุ ตาน ช่ือ มีช่ือเรียกทางภาคเหนือวา่ ดอกสามสี สามผวิ ตน้ เปน็ ไม้พ่มุ สงู 2-5 เมตร ตน้ และก่ิงมขี นสีเทา ใบ ใบเด่ียว ออกสลับ รูปไข่ กว้าง 9-22 เซนติเมตร ยาว 10-20 เซนตเิ มตร ปลายแหลม โคนรูปหวั ใจ ใบมขี นสาก ดอก สขี าว แลว้ เปลี่ยนเปน็ ชมพแู ละแดง ออกตามซอกใบและปลายก่ิง มีรวิ้ ประดบั 7-10 อนั กลบี เล้ียง 5 กลบี มีขน พันธ์ุดอกลามีกลีบดอก 5 กลีบ พันธ์ุดอกซ้อนมี 10 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 8-12 เซนติเมตร มีเกสร ตัวผู้จำนวนมาก ก้านเกสรติดกันเป็นหลอดล้อมรอบเกสรตัวเมีย ออกดอก ตลอดปี ผล มลี กั ษณะกลม เมือ่ แก่แตกเปน็ 5 แฉก เมล็ด เปน็ รูปไต มขี นยาว ขยายพนั ธุ์ โดยการปักชำกงิ่ และตอนกง่ิ ดอกพุดซ้อน ช่ือ เคดถวา (ภาคเหนือ) แคถวา (เชียงใหม่) พุดจีน พุดใหญ่ (ภาค กลาง) ตน้ เปน็ ไมพ้ มุ่ สูง 1-3 เมตร แตกกิง่ กา้ นเปน็ พ่มุ กลม ใบ ใบเด่ียว ออกตรงข้าม เป็นรูปใบหอกหรือรูปไข่กลับ กว้าง 3-4 เซนตเิ มตร ยาว 8-10 เซนตเิ มตร ปลายและโคนแหลม แผน่ ใบเปน็ มนั สเี ขยี วเขม้ ดอก สีขาว กล่ินหอม ออกเดี่ยวตามซอกใบและปลายก่ิง กลีบเลี้ยง หนาเป็นสัน 6 สัน กลีบดอกโคนติดกัน ปลายแยกเป็น 5-12 กลีบ ซ้อนกัน หลายชั้น บางพนั ธ์ุมชี ั้นเดยี ว ออกดอกตลอดป ี ผล พันธ์ุที่มีกลีบดอกชั้นเดียวมักติดผล มี 2 ชนิดคือ ชนิดผลสั้นและ ชนิดผลยาว เม่อื สุกจะมสี ีเหลอื ง ขยายพนั ธ์ุ โดยใชเ้ มลด็ และตอนกิง่ (เรียบเรยี งจากหนังสอื ไม้ดอกและไม้ประดับ โดย สำนักงานเสรมิ สร้างเอกลักษณข์ องชาต)ิ
106 ดาวประจำเมือง คนไทยคุ้นเคยกับดาวประจำเมืองหรือดาวศุกร์มาแต่ครั้งโบราณ โดย คิดว่าดวงดาวที่สว่างสุกใสตอนหัวค่ำทางทิศตะวันตก กับดวงดาวที่สว่างตอน ใกล้รุ่งทางทิศตะวันออกเป็นคนละดวงกัน จึงต้ังชื่อเรียกต่างกัน โดยเรียกดาว ดวงน้ีขณะปรากฏตอนหัวค่ำทางทิศตะวันตกว่า “ดาวประจำเมือง” และเรียก ดาวที่ปรากฏช่วงเวลาใกล้สว่างทางทิศตะวันออกว่า “ดาวประกายพรึก” หรือ “ดาวรุ่ง” ซง่ึ หมายถึงสญั ลกั ษณแ์ หง่ รุ่งอรุณของวันใหมน่ ่นั เอง ดาวศกุ รจ์ งึ มชี อ่ื เรยี กหลากหลายคอื ดาวประจำเมอื ง ดาวประกายพรกึ ดาวรุ่ง และคนไทยทางภาคเหนือยังเรียกดาวศุกร์ว่า “ดาวหมูกอง” เน่ืองจาก เม่ือดาวดวงน้ีปรากฏบนทอ้ งฟา้ หมทู เ่ี ลีย้ งไวจ้ ะเข้าเลา้ นอน ส่วนทางกรกี ตง้ั ชอ่ื ดาวดวงนี้วา่ อะโฟรไดท์ (Aphrodite) โรมนั ตง้ั ชื่อว่า วีนัส (Venus) ชาวบาบิโลเนียน เรียกว่า อิชทาร์ (Ishtar) ดาวศุกร์ได้รับการ ยกยอ่ งว่าเปน็ เทพแี ห่งความรกั ความงามและความอดุ มสมบูรณ ์ ดาวศกุ ร์หรือดาวประจำเมือง ได้ชื่อวา่ เป็นดาวฝาแฝดของโลก เพราะมี ขนาดใกลเ้ คยี งกบั โลกมากทส่ี ดุ ดาวศกุ รไ์ มม่ ดี าวบรวิ าร มบี รรยากาศเมฆหมอก ปกคลุมหนาทึบ พ้ืนผิวของดาวศุกร์ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ อุณหภูมิสูงสุดของดาว ศุกร์สูงถึง 482 องศาเซลเซียส อุณหภูมโิ ดยเฉลย่ี คือ 462 องศาเซลเซียส (เรยี บเรยี งจากหนงั สือระบบสุริยะ : ครอบครวั ของดวงดาว โดย สุทธิชัย จันทรศลิ ปิน และเวบ็ ไชตอ์ งค์การนาซา http://solarsystem.nasa.gov/planets/profile.cfm?object=Venus&Display=facts)
107 ตคี ลี ตีคลีเป็นกีฬาพ้ืนเมืองท่ีเก่าแก่ชนิดหน่ึง มีลักษณะการเล่นคล้ายกับ กีฬาฮอกกี้ เป็นกีฬาประเภททีม ผู้เล่นแต่ละคนถือไม้ยาวปลายงอไล่ตีลูกกลม ขนาดเท่าผลส้มเขียวหวาน ใหผ้ ่านเขา้ แดนของฝา่ ยตรงข้าม การเล่นคลีไม่ปรากฏแน่ชัดว่าเร่ิมมาตั้งแต่สมัยใด แต่พบว่าเร่ิมเล่นมา ตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยมีการเล่นอยู่ 3 ประเภทคือ การข่ีช้างเล่นตีคลี ข่ีม้า เล่นตีคลี และคลีคน คือ การท่คี นลงวิ่งเล่นตคี ลีด้วยตนเอง การเล่นตีคลีเป็นท่ีนิยมเล่นกันมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ต่อมาในสมัย กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนกลาง ความนยิ มในการเลน่ คลชี า้ งและคลมี ้าก็ลดลง เหลอื แต่การเล่นคลีคนเทา่ นนั้ ซงึ่ นยิ มเล่นกันมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน่ ขอนแกน่ ศรีสะเกษ ชยั ภมู ิ นครพนม มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด สุรนิ ทร์ หนองคาย และอบุ ลราชธานี การเล่นตีคลีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถือเป็นกีฬาชนิดหน่ึงของ ชาวบ้านสมัยก่อน เล่นเพ่ือความสนุกสนานในยามว่าง ส่วนมากมักเล่นใน ฤดูหนาวหรือฤดูแล้ง หลังเก็บเกี่ยวข้าวทุ่งนาก็จะแห้ง ชาวบ้านจะใช้บริเวณ ทุ่งนาเป็นสนามเล่นคลี ซึ่งเล่นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน ถ้าเป็นการเล่นตอน กลางคืน จะใช้วิธเี ผาลูกคลใี หเ้ ป็นก้อนไฟ เรยี กวา่ คลไี ฟ สว่ นการเล่นตคี ลีตอน กลางวัน บางครงั้ จะเรยี กวา่ คลีแดด ลักษณะการเล่นตีคลีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งได้เป็นหลาย ประเภทแล้วแต่ความนิยมในแต่ละจังหวัด การตีคลีเล่นได้ทุกโอกาส ส่วนมาก มักเล่นในฤดูแล้งหรือฤดูหนาวหลังเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว เล่นได้ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ท้ังผู้หญิงผู้ชาย โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายละเท่าๆ กัน อุปกรณ์ท่ีใช ้ จะมไี ม้ยาวประมาณ 65-80 เซนตเิ มตร ขนาดกำรอบพอดีมือ ปลายไมด้ า้ นหน่งึ งอโค้ง เรียกว่า ไม้คลี ผู้เล่นจะถือไม้ไว้คนละ 1 อัน ตามปกติจะใช้ก่ิงไม้หรือ กิ่งไผ่ปลายงอ ส่วนลูกคลีจะใช้ไม้แก่นตัดเป็นก้อน แล้วกลึงให้เป็นลูกกลม มขี นาดเส้นผา่ ศนู ย์กลางประมาณ 7-10 เซนติเมตร (เรียบเรยี งจากหนงั สอื กฬี าพื้นเมอื งภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื โดย รศ.ชัชชัย โกมารทตั )
108 การฝังลกู นิมติ การฝังลูกนิมิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการผูกพัทธสีมา ถือเป็นกิจของ สงฆ์ การฝังลูกนิมิตเป็นพิธีการกำหนดเขตแดนเพ่ือใช้ในการทำสังฆกรรมของ พระสงฆ์ เช่น การสวดโอวาทปาติโมกข์ ปวารณากรรม การทำอุโบสถกรรม การใหอ้ ุปสมบท การรบั กฐิน เป็นตน้ ความเป็นมาของการฝังลูกนิมิต มีมาแต่คร้ังสมัยพุทธกาล การฝัง ลูกนิมิตคร้ังแรกเกิดขึ้นที่ประเทศอินเดีย สมัยนั้นพระภิกษุสาวกยังไม่มีท่ีอยู่ เป็นหลักเป็นแหล่ง เน่ืองจากพระพุทธเจ้าเพ่ิงจะประกาศพระพุทธธรรม เวลา ต่อมาท่ีกรุงราชคฤห์ มีเศรษฐีท่านหน่ึงได้สร้างพระวิหารถวาย พระพุทธเจ้าจึง อนญุ าตใหใ้ ชพ้ ระวหิ ารเปน็ ทพี่ กั อาศยั ของพระภกิ ษทุ เ่ี ดนิ ทางสญั จรไปมา จากนนั้ อนาถบณิ ฑิกเศรษฐไี ดส้ ละทรัพย์ 54 โกฏิ ซื้อสวนเจ้าเชตสร้างถวาย วหิ ารนี้จงึ ไดช้ ่ือว่าพระเชตวันมหาวหิ าร นางวิสาขาได้สละทรพั ย์ 27 โกฏิ สร้างบุพผาราม ให้เป็นพระวิหารถวายพระพุทธเจ้า ด้วยเหตุนี้จึงกลายเป็นเย่ียงอย่างในการ สร้างวิหารที่อยอู่ าศยั ถวายพระภิกษุสบื ตอ่ มา เมื่อมีศาสนาอื่นเกิดข้ึน ศาสนาเหล่านั้นได้มีการประชุมเพื่อเผยแพร่ ศาสนา พระเจ้าพิมพิสารจึงได้กราบทูลพระพุทธเจ้าให้มีการประชุมข้ึนบ้าง พระพุทธองค์โปรดฯให้มีการประชุมสงฆ์ในพระอุโบสถ และทรงอนุญาตให ้ พระภิกษุสงฆ์ผูกพัทธสีมาหรือฝังลูกนิมิต เพื่อเป็นเขตแดนพอท่ีจะสามารถทำ สังฆกรรมได้ โดยไม่อนุญาตให้ผู้อื่นล่วงล้ำเข้ามา มิฉะนั้นจะถือว่าสังฆกรรม วิบตั บิ กพร่อง นับเปน็ การเริม่ ต้นในการฝงั ลูกนมิ ติ ตัง้ แต่นน้ั มา คำว่า “สีมา” แปลว่า “เขตแดน” ซ่ึงวัตถุท่ีเป็นเคร่ืองหมายบอกเขต แดนนี้ เรียกว่า “นิมติ ” พระพุทธเจ้าทรงระบุเคร่ืองหมายบอกเขตแดนไว้ในบาลี 8 ประการ ไดแ้ ก่ ภเู ขา ศลิ า ป่าไม้ ตน้ ไม้ จอมปลวก หนทาง แมน่ ำ้ และน้ำซงึ่ เปน็ น้ำน่งิ นิมิตทั้ง 8 ประการน้ีล้วนเป็นสง่ิ ทเี่ กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ จึงมักทำให้แนวเขต นมิ ติ ไมค่ อ่ ยตรง ไมไ่ ดร้ ะยะ ขาดความเปน็ ระเบยี บ ตอ่ มาจงึ เกดิ นมิ ติ อกี ประเภท หนงึ่ ซง่ึ จดั สรา้ งขนึ้ โดยเฉพาะ เชน่ บ่อ คู สระ และกอ้ นหนิ โดยเฉพาะก้อนหิน เป็นสิ่งที่นิยมกันมาก เพราะเป็นของทนทาน ไม่บุบสลาย เคล่ือนย้ายยาก
109 ปัจจุบันผู้คนประดิษฐ์ตกแต่งก้อนหินให้มีลักษณะสวยงามมากข้ึน โดยมากมัก จะเปน็ ลกู กลมๆซงึ่ เราเรียกกนั วา่ “ลูกนมิ ติ ” เม่อื เราเข้าไปในวดั จะเหน็ ใบสีมาอยโู่ ดยรอบ ไมว่ า่ จะอยู่ในซุ้มหรือปกั อยบู่ นฐานก็ตาม ข้างใตใ้ บเสมานน้ั จะมลี ูกนิมิตฝังอย ู่ เชื่อกันว่าผู้ใดได้ประกอบบุญนี้จะได้อานิสงส์มาก โดยมีการกล่าวถึง อานิสงสใ์ นอรรถกถาบาลไี ว้ 6 ประการ คือ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บทุกชาติ ปราศจาก อุปัททวะท้ังหลาย ไม่เกิดในตระกูลต่ำ หากเกิดในมนุษยโลก จะเกิดเป็นท้าว พระยามหากษัตริย์ หากเกิดในเทวโลกจะเกิดเป็นท้าวสักกเทวราช สมบูรณ์ ด้วยทรัพยส์ นิ เงนิ ทอง มีผวิ พรรณผอ่ งใส และมอี ายยุ นื (เรยี บเรยี งจากหนงั สอื พิธกี ารน่าร ู้ ของสำนักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี โดย เบญจมาส แพทอง และหนังสอื ประเพณีและพธิ ีกรรมพระพทุ ธศาสนา โดย ผศ.บุญมี แท่นแก้ว)
110 อักษรตวั ธรรมหรอื อกั ษรธรรมอสี าน เป็นอักษรท่ีใช้อยู่ในกลุ่มชนบริเวณลุ่มน้ำโขงต้ังแต่โบราณและแพร่ไป ยังกลุ่มไทยล้ือในสิบสองจุไทยด้วย จากศิลาจารึกในภาคอีสานและอาณาจักร ล้านช้างพบว่า อักษรตัวธรรมปรากฏในศิลาจารึกครั้งแรกในสมัยพระเจ้าราช- แสนไทย จารกึ เก่าทสี่ ุดท่ีเป็นอักษรตัวธรรมลงไวเ้ มื่อปีพ.ศ. 2003 คือจารกึ ฐาน พระพุทธรูป อยู่ท่ีวัดสีสะเกด เมืองเวียงจันทน์ ส่วนจารึกลงบนแผ่นศิลาท่ีเป็น อักษรตวั ธรรมเก่าท่สี ดุ คือ จารึกวัดบ้านสังคโลก ลงไวเ้ มื่อปพี .ศ. 2070 อกั ษรตวั ธรรมนนี้ ำมาใชใ้ นอาณาจกั รลา้ นชา้ งอยา่ งแพรห่ ลาย ภายหลงั ได้เข้ามายังภาคอีสานของประเทศไทย จึงพบเอกสารใบลานต่างๆ มากมาย ในภาคอสี านยคุ กอ่ นทจ่ี ดบนั ทกึ ดว้ ยอกั ษรตวั ธรรม โดยเฉพาะเอกสารดา้ นพทุ ธ- ศาสนา ไดแ้ ก่ พระคมั ภีร์อรรถกถา ชาดก และตำราวชิ าการ ภาคอีสานและอาณาจักรล้านช้างได้ตกเป็นของไทยในสมัยกรุงธนบุรี เมื่อปีพ.ศ. 2322 ส่วนภาคอีสานน้ันได้รวมเข้าเป็นดินแดนประเทศไทยอย่าง จริงจังในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 จากนั้น อกั ษรตวั ธรรมหรอื ตวั อกั ษรธรรมอสี านกเ็ สอ่ื มความนยิ มลง เนอ่ื งจากรชั กาลที่ 5 ได้ให้ข้าราชการหัวเมืองอีสานเรียนภาษาไทยและตัวอักษรไทย อีกท้ังยังจัดต้ัง โรงเรียนสอนหนังสือไทยในทุกหัวเมือง โดยเฉพาะมณฑลลาวกลาง (นครราช- สมี า) มณฑลลาวพวน (อดุ รธานี) และมณฑลลาวกาว (อุบลราชธานี) และมกี าร ประกาศใหใ้ ชภ้ าษาไทยเป็นภาษาราชการนับแตป่ พี .ศ. 2464 เปน็ ต้นมา ตัวเลขในอกั ษรธรรมอีสานมี 10 รปู ดงั น้ี ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ (เรยี บเรียงจากหนังสอื วรรณกรรมอีสาน โดย ธวชั ปุณโณทก และหนังสือวรรณกรรมท้องถิน่ ไทย โดย กตญั ญู ชูช่นื )
111 เครอื่ งปัน้ ดนิ เผาบ้านเชียง ทีช่ มุ ชนบา้ นเชียงเมอื่ 5,000 กว่าปที ่แี ล้ว เมือ่ มีคนตาย ญาติพนี่ ้องจะ นำเคร่ืองมือ เครื่องใช้และเครื่องประดับขนาดเล็กบรรจุลงในภาชนะดินเผา เขียนสี หรือบางครงั้ ก็เปน็ ภาชนะดนิ เผาเขยี นสีเปล่าๆ วางไวก้ ับศพ โดยวางไว้ บริเวณใดก็ได้ ท้ังเหนือหัวผู้ตาย ปลายเท้า หรือด้านข้าง แล้วแต่แบบแผน พธิ ีการของหมบู่ า้ นน้ันๆ พิธีการดังกล่าวเกิดจากคติความเช่ือเกี่ยวกับความตายของชุมชน บ้านเชียงท่ีว่า ผู้ตายน้ันยังไม่ตายจริง หากเปล่ียนสภาพไปสู่อีกสถานะท่ี ศักดิ์สิทธิ์กว่า ดังนั้นญาติพ่ีน้องจึงต้องจัดเตรียมภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ ทั้งที่ เปน็ ของสว่ นตวั ของผู้ตายและสว่ นท่คี วรไดเ้ พ่มิ ขึ้นติดตัวไปดว้ ย นอกจากนีย้ ังมี ความเชอ่ื ทว่ี า่ ผตู้ ายยงั ไมต่ าย หากกลบั ฟน้ื คนื ชวี ติ ขน้ึ มาอกี ครงั้ จะไดม้ เี ครอ่ื งใช้ ไม้สอยไว้ทำมาหากนิ ลวดลายทปี่ รากฏอยบู่ นเครอื่ งปนั้ ดนิ เผาเขยี นสี ของบ้านเชียง ได้แก่ ลายเส้นโค้ง ลายก้นขดและลาย กน้ หอย ลายเรขาคณติ ลายดอกไม้ ลายรปู สตั ว์ และลาย อื่นๆ เชน่ ลายเส้นขนาน ลายสามเหลยี่ มซ้อน เป็นตน้ (เรยี บเรียงจากหนังสือบา้ นเชียง โดย สจุ ติ ต์ วงษ์เทศ) ที่มาของปก การออกแบบหน้าปกของหนังสือชุดนี้ได้นำลวดลายการ เขียนสีบนภาชนะดินเผาของบ้านเชียงมาดัดแปลงและตัดทอน เพื่อให้เกิด ความสวยงามและเหมาะสมกบั ปกหนังสือ
ประวัติย่อผู้เขียน สรรัตน ์ จริ บวรวสิ ุทธิ์ ครเี อทีฟรายการโทรทศั นส์ ำหรับเดก็ และนักเขียนอสิ ระ ประวัติการศกึ ษา • สำเรจ็ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จากโรงเรยี นบางปะกอกวิทยาคม พ.ศ. 2545 • สำเร็จอักษรศาสตรบณั ฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2549 ผลงานดา้ นส่อื สง่ิ พมิ พ์ พ.ศ. 2544 • เรือ่ งสัน้ แนวลึกลบั สยองขวญั ในนติ ยสารเร่ืองผี จำนวน 19 เรื่อง โดยสำนักพิมพ์ โอ.เอส.พรนิ้ ต้งิ จำกัด พ.ศ. 2545 • เรือ่ งส้นั “แม่มดพลัดถ่นิ ” ในการ์ตนู มหาสนุก รายสัปดาห์ โดยสำนกั พิมพ์บันลือสาส์น จำกัด 1990 พ.ศ. 2546 • เรอ่ื งสัน้ ชนะการประกวด “บวชใช้บาป” ในหนงั สอื กรรมสง่ ตรง คนส่งกรรม โดยสำนกั พมิ พ์กันตนาพบั ลชิ ชงิ่ จำกดั พ.ศ. 2549 • เรื่องส้ันแนวลึกลบั สยองขวัญในนติ ยสาร Shock Story จำนวน 4 เร่อื ง โดยบริษทั สยามอินเตอร์มัลติมเี ดีย จำกดั (มหาชน) • บทการ์ตนู ใน “จอมซนผจญภัย” ตอนที่ 14 เที่ยวทะเลกันดกี วา่ โดยบรษิ ัทอนเิ มท กรปุ๊ จำกดั ปัจจบุ นั • เขียนหนังสอื ซรี ีส่ ์นิทาน 4 ภาค ไดแ้ ก่ นิทานทรี่ าบสูง, นทิ านยอดดอย, นิทานลุม่ น้ำ และนทิ านคาบสมทุ ร โดยบริษัทสยามอนิ เตอรม์ ลั ติมเี ดีย จำกดั (มหาชน)
ประวัติยอ่ ผู้วาดภาพประกอบ อาจารยป์ รดี า ปญั ญาจนั ทร์ เกิดและเติบโตที่จังหวัดหนองคาย มีบ้านอยู่ติดกับวัด เม่ือมีงานบุญที่วัดก็มักจะไปวิ่งเล่น อยู่เสมอ โดยเฉพาะงานบญุ ยเวส (เทศน์มหาชาต)ิ จะชอบเป็นพเิ ศษ เพราะได้ดภู าพเขยี นเรือ่ งราว พระเวสสนั ดรบนผา้ เม่ือเห็นภาพบนผ้าหรือภาพจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์ในรูปแบบอีสานก็จะกลับมาน่ังวาดเล่น ทีบ่ ้านตอ่ หลังจากจบการศึกษาศิลปะจาก มศว.ประสานมิตร ก็ทำงานด้านเขียนภาพประกอบตลอด เม่ือมีโอกาสได้เขียนภาพประกอบนิทานน้ีท่ีบ้านอีสาน ความประทับใจในวัยเด็กจึงหวนกลับมา ปรากฏบนภาพประกอบชุดน ้ี
เปิดโลกกว้างแหง่ การเรียนรู้ บนรากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดตั้งอุทยานการเรียนรู้ส่วนภูมิภาค เป็นภารกิจสำคัญประการหนึ่งของ สำนักงานอทุ ยานการเรยี นรู้ (TK Park) เนน้ การถ่ายทอดบทเรียนการจดั การการเรยี นรู้ ภายใต้บริบทวัฒนธรรมและความสนใจที่สอดคล้องกันของคนในท้องถ่ิน เพ่ือกระจาย โอกาสใหเ้ ด็กและเยาวชนไทยสามารถเขา้ ถึงการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีความสุข โครงการนิทานพื้นบ้าน 4 ภาค เป็นส่วนหน่ึงของการดำเนินงานเพ่ือจัดตั้ง อุทยานการเรียนรู้ส่วนภูมิภาค โดยจัดทำเนื้อหาสาระในรูปแบบที่เด็กและเยาวชนสนใจ ซ่ึงสามารถส่ือให้เห็นความเป็นตัวของตัวเอง ได้รับรู้ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม อนั ล้ำคา่ ในทอ้ งถ่ิน รวมท้ังการรกั ษาและสืบทอดมนตเ์ สน่ห์แห่งนทิ านพ้นื บ้าน หนังสือชุดนิทานพื้นบ้าน 4 ภาค ประกอบด้วยนิทานภาพสำหรับเด็กอายุ ไมเ่ กนิ 9 ปี และวรรณกรรมสำหรับเยาวชนอายุ 9 ปขี ึน้ ไป สำนักงานอทุ ยานการเรียนรู้ ดำเนนิ การจัดพิมพ์แลว้ เสร็จ และกระจายเผยแพร่ทั่วประเทศแล้ว ดงั นี ้ นิทานภาพภาคใต้ จำนวน 6 เร่อื ง จารอกีตอ เมอื งนา่ อยทู่ ี่หนูรัก ไก่โกง มูสงั เปาะแซเดาะกับซามะ ไขน่ ยุ้ กับแพะน้อย ซงี อ : เจา้ ป่าผกู้ ล้าหาญ ในวันฮารรี ายอ
วรรณกรรมเยาวชนภาคใต้ จำนวน 6 เรือ่ ง ซาไก พระเศวตสุรคชาธาร รายอฆอแน จาโต : เล่หก์ ลบนกระดาน วดั ถ้ำคหู าภิมขุ แดนคนธรรพ์ นิทานภาพภาคเหนือ จำนวน 5 เรอ่ื ง ห้าสหายปราบยกั ษ์ เชยี งใหมเ่ มอื งบุญ เพลงละอ่อน พฉึ อ่ ไกผ่ ู้พชิ ิตพระอาทิตย ์ ดาววไี ก่นอ้ ย วรรณกรรมเยาวชนภาคเหนอื จำนวน 7 เรือ่ ง ผู้เฒา่ เล่าไว ้ กำพรา้ บัวทอง จนั ตะคาด สวุ รรณเมกฆะ นทิ านของอุ๊ย ออ้ มล้อมตอ่ มคำ ผีม้าบ้อง กับหมาขนคำ
นทิ านภาพภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จำนวน 5 เร่อื ง ช้างดอ้ื อเี กงิ้ ...เดือนดาว เมอื งมหาสารคาม เส่ยี วฮกั เสยี่ วแพง ฮตี สิบสอง วรรณกรรมเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จำนวน 7 เรื่อง ผีผบึ พ้มึ ผจญภัยเมอื งฟ้าแดด สินไช ตำนานขูลกู ับนางอ้วั อภนิ หิ ารบาดาลนคร เรื่องเลา่ เจ้ากำพร้า ท้าวขอ้ หลอ้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118