องคก ารแพธ (PATH) ๒๙๔/๑ อาคารเอเชีย ช้ัน ๑ ถ.พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท ๐-๒๖๑๑-๓๐๐๑-๕ โทรสาร ๐-๒๖๑๑-๓๐๐๖ www.teenpath.net, www.lovecarestation.com อีเมล [email protected] โครงการ CHILDLIFE ภายใตการสนบั สนนุ ของ กองทุนโลกเพอ่ื เอดสวัณโรค และมาเลเรีย
คมู ือแนะนำแนวทางการจัดกิจกรรมสรา งเสรมิ ตนทนุ ชวี ติ เด็กวัย ๑๐ – ๑๒ ป เกมแดนสรางพลงั โดยความรว มมอื ระหวา ง สถาบนั แหงชาตเิ พอ่ื การพฒั นาเด็กและครอบครวั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และองคก ารแพธ
ค่มู อื แนะนำาแนวทางการจัดกิจกรรมสรา้ งเสรมิ ตน้ ทุนชวี ติ เด็กวยั ๑๐ – ๑๒ ป ี โดยคว�มรว่ มมือระหว่�ง สถาบันแห่งชาตเิ พ่ือการพฒั นาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล และองคก์ ารแพธ (PATH) โครงก�ร CHILDLIFE ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของกองทุนโลกเพ่อื เอดส์ วัณโรคและมาลาเรีย
คู่มอื แนะน�ำ แนวทางการจัดกจิ กรรมสร้างเสริมต้นทนุ ชวี ติ เดก็ วัย ๑๐-๑๒ ปี POWER LAND เกมแดนสร้างพลัง พมิ พ์ครง้ั แรก มถิ นุ ายน ๒๕๕๖ จำ�นวน ๑,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ท่ี พ.ี เอส.ซัพพลาย รูปเลม่ บรษิ ทั บเู ลติน จ�ำ กัด จดั พิมพโ์ ดย องค์การแพธ (PATH) ๒๙๔/๑ อาคารเอเชยี ชนั้ ๑ ถ.พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๑๑-๓๐๐๑-๕ โทรสาร ๐-๒๖๑๑-๓๐๐๖ เวบ็ ไซต ์ www.teenpath.net และ www.lovecarestation.com อเี มล์ [email protected] องค์การแพธ (PATH) ยินดีให้มีการเผยแพร่เอกสารน้ีอย่างแพร่หลายต่อไป อย่างไร กต็ าม หากบคุ คลหรือหน่วยงานใดตอ้ งการน�ำ เน้อื หาจากเอกสารนไี้ ปใช้อา้ งอิงในเอกสาร หรือ ส่ืออ่ืนๆ ขอความกรุณาแจ้งให้องค์การแพธ (PATH) ทราบล่วงหน้า และ/หรือขอความกรุณา อ้างอิงท่มี าของข้อความนน้ั ๆ ตามมาตรฐานสากลด้วย ขอบพระคณุ ยง่ิ สนใจดาวน์โหลดหลักสูตร หรือรายละเอียดเพศศึกษารอบด้านทางออนไลน์ ได้ท่ี www.teenpath.net หรือสนใจบริการสุขภาพทางเพศและเอดส์สำ�หรับเยาวชน ได้ท่ี www.lovecarestation.com หากต้องการเสนอแนะหรือแสดงความคิดเห็นต่อเอกสารน้ี ประการใด กรุณาติดตอ่ องคก์ ารแพธโดยตรง หรือทางอเี มล์ [email protected]
คำ�น�ำ สถานการณ์ด้านพัฒนาการเด็กไทยท้ังความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องมาหลายปี เพราะสภาพสังคมที่เปล่ียนไปอย่างรวดเร็วได้ส่งผลต่อการดำ�เนินชีวิตและ เด็กๆ ถูกละเลย เติบโตโดยขาดต้นแบบท่ีดีทางสังคม ก่อเกิดพฤติกรรมเส่ียง มากขึ้น โครงการการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือเด็กด้านสุขภาพและ การคุ้มครองทางสังคมแบบองค์รวม สำ�หรับเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก เอชไอวีและเด็กท่ีอยู่ในภาวะเปราะบางที่อยู่ในพื้นท่ีที่มีสถานการณ์เอดส์สูง หรือโครงการ CHILDLIFE ซึ่งได้รับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลกเพอ่ื เอดส์ วณั โรคและมาลาเรยี รอบ ๑๐ ไดด้ �ำ เนนิ งานโดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื พฒั นา คุณภาพชีวิตของเด็กกลุ่มเปราะบางทางสังคม ในช่วงอายุ ๐-๑๘ ปี ได้แก่ เด็กกำ�พร้า เด็กที่อยู่ในภาวะยากลำ�บาก เด็กถูกทารุณกรรม เด็กพิการ เด็กเรร่ อ่ น เดก็ ไร้สถานะบคุ คล รวมถึงเดก็ ตดิ เชอื้ เอชไอว ี เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาเด็กเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี แข็งแรง เกง่ และมสี ุข เรอ่ื งหนงึ่ ที่ส�ำ คัญคอื การส่งเสรมิ พฒั นาการตามช่วงวัย ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การเฝา้ ระวงั และตดิ ตามพฒั นาการ ของเด็กทกุ ชว่ งวัยอยา่ งใกล้ชิดจึงเป็นกระบวนการดแู ลที่จ�ำ เป็น ในปจั จบุ ันพบ ว่าเคร่ืองมือท่ีช่วยเฝ้าระวังและติดตามในระบบสุขภาพได้แก่ อนามัย ๕๕ ใช้ ส�ำ หรบั ประเมินเดก็ ๐-๕ ปี ส่วนเครื่องมอื ทีใ่ ช้อย่ใู นระบบการศกึ ษาพบวา่ ยงั ไมม่ ีการใช้อย่างจริงจงั เพราะขอ้ จ�ำ กดั ของตัวเคร่อื งมอื และภาระงานของครู
องคก์ ารแพธ (PATH) ภายใตโ้ ครงการ CHILDLIFE จงึ ไดพ้ ฒั นาเครอ่ื งมอื ประเมินพัฒนาการเด็กหลังอายุ ๕ ปี เพื่อใช้ติดตามพัฒนาการที่เน้นด้านจิต สังคมแก่เด็ก ๒ กลุ่มคือ ช่วงวัย ๑๐-๑๒ ปี และ ๑๓-๑๘ ปีในรูปแบบเกม คอมพวิ เตอรข์ น้ึ เกมแรกชอื่ วา่ “เกมแดนสรา้ งพลงั หรอื Power Land” ส�ำ หรบั เด็กกลุ่มวัยเรียน (๑๐-๑๒ปี) และเกมท่ีสองชื่อ “เกมทายใจ” สำ�หรับวัยรุ่น (๑๓-๑๘ปี) เกมท้ังสองนี้ เด็กสามารถเล่นและตอบคำ�ถามด้วยตนเองและ ประเมินตนเอง โดยมีแนวทางการแก้ไขที่ง่ายและสามารถสื่อสารกับเด็กๆ ได้ โดยตรง และยงั ชว่ ยใหค้ รหู รอื ผดู้ แู ลสะดวกในการใชม้ ากขนึ้ เพราะมโี ปรแกรม สำ�เร็จรูปช่วยในการรวบรวมและวิเคราะห์ผลคะแนนเพ่ือประเมินต้นทุนชีวิต ของเด็ก และสามารถใช้เป็นแนวทางเพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กในรูป กิจกรรมการเสรมิ สร้างต้นทุนชวี ิตอย่างรอบด้าน เพ่อื มงุ่ หวังให้พวกเขาเติบโต เปน็ พลเมืองทด่ี ีของประเทศชาตติ อ่ ไปในอนาคต ขอขอบคุณนายแพทย์สุริยเดว ทรีปาตี และทีมแผนงานสุขภาวะเด็ก และเยาวชน สถาบนั แหง่ ชาติเพ่ือการพัฒนาเด็กและครอบครวั มหาวิทยาลัย มหิดล ที่เป็นผู้ร่วมพัฒนาเคร่ืองมือในคร้ังนี้ และข้อเสนอแนะต่อเกมท้ังสอง จนส�ำ เรจ็ ขอบคณุ กองทนุ โลกเพอื่ เอดส์ วณั โรคและมาลาเรยี ทสี่ นบั สนนุ ใหเ้ กดิ การพฒั นาเครอื่ งมือใหม่ทเ่ี อือ้ ต่อการสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กไทย องค์การแพธ (PATH) มถิ นุ ายน ๒๕๕๖
สารบญั ๗ ทำ�ไมต้องสร้างต้นทุนชวี ิตท่ีดแี กเ่ ด็กและเยาวชน ๙ องคป์ ระกอบของต้นทนุ ชีวิต ๑๐ เกมแดนสร้างพลัง กบั การพัฒนาตน้ ทุนชวี ติ เดก็ และเยาวชน ๑๒ วิธเี ล่นเกม ๑๔ การประมวลผลคะแนน แนวทางการด�ำ เนนิ กิจกรรมสร้างเสริมตน้ ทุนชีวิต ๑๖ yy แนวทางการจัดกจิ กรรมเสริมสร้างพลังตัวตน ๑๘ yy ตวั อยา่ งกจิ กรรมเพอ่ื การเสรมิ สรา้ งตน้ ทนุ ชวี ติ พลงั ตวั ตน ๒๑ yy แนวทางการจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพลงั ครอบครัว ๓๐ yy ตัวอยา่ งกจิ กรรมเพือ่ การเสรมิ สรา้ งต้นทนุ ชวี ติ ๓๓ พลังครอบครวั ๓๘ yy แนวทางการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งพลงั สร้างปญั ญา ๔๑ yy ตัวอย่างกจิ กรรมเพอื่ การเสริมสร้างตน้ ทุนชวี ติ ๔๓ พลังสร้างปัญญา ๔๕ yy แนวทางการจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพลงั เพอื่ นและกจิ กรรม yy ตวั อยา่ งกจิ กรรมเพอื่ การเสรมิ สรา้ งตน้ ทนุ ชวี ติ พลงั เพอ่ื น และกิจกรรม
y แนวทางการจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพลงั ชมุ ชน ๕๐ y ตวั อย่างกจิ กรรมเพื่อการเสริมสร้างต้นทนุ ชีวิต พลงั ชมุ ชน ๕๒ y แนวทางการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งความรู้เร่อื งเพศ ๕๗ y ตวั อย่างกจิ กรรมเพ่อื การเสริมสร้างความรูเ้ รื่องเพศ ๕๙ ค�ำ แนะน�ำ ในก�รตดิ ต้ังเกม ๗๐ y การเลอื กระบบเกมสาำ หรับคอมพิวเตอร์และการติดตงั้ ๗๐ y การตดิ ตั้งระบบจดั เกบ็ ข้อมลู นกั เรยี นบนระบบเครือขา่ ย ๗๗ y การแกป้ ญั หาเมือ่ สร้างไฟล ์ Excel แลว้ ไมเ่ ปน็ ภาษาไทย ๘๖ และการเกิด Error ตา่ งๆ y การดูผลประเมนิ นกั เรยี นและการสร้างไฟล์ Excel ๙๔
7 ทำ�ไมตอ งสร�ง ตน ทนุ ชีวิตทีด่ ีแกเดก็ และเย�วชน ตน้ ทนุ ชวี ิต มาจากคาำ วา่ Developmental Assets หมายถึง ต้นทนุ ขั้นพื้นฐานทม่ี ผี ลต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจ สังคม สตปิ ัญญา ให้คนๆ หนงึ่ สามารถดาำ รงชพี อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ และตน้ ทนุ ชวี ติ เปน็ สง่ิ ทมี่ อี ยแู่ ลว้ ในตวั คนทกุ คนนบั แตเ่ กดิ สามารถเพมิ่ ขน้ึ ตามการเลยี้ งดขู องพอ่ แม ่ ครอบครวั และการได้อยใู่ นสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติทีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้ที่ดี ตน้ ทนุ ชวี ติ เป็นปัจจัยสรา้ ง หรอื เป็นปัจจัยเชิงบวกทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม ท่ีจะหล่อหลอมให้ ทกุ วนั น้ ี เราพบว่าเม่ือ เดก็ เจอปญั หา เขาไม่สามารถ เดก็ คนหนง่ึ เจรญิ เตบิ โตและดาำ รง ปรึกษาหารือผู้ใหญไ่ ด้เลยแมแ้ ต่ในชมุ ชน ชีพอยู่ในสังคมได้ เด็กท่ีเติบโต กข็ าดทพ่ี ึง่ ใหก้ ับเด็กๆ อยา่ งส้ินเชิง ขนึ้ ในครอบครวั และสง่ิ แวดลอ้ ม ทอ่ี บอนุ่ มคี วามเขา้ อกเขา้ ใจกนั การสร้างระบบท่ปี รกึ ษาและพี่เล้ยี ง ต้นทุนชีวิตของเด็กก็จะพัฒนา พร้อมกบั กระบวนการสร้างเสริมต้นทุนชวี ติ เพิ่มพูนเป็นทุนที่เข้มแข็ง แต่ถ้า เดก็ และเยาวชนใหเ้ กดิ ข้นึ ในทุกชมุ ชน เด็กต้องเติบโตท่ามกลางความ ขัดสน ด้อยโอกาส และส่ิงแวดล้อมท่ี จึงเปน็ สิง่ จำาเป็นอย่างย่ิง ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้สิ่งท่ีดี ต้นทุนชีวิตของ เด็กกจ็ ะค่อยๆ ถูกบนั่ ทอน ลดลงไปเร่อื ยๆ
ด้วยสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันท่ีมีความเป็นวัตถุนิยม สง่ ผลใหค้ รอบครวั เรม่ิ ออ่ นแอ พอ่ แมห่ ลายคนจงึ เลย้ี งลกู แบบขาดความเอาใจใส่ ใกลช้ ดิ ขาดความเขา้ ใจในพฒั นาการ และมคี วามคาดหวงั เกนิ ความเปน็ จรงิ จน เกิดความเครียด นอกจากน้ีชุมชนก็ขาดความเข้มแข็ง ขาดการมีสัมพันธภาพ ที่ดีต่อกัน เด็กๆ ไม่ได้เรียนรู้การแบ่งปัน การให้ การทำากิจกรรมร่วมกันใน ชุมชนเหมือนแต่ก่อน กิจกรรมระหว่างเพ่ือนฝูงในชุมชนเดียวกันลดน้อยลง การเรียนรู้นอกโรงเรียนในรูปแบบต่างๆ ก็พลอยลดน้อยลงไป สิ่งเหล่านี้จึง ส่งผลใหต้ ้นทุนชวี ติ ในเด็กและเยาวชนปจั จบุ ันอ่อนแอลงไป การมีต้นทุนชีวิตที่อ่อนแอ จะส่งผลกระทบต่อเด็กและผลักดัน เด็กเข้าไปสู่ปัญหาสังคมได้ง่าย ตัวอย่างเช่น การมีเพศสัมพันธ์ในช่วงวัยรุ่น ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความรัก เมื่อเด็กคนหนึ่งค้นหาความรักที่เขาควรจะ ไดร้ บั จากพอ่ แมห่ รอื คนทเ่ี ขาไวว้ างใจไมเ่ จอ เขากจ็ ะไปแสวงหาความรกั จากคน ข้างนอก ซ่งึ อาจเปน็ ความรักแบบปลอมๆ ดังน้ันพฤติกรรมการมเี พศสัมพนั ธ์ ทีไ่ มเ่ หมาะสมจงึ ตามมา การมีต้นทุนชีวิตที่ดีจะทำาให้เด็กเหมือนมีภูมิคุ้มกันตัวเองเพราะมี ทักษะชีวิตที่ดีที่จะดำารงชีวิตอยู่ในสังคม และเม่ือใดท่ีเด็กมีปัญหา เด็กทุกคน ควรวิ่งหาผ้ใู หญ่ได้เวลาทเ่ี ขาตอ้ งการความช่วยเหลือ 8
9 องคป ระกอบ ของตนทุนชวี ติ ต้นทุนชีวิต แบ่งเป็น ๒ หมวด และทั้ง ๒ หมวดประกอบด้วยพลัง ตา่ งๆ ๕ พลงั คอื ตน้ ทนุ ชวี ติ ภายใน (Internal assets) ไดแ้ ก ่ พลงั ตวั ตน ตน้ ทนุ ชวี ติ ภายนอก (external assets) ประกอบดว้ ย พลงั ครอบครวั พลงั สร�้ งปญ ญ� พลังเพื่อนและกิจกรรม พลังชุมชน พลังท้ัง ๕ ด้าน มีการแบ่งเป็นต้นทุน ภายในกบั ตน้ ทุนภายนอก แตท่ ง้ั ๒ สว่ นเก่ยี วข้องเชอ่ื มโยงกนั ตน้ ทนุ ชวี ติ ภายนอกมคี วามสาำ คญั มากกบั การสรา้ งตน้ ทนุ ภายใน เชน่ พอ่ แมส่ อนมาอยา่ งไร ทาำ แบบอยา่ งใหด้ อู ยา่ งไร แบบอยา่ งเหลา่ นน้ั กจ็ ะเขา้ ไป น่ังในใจลูก หล่อหลอมให้เกิดเป็นตัวตนของเด็กข้ึนมา ดังนั้น ๔ ด้านท่ีเป็น ต้นทุนภายนอกคือ พลังชุมชน พลังเพ่ือนและกิจกรรม พลังครอบครัว และ พลังการสร้างปัญญา จึงมีความหมายอย่างมากต่อการพัฒนาพลังตัวตนซ่ึง เป็นต้นทนุ ภายใน
เกมแดนสร� งพลงั กับก�รพัฒน�ตน ทนุ ชีวิต เด็กและเย�วชน เกมแดนสร้�งพลัง (Power Land) เป็นเกมที่เน้นผู้เล่นที่เป็น กลมุ่ วัยเรยี น หรือเยาวชนในวัย ๑๐ – ๑๒ ป ี เป็นสาำ คัญ แนวคาำ ถามที่ใช้เป็น สถานการณ์ท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตในช่วงวัยของเด็ก คำาถามท่ีใช้ได้มีการปรับ ใหง้ า่ ยขน้ึ เหมาะกบั วยั และคาำ ตอบไดก้ าำ หนดไวเ้ พยี ง ๔ ระดบั เพอ่ื ใหเ้ ดก็ อา่ น เข้าใจได้ง่ายและไม่ต้องตีความมากนัก พร้อมกับมีเสียงพูดอธิบายประกอบ ตลอดการเล่นเกม เกมแดนสร�้ งพลัง พัฒนาขน้ึ เพอื่ เป็นเคร่ืองมอื ๑. ใหเ้ ยาวชนได้ทาำ การสาำ รวจตน้ ทนุ ชวี ติ ของตนเอง และ ๒. ใหพ้ อ่ แม ่ คร ู หรอื ผดู้ แู ลเดก็ ไดท้ าำ ความเขา้ ใจตน้ ทนุ ชวี ติ ของเดก็ และใช้เป็นเคร่ืองมือเฝ้าระวังและติดตามต้นทุนชีวิตของเด็ก เพื่อหาแนวทางช่วยเหลือสนับสนุนท่ีเหมาะสมให้เด็กได้มีต้นทุน ชีวิตที่ดี โดยเฉพาะเดก็ ทพี่ บว่ามีตน้ ทนุ ชีวิตตาำ่ กวา่ เกณฑ์ 10
11 เกมแดนสร�้ งพลงั เปน็ คาำ ถามสาำ หรบั ใหผ้ เู้ ลน่ ตอบดว้ ยตนเองอยา่ ง อสิ ระ และสว่ นความรดู้ า้ นพฒั นาการทางรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๓ สว่ นหลกั ๆ คอื สว่ นท่ี ๑ เกมตน้ ทนุ ชวี ติ พฒั นามาจากชดุ แบบสอบถามตน้ ทนุ ชวี ติ ซ่ึงประกอบด้วย ๕ พลังคือ พลังตัวตน พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลงั เพอื่ นและกจิ กรรม และพลงั ชุมชน ส่วนท่ี ๒ เกมคว�มรู้เร่ืองเพศ เป็นชุดคำาถามประเมินความรู้และ ทัศนคติเร่อื งเพศของผู้เล่นวา่ อยใู่ นระดับใด สว่ นที่ ๓ เรยี นรพู้ ฒั น�ก�รท�งเพศ เปน็ การต์ นู Animation ทจี่ ะชว่ ย ทำาให้ผู้เล่นเข้าใจการเปล่ียนแปลงทางร่างกายที่เกิดขึ้นกับตนเองทั้งหญิงและ ชาย ดังนั้น นอกจากเยาวชนจะเรียนรู้พัฒนาการทางเพศท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง ยงั สามารถเรียนรู้พัฒนาการทางเพศของเพศตรงขา้ มไดอ้ ีกดว้ ย
วธิ ีเลนเกม ๑. ผ้เู ลน่ จะต้องลงทะเบียนการเลน่ สาำ หรับการเล่นครั้งแรก ๒. เม่อื ลงทะเบียนเสร็จแล้ว จะต้องเลือกการต์ ูนท่ตี นเองชอบ ๓. เริ่มตน้ การเลน่ เกม โดยเรม่ิ จากเกมตน้ ทุนชวี ิต ซึ่งประกอบดว้ ย ๕ พลัง คอื พลังตัวตน พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลังเพื่อนและกิจกรรม และ พลังชมุ ชน ๔. ผู้เล่นควรเร่ิมต้นตอบคำาถามพลังตัวตนเป็นอันดับแรก เมื่อทำาการตอบ คำาถามทุกข้อเสร็จแล้ว ผู้เล่นจะทราบผลคะแนนด้วยตนเองในรูปแบบ เปอร์เซนต์ พร้อมคำาเฉลยว่าระดับคะแนนท่ีได้นั้นบ่งบอกว่าตัวเองเป็น คนแบบไหน มคี วามเขม้ แขง็ หรอื ตอ้ งเพมิ่ เติมพลังในเรือ่ งอะไรบา้ ง ๕. เม่ือเล่นพลังที่หน่ึงเสร็จแล้ว ผู้เล่นสามารถเล่นเกมในพลังที่สองต่อได้และ วธิ กี ารเลน่ เหมอื นกบั พลงั ทห่ี นงึ่ เมอื่ เลน่ พลงั ทสี่ องเสรจ็ แลว้ กส็ ามารถเลน่ พลงั ท่สี าม ส ี่ ห้า ตอ่ ไปไดจ้ นครบทกุ พลงั ๖. เมื่อเลน่ เกมต้นทุนชีวติ ครบทุกพลงั แลว้ ผู้เลน่ จะสามารถเลน่ เกมทส่ี อง คอื เกมคว�มรเู้ รอ่ื งเพศ เมอ่ื เลน่ เกมนเ้ี สรจ็ แลว้ ผเู้ ลน่ สามารถกลบั คนื หนา้ จอ แรกเพ่ือเข้าไปดูการ์ตูน Animation เพ่ือเรียนรู้เร่ืองการเปล่ียนแปลงทาง รา่ งกายและพัฒนาการทางเพศ 12
13 ๗. สำาหรับพ่อแม่ ครู และผู้ดูแลเด็ก สามารถเข้าไปดูผลคะแนนการเล่นเกม ของเด็กได้จากโปรแกรมสำาเร็จรูป โปรแกรมจะทำาการแปรผลเบื้องต้นของ พลงั ต่างๆ ท้งั ๕ พลังของเด็กเปน็ รายบุคคลออกมา ซ่ึงจะทาำ ใหร้ ูไ้ ด้ว่าเดก็ แต่ละคนมพี ลังด้านใดท่เี ข็มแขง็ และพลังด้านใดที่ตาำ่ กว่าเกณฑ์ ๘. จากผลคะแนนนี้ พ่อแม่ ครู และผู้ดูแลเด็ก ควรจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสม ส่งเสริมพลังท่ีเด็กได้คะแนนน้อยให้กับเด็กเพื่อช่วยเพ่ิมต้นทุนชีวิตในด้าน นัน้ ๆ ให้เด็กมากขึน้ หม�ยเหตุ กรณีผู้เล่นที่เคยลงทะเบียนไว้แล้ว และต้องก�รเล่นต่อ คร้ังต่อไปให้ ใส่ช่ือจริง และรหัสผ่�นที่ต้ังเอ�ไว้ ผู้เล่นก็จะส�ม�รถเล่นเกมต่อจ�ก ทเี่ คยเล่นไว้ได้
ก�รประมวล ผลคะแนน คำาถามแตล่ ะข้อของพลังทัง้ ๕ พลัง รวมถงึ เกมความร้เู ร่ืองเพศ มเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี ข้อทต่ี อบว่า “เปน็ ประจำา” และ “แน่นอนอย่แู ล้ว” = ๓ คะแนน ข้อท่ีตอบวา่ “บ่อยครัง้ ” และ “นา่ จะใช่” = ๒ คะแนน ขอ้ ที่ตอบว่า “บางครง้ั ” และ “ไมแ่ น่ใจ” = ๑ คะแนน ขอ้ ทต่ี อบว่า “ไม่ใช”่ = ๐ คะแนน โดยแตล่ ะพลงั มีคะแนนรวมสงู สุด ๑๐๐ คะแนน ในทกุ พลัง ผลรวมคะแนนท่ีผู้เล่นตอบแทนค่า ดงั นี้ คะแนน ๑๐๐ – ๘๐ = ดีมาก คะแนน ๗๙ – ๖๐ = ดปี านกลาง พอใช้ คะแนนต่�ำ กว่� ๖๐ = ควรปรบั ปรงุ โปรแกรมการคำานวณจะประมวลผลถูกสร้างเป็นโปรแกรมสำาเร็จรูป ครแู ละผดู้ แู ลเดก็ สามารถดผู ลคะแนนของเดก็ เปน็ รายบคุ คล และนาำ ผลทไ่ี ดม้ า เทยี บคา่ กบั ตารางแนวทางการจดั กจิ กรรมสาำ หรบั ครทู ป่ี รกึ ษา ครแู นะแนว และ ผเู้ กีย่ วข้องในสถานศกึ ษา เพอ่ื นำาไปจัดกจิ กรรมเสรมิ ให้แก่เดก็ ได้ ห�กผู้เล่นมีผลคะแนนออกม�ในระดับดีม�ก ครูและผู้ดูแลควร ส่งเสรมิ ให้เดก็ รักษาระดับพลังให้อยูใ่ นระดบั น้ีไปอยา่ งตอ่ เน่ือง 14
15 ห�กผู้เล่นมีผลคะแนนอยู่ในระดับดีป�นกล�ง อาจมีบางพลังของ เด็กทท่ี ำาไดน้ ้อย ครหู รอื ผูด้ ูแลควรหากจิ กรรมเสริมใหก้ บั เดก็ เพือ่ เพิ่มตน้ ทนุ ใน พลังนนั้ ๆ ให้มากขึน้ กรณผี เู้ ลน่ ทมี่ ผี ลคะแนนอยใู่ นระดบั ควรปรบั ปรงุ ครแู ละผดู้ แู ลควร ให้ความสนใจ และติดตามมากขนึ้ รวมทงั้ สรา้ งเสรมิ กิจกรรมเพ่ือให้เด็กมีพลัง ในดา้ นน้ันใหเ้ ข้มแข็งข้ึน ระดับตน้ ทนุ ชวี ติ เปอร์เซ็นต์ก�รตอบร�ยขอ้ ผลก�รวิเคร�ะห์ (ร้อยละของคะแนน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ ระดบั ต้นทุนชวี ิตอยูใ่ นเกณฑ์ นอ้ ยกวา่ ๖๐ ค่อนข้างน้อย และควรเพ่มิ ผา่ นเกณฑ์ หรือเสริมสร้างให้มากข้ึน อย่ใู นช่วง ๖๐ - ๗๐ ผ่านเกณฑ์ ระดับต้นทุนชีวิต อยใู่ นชว่ ง ๗๐ - ๘๐ ผา่ นเกณฑ์ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง มากกวา่ ๘๐ และควรเสริมสร้างเพ่มิ เติม ระดบั ต้นทนุ ชีวติ อย่ใู นเกณฑ์ดี ระดบั ต้นทนุ ชวี ิตอยูใ่ นเกณฑ์ดมี าก ผเู้ ลน่ ทไ่ี ดร้ ะดบั คะแนนอยใู่ นเกณฑป์ านกลาง และเกณฑค์ อ่ นขา้ งนอ้ ย ถือว่าเป็นระดับของต้นทุนชีวิตท่ีควรได้รับการเร่งส่งเสริม หรือสร้างกิจกรรม สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มใหเ้ กดิ ขน้ึ เพอ่ื พฒั นาเสรมิ สรา้ งตน้ ทนุ ชวี ติ ขอ้ นน้ั ใหเ้ ขม้ แขง็ ขน้ึ
แนวท�งก�รดำ�เนิน กจิ กรรมสร� งเสริม ตนทุนชวี ิต เกมแดนสร�้ งพลงั (Power Land) มจี ดุ เดน่ ทก่ี ารใชค้ าำ ถามเชงิ บวกที่ แปลงจากนามธรรมใหเ้ ปน็ รปู ธรรม และใหเ้ ดก็ สามารถตอบดว้ ยตวั เองผา่ นการ เลน่ เกม คะแนนทผี่ เู้ ลน่ ไดใ้ นแตล่ ะพลงั จงึ เปน็ เขม็ ทศิ ใหก้ บั ผทู้ ที่ าำ งานเกยี่ วขอ้ ง กบั เยาวชนรวมทง้ั คร ู ผดู้ แู ลเดก็ และชมุ ชน สรา้ งกจิ กรรมสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื พฒั นา เด็กและเยาวชนด้วยทรัพยากรทม่ี อี ยใู่ นโรงเรียนและชุมชน การจัดกิจกรรมเพ่ือสร้างเสริมต้นทุนชีวิต ให้แก่เด็กน้ัน พ่อแม่ ครู และผู้ดูแล ก�รสนบั สนุน เด็กควรรู้ก่อนว่าเด็กมีพลังด้าน ชว่ ยเหลือ (support) หมายถงึ ใดออ่ น นนั่ คอื มคี ะแนนของพลงั การสนับสนนุ ช่วยเหลือดว้ ยความรกั ดา้ นนน้ั นอ้ ยหรอื ตา่ำ กวา่ เกณฑ ์ ความผกู พนั และการมสี มั พันธภาพท่ีดจี ากพ่อ เพื่อให้กิจกรรมท่ีจัดข้ึนช่วย แม่หรือคุณครูที่เขา้ มาคลุกวงในแบบ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ พมิ่ พนู พลงั “จับถกู ” คอื มีความใกล้ชดิ และมองในมุมบวก ของตนเองตรงกับพลังด้าน รู้ว่าเดก็ มจี ุดดีเร่อื งอะไร และมีจุดอ่อนเรือ่ ง นนั้ จรงิ ๆ ไหนจะเตมิ เต็มเดก็ ไดอ้ ย่างไร ไมใ่ ช่แค่ไป ชี้ผดิ แลว้ เอาแตก่ ล่าวโทษตำาหนิ อยา่ งเดียว 16
17 การจัดกิจกรรมเสริมสร้างต้นทุนชีวิตให้กับเด็กตามพลังต่างๆ นั้น พ่อแม่ ครู และผู้ดูแลควรพิจารณากิจกรรมท่ีเป็นกิจกรรมกลุ่มเพ่ือให้เด็กรู้สึก ไม่แตกต่างจากเพ่ือน และเป็นการเรียนรู้และช่วยเหลือกันด้วย หากเป็น กิจกรรมรายบุคคล ควรให้เด็กอื่นๆ ได้ทำาด้วย ไม่ควรให้เด็กคนใดคนหนึ่ง ทาำ เพยี งคนเดยี ว เพราะอาจจะทาำ ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ วา่ ตนเองกาำ ลงั ถกู ลงโทษมากกวา่ การจัดกิจกรรมสำาหรับเสริมสร้างต้นทุนชีวิตให้กับเด็กน้ันสามารถจัด ให้กับเด็กทุกคน แม้ว่าเด็กบางคนจะมีต้นทุนชีวิตท่ีดีเพราะมีระดับคะแนนสูง ในพลังน้ันๆ ก็ตาม ทั้งนี้เพ่ือช่วยให้เด็กรักษาต้นทุนชีวิตของตนเองให้อยู่ใน เกณฑท์ ่ีดีอยา่ งต่อเนอื่ ง เกมนี้เป็นเครื่องมือเฝ้าระวัง ติดตามและดูแลช่วยเหลือเด็ก สำาหรับ ผใู้ หญ่ทเ่ี กยี่ วข้องและรับผดิ ชอบดแู ลเด็กในวยั ๑๐ – ๑๒ ป ี ไดแ้ ก ่ y ครทู ่ปี รกึ ษา ครูแนะแนว และผ้เู กย่ี วขอ้ งในสถานศกึ ษา y พ่เี ล้ียงและผรู้ ับผิดชอบเดก็ และเยาวชนในชุมชน y ครู พเี่ ล้ยี งในสถานสงเคราะห์เดก็ และเยาวชน
แนวท�งก�รจดั กิจกรรม เสริมสร� งพลงั ตวั ตน พลังตัวตน เป็นต้นทุนชีวิตพื้นฐานท่ีติดตัวเด็กมาตั้งแต่เกิด ทำาให้ สามารถใช้ชีวิตได้ ส่วนท่ีเหลือจะมาจากการหล่อหลอมของครอบครัว และสถาบันการศึกษา พลังตัวตนจึงไม่ได้เกิดข้ึนเองต้ังแต่แรกเกิดทั้งหมด แต่เป็นต้นทุนท่ีต้องสร้างเสริมขึ้นในภายหลัง พลังตัวตนถือเป็นพลังท่ีสำาคัญ มากสำาหรับคนทุกวัย พลังตัวตน เป็นการรวมพลังคุณค่าในตนเอง พลังสร้างศรัทธาและ ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง และพลงั การสรา้ งทกั ษะชวี ติ ไดแ้ ก ่ การอยใู่ นสงั คมอยา่ ง สันตสิ ขุ การช่วยเหลือผู้อนื่ การมจี ดุ ยืนท่ีชัดเจน รักความยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ชนชน้ั ความซือ่ สัตย ์ ความรบั ผิดชอบ การมวี ินัยในตนเองทจี่ ะไมเ่ กี่ยวข้องกับ พฤติกรรมเส่ียง แบบทดสอบสำาหรบั พลงั ตวั ตน มที ัง้ หมด ๑๕ ข้อ ผูม้ ีหน้าท่เี กยี่ วข้อง กับการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างพลังตัวตน ควรเลือกกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพฤตกิ รรมทค่ี าดหวัง ดังตอ่ ไปนี้ 18
19 ระดบั ตน้ ทุนชวี ติ เปอรเ์ ซน็ ตก์ �รตอบร�ยขอ้ ผลก�รวเิ คร�ะห์ (ร้อยละของคะแนน) ๑. ฉนั ช่วยงานบ้านเป็นประจำา ให้ความร่วมมอื และทาำ งาน กจิ กรรมบ�ำ เพ็ญ รว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่าง ประโยชน์ สรา้ งสรรค์ ๒. ฉันร่วมกิจกรรมกับเพ่ือน รกั และเห็นคณุ ค่าในตนเอง กจิ กรรมคว�ม ต่างกลุ่ม เช่น เด็กกำาพร้า และผู้อ่ืน เท�่ เทยี มในสังคม เดก็ พิการ ได้เป็นอย่างดี ๓. ฉนั กลา้ คดิ กล้าพดู กลา้ ทำา มคี วามเช่อื มั่นในตนเอง กิจกรรมรกั คว�ม ในสง่ิ ทถี่ กู ต้อง และผอู้ ่ืน ยุติธรรม ๔. ฉนั พดู ความจรงิ เสมอ แมว้ า่ รู้จกั แสดงความคิด ความร้สู ึก กิจกรรมรัก บางครั้งจะทำาไดย้ าก ความช่ืนชม และการกระทำาท่ี คว�มซ่ือสัตย์ ดงี ามใหผ้ ้อู ่นื รบั รู้ ๕. ฉนั ยอมรบั ผดิ กบั สง่ิ ทฉี่ นั ทาำ ใหค้ วามรว่ มมอื และทำางาน กิจกรรมสร้�ง รว่ มกับผู้อน่ื ได้อยา่ ง คว�มรับผดิ ชอบ สร้างสรรค์ ๖. ฉันยดึ ม่นั ที่จะทาำ ดี มีความเช่ือม่ันในตนเอง กจิ กรรมสร�้ งจุดยนื และผอู้ ืน่ ๗. ฉนั คิดกอ่ นทำาเสมอ ร้จู กั วธิ ีการและข้ันตอนการ ทักษะก�รตัดสินใจ ตดั สินใจและแก้ไขปัญหาที่ ถกู ต้อง ๘. ฉันรู้จักขอโทษ ขอบคุณ รจู้ กั แสดงความคิด ความรู้สกึ กจิ กรรมเกี่ยวกับ และให้อภัยผู้อืน่ เสมอ ความชน่ื ชม และการกระทำาที่ ทักษะก�รคบเพอ่ื น ดงี ามใหผ้ ้อู ืน่ รับรู้
ระดบั ตน้ ทนุ ชีวติ เปอรเ์ ซน็ ตก์ �รตอบร�ยข้อ ผลก�รวิเคร�ะห์ ๙. ฉันยอมรับคนที่มีความ (ร้อยละของคะแนน) กจิ กรรมก�รคบเพื่อน คดิ เห็นแตกต่างจากฉัน ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่าง ทตี่ �่ งวฒั นธรรม ตนเองและผอู้ น่ื ๑๐. ฉันกลา้ ปฏิเสธสง่ิ ทไี่ มด่ ี รูจ้ ักปฏเิ สธ ต่อรอง และ กจิ กรรมทกั ษะ ร้องขอความชว่ ยเหลือใน ก�รปฏิเสธ สถานการณ์เสย่ี ง ๑๑. ฉันแกป้ ญั หาทะเลาะ ยุตขิ อ้ ขดั แย้งในกล่มุ เพื่อน กิจกรรมสร้�ง เบาะแวง้ ด้วยการพูดคยุ ดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี สนั ตภิ �พ กันดีๆ จดั การกบั อารมณต์ นเองได้ กจิ กรรมสง่ เสรมิ ก�ร ๑๒. ฉนั ไมโ่ กรธเวลาถูกขดั ใจ อย่างเหมาะสม แกป้ ญ ห�แบบสนั ตวิ ธิ ี ๑๓. ฉนั รสู้ กึ วา่ ตนเองมคี ุณคา่ รกั และเห็นคณุ ค่าในตนเอง กิจกรรมสร�้ งคุณค�่ และผูอ้ ืน่ ใหต้ นเอง ๑๔. ฉันมกั จะวางแผนในงาน คน้ พบความชอบ ความถนัด กิจกรรมสร้�ง ท่ลี งมอื ทำาเสมอ และความสามารถของตนเอง เป� หม�ยชีวิต ๑๕. ฉันร้สู ึกพงึ พอใจในชวี ิต มองตนเองและผอู้ ่ืนในแงบ่ วก กิจกรรมมองโลก ความเป็นอยู่ของตัวเอง ในแงด่ ี 20
21 ตัวอย�งกจิ กรรมเพอ่ื ก�รเสรมิ สร� ง ตนทนุ ชีวติ พลังตัวตน การสร้างทักษะชีวิตและต้นทุนชีวิตให้กับเยาวชนเป็นส่ิงท่ีสำาคัญมาก โดยครูและผู้ดูแลเด็กคอยทำาหน้าท่ีเป็นพ่ีเลี้ยงช่วยสร้างกิจกรรมที่หลากหลาย ท้ังในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน และส่งเสริมใหเ้ ด็กไดม้ บี ทบาทให้มากทสี่ ดุ ทั้งในการคิดและทำากิจกรรมด้วยความสนใจของเขาเอง การเรียนการสอนใน โรงเรียน สามารถสอดแทรกให้เกิดการพัฒนาต้นทุนชีวิตในส่วนที่เป็นพลังตัว ตนได้ ขณะเดียวกันหากเราเห็นว่าเด็กบางคนมีปัจจัยเส่ียง เช่น มีปัญหาด้าน อารมณ์ พฤติกรรม หรืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี เช่น ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ มีปัญหาการเรียน มีปัญหาในครอบครัว นอกจากการให้ความช่วยเหลือหรือ ให้คำาปรึกษาแล้ว ก็อาจจะช่วยเสริมในส่วนท่ีเขาขาดหรือเสริมในส่วนที่เป็น พลังตัวตน ก็จะทำาให้เด็กปรับตัวและจัดการกับปัญหาได้ดีขึ้นกระบวนการทำา กิจกรรมจะทำาให้เด็กพัฒนาทักษะต่างๆ โดยผู้ใหญ่ต้องคอยส่งเสริม กระตุ้น สนับสนุนให้เป็นกิจกรรมของเขาจริงๆ จนเด็กๆ สามารถดำาเนินการได้เอง ตวั อยา่ งกจิ กรรมเสริมพลงั ตัวตนได้แก่ y กจิ กรรมก�รชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ผใู้ หญอ่ าจเรม่ิ ตน้ จากกจิ กรรมงา่ ยๆ เช่น การสอนการบ้านน้องๆ หลังเลิกเรียน การพาเด็กๆ ไปดูแล ผสู้ ูงอายทุ ่ีสถานสงเคราะห์คนชรา ไปเลา่ นิทานใหเ้ ดก็ ๆ ในสถาน สงเคราะห์ หรือการไปบริจาคสิ่งของต่อผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส หรือกิจกรรมพ่ีดูแลนอ้ ง
y กิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดคว�มเท่�เทียมในสังคมการเรียนรู้ เร่ืองความแตกต่างเป็นเร่ืองท่ีสำาคัญอีกเรื่องหน่ึงสำาหรับเด็กๆ เพราะจะทำาใหเ้ ด็กเปน็ คนใจกวา้ ง ไม่ดถู ูกผูอ้ นื่ เคารพในสทิ ธขิ อง ผู้อื่น และอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข ครอบครัว โรงเรียน หรือชุมชนควรส่งเสริมให้เด็กๆ มีส่วนร่วมในการทำากิจกรรมท่ี หลากหลายกบั เดก็ ๆ กลมุ่ ทแ่ี ตกตา่ ง เชน่ เดก็ พกิ าร เดก็ กลมุ่ พเิ ศษ เดก็ กาำ พรา้ เดก็ ไรส้ ญั ชาต ิ หรอื เดก็ ทเ่ี ปน็ เพศทางเลอื ก เปด โอกาส ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน หรือเรียนรู้ทำาความ เข้าใจเรื่องสิทธิเด็ก หรือหยิบยกบางประเด็นที่สำาคัญๆ มาทำา กิจกรรมเพ่ือสร้างโอกาสในการเรียนรู้เพ่ิมข้ึน การเรียนรู้ความ แตกตา่ งและการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ผอู้ น่ื ตามสภาพทเ่ี ปน็ จรงิ จงึ เปน็ ส่ิงท่ผี ู้ใหญค่ วรใหค้ าำ ชีแ้ นะและใหโ้ อกาสเด็กได้เรยี นรู้อยู่เสมอ y กิจกรรมส่งเสริมให้เด็กกล้�แสดงออกอย่�งเหม�ะสม ผู้ใหญ่ มีส่วนช่วยสร้างความมั่นใจเชิงบวกกับเด็กๆ ได้ ด้วยการกระตุ้น ให้เด็กได้คิด รับฟังความคิดเห็นเพ่ือนคนอื่นๆ ไม่ตัดสินถูก ผิด ดี เลว ส่งเสริมและใหโ้ อกาสเด็กไดท้ าำ ตามความต้องการบ้างตาม ท่ีเห็นเหมาะสม จัดกิจกรรมให้เด็กๆ ได้ทบทวนตนเองเพื่อสร้าง ความเชือ่ มั่น กล้าถามเมอื่ เกิดความสงสัย กล้าเสนอความคิดเห็น ทแ่ี ตกตา่ ง และกลา้ โตแ้ ยง้ เมอื่ ไมเ่ หน็ ดว้ ย การปฏเิ สธความคดิ เหน็ ของเดก็ ควรใหเ้ หตผุ ลดว้ ยทกุ ครง้ั โดยปราศจากการตดั สนิ และอคติ และชแ้ี จงอย่างนุม่ นวลเพ่ือใหเ้ ด็กไมเ่ สียความม่ันใจ 22
23 y กิจกรรมส่งเสริมให้เด็กกล้�พูดคว�มจริง ไม่โกหก ผู้ใหญ่ควร สร้างความม่ันใจให้เด็กเห็นความสำาคัญของความซื่อสัตย์ทั้งจาก คำาพูดและการกระทำา หาโอกาสท่ีเหมาะสมพูดคุยกับเด็กถึงผลดี ผลเสียของการพูดโกหก ควรช่ืนชมหากเขากล้ายอมรับความผิด มากกว่าการทำาให้เด็กกลัวเพ่ือที่จะยอมรับผิด หลีกเลี่ยงการถาม แบบตอกย้ำาว่า “ทำ�หรือไม่ทำ�” เพราะจะเป็นการกดดันให้เด็ก ต้องพดู โกหกเพ่อื ปกป้องตนเอง y กิจกรรมส่งเสริมคว�มรับผิดชอบ ผู้ใหญ่ควรทำาความเข้าใจ ยอมรับความสามารถและข้อจำากัดของเด็ก เพื่อให้ความคาดหวัง ต่องานท่ีเด็กต้องทำาอยู่บนความเป็นจริง จากนั้นทำาความเข้าใจ กับเด็กให้ตรงกันถึงความคาดหวังต่องานท่ีเด็กได้รับมอบหมาย ใหท้ าำ โดยไมไ่ ปกดดนั เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ๆ ยอมรบั และรบั ผดิ ชอบตอ่ การ กระทำาของตนเอง อาจลองใชเ้ ทคนคิ การสร้างแรงจงู ใจเพือ่ ใหเ้ ด็ก มคี วามรูส้ กึ ท่ดี ีและเตม็ ใจทาำ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายดังน้ี ฟงว่าเด็กรู้สึกหรือคิดเห็นต่องานที่ได้รับมอบหมายอย่างไร มีแผนในการทำางานนั้นๆ อย่างไร พูดให้กำ�ลังใจ ชื่นชม แทนการพดู เหน็บแนมแกมประชด ตำาหนิ ติเตียน จ้องจับผิดหรอื เปรียบเทียบ ติดต�มผลในก�รลงมือทำ� และพร้อมที่จะให้ ความช่วยเหลอื หากเดก็ ตอ้ งการ
y กิจกรรมส่งเสริมให้เด็กยึดมั่นในพฤติกรรมที่ดี กล้�ปฏิเสธ พฤตกิ รรมเสยี่ ง ผใู้ หญอ่ าจใชเ้ ทคนคิ การพดู คยุ ดว้ ยการใชค้ าำ ถาม เพื่อคุยกับเด็กโดยเฉพาะเร่ืองพฤติกรรมเส่ียงเพราะจะทำาให้เด็ก ไม่รสู้ กึ เครียดหรืออดึ อัดวา่ กำาลงั โดนจับผิด และทาำ ใหเ้ รยี นรู้ความ คดิ เหน็ ความรสู้ กึ หรอื ทศั นคตขิ องเดก็ ตอ่ เรอื่ งนนั้ ตวั อยา่ งคาำ ถาม เชน่ “ในฐ�นะทห่ี นเู ปน วัยรุ่น หนคู ิดยงั ไงท่วี ัยรนุ่ มักมขี �่ วไมด่ ี เชงิ ชสู้ �ว เชน่ ทอ้ ง หรอื ก�รท�ำ แทง้ ” “ถ�้ เพอ่ื นสนทิ ของหนถู กู รนุ่ พห่ี รอื เพือ่ นชวนไปในที่ๆ เสี่ยงตอ่ ก�รมีอะไรกัน หนูคดิ ว�่ จะแนะนำ�เพื่อนยังไง” “และถ้�เพื่อนสนิทของหนูชวนหนูไป ด้วยกันล่ะ หนจู ะทำ�ยังไง” เปน็ ต้น การฝก ให้เดก็ คิดผา่ นคำาถาม ปลายเปดลักษณะนี้ จะช่วยให้เด็กคิดไกลกว่าส่ิงที่อยู่ตรงหน้า หรืออารมณ์ช่ัววูบ โดยผู้ใหญ่ช่วยช้ีให้เห็นถึงโทษของการกระทำา ทไี่ มด่ แี ละวธิ หี ลกี เลย่ี ง ผใู้ หญอ่ าจชวนเดก็ ๆ วางแผนชวี ติ ลว่ งหนา้ แบบกวา้ งๆ เพอ่ื ฝก ใหเ้ ดก็ คดิ ไกล คดิ รอบดา้ น ฝก ใหเ้ ดก็ ปฏเิ สธเปน็ หากสง่ิ นนั้ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มด่ ี สอนเพศศกึ ษาแบบรอบดา้ นและทกั ษะการ ส่ือสารเพื่อใหเ้ ดก็ กลา้ แสดงจดุ ยนื ในการทำาสิง่ ทด่ี ี y กิจกรรมส่งเสริมก�รว�งแผนและก�รตัดสินใจก่อนลงมือทำ� ผู้ใหญ่อาจช่วยฝกให้เด็กๆ วางแผนกิจกรรมประจำาสัปดาห์อย่าง สมำ่าเสมอ ด้วยการชวนเด็กๆ หัดคิดวางแผนกับเป้าหมายง่ายๆ สักหน่ึงอย่างเพ่ือสร้างความเคยชินอย่างเป็นระบบ ฝกให้เด็กหัด มองตัวเลือกอ่ืนๆ และรู้จักคิดถึงผลดี ผลเสียของทุกการกระทำา 24
25 ฝก เดก็ ใหเ้ รยี นรจู้ ากผลของสงิ่ ทเ่ี คยทาำ ไปแลว้ เพอื่ การปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาใหด้ ขี น้ึ ฝก เดก็ เรอ่ื งการตดั สนิ ใจเพอ่ื สรา้ งประสบการณแ์ ละ ความเคยชนิ ใหต้ ดั สนิ ใจไดเ้ รว็ ขนึ้ และดขี น้ึ ดว้ ยการสมมตเิ หตกุ ารณ์ บางอย่างขึ้นและหากเหตุการณ์น้ันเกิดข้ึนกับเขา เขาจะตัดสินใจ อย่างไร y กจิ กรรมสง่ เสรมิ คว�มเหน็ อกเหน็ ใจและใสใ่ จในคว�มรสู้ กึ ของ ผู้อ่ืน เด็กที่มีนำ้าใจเกิดจากการได้เห็นแบบอย่างจากผู้ใหญ่ และ การฝกฝน ให้เป็นคนรู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น แพ้เป็น ชนะเป็น ใหอ้ ภยั เปน็ ขอโทษเปน็ ผใู้ หญอ่ าจสอนใหเ้ ดก็ เรยี นรวู้ ธิ กี ารผกู มติ ร และอยู่ร่วมกบั ผูอ้ นื่ ดว้ ยการหัดเปน็ ผู้ฟังที่ดี ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน ไม่คุยโม้โอ้อวดจนเกินไป มีส่วนร่วมกับกิจกรรมท่ีสนใจ เชน่ เลน่ ดนตร ี กฬี า วาดภาพ เปน็ ตน้ เปน็ คนจรงิ ใจใสใ่ จความรสู้ กึ ของผู้อื่น “ขอโทษ” เม่ือทำาให้คนอ่ืนเสียใจหรือไม่สบายใจ “รู้จัก ให้อภัย” เมื่อมผี ูท้ าำ ให้ขุ่นเคืองหรอื ไมพ่ อใจ พอ่ แม ่ คร ู หรือผดู้ แู ล ควรทำาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีของการมีนำ้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ ใหอ้ ภยั มคี วามเห็นอกเหน็ ใจ ท่เี ด็กๆ สามารถเห็นและสัมผสั ได้ y กิจกรรมส่งเสริมก�รแก้ปญห�แบบสันติวิธีม�กกว่�ก�รใช้ อ�รมณ์ การแกไ้ ขปญั หาดว้ ยสนั ตวิ ธิ จี ะตอ้ งเกดิ จากการเรยี นรขู้ อง เด็กเองรวมทั้งการฝกท่ีจะควบคุมอารมณ์ตนเองอยู่เสมอ ผู้ใหญ่ ควรเฝ้าสังเกตและดูอย่างใกล้ชิด การมีสติอยู่กับส่ิงท่ีทำาเสมอจะ ชว่ ยใหเ้ ดก็ ๆ เรยี นรวู้ า่ ขณะนน้ั พวกเขาควรทาำ อยา่ งไร กระบวนการ
เหล่านี้อาจนำาคำาสอนทางศาสนาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ได้ด้วย เพื่อสอนให้เด็กเรียนรู้ความแตกต่างระหว่างคำาว่า “ความขัดแย้ง” และ “ความรุนแรง” ไม่สอนให้เด็กพูดหรือทำาในส่ิงท่ีทำาให้ผู้อื่น รู้สึกแย่ ผู้ใหญ่อาจฝกเด็กๆ ให้รู้จักแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีบ่อยๆ ดังนี้ ให้เด็กได้ฝกการตระหนักรู้ถึงภาวะอารมณ์ของตัวเอง หัดให้ เด็กฝกควบคุมอารมณ์ตนเองและระบายอารมณ์โกรธที่ไม่ทำาให้ ตนเองและผู้อ่ืนเดือดร้อน ค้นหาว่าปัญหาคืออะไร หาสาเหตุ ของปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์วางแผนการแก้ปัญหา ทาำ การตกลงรว่ มกนั ดาำ เนนิ การและตดิ ตามใหก้ าำ ลงั ใจซง่ึ กนั และกนั หลีกเล่ยี งการวพิ ากษ์วจิ ารณ์เชิงลบ หรือการใช้ความรนุ แรง การควบคมุ อารมณโ์ กรธเกดิ ขน้ึ ไดจ้ ากการฝก ฝนเชน่ เดยี วกบั การแกไ้ ข ข้อขัดแย้ง เด็กควรได้รับการชี้แนะอยู่เสมอ เมื่อผ่านสถานการณ์ท่ีทำาให้โกรธ จนเกดิ ความเข้าใจ การเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจอารมณ์ของตนเองจึงเป็นทักษะสำาคัญ ท่จี ะช่วยใหเ้ ด็กรู้จกั ควบคุมอารมณโ์ กรธได้ เพราะการปลอ่ ยใหเ้ ด็กๆ เขา้ ใจผดิ วา่ ตนเปน็ ฝา ยถกู ตอ้ งอยเู่ สมอ สามารถแสดงความโกรธความไมพ่ อใจไดต้ ามใจ ชอบเป็นเรอ่ื งท่ีอนั ตรายตอ่ ตวั เด็กเอง 26
27 ก�รจัดก�รอ�รมณ์โกรธ ถ้�ผู้ใหญ่มีอ�รมณ์โกรธเกิดขึ้น ขณะ กำาลังโกรธ ไม่พอใจ อย่าเพิ่งพูดตำาหนิอะไรออกไป ถ้าควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่ได้จริงๆ ควรเลือกที่จะพูดบอกความรู้สึกในขณะนั้นกับลูกตรงๆ เช่น “แม่ รสู้ กึ โกรธมากนะทลี่ กู ทาำ แบบน ี้ แตแ่ มย่ งั ไมพ่ รอ้ มทจ่ี ะคยุ กบั ลกู ตอนน ้ี เอาเปน็ ว่าถ้าเราต่างควบคุมอารมณ์ได้เม่ือไร เราค่อยมาคุยกัน” และแยกตัวออกจาก เหตกุ ารณน์ น้ั เพอ่ื มาจดั การกบั อารมณโ์ กรธของตวั เองใหส้ งบลง ตอ่ จากนน้ั จงึ คอ่ ยหาโอกาสทีเ่ หมาะสมคยุ กับเด็กอยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล ถ้�เดก็ เปนฝ� ยท่มี ี อ�รมณโ์ กรธ การพดู คุยกนั ขณะน้ันก็อาจยงั ไมเ่ หมาะเช่นกัน ผใู้ หญอ่ าจบอก เดก็ ไปกอ่ นวา่ “พอ่ รสู้ กึ วา่ ลกู กาำ ลงั อารมณเ์ สยี เราคยุ กนั ไมร่ เู้ รอื่ งหรอก เอาเปน็ วา่ ลูกคมุ อารมณ์ไดเ้ มอื่ ไหร ่ เราคอ่ ยมาคุยกนั ” เปน็ ต้น y กิจกรรมส่งเสริมคุณค่�ในตัวเอง คุณคาในตัวเองเปนหัวใจ สาํ คญั ในการสรา งภมู คิ มุ กนั ชวี ติ ใหเ ดก็ และเยาวชน ตน ทนุ ชวี ติ เรอื่ งนจี้ ดั เปน หวั ใจของพลงั ตวั ตนเลยทเี ดยี วและยงั เปน กญุ แจ ดอกสําคัญท่ีจะชวยเสริมสรางใหเกิดตนทุนชีวิตในสวนของ พลงั ภายนอก ไดส มบรู ณข น้ึ อกี ดว ย ผใู้ หญค่ วรทาำ ใหว้ ยั รนุ่ รแู้ ละ เขา้ ใจวา่ คณุ คา่ ทแี่ ทจ้ รงิ ของคนอยทู่ ค่ี วามดงี าม และความสามารถ ทแี่ ตกตา่ งหลากหลายของคน ไมไ่ ดอ้ ย่ทู ่ีปัจจัยภายนอก เช่น การ ใส่เสื้อผ้าที่แพงๆ การแต่งตัวตามแฟช่ันอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้ วยั รนุ่ มคี วามมนั่ คงทางความคดิ โดยไมต่ ดิ อยกู่ บั คา่ นยิ มผดิ ๆ ของ สังคม เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เห็นคณุ ค่าในตวั เอง ผใู้ หญค่ วรยอมรับในความ
สามารถและช่ืนชมตอ่ ความรู้สกึ ภาคภูมใิ จของเดก็ แม้จะเป็นเพยี ง เรอ่ื งเลก็ นอ้ ยกต็ าม สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ใหก้ ารสนบั สนนุ ใหก้ าำ ลงั ใจ ให้ความช่วยเหลือเม่ือเด็กต้องการ สอนให้เด็กไม่เอาตัวเองไป เปรียบเทียบกบั ผูอ้ นื่ สอนให้เด็กรู้จกั ใสใ่ จความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ และ สอนเด็กใหร้ ู้จกั วางแผนอนาคตบนพื้นฐานความเปน็ จริง y กิจกรรมส่งเสริมก�รมีเป�หม�ยในชีวิตท่ีชัดเจน การตั้ง เปา้ หมายในชวี ติ เปน็ เรอ่ื งทส่ี าำ คญั ผใู้ หญค่ วรใสใ่ จและสรา้ งใหเ้ ดก็ มีทัศนคติต่อการตั้งเป้าหมายที่ถูกต้อง และเลือกอาชีพการงานที่ เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัดของตน ไม่ใช่เลือกเพราะ ต้องการเงินทอง ความสะดวกสบาย หรือตามค่านิยมแต่เพียง อย่างเดียว ผู้ใหญ่ควรเปดโอกาสให้เด็กๆ ได้เรียนรู้ประสบการณ์ ที่หลากหลายและค้นหาว่าอนาคตหรือเป้าหมายของเขาคืออะไร โดยช่วยแนะนำ�และดูแลอย่�งเข้�ใจ ไม่ชี้นำ�หรือควบคุมท�ง คว�มคดิ เพราะจะทาำ ใหเ้ ดก็ ๆ ไมไ่ ดพ้ บในสงิ่ ทเ่ี ขาชอบดว้ ยตวั เอง ความฝันของเด็กอาจเปล่ียนไประหว่างการเรียนรู้หรือหลังจากได้ ลองทำาแล้ว พบว่าไม่ชอบหรือไม่ใช่ ผู้ใหญ่ไม่ควรตำาหนิ แต่ควร ประคับประคองให้เด็กๆ มีความม่ันคงทางความคิดไม่เปล่ียนไป เปลี่ยนมาโดยไมม่ ีเหตผุ ล 28
29 เกมง่ายๆ ที่อาจนำามาใช้เล่นและชวนเด็กคุยเร่ืองการมีเป้าหมาย ในชีวิต คือ เกมเรียงไม้ขีดไฟ โดยแบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ทีม มีกติกาว่า ทีม ๑ พูดคุยวางแผนและดำาเนินการตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ส่วนทีม ๒ ให้วางแบบ ไหนก็ได้ ทำาอย่างไรก็ได้ โดยท้ังสองทีมไม่มีใครรู้ว่าแต่ละฝายถูกกำาหนดให้ ทำาอะไร หลังการเล่นเกมทีม ๑ มักจะได้ผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ในขณะทท่ี ีม ๒ ไม่สามารถทำางานไดส้ าำ เรจ็ ตามเวลาที่กาำ หนด y กิจกรรมส่งเสริมคว�มพึงพอใจในชีวิต การพึงพอใจในชีวิต ความเป็นอยู่ท่ีพอเพียงมาจากการรู้จักตนเอง รู้คุณค่าของตัวเอง มีความสุขกับความเป็นอยู่ และได้รับพลังใจจากสัมพันธภาพที่ดี ท่ีเปียมด้วยความรักของครอบครัวและคนรอบข้าง ไม่ไหลไปตาม กระแสนิยมหรือวัตถุนิยม ผู้ใหญ่ควรส่งเสริมการทำากิจกรรมร่วม กันในครอบครัว เปดโอกาสให้เด็กได้แสดงความสามารถตามท่ี เหน็ สมควรผา่ นรปู แบบกจิ กรรมตา่ งๆ สร�้ งก�รมสี ว่ นรว่ มในก�ร ตดั สนิ ใจแบบง�่ ยๆ ในชวี ิตประจำ�วนั โดยไมใ่ ส่คว�มค�ดหวัง หรอื แรงกดดนั ม�กเกินไป เช่น การใหเ้ ด็กตดั สินใจเลือกสถานที่ เที่ยว หรือกิจกรรมทท่ี ำาด้วยกนั ในวนั หยดุ เปน็ ตน้
แนวท�งก�รจัดกจิ กรรม เสรมิ สร� งพลงั ครอบครัว ครอบครัวเป็นต้นทุนชีวิตที่สำาคัญ ท่ีจะช่วยหล่อหลอมให้เด็กมีความ เขม้ แขง็ ทง้ั กายและใจ เปน็ คนดที มี่ ที ง้ั ไอควิ และอคี วิ ทสี่ าำ คญั พลงั ตา่ งๆ ทงั้ พลงั ปญั ญา พลังตัวตน หรอื พลังที่จะม่งุ ม่นั กา้ วหน้าต่อไป ไม่ท้อถอยลว้ นสร้างมา จากครอบครัวท้ังส้ิน พ่อแม่จำาเป็นต้องเป็นแบบอย่าง (role model) ที่ดีให้ลูก ตอ้ งมั่นคง มีหลกั เกณฑ ์ เสมอต้นเสมอปลาย เพอ่ื ไมใ่ หล้ กู เกิดความสับสน พลังครอบครัว จึงเป็นพลังท่ีมีอิทธิพลต่อเด็กมากที่สุด เด็กย่ิงเล็ก เทา่ ไหร ่ พลงั ครอบครัวก็จะยงิ่ มคี วามหมายมากเทา่ นน้ั พลังครอบครวั จะเป็น เหมือนภูมิคุ้มกันชีวิต เพราะเมื่อไหร่ท่ีเด็กมีเหตุให้ตกอยู่ในพฤติกรรมเส่ียง ท่ีรายล้อมรอบตัว ถ้ามีพลังครอบครัวที่เข้มแข็งก็จะช่วยถ่วงดุลไว้ได้ ทำาให้ ไมเ่ บ่ียงออกนอกทางมากเกินไป หรอื ถงึ จะออกนอกทางไปบ้างกไ็ มร่ นุ แรง พลังครอบครัวท่ีดีสะท้อนจากสัมพันธภาพที่ดีภายใต้ความรักและ ความอบอุ่น ปลอดภัย ความเอาใจใส่ วินัย มีการติดตามและช่วยเหลือท่ี เหมาะสมในดา้ นบวก มปี ย วาจาในบา้ น 30
31 แบบทดสอบพลังครอบครัว มีท้ังหมด ๘ ข้อ ผู้มีหน้าท่ีเกี่ยวข้อง กับการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างพลังครอบครัว ควรจัดกิจกรรมโดยมุ่งให้เกิด พฤติกรรมที่คาดหวงั ในครอบครัวดงั ตอ่ ไปนี้ ระดบั ตน้ ทุนชวี ิต เปอรเ์ ซน็ ต์ก�รตอบร�ยข้อ ผลก�รวิเคร�ะห์ ๑๖. ฉันมีผูป้ กครองที่รักและ (รอ้ ยละของคะแนน) กจิ กรรมครอบครวั เอาใจใสฉ่ นั รกั และเหน็ คณุ ค่าในตนเอง อบอุน่ และผ้อู ืน่ ๑๗. ฉันพดู คุยกับผูป้ กครองได้ ใชภ้ าษาและกิรยิ าที่ กจิ กรรมปยว�จ� ทกุ เรื่อง เหมาะสมในการสื่อสาร ๑๘. ฉันมีผู้ปกครองท่ีเน้นการ สร้างแรงจูงใจใหต้ นเอง กจิ กรรมโรงเรยี น เรียนท้ังในโรงเรียน และ ครอบครวั เรียนพิเศษตลอดเวลา ตามความสนใจของฉนั เอง ๑๙. ฉันรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย ประเมินสถานการณ์และนำาไป กจิ กรรมบ้�น เมือ่ อยกู่ ับผู้ปกครอง ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำาวันได้ โรงเรียน และชมุ ชน ปลอดภัย
ระดบั ต้นทุนชีวิต เปอร์เซ็นตก์ �รตอบร�ยขอ้ ผลก�รวิเคร�ะห์ ๒๐. ฉนั มผี ้ปู กครองท่ีมเี หตุผล (รอ้ ยละของคะแนน) กจิ กรรมวินยั ในบ�้ น คยุ กันได้ ปฏบิ ัติตามกฎ กติกา และ และชุมชน ระเบียบของสงั คม ๒๑. ฉนั มผี ปู้ กครองท่เี ป็นแบบ มีความภาคภมู ิใจในตนเอง กิจกรรมแบบอย่�ง อย่างท่ดี ี และผู้อ่ืน ท่ีดี ๒๒. ฉันมีผู้ปกครองที่เปด คน้ พบจุดเดน่ จุดดอ้ ยของ กจิ กรรมสร้�งทกั ษะ โอกาสให้เล่น หรือทำา ตนเอง ผดิ หวงั ใหเ้ ปน กิจกรรมอยา่ งที่ชอบ ๒๓. ฉนั พดู คยุ ซกั ถามเรอ่ื งราว วิเคราะหค์ วามนา่ เชอ่ื ถือของ กจิ กรรมสอ่ื ศกึ ษ� ละครทีวี ข่าวทีวี กับ ข้อมูลขา่ วสารไดส้ มเหตุสมผล ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว เ ป็ น ประจำา 32
33 ตวั อย� งกิจกรรม เพ่อื ก�รเสรมิ สร� งตนทุนชีวิต พลังครอบครัว การเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ใี หก้ บั ลกู เปน็ เรอื่ งสาำ คญั มาก ผใู้ หญต่ อ้ งสามารถ เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ใี หแ้ กเ่ ดก็ ๆ ได ้ และตอ้ งมขี อ้ ตกลงรว่ มกนั วา่ เราจะมที ศิ ทางการ ดแู ลเดก็ อยา่ งไรซงึ่ ทกุ คนในบา้ นตอ้ งเหน็ ไปในทางเดยี วกนั หากมผี ใู้ หญบ่ างคน ไมเ่ หน็ ดว้ ย กต็ อ้ งมานง่ั คยุ กนั ดว้ ยเหตผุ ลหาขอ้ สรปุ รว่ มกนั และตอ้ งมกี รอบให้ เดก็ วา่ “อะไรทาำ ได”้ “อะไรทำาไมไ่ ด้” รวมไปถึงกฎระเบียบต่างๆ อกี มากมายท่ี จะต้องปฏบิ ัตไิ ปในทางเดียวกนั y กิจกรรมส่งเสริมคว�มรัก คว�มอบอุ่น และก�รสนับสนุนที่ ดีในครอบครัว เด็กล้วนต้องการความรัก ความผูกพันและการ สนับสนุนจากครอบครัว หรือคนรอบข้างท่ีใกล้ชิด ขณะท่ีพ่อแม่ หรือผู้ดูแลก็รักและปรารถนาดีต่อเด็ก แต่หลายคนก็มักจะลืมท่ี จะแสดงความรักให้เด็กรับรู้ การแสดงความรักและการสนับสนุน ต่อเด็กทำาได้หลายวิธี นอกจากคำาพูดดีๆ เช่น “พ่อรักลูกนะ” “แม่ภูมิใจในตัวหนูมาก” ยังมีกิจกรรมอีกหลายอย่างท่ีสามารถทำา ร่วมกันเพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้อบอุ่นได้ เช่น การหาโอกาส รับประทานอาหารด้วยกัน การไปทำากิจกรรมในวันหยุดด้วยกัน ก�รพดู และแสดงคว�มรกั รวมถงึ “ก�รกอด” หรอื ก�รโอบไหล่ เมื่อมีโอก�ส การพูดคุยทักทายแบบสบายๆ เพื่อให้เด็กเล่าเร่ือง ทพ่ี บเจอในแตล่ ะวนั ใหฟ้ งั การชน่ื ชมใหก้ าำ ลงั ใจกนั เมอ่ื เดก็ มคี วาม คดิ ดๆี หรือทำาความดมี า เปน็ ตน้
y กจิ กรรมปย ว�จ�หรอื ก�รพดู คยุ อย�่ งสบ�ยใจ เดก็ ๆ และวยั รนุ่ ต้องการความเข้าใจและต้องการให้ผู้ใหญ่ยอมรับในส่ิงที่พวกเขา คิด สงิ่ ทีพ่ วกเขาทาำ และสิง่ ท่ีพวกเขาเปน็ ถา้ ผูใ้ หญ่ฟงั ในส่งิ ท่ีพวก เขาพูด เขาจะรู้สึกว่าไม่ได้อยู่เพียงลำาพังในโลกนี้ ดังน้ันการรับฟัง อยา่ งตง้ั ใจและดว้ ยความเขา้ ใจแทนการดดุ า่ วา่ กลา่ วหรอื เสยี ดสจี งึ เป็นสิ่งจำาเป็น เพราะเด็กและวัยรุ่นหลายคนอยากเล่าเร่ืองอะไร บางอย่างให้ผู้ใหญ่ฟังแต่ไม่กล้าเพราะกลัวจะโดนตำาหนิ จึงเลือก ไม่เล่าและไปปรึกษากับเพ่ือนแทนซึ่งบางครั้งอาจนำาไปสู่ความ เสยี่ งและอนั ตรายตอ่ ตวั เองและกลายเปน็ ปญั หาขน้ึ ทหี ลงั ผใู้ หญ่ ควรเปดโอก�สให้เด็กๆ ได้พูดคุย แสดงคว�มคิดเห็น โดย ไม่ดุด่� ตำ�หนิให้เสียบรรย�ก�ศ แต่ใช้ก�รรับฟงอย่�งต้ังใจ สะท้อนคว�มรู้สึก คว�มคิดเห็น หรือตั้งประเด็นให้เด็กๆ หัดคดิ วิเคร�ะห์แก้ปญห�แทน เชน่ “ลกู เปน็ วัยรุ่นแล้ว คงอยาก ทำากิจกรรมกับเพ่ือน ง้ันหนูลองเล่ารายละเอียดกิจกรรมให้แม่ฟัง หน่อยได้ม้ัยจะ” หรือ “เออ..แล้วลูกคิดจะทำาอย่างไร ถ้าสมมติ ว่าโดนเพื่อนผู้ชายล่วงเกินจับเนื้อต้องตัว” เป็นต้น ตัวอย่�ง คำ�พูดที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น “ทำาไมแกไม่เป็นเด็กดีเหมือนคนอ่ืน เขาบา้ งนะ” หรือ “ฉันบอกแกแลว้ ใชไ่ หมวา่ ...” y กจิ กรรมส่งเสริม สนบั สนนุ ช่วยเหลือด�้ นก�รเรยี น การเรยี น เปน็ การพฒั นาในหลายๆ ดา้ น ผปู้ กครองมสี ว่ นสาำ คญั ไมน่ อ้ ยเพอ่ื ช่วยให้เดก็ ๆ เรียนดีอย่างมคี วามสขุ บอ่ ยครงั้ ที่ผใู้ หญม่ ักจะสนใจ แตผ่ ลคะแนนสอบ โดยไมส่ นใจกระบวนการกอ่ นหนา้ นน้ั ไมเ่ คยรบั รู้ 34 วา่ เดก็ ๆ หรอื ลกู มปี ญั หาการเรยี นอยา่ งไร ก�รใสใ่ จไถถ่ �มเดก็ ๆ
35 เก่ียวกับเรื่องเรียนจึงเปนเรื่องสำ�คัญเพื่อท่ีจะได้ช่วยเด็กๆ แก้ปญห�ได้ทันท่วงที ผู้ใหญ่ควรให้ความสนใจกับสถานศึกษา ของเด็กท้ังเรื่องการเรียน ผลการเรียน รวมท้ังปัญหา อุปสรรคที่ เกิดข้ึน ท้ังในแง่ที่เกี่ยวกับคุณครู วิชาเรียน หรือเพ่ือน และต้อง ช่วยส่งเสริมให้เด็กรู้ว่าการเรียนเป็นส่วนหน่ึงของตัวเขา และเป็น สง่ิ ที่เขาต้องรับผดิ ชอบดว้ ยตัวเอง y กิจกรรมสร้�งคว�มรู้สึกอบอุ่นและปลอดภัยในบ้�น บ้านเป็น สถานทท่ี ใ่ี กลช้ ดิ กบั ตวั เดก็ มากทส่ี ดุ ดงั นน้ั จงึ ควรมคี วามปลอดภยั ต่อร่างกายและจิตใจเด็กมากที่สุด เพ่ือให้เด็กสามารถอยู่อย่างมี ความสุขและปลอดภัยมากกว่าที่ไหนๆ การทะเลาะกันหรือการ ใชค้ วามรนุ แรงเขา้ หากนั ของผใู้ หญ ่ จะทาำ ใหบ้ า้ นกลายเปน็ สถานท่ี สร้างความทุกข์กับเด็กๆ ผู้ใหญ่จึงควรเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการ สร้างการอยู่กันแบบเป็นมิตร เคารพซ่ึงกันและกัน และเม่ือเกิด ปัญหาขึ้นควรพูดจากันด้วยเหตุผลมากกว่าการใช้อารมณ์ และ คอยสงั เกตเดก็ ๆ วา่ มคี วามกลวั หรอื กงั วลกบั อะไรในบา้ นบา้ ง โดย เปด ใจรบั ฟงั ความรสู้ กึ ดงั กลา่ วจากเดก็ เพอื่ หาทางชว่ ยเหลอื แกไ้ ข ป้องกันเรือ่ งต่างๆ ที่ทาำ ใหเ้ ดก็ รูส้ กึ ไม่ปลอดภยั y กิจกรรมสร�้ งวินยั ภ�ยในบ�้ น กฎระเบียบเปน็ สิง่ จำาเปน็ สำาหรบั เดก็ ๆ เพราะจะทาำ ใหพ้ วกเขาสามารถดแู ลจดั การชวี ติ ไดส้ อดคลอ้ ง กับความเป็นจริงว่า เขาสามารถทำาอะไรได้แค่ไหน อะไรทำาไม่ได้ เพื่อให้สามารถวางแผนการดำาเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง ผู้ใหญ่ควร อธบิ ายใหเ้ ดก็ เขา้ ใจและเหน็ ความสาำ คญั ของการมกี ฎกตกิ ารว่ มกนั วา่ มีขน้ึ เพอ่ื อะไร เรือ่ งนีส้ ำาคัญมาก ผู้ใหญค่ วรอธิบายเหตผุ ลท่ีมา
ที่ไปด้วยความเมตตาเพ่ือให้เกิดความเข้าใจ การยอมรับและทำา ตามโดยไม่ต่อต้าน ผู้ใหญ่ควรสร้างโอกาสพูดคุยตกลงกับเด็กๆ ให้เขามีส่วนร่วมในการตั้งกฎเกณฑ์ และควรให้เหมาะสมกับ ช่วงวัย มีการกำาหนดบทลงโทษร่วมกันและเป็นท่ียอมรับได้ ด้วยกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และอย่าลืมรักษากฎอย่างเข้มงวด เพอ่ื ความมปี ระสิทธิภาพ y กิจกรรมคนต้นแบบ วัยรุ่นส่วนหน่ึงจะยึดพ่อแม่หรือผู้ปกครอง ที่เขาใกลช้ ิดเป็นแบบอย่างในการดำาเนนิ ชวี ติ แตเ่ ด็กๆ ยงั อาจยึด บคุ คลอน่ื ๆ ทเี่ ปน็ ทร่ี จู้ กั เปน็ แบบอยา่ งไดเ้ ชน่ กนั เชน่ ดารา บคุ คล ทมี่ ชี อ่ื เสียง หรอื เพ่อื นๆ ซ่งึ เรอื่ งนีเ้ ป็นประเดน็ ท่ีพ่อแมห่ รอื ผดู้ ูแล ควรทาำ ความเขา้ ใจและหาโอกาสพดู คยุ ใหค้ าำ แนะนาำ วา่ แบบอยา่ ง ที่เด็กๆ ต้องการทำาตามนั้นเป็นแบบอย่างที่ดี เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ผู้ทส่ี ามารถเป็นแบบอยา่ งท่ดี ใี ห้เด็กๆ ได้โดยการทำาให้ดู เป็นตัวอยา่ ง เชน่ ถ้าต้องการใหล้ ูกรักการอา่ นหนังสอื พอ่ แม่หรือ ผดู้ แู ลตอ้ งเปน็ คนอา่ นหนงั สอื อยากใหล้ กู พดู ความจรงิ พอ่ แมต่ อ้ ง ไม่พดู โกหก เป็นต้น และควรทำาความเข้าใจกับเดก็ ๆ ว่า ไมม่ ีแบบ อยา่ งใดทด่ี ที ส่ี ดุ ทกุ คนมที ง้ั ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ทแ่ี ตกตา่ งกนั สง่ิ สาำ คญั คือเราควรเรยี นรอู้ ะไรจากคนท่เี รายึดถอื เป็นแบบอยา่ ง y กิจกรรมสร้�งคว�มค�ดหวังอย่�งเหม�ะสม ความคาดหวัง เป็นเรื่องปกติท่ีพ่อแม่มีต่อลูก แต่ท้ังน้ีควรคาดหวังบนพ้ืนฐาน ท่ีสามารถเป็นไปได้ในเงื่อนไขท่ีเป็นจริง เพราะการคาดหวังท่ีสูง เกินความเป็นจริง จะทำาให้เด็กเกิดความกลัว ความเครียด และ 36
37 ความกดดัน การกระตุ้นให้เด็กๆ เรียนรู้ความคาดหวังเป็นเร่ือง ท่ีดี แต่ผู้ใหญ่ควรเป็นทั้งที่ปรึกษาและเพื่อนที่ดีที่คอยสนับสนุน ช่วยเหลือให้กำาลังใจ เปดใจรับฟังและวางแผนร่วมกันกับลูก เพื่อให้ความคาดหวังนั้นๆ เป็นไปอย่างเหมาะสม ไม่สร้างแรง กดดันหรือความเครียดให้กับลูก ผู้ใหญ่ควรแสดงความสนใจ ใส่ใจ และให้ความสำาคัญต่อเป้าหมาย ความมุ่งมั่น ความฝันของ เด็ก และพร้อมท่ีจะอยู่เคยี งขา้ งคอยชว่ ยเหลือเมือ่ เกดิ ปัญหาหรือ ขอ้ ผิดพลาดใดๆ y กจิ กรรมสร�้ งกติก�ก�รใช้ส่ือภ�ยในบ้�น ทีวหี รอื คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ท่ีมีอยู่ภายในบ้านท่ีเด็กเรียนรู้และเข้าถึงได้ง่าย การ ดูทีวีและการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ส่งผลกระทบต่อจิตใจ อารมณ์ สังคมของเด็ก ทางการแพทย์ถือว่าเด็กท่ีเล่นเกมคอมพิวเตอร์ เกิน ๓ ชั่วโมงเข้าข่ายเป็นโรคติดเกม เกมส่วนใหญ่จะมีเน้ือหา รุนแรงในรูปแบบต่างๆ ซ่ึงอาจส่งผลเสียในระยะยาวต่อเด็ก อาจมแี นวโนม้ เปน็ คนกา้ วรา้ ว อารมณร์ นุ แรง รวมถงึ ความคนุ้ เคยท่ี เหน็ ความรนุ แรงเปน็ เรอื่ งปกต ิ สว่ นการดทู วี เี ดก็ ควรดไู มเ่ กนิ วนั ละ ๑ ชั่วโมงในวันธรรมดา และไม่เกิน ๒ ช่ัวโมงในวันหยุด และควร เปน็ รายการทเี่ หมาะสม ดงั นน้ั ผใู้ หญค่ วรหาโอกาสพดู คยุ เพอื่ รว่ ม กำาหนดกตกิ ากับเดก็ ในการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละดทู ีวใี หช้ ดั เจน เช่น เดก็ ๆ จะใช้คอมพวิ เตอร์ได้ครง้ั ละกนี่ าท ี หรือสามารถดทู ีวีไดน้ าน แคไ่ หน รายการไหนดูได ้ รายการไหนดูไมไ่ ด ้ เป็นต้น
แนวท�งก�รจัดกิจกรรม เสรมิ สร�งพลังสร�งปญ ญ� พลังแห่งปัญญาเป็นพลังที่เริ่มต้นจากปัจเจกชนหรือตัวเรา โดยมีพ่อ แมห่ รอื คนในครอบครวั บม่ เพาะเมลด็ พนั ธแ์ุ หง่ สตปิ ญั ญาและสรา้ งกระบวนการ การเล้ียงดูที่ส่งเสริมให้เกิดกระแสอริยะชน เด็กหนึ่งคนเริ่มจากวินัยภายในซ่ึง ต้องอาศัยครอบครัวเป็นแหล่งเรียนรู้ พ่อแม่คือครูคนแรกที่จะพัฒนาต้นทุน ชีวิตให้เดก็ ๆ ได้มกี ารเรียนรทู้ างสติปญั ญา พลังสร้�งปญญ�นั้นมีความหมายสำาคัญมากในช่วงวัยเรียน ดังน้ัน ครูจะมีบทบาทสำาคัญมาก บางคร้ังอาจมากกว่าพ่อแม่ด้วยซ้ำา ฉะนั้นในช่วง วัยเรียน พ่อแม่กับครูจึงเป็นบุคคลท่ีมีอิทธิพลต่อเด็กแบบตีคู่กันมา พลังนี้จะ ช่วยหล่อหลอมให้เกิดพลังตัวตนได้ด้วย พลังสร้างปัญญาไม่ใช่จะมีเฉพาะการ เรียนในระบบ แต่การเรียนรู้นอกระบบและภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีดีงามยังช่วย เสริมสรา้ งพลังปญั ญาใหก้ ับเด็กได้อีกด้วย แบบทดสอบพลังสร้างปัญญามีท้ังหมด ๑๑ ข้อ เป็นการสร้างความ มงุ่ มนั่ ในการเพม่ิ พลงั ปญั ญา ดว้ ยการสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ กระบวนการ เรยี นรทู้ ง้ั ในและนอกระบบการศกึ ษา รวมทง้ั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การจดั กจิ กรรม เพื่อสร้างพลังปัญญาแก่เด็ก จึงมีจุดหมายเพ่ือให้เกิดพฤติกรรมที่คาดหวัง ดังตอ่ ไปน้ี 38
39 ระดับต้นทนุ ชวี ิต เปอร์เซน็ ตก์ �รตอบร�ยข้อ ผลก�รวเิ คร�ะห์ ๒๔. ฉนั มีครทู ีเ่ ข้าใจและให้ (รอ้ ยละของคะแนน) กจิ กรรมโรงเรยี น กำาลงั ใจฉนั เปน็ อยา่ งดี รักและเหน็ คุณคา่ ในตนเอง อบอุน่ และผู้อ่ืน ๒๕. ฉนั รู้สึกปลอดภยั ทุกครัง้ ประเมินสถานการณ์และนำาไป กิจกรรมบ�้ น ที่ไปโรงเรยี น ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำาวนั ได้ โรงเรยี น และชมุ ชน ปลอดภัย ๒๖. ฉันอยู่ในโรงเรียนที่มี ยอมรับความแตกตา่ งระหวา่ ง กจิ กรรมเข�้ ใจ เหตผุ ล คุยกันได้ ตนเองและผอู้ ่ืน โรงเรียน ๒๗. ฉนั มคี รทู เี่ ปด โอกาสใหท้ าำ ค้นพบความชอบ ความถนัด กิจกรรมผูกมิตรครู กิจกรรมท่ีฉันชอบหรือ และความสามารถของตนเอง อยากทำา ๒๘. ฉนั อยากเรยี นใหไ้ ดด้ ี โดย รจู้ กั เอาใจเขามาใส่ใจเรา กิจกรรมสร้�งปญ ญ� ไมเ่ อาเปรียบ และพรอ้ ม จะแบ่งปันเพือ่ น
ระดบั ต้นทนุ ชีวิต เปอร์เซน็ ตก์ �รตอบร�ยข้อ ผลก�รวเิ คร�ะห์ ๒๙. ฉันขยนั เรยี นสมาำ่ เสมอ (ร้อยละของคะแนน) สร้างแรงจงู ใจใหต้ นเอง กิจกรรมเรียนสนุก โรงเรยี นเปนสขุ ๓๐. ฉันทำาการบ้านและ รูจ้ ักสงั เกต ตงั้ คาำ ถาม และ กจิ กรรมเตือน ทบทวนตาำ ราเรยี นทกุ วัน แสวงหาคาำ ตอบ คว�มจำ� ๓๑. ฉนั รกั และภมู ิใจใน มีความภาคภมู ิใจในตนเอง กิจกรรมโรงเรยี น โรงเรียนของฉนั และผ้อู ่นื สมั พนั ธ์ ๓๒. ฉนั อา่ นหนังสืออยา่ ง มจี นิ ตนาการและมคี วามคิด กิจกรรมรักก�รอ่�น เพลดิ เพลนิ เปน็ ประจำา เช่ือมโยง ๓๓. ฉันสนใจเรียนรู้จากแหล่ง รจู้ กั สงั เกต ตั้งคำาถาม และ กิจกรรมสบื ส�น ภูมิปัญญาท้องถ่ินแถว แสวงหาคาำ ตอบ ภมู ิปญญ�ไทย บ้าน ร่วมงานบุญ งาน กิจกรรมส่ือศึกษ� ประเพณีต่างๆ ทุกครั้งท่ี มีโอกาส ๓๔. ฉนั พดู คยุ ซกั ถาม เรอื่ งราว รู้จักวิพากษ์วิจารณ์บนพื้นฐาน ในทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ ของข้อมลู สารสนเทศที่ถูกตอ้ ง กบั ครเู ปน็ ประจาำ 40
41 ตัวอย� งกจิ กรรมเพอื่ ก�ร เสริมสร� งตน ทุนชีวิตพลัง สร�งปญ ญ� พลังแห่งปัญญาจะเป็นเกราะป้องกันให้รู้จักการกระทบ รู้เท่าทัน การกระเทือน และไม่กระแทกชีวิตให้ใครเจ็บปวด เม่ือใดที่เด็กมีปัญหาก็จะ มีพลังแห่งสติปัญญาและอานิสงส์จากการเล้ียงดูท่ีดีจากครอบครัวคอยอุ้มชู พรอ้ มจะเปน็ เพอื่ นรว่ มทกุ ข ์ ทาำ ใหเ้ ขาไดเ้ รยี นรเู้ ทา่ ทนั ความจรงิ ในปจั จบุ นั ขณะ จากการมีสตสิ ัมปชัญญะ มีความไมป่ ระมาท และมกี รณุ าแหง่ หัวใจ นอกจากพอ่ แม ่ ผดู้ แู ลเดก็ แลว้ ครผู สู้ อนกม็ คี วามสาำ คญั ไมน่ อ้ ยในการ ทจี่ ะสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ๆ มกี ารพฒั นาตนเองอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม สถาบนั การ ศึกษาจึงไม่ใช่แค่สถานที่ให้ความรู้เท่านั้น แต่ยังสำาคัญในแง่ของการพัฒนาทั้ง ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ เพอื่ ใหเ้ ดก็ ๆ สามารถเตบิ โตเปน็ คนดแี ละอยใู่ นสงั คม ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ โรงเรยี นควรใสใ่ จในสขุ ทกุ ขข์ องผเู้ รยี นทเี่ กย่ี วกบั สถานศกึ ษา วา่ มปี ญั หาอะไรบา้ งหรอื ไม ่ ดว้ ยการเกบ็ ขอ้ มลู ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ ความสมั พนั ธ์ ระหว่างผู้เรียน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและครู ผลการศึกษา กิจกรรม เพิ่มเตมิ สภาพแวดลอ้ ม กฎขอ้ บงั คบั อาหารการกนิ และอื่นๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับ คณุ ภาพชวี ติ ของผเู้ รยี น โดยมกี ารแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และวางแผนรว่ มกนั ระหวา่ งผบู้ ริหาร คร ู และนักเรียน
สถานศึกษาควรมีกฎระเบียบท่ีชัดเจนที่ผู้เรียนจะต้องรับรู้และมีส่วน รว่ มตอ่ การตง้ั กฎเหลา่ นน้ั และทาำ ความเขา้ ใจเปน็ ขอ้ ตกลงทที่ กุ คนตอ้ งรบั ทราบ และปฏิบัตติ ามอย่างเครง่ ครัด หากกฎเกณฑใ์ ดไมเ่ หมาะสม ควรเปล่ยี นแปลง ดว้ ยการสอบถามความคดิ เหน็ ของผเู้ รยี น ผสู้ อน และผเู้ กย่ี วขอ้ งอนื่ ๆ เสยี กอ่ น และห�กก�รทำ�ผิดกฎน้ันๆ เกิดข้ึน ครูผู้สอนควรคิดไว้ก่อนว่�ไม่ได้เปน เรอ่ื งคอข�ดบ�ดต�ยทจี่ ะน�ำ ม�ซงึ่ อนั ตร�ย และควรเลอื กใชว้ ธิ กี �รลงโทษ ท่ีเหม�ะสม ไม่ใช้วิธีก�รปรับพฤติกรรมที่รุนแรงท้ังต่อร่�งก�ยและจิตใจ ของนักเรียน แม้ผลการเรียนจะนับเป็นส่วนหน่ึงของตัวช้ีวัดความสำาเร็จทางการ เรยี น แตผ่ ใู้ หญก่ ค็ วรระวงั ทจ่ี ะไมส่ รา้ งแรงกดดนั และความคาดหวงั จนเกนิ ความ สามารถอันแท้จริงของเด็ก คนเรียนดีน่�จะหม�ยถึง คนที่เอ�ใจใส่ในก�ร เรยี น รจู้ กั แบง่ หรอื จดั เวล�อย�่ งเหม�ะสม มเี วล�ท�ำ กจิ กรรมรว่ มกบั ผอู้ น่ื หรอื กจิ กรรมอน่ื ๆ ทนี่ อกเหนอื ไปจ�กก�รเรยี น โดยทย่ี งั คงมเี วล�เอ�ใจใส่ กบั ก�รเรยี นอย่�งสม่ำ�เสมอ การเรยี นรเู้ พอื่ เสรมิ สรา้ งปญั ญา ควรเปน็ เรอ่ื งทเี่ กดิ ขน้ึ ไดท้ กุ เวลาทค่ี รู อยกู่ บั นกั เรยี น ไมใ่ ชเ่ ฉพาะในเวลาเรยี นเทา่ นน้ั ครคู วรสอดสอ่ งดแู ลว�่ เดก็ มี ปญ ห�อะไรบ�้ ง และชว่ ยแกไ้ ขปญ ห�ทเี่ กดิ ขน้ึ ควบคไู่ ปกบั ก�รเสรมิ ทกั ษะ เชงิ บวกเพอ่ื ปอ งกนั ปญ ห�นน้ั ๆ ไปดว้ ย โดยครชู ว่ ยท�ำ หน�้ ทเ่ี ปน ผชู้ ท้ี �งท่ี ดีให้เด็กตัดสินใจในเรื่องต่�งๆ ด้วยตนเอง โดยไม่คิดแทน หรือตัดสินใจ แทน 42
43 แนวท�งก�รจัดกจิ กรรม เสริมสร�งพลังเพื่อน และกจิ กรรม เพ่ือนและกิจกรรมมีความสำาคัญต่อเด็กในช่วงวัยนี้ โดยเฉพาะช่วง วยั ร่นุ เพราะเวลาทพ่ี วกเขารวมตวั กันเป็นกลมุ่ จะเปน็ การเปดโอกาสให้เขาได้ แสดงความคดิ เหน็ ไดเ้ รยี นรทู้ จี่ ะปรบั ตวั กระบวนการกลมุ่ ยงั ชว่ ยใหเ้ ดก็ เรยี นรู้ ที่จะสร้างสัมพนั ธ์ระหว่างกัน รวมทัง้ โอกาสทจ่ี ะพัฒนาตนเองมากขึน้ พลังเพ่ือนและกิจกรรม มีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งศิลปะ ดนตรี กีฬา ศาสนา และเพื่อนยังมีความสำาคัญกับเยาวชนอย่างมาก ถ้าพวก เขามีเพื่อนและกิจกรรมไปในทางท่ีดี ก็จะมีผลต่อการสร้างเสริมต้นทุนชีวิต ที่ดี แตถ่ า้ มเี พ่ือนในกลมุ่ เส่ียงท่ีชกั นำากันไปทำากิจกรรมที่ไม่ดี กจ็ ะสง่ ผลให้เกิด ปัญหาในการดาำ เนินชีวติ ตามมา แบบทดสอบสำาหรบั พลงั น้ปี ระกอบด้วยกิจกรรม ๖ ข้อ เป็นเรอื่ งการ ทำากิจกรรมในหม่เู พ่อื นๆ ทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชน สงั คม ผดู้ ูแลเดก็ และครจู งึ ควรเลอื กกจิ กรรมตามคาำ ถามเพอ่ื นาำ ไปสพู่ ฤตกิ รรมทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั เดก็ ดงั ตอ่ ไปนี้
ระดบั ตน้ ทนุ ชีวติ เปอรเ์ ซน็ ต์ก�รตอบร�ยขอ้ ผลก�รวิเคร�ะห์ ๓๕. ฉนั มีเพื่อนสนิทที่เปน็ (รอ้ ยละของคะแนน) กิจกรรมกัลย�ณมติ ร แบบอยา่ งท่ดี ี มีความภาคภูมิใจในตนเอง และผ้อู น่ื ๓๖. ฉันทำากิจกรรม ศิลปะ มีวิธีผ่อนคลายอารมณ์และ กจิ กรรมจินตน�ก�ร ดนตร ี วาดรปู รอ้ งเพลง ความเครยี ดใหต้ นเอง ตามความชอบและ พอใจของฉันเอง ๓๗. ฉันเล่นกีฬา หรือออก มีวิธีผ่อนคลายอารมณ์และ กจิ กรรมเล่นกฬี � กำาลังกายทุกวัน ความเครียดใหต้ นเอง ๓๘. ฉันสวดมนต์ ไหว้พระ มีวิธีผ่อนคลายอารมณ์และ กจิ กรรมศ�สน� ทำาบุญ ใส่บาตร เป็น ความเครียดให้ตนเอง ประจาำ ๓๙ . ฉั น ช ว น เ พื่ อ น ทำ า รูจ้ กั สรา้ งความสุขให้กับตนเอง กิจกรรมสร้�งเพื่อน ประโยชน์ต่อส่วนรวม เป็นประจำา เช่น เก็บ ขยะ ดูแลต้นไม้ ๔๐. ฉันชอบเล่านิทานหรือ มีจินตนาการและมีความคิด กจิ กรรมสื่อศกึ ษ� แบ่งปนั สิง่ ดีๆ ใหน้ ้อง เช่ือมโยง 44
45 ตวั อย� งกจิ กรรม เพือ่ ก�รเสรมิ สร�งตน ทนุ ชีวิต พลังเพ่อื นและกจิ กรรม กลมุ่ เพอ่ื นมอี ทิ ธพิ ลตอ่ เดก็ ๆ เยาวชนอยา่ งยง่ิ ทง้ั เรอ่ื งการปรบั ตวั การ แสดงความคิดเห็น การเข้ากับคนอื่น การยอมรับในคนท่ีไม่เหมือนกัน ทำาให้ เดก็ ปรับตัวได้มากขึน้ ซง่ึ กระบวนการนไี้ ม่คอ่ ยมีสอนในโรงเรียน การรวมกล่มุ ทำากิจกรรมจึงเท่ากับเป็นการพัฒนาชีวิตเลยทีเดียว ยิ่งเด็กทำากิจกรรมมาก ยิ่งมีการพัฒนามาก ยิ่งมีปฏิสัมพันธ์กับคนอ่ืนมาก ย่ิงได้พัฒนาความคิดริเริ่ม สรา้ งสรรค์ สรา้ งภูมคิ ้มุ กันในตวั เองมาก กิจกรรมทพี่ วกเขาจะเข้าไปมีส่วนร่วม ได้มีหลากหลายมาก ตัง้ แต่กจิ กรรมเล็กๆ เช่น กจิ กรรมกีฬา ศลิ ปะ การแสดง ไปจนถึงกิจกรรมใหญ่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน เช่น กิจกรรมเก่ียวกับ ประเพณีและวัฒนธรรม การรวมกลุ่มทำากิจกรรมจะทำาให้เด็กๆ ได้มีโอกาส ทดลอง เรียนรู้ร่วมกัน และเป็นภูมิคุ้มกันที่จะปกป้องตัวเขาเองไปจนถึง วัยผูใ้ หญ่ด้วย
y กิจกรรมคบเพื่อนสร้�งอน�คต “เพื่อน” เป็นเรื่องสำาคัญสำาหรับ วัยรุ่น มีอิทธิพลต่อความคิด การกระทำา ตลอดจนพฤติกรรมที่ ทง้ั เหมาะสมและไมเ่ หมาะสม เพราะวัยรุน่ เป็นวยั ทอ่ี ยากร ู้ อยาก ลอง ชอบอิสระ คิดเองทำาเอง อยากแสดงออก อยากท้าทาย อยากได้รับการยอมรับจากสังคม อยากได้กำาลังใจ สิ่งเหล่าน้ีหา ได้ง่ายในหมู่เพ่ือนฝูงด้วยกันมากกว่าจากครอบครัว เพราะผู้ใหญ่ ยังเคยชินท่ีจะเล้ียงลูกแบบเด็กเล็ก “การติดเพ่ือน” จึงเป็นเรื่อง ท่ีผู้ใหญ่ควรทำาความเข้าใจ โดยดูและให้เด็กๆ และกลุ่มเพื่อนทำา ในสิ่งที่ดี โดยไม่เอาแต่หงุดหงิด ดุว่า ผู้ใหญ่ควรมีบทบาทเป็น ผดู้ แู ลและคอยสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ และเพอื่ นๆ ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกจิ กรรม ที่ชวนให้พวกเขาคิดวิเคราะห์ที่จะ “เลือกทำา” หรือ “เลือกไม่ทำา” สงิ่ ตา่ งๆ ไดด้ ้วยตัวเอง y กจิ กรรมเรยี นรจู้ �กง�นทช่ี อบ กจิ กรรมทใ่ี ช่ กจิ กรรมการเรยี นรู้ นอกห้องเรียนก็มีความสำาคัญไม่น้อยในการพัฒนาความสามารถ ของเด็กๆ ทั้งในเร่ืองแนวคิดและการกระทำา ผู้ใหญ่ควรให้การ สนับสนุนท่ีเหมาะสมเพ่ือพัฒนาความสามารถน้ันๆ คอยสังเกต วา่ เดก็ ๆ มคี วามสามารถหรอื ความถนดั ในดา้ นไหน แลว้ สนบั สนนุ ผลกั ดนั ใหม้ โี อกาสเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะ ความสามารถนน้ั ๆ ให้ ดียิ่งขึ้น เช่น การเรียนดนตรี หรือศิลปะ เป็นต้น การทำากิจกรรม จะชว่ ยใหเ้ ดก็ ๆ ไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งอสิ ระ โดยเฉพาะกจิ กรรมทพ่ี วกเขา ไดท้ ดลองคดิ เอง ทำาเองตามความชอบ ความถนดั ซงึ่ จะชว่ ยเพิ่ม ความเข้าใจ ทำาให้จดจำาได้แม่นยำามากข้ึน และยังเป็นประโยชน์ 46 ตอ่ การเรียนรูท้ กั ษะการอยู่รว่ มกบั ผู้อ่ืนในสังคม
47 y กิจกรรมกีฬ� เปนย�วิเศษ การเข้าร่วมกิจกรรมที่สนใจ หรือได้ เลน่ กฬี าทชี่ นื่ ชอบ เปน็ หนทางหนงึ่ ทที่ าำ ใหเ้ ขาไดเ้ รยี นรทู้ จี่ ะพฒั นา ตนเอง และเป็นทักษะชีวิตที่สำาคัญต่อการเติบโตและอยู่ในสังคม ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ผใู้ หญค่ วรทาำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผใู้ หค้ าำ ปรกึ ษา สง่ เสรมิ และสร้างแรงกระตุ้นให้เด็กๆ ได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง อีกท้ัง คอยจดั พนื้ ทก่ี ารแสดงออกใหเ้ ดก็ ๆ ไดม้ โี อกาสแสดงความสามารถ ทงั้ ในชมุ ชนและโรงเรยี น y กิจกรรมภูมิคุ้มใจท่ีมองไม่เห็น การเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา เป็นเร่ืองสำาคัญต่อการเสริมสร้างภูมิคุ้มใจที่มองไม่เห็นและยัง เป็นหลักยึดเหน่ียวทางจิตใจท่ีสำาคัญซ่ึงจะช่วยป้องกันเด็กๆ จาก พฤติกรรมเส่ียงต่างๆ กิจกรรมท่ีจัดควรให้วัยรุ่นเข้ามามีส่วนร่วม และออกแบบให้มีความร่วมสมัยเพื่อดึงดูดความสนใจ โดยสอด แทรกธรรมะหรือคำาสอนทางศาสนาเข้าไปอย่างกลมกลืน การจัด กจิ กรรมทางศาสนาอาจทาำ ในวนั สาำ คญั ๆ เชน่ ทาำ บญุ ปใี หมป่ ระจาำ หมบู่ า้ น หรอื การชว่ ยกนั ทาำ ความสะอาดวดั ในชมุ ชน เปน็ ตน้ หรอื สรา้ งกิจกรรมที่จงู ใจให้เดก็ ๆ เขา้ วดั เช่น กจิ กรรมแขง่ ขันฟุตบอล การกศุ ลประจาำ ปเี พอ่ื ระดมทนุ สรา้ งโบสถ ์ หรอื นาำ เงนิ ไปชว่ ยเหลอื ผสู้ งู อายใุ นหมบู่ า้ น เปน็ ตน้ ในกรณขี องชมุ ชนทม่ี คี วามหลากหลาย ในการนบั ถอื ศาสนา ควรใหพ้ นื้ ทแ่ี ละความสาำ คญั ของการประกอบ พิธที างศาสนาท่ีเท่าเทยี ม
y กิจกรรม “คนสร้�งกิจกรรม กิจกรรมสร�้ งคน” การเปดโอกาส ให้เยาวชนและวัยรุ่นได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทำากิจกรรมดีๆ และ เป็นประโยชน์ต่อชุมชน โดยมีครอบครัวและชุมชนให้การยอมรับ คอยสนบั สนนุ และใหก้ าำ ลงั ใจ จะช่วยเปน็ แรงบนั ดาลใจใหพ้ วกเขา ร่วมแรงร่วมใจกันทำาในส่ิงที่ดีมากย่ิงข้ึน และยังช่วยลดพฤติกรรม เสย่ี งตา่ งๆ ไปไดโ้ ดยปรยิ ายอกี ดว้ ย ผใู้ หญค่ วรเปด โอกาสใหเ้ ดก็ ๆ และวัยรุ่น ได้คิด ได้ทำากิจกรรมร่วมกันตามความสามารถ ความ ถนัดของแต่ละคน เช่น คนชอบวาดรูป คนชอบดนตรี คนชอบ เลน่ กีฬา โดยให้คิดและทดลองเรียนรรู้ ่วมกนั เป็นทมี ตวั อย่างเช่น การจดั ตง้ั ชมรมมคั คุเทศน์วัยรนุ่ ประจาำ ชมุ ชน เพอ่ื ใหเ้ ด็กได้เรียนรู้ ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ ของตนเองและพฒั นาตนเองเปน็ มคั คเุ ทศน์ นำาชมสถานท่ีสำาคัญของท้องถิ่น หรือการจัดกลุ่มจิตอาสาดูแล ผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน เป็นต้น 48
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104