Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

Description: ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

Search

Read the Text Version

21. กระทรวงคมนาคม 22. กระทรวงการศึกษาและวฒั นธรรม 23. กระทรวงเกษตร 24. กระทรวงการวิจยั และเทคโนโลยี 25. กระทรวงสหกรณ์เพ่อื วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม 26. กระทรวงสง่ิ แวดล้อม 27. กระทรวงส่งเสริมสิทธิสตรแี ละคุ้มครองเยาวชน 28. กระทรวงการปฏิรปู การบริหารและการปฏริ ูประบบราชการ 29. กระทรวงการพฒั นาส่วนภูมภิ าค 30. กระทรวงการวางแผนพฒั นาแหง่ ชาติ 31. กระทรวงรัฐวสิ าหกิจ 32. กระทรวงการเคหะ 33. กระทรวงเยาวชนและการกฬี า 34. กระทรวงการคา้ 100

1. ส�ำนักประธานาธิบดี วสิ ัยทศั น์ ภารกิจ • ส�ำนักเลขาธิการกระทรวงการ 1. ให้การสนบั สนนุ ด้านเทคนิคและ ต่างประเทศตระหนักถึงความ บรหิ ารงานในการวางนโยบาย ส�ำคัญของการด�ำเนินงาน โดย เพอ่ื ให้ประธานาธิบดแี ละรอง แ ส ด ง ใ ห ้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม เ ป ็ น มื อ ประธานาธบิ ดีไดใ้ ช้อ�ำนาจบริหาร อาชีพ และการด�ำเนินงานด้วย ราชการแผ่นดนิ ค ว า ม โ ป ร ่ ง ใ ส แ ล ะ น ่ า เ ชื่ อ ถื อ 2. จดั งานพิธีการตอ้ นรบั อาคนั ตกุ ะ โดยมุ่งให้การบริการท่ีดีเย่ียม จากต่างประเทศอย่างดเี ย่ียม แ ก ่ ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี แ ล ะ ร อ ง ส�ำหรบั ประธานาธบิ ดแี ละ ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี 3. ใหก้ ารสนับสนนุ ด้านเทคนิคและ บริหารงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เพ่ือใหป้ ระธานาธิบดีไดม้ ีอ�ำนาจ สูงสุดในกองทพั บก กองทพั เรอื และกองทพั อากาศ 4. ควบคมุ บรหิ ารงานทว่ั ไป ใหข้ อ้ มลู ข่าวสาร และกระชับความสัมพนั ธ์ ระหว่างสถาบนั และองค์การตา่ งๆ 5. ยกระดบั คณุ ภาพของทรัพยากร- มนุษยแ์ ละสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก ในส�ำนกั ประธานาธบิ ดี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 101

ยทุ ธศาสตร์ 1. มงุ่ มน่ั แสดงความเปน็ ผนู้ �ำใหม้ ากทส่ี ดุ เพอื่ สนบั สนนุ การปฏริ ปู ระบบ ราชการ 2. ท�ำตามข้อก�ำหนดการบริหารงาน และก�ำหนดนโยบายส�ำหรับ ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีให้ได้มากท่ีสุดผ่านการปฏิรูประบบ ราชการ 3. มคี วามเตม็ ใจและมงุ่ มน่ั ทจี่ ะแสดงความเปน็ ผนู้ �ำใหม้ ากทส่ี ดุ เพอ่ื ให้ บริการเป็นเลศิ 4. ใช้ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถใช้เป็น กลไกของส�ำนกั ประธานาธิบดีเพอื่ ให้บริการเปน็ เลิศ 2. กระทรวงประสานงานการเมือง กฎหมาย และความมั่นคง วิสยั ทัศน์ ภารกจิ • เสริมสร้างความม่ันคง ความ 1. ประสานงานกบั รฐั มนตรีและ ปลอดภยั และการท�ำใหป้ ฏบิ ตั ติ าม หวั หนา้ สถาบนั ตา่ งๆ ของรฐั ในการ กฎหมาย ผสานภารกิจภาคสนาม หรอื ภาคปฏบิ ตั ขิ องการเมืองและ ความม่นั คงรวมถึงการแกป้ ญั หา ในการปฏบิ ตั ิตามภารกิจ 102

วสิ ยั ทศั น ์ ภารกจิ 2. ประสานงานและเพม่ิ การเตรียม การรว่ มวางหลักเกณฑ์นโยบาย รฐั บาลในส�ำนักงานรฐั มนตรี แผนกงาน หรือสถาบนั ของรัฐ ท่ไี ม่ใช่แผนกงานในภาคสนามหรอื ภาคการปฏบิ ัติเรือ่ งทางการเมอื ง และความมนั่ คง 3. ประชมุ สรปุ รายงาน การแนะน�ำ ต่างๆ และการพจิ ารณาในภารกจิ ภาคปฏบิ ตั ิต่างๆ ท่เี หมาะสม ทจ่ี ะน�ำเสนอต่อประธานาธิบดี 3. กระทรวงประสานงานเศรษฐกจิ วิสยั ทัศน์ ภารกจิ • ก่อให้เกิดการประสานงานของ • ปรับปรุงการประสานงานให ้ หน่วยงานพร้อมๆ กับการพัฒนา สอดคล้องกบั การวางแผน ทางเศรษฐกจิ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและ การเตรยี มการ และการด�ำเนนิ การ ยั่งยนื ตามนโยบายเศรษฐกจิ ในภาคสนาม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี 103

ยุทธศาสตร์ 1. เพ่มิ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ 2. ลดอัตราการว่างงาน 3. จดั หาอาหารท่หี าได้ง่ายและราคาเหมาะสม เพอ่ื คนทง้ั สังคม 4. ปรบั ปรงุ ความต่อเนื่องในการฟน้ื ฟูการเกษตร ประมง และปา่ ไม้ 5. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในชนบทตามบริบทความมั่นคงด้าน อาหารและพลงั งาน 6. ยกระดบั การประสานงาน การวางแผนนโยบาย และการด�ำเนนิ การ นโยบายท่ีสอดคล้องของการใช้พลังงาน ทรัพยากรแร่ และการป่าไม้ เพื่อ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ 7. ยกระดบั การประสานงานและการรวมแผนนโยบาย และแผนปฏบิ ตั ิ การเรง่ การใช้พลงั งานทางเลอื ก เพื่อสนับสนนุ ความม่ันคงดา้ นพลงั งาน 8. การเสริมสร้างการก�ำกับดูแล และการด�ำเนินการตรวจสอบการ บริหารจัดการของอุตสาหกรรมแยกสารผสม (อุตสาหกรรมแยกสารผสม โปรง่ ใสตง้ั แตก่ ารแยกสารตง้ั ต้น / EITI) 9. เร่งการเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมของประเทศเพ่ิมข้ึนในการส่ง ออก ทไี่ ม่ใชน่ ำ�้ มันท่เี พมิ่ มลู คา่ สูงและมคี ณุ คา่ ของนวตั กรรม และการเจรญิ เติบโตท่ีเพิ่มขึ้นอย่างแพร่หลายของการลงทุนโดยตรง ทั้งการเพิ่มบทบาท ของธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม และอตุ สาหกรรมการบรกิ ารรวมถงึ การ ท่องเท่ียว 10. การลดช่องว่างการพฒั นาระหว่างภูมิภาค 11. ยกระดับการสนับสนุนและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่ง ส�ำหรับการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ 104

ยุทธศาสตร์ 12. การปรับปรุงความร่วมมือทวิภาคีทางเศรษฐกิจ ร่วมมือพหุภาคี เพ่ือการสนบั สนุนในระดบั ภูมภิ าคให้มีความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ 13. วัฒนธรรมองค์การประกันคุณภาพขึ้นอยู่กับการปฏิบัติการและ ขดี ความสามารถ 14. เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ขององค์การก�ำกับดูแลทีด่ ี 4. กระทรวงประสานงานสวสั ดกิ ารประชาชน วสิ ัยทศั น์ ภารกจิ • ป ร ะ ส า น ง า น ส วั ส ดิ ก า ร 1. ด�ำเนินการประสานงานและ ประชาชนและพัฒนา เพื่อความ ก�ำหนดนโยบายการวางแผนให้ ส�ำเร็จรุ่งโรจน์ของอินโดนีเซียในปี สอดคลอ้ งกับการควบคุม และการ พ.ศ. 2563 ก�ำกบั ดแู ลองคก์ ารใหด้ �ำเนนิ การ ตามนโยบายสวัสดกิ ารประชาชน และบรรเทาความยากจน 2. พัฒนาสวสั ดกิ ารสังคม 3. พัฒนาสาธารณสขุ และคณุ ภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม 4. พฒั นาเพ่มิ บทบาทและสวัสดิการ ของเด็ก 5. พฒั นาดา้ นการศกึ ษาและเครอื่ งมอื ของรัฐ เพ่ือเยาวชนและการกีฬา ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย 105

วิสัยทัศน ์ ภารกจิ 6. พัฒนาดา้ นศาสนา วฒั นธรรม และ การท่องเที่ยว 7. ลดความยากจน 8. พฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบสารสน- เทศ การจดั สง่ การจดั หาเงินทนุ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน 9. ต้งั องค์การจัดท�ำโปรแกรมพิเศษ ของประธานาธบิ ดี และจัดท�ำ ยทุ ธศาสตร์การแกป้ ญั หาทาง สวสั ดิการของประชาชนและ ลดความยากจน 5. กระทรวงการศาสนา วิสัยทัศน์ ภารกจิ • เปดิ การรบั รขู้ องชาวอนิ โดนเี ซยี 1. การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตทางศาสนา ทเ่ี ชอ่ื ฟงั ศาสนา บทค�ำสอน ความ 2. การปรับปรุงคณุ ภาพของความ รู้ ความอิสระ และบังเกิดความ สามัคคีทางศาสนา ส�ำเร็จจากภายใน 3. การปรบั ปรงุ คณุ ภาพของการศกึ ษา ทางศาสนาและวิทยาลัยศาสนา 4. การปรบั ปรุงคณุ ภาพของการแสวง บญุ 106

6. กระทรวงพลงั งานและทรัพยากรธรรมชาติ วิสัยทัศน ์ ภารกจิ • ผู้ก�ำหนดนโยบายและกฎเกณฑ์ได้ 1. เพ่มิ ความสามารถ ความเป็น กลายมาเปน็ ผมู้ คี วามสามารถในการ มอื อาชีพ และความสามัคคขี อง บริหารอุตสาหกรรมน�้ำมันและแก๊ส ทรพั ยากรมนษุ ย์ ได้อย่างเป็นเลศิ 2. เพม่ิ ความรว่ มมือและการท�ำงาน ร่วมกนั เป็นกลุม่ 3. สร้างภาพลกั ษณท์ ีด่ ี และส่ิง สิ่งแวดลอ้ มในการท�ำงานท่ ี สามารถดึงดดู บุคลากรใหม้ ใี จรกั ในงานได้ 4. ก�ำหนดนโยบายและกฎเกณฑ์ท ี่ เหมาะสม รวมถึงใหบ้ ริการที่เปน็ เลศิ ด้านอตุ สาหกรรมนำ้� มันและ แกส๊ โดยมีการวางเปา้ หมายทดี่ ี 7. กระทรวงการต่างประเทศ วิสัยทัศน ์ ภารกิจ • ใชภ้ ารกิจดา้ นการทตู ท้งั หมด 1. ปรบั ปรุงความสมั พันธแ์ ละความ เพ่ือเพ่ิมผลประโยชนข์ องชาติ ร่วมมอื ในดา้ นตา่ งๆ ระหวา่ ง อินโดนเี ซยี กับประเทศตา่ งๆ และความสัมพันธ์ภายในภูมิภาค เพอื่ รกั ษาผลประโยชน์ของชาติ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 107

วิสยั ทศั น์ ภารกจิ 2. เข้าไปมบี ทบาททสี่ �ำคญั มากขน้ึ 108 และแสดงความเปน็ ผนู้ �ำในความ รว่ มมือภายในอาเซยี น เขา้ รว่ มใน กระบวนการก่อตงั้ ประชาคม อาเซียนปี พ.ศ.2558 ซ่ึงกอ่ ประโยชน์ให้แกอ่ ินโดนีเซยี ด้วย การน�ำอสิ รภาพ ความกา้ วหนา้ ความสามัคคี ความเป็น ประชาธปิ ไตย ความปลอดภยั ความยุติธรรม และความเจริญ รงุ่ เรอื งมาให้ 3. เพมิ่ ความสมั พนั ธท์ างการทูตกับ ประเทศตา่ งๆ ใหม้ ากขนึ้ เพ่ือน�ำ ความปลอดภยั ความสงบสขุ ใหม้ าก ย่ิงขึน้ และน�ำอสิ รภาพ ความ กา้ วหนา้ ความยุติธรรม และความ เจรญิ มาให้ 4. ใชก้ ารทตู ระหวา่ งประเทศสรา้ งภาพ ลักษณอ์ ินโดนเี ซยี ใหด้ ียง่ิ ขึ้น 5. ใชก้ ารทตู ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ดว้ ย การท�ำความตกลงรว่ มกนั ในเรื่อง

วสิ ัยทศั น ์ ภารกจิ ขอ้ กฎหมายและสนธิสญั ญาต่างๆ ระหวา่ งประเทศ โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย เพ่ือพทิ ักษ์ผลประโยชนข์ องชาติ 6. ให้การบริการท่ีดียง่ิ ขน้ึ รวดเร็ว สภุ าพ เรยี บงา่ ย โปร่งใส และ เชอ่ื ถือไดใ้ นดา้ นพธิ กี ารทตู กงสุล สงิ่ อ�ำนวยความสะดวกทางการ ทูต และการคุ้มครองชาว อนิ โดนเี ซยี และหน่วยงานด้าน กฎหมายของอนิ โดนเี ซียใน ต่างประเทศ 7. วางนโยบายตา่ งประเทศ เพือ่ ช่วย รกั ษาผลประโยชนข์ องชาตไิ ว้ได้ 8. ปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน กระทรวง เพ่ือสรา้ งกลไกทโี่ ปร่งใส และเป็นระบบภายในกระทรวง 9. ปรบั ปรุงการบริหารกระทรวงให ้ โปร่งใส เชอื่ ถือได้ และมีความเป็น มืออาชีพ เพ่อื เออ้ื แกก่ ารด�ำเนิน นโยบายต่างประเทศให้ประสบ ผลส�ำเรจ็ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนีเซีย 109

8. กระทรวงยุติธรรมและสิทธมิ นุษยชน วิสัยทัศน์ ภารกจิ • ส่งเสริมกฎหมายและสิทธิ 1. วางแผนทางกฎหมาย มนุษยชนเพื่อบรรลุผลในการ 2. สร้าง ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย และ สนับสนุนความปลอดภัยทาง การบัญญตั กิ ฎหมาย สังคม ความเป็นเอกภาพ ความ 3. บงั คบั การใชก้ ฎหมาย การใหบ้ รกิ าร กลมกลนื ความสงบ ยตุ ธิ รรม และ ทางด้านกฎหมาย และการบงั คับใช้ ความเจรญิ รุ่งเรือง กฎหมาย 4. เตรยี มการใหค้ �ำแนะน�ำและพฒั นา กฎหมาย 5. ยกระดบั และควบคมุ การใชก้ ฎหมาย อยา่ งจรงิ จัง 6. ควบคุมดูแลการด�ำเนนิ การตาม หน้าที่ของกฎหมาย 7. ยกระดับและสง่ เสริมประสทิ ธิภาพ การหาเอกสาร และเครอื ข่ายขอ้ มูล กฎหมายนานาชาติ 8. เพม่ิ ความตระหนกั ในการป้องกัน ส่งเสรมิ บังคับใช้ รว่ มมือยอมรับ และการนบั ถือเพอื่ สิทธมิ นุษยชน 9. ด�ำเนนิ การวิจัยและพฒั นาด้าน กฎหมายสิทธมิ นุษยชน 110

วสิ ัยทศั น ์ ภารกิจ 10. ปรบั ปรงุ การพฒั นาทรพั ยากร มนษุ ย์ให้เขา้ ใจกฎหมายที่ เกยี่ วข้อง 11. สง่ เสรมิ และปอ้ งกันทรัพย์สนิ ทาง ปัญญา และงานดา้ นวฒั นธรรมท่ ี มีผลต่อนวัตกรรมและความคดิ สรา้ งสรรค์ 12. ปรบั ปรงุ งานทมี่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั โครงสร้างพ้ืนฐานทางกฎหมาย 9. กระทรวงปา่ ไม้ วสิ ยั ทศั น์ ภารกิจ • บรหิ ารจดั การปา่ ไมอ้ ยา่ งยงั่ ยนื 1. สรา้ งพ้ืนที่ป่าไม้ เ พื่ อ ส วั ส ดิ ก า ร ท า ง สั ง ค ม ที่ 2. ฟืน้ ฟูป่าและเพมิ่ ขีดความสามารถ เปน็ ธรรม ในการบรหิ ารจัดการน�ำ้ 3. ป้องกนั และควบคุมไฟปา่ 4. อนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง ชวี ภาพ 5. ฟน้ื ฟกู ารใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ไมแ้ ละ อตุ สาหกรรมป่าไม้ 6. พฒั นาชุมชนเพอ่ื ประชาชน ที่อาศยั อยูร่ อบๆ ป่า ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี 111

10. กระทรวงสาธารณสขุ วสิ ยั ทัศน์ ภารกิจ • ดแู ลสขุ ภาพชมุ ชนและ 1. ให้การบรกิ ารด้านสาธารณสขุ สว่ นบุคคลอย่างทว่ั ถงึ และ อยา่ งทวั่ ถงึ เพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ เปน็ ธรรม ใหแ้ กช่ ุมชน รวมถงึ ภาคเอกชน และภาคราชการ 2. ใหก้ ารป้องกันด้านสาธารณสขุ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจในการไดร้ บั การดแู ลอย่างทว่ั ถงึ มีคุณภาพ เทา่ เทียมกัน และเปน็ ธรรม 3. ใหค้ วามม่นั ใจในการใช้ประโยชน์ และกระจายทรัพยากรดา้ น สาธารณสขุ 4. สร้างธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ 1. ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการสุขภาพให้มีความเท่าเทียม สามารถเข้า ถงึ ได้ รวมทั้งมกี ารส่งเสรมิ สขุ ภาพ และการปอ้ งกันอยา่ งทั่วถงึ 2. ปรับปรุงด้านการเงินของระบบสาธารณสุข เพื่อให้สามารถสร้างหลัก ประกนั ทางสงั คมและสขุ ภาพในระดบั ชาตไิ ด้ 3. ส่งเสริมให้เกิดการใช้และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือให้มีการดูแล สขุ ภาพทม่ี ีคุณภาพและเทา่ เทยี ม 112

ยทุ ธศาสตร์ 4. เพิ่มโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงยาและเคร่ืองมือทางการ แพทย์ รวมถงึ มนั่ ใจวา่ จะไดร้ บั ประโยชน์ ความปลอดภยั จากตวั ยา เครอื่ งมอื แพทย์ และอาหาร 5. ปรับปรุงการบริการสุขภาพให้มีความรับผิดชอบ โปร่งใส มี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการกระจายความรับผิด ชอบดา้ นสาธารณสขุ 11. กระทรวงการคลงั วสิ ยั ทศั น ์ ภารกิจ • เป็นผู้บริหารการเงินของแผ่น 1. สรา้ งองค์การบรหิ ารจดั การภาครฐั ดินที่ได้รับความไว้วางใจและเช่ือ ตามความตอ้ งการสาธารณะ ถือในระดับภูมิภาค เพ่ือให้ 2. สรา้ งทรพั ยากรมนุษยใ์ หร้ ูจ้ กั หน้าท่ี อินโดนีเซียมีความเจริญรุ่งเรือง ที่ได้รับมอบหมาย มีความเป็นมอื เป็นประชาธิปไตย และมีความ อาชีพ ความซือ่ สตั ย์ เสมอภาค และความรบั ผดิ ชอบ 3. พฒั นาองค์การบรหิ ารการเงินให้ สอดคล้องกบั ความต้องการของ ประชาชน 4. พัฒนาเทคโนโลยดี ้านขอ้ มลู การเงนิ ให้ทนั สมัยเทียบเท่าโครงสรา้ ง พนื้ ฐานดา้ นกลยทุ ธ์อ่นื ๆ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซีย 113

12. กระทรวงกลาโหม วิสยั ทัศน์ ภารกจิ =ไมพ่ บขอ้ มูล = 13. กระทรวงอุตสาหกรรม วิสัยทศั น์ ภารกิจ • สร้างความม่ันคงและความ 1. ปรบั ปรุงการเพิ่มมลู คา่ แกว่ ัตถุดบิ สามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน อุตสาหกรรม แกอ่ ุตสาหกรรมการผลติ เพือ่ เป็น 2. ปรับปรงุ การน�ำสินค้าเขา้ สู่ตลาดใน ฐานพัฒนาอุตสาหกรรมชั้นน�ำใน ประเทศและตา่ งประเทศ อนาคต 3. ปรับปรุงการสง่ เสริมอุตสาหกรรม ภาคบริการ 4. สง่ เสรมิ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยี อตุ สาหกรรม 5. ส่งเสริมโครงสรา้ งอุตสาหกรรมใหม้ ี ความม่ันคง 6. เพม่ิ การพัฒนาอตุ สาหกรรมนอก เกาะชวา 7. เพมิ่ บทบาทวสิ าหกจิ ขนาดกลางและ ขนาดย่อมในการเพิม่ ผลติ ภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP) 114

14. กระทรวงสังคมสงเคราะห์ วิสัยทศั น์ ภารกิจ • มองเห็นความเป็นจริงของ 1. ปรบั ปรงุ ความสามารถในการเขา้ ถงึ สังคม และสวสั ดิการสงั คม การปอ้ งกันทางสังคม เพ่อื ใหไ้ ด้รับ การปฏิบตั ติ ามความต้องการข้นั พ้ืนฐาน การบริการทางสงั คม การใชส้ ทิ ธทิ างสงั คม และการ ประกันตา่ งๆ เพอ่ื แกป้ ญั หาด้าน สวสั ดิการสงั คม 2. พัฒนาความม่ันคงทางสังคมและ การปอ้ งกัน เพ่ือแก้ปัญหาด้าน สวัสดกิ ารสงั คม 3. เพิม่ ความเชยี่ วชาญการปอ้ งกนั สงั คมในรปู แบบของความชว่ ยเหลอื สงั คม การฟ้นื ฟู การใช้อ�ำนาจ และ ความปลอดภยั เปน็ วธิ กี ารลดความ ยากจน 4. ยกระดับความช�ำนาญในการ ป้องกนั ของการบรกิ ารสงั คม การฟนื้ ฟู การใชอ้ �ำนาจในหน้าท่ี ความปลอดภัย และการลดความ ยากจน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย 115

วิสยั ทัศน์ ภารกิจ 5. เพิ่มและรกั ษาคุณคา่ ของความ กล้าหาญ งานบุกเบกิ ความ สมานฉนั ทข์ องสงั คม และเพอ่ื ความ ย่งั ยนื ของชมุ ชนใหด้ เี ท่าๆ กับ บทบาทหนา้ ทขี่ องการ สงั คมสงเคราะห์ในสถานท่ีผคู้ นมา พบปะกนั 6. เพม่ิ ความโปร่งใสและความ รับผดิ ชอบในการด�ำเนินการของ สวสั ดกิ ารสังคม 15. กระทรวงแรงงานและการอพยพยา้ ยถน่ิ วิสยั ทศั น ์ ภารกิจ • สร้างแรงงานและชุมชนผู้ย้าย 1. เพ่มิ โอกาสในการท�ำงาน พัฒนา ถน่ิ พ�ำนกั ใหม้ คี วามสามารถในการ คุณภาพแรงงาน การบริการ ผลิต แข่งขัน และมีฐานะทาง ทดแทน ข้อมลู ตลาดแรงงานที่ม ี เศรษฐกจิ ท่ีดีขึน้ ประสทิ ธิภาพ และงานตลาด แรงงาน 2. พัฒนาปรบั ปรุงความสมั พันธ์ของ อตุ สาหกรรม และความมน่ั คงของ แรงงานและชุมชนผ้ยู า้ ยถ่ิน 116

วสิ ยั ทัศน์ ภารกจิ 3. เพ่ิมทักษะแรงงานให้มีขดี ความ สามารถในการแข่งขนั การผลติ และชมุ ชนผูย้ ้ายถนิ่ 4. ปรับปรงุ การตรวจสอบแรงงาน 5. เรง่ การพฒั นาภูมภิ าคอยา่ งสมดลุ 6. การประยุกต์ให้องคก์ ารมคี วาม ยงั่ ยนื มีการร่วมมืออยา่ งมี ประสิทธผิ ลด้วยหลักธรรมาภบิ าล ซ่งึ สนบั สนนุ การวจิ ัยที่มี ประสิทธิผล การพฒั นาและการ บริหารจัดการขอ้ มลู ขา่ วสาร 16. กระทรวงมหาดไทย วสิ ัยทัศน ์ ภารกจิ • ด�ำเนินงานระบบการเมือง 1. เสรมิ สร้างความสมบรู ณโ์ ดยการ ประชาธปิ ไตย การกระจายอ�ำนาจ สรา้ งระบบการเมอื งภายในประเทศ การปกครอง การพัฒนาภูมิภาค เพือ่ ใหเ้ กิดประชาธปิ ไตย อยา่ งยงั่ ยนื โดยใหส้ งั คมมสี ว่ นรว่ ม 2. สร้างองค์การเพ่อื ภารกจิ ของการ ทั้งการประเมินและการสนับสนุน บรหิ ารราชการ โ ด ย ก ล ไ ก ท รั พ ย า ก ร ข อ ง รั ฐ ที่ 3. สรา้ งประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล เชี่ยวชาญและความมีเอกภาพใน ในการด�ำเนินงานกระจายอ�ำนาจ สาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย ของรฐั บาล ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 117

17. กระทรวงการเดนิ เรือและกิจการการประมง วสิ ัยทศั น์ ภารกจิ • พัฒนาการคมนาคมทางทะเล 1. ใช้ทรัพยากรทางทะเลและการ และการประมงให้มีความสามารถ ประมงใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ และ ในการแข่งขันและยั่งยืน เพื่อผล รักษาคณุ ภาพทรพั ยากรเหล่าน้ี ประโยชน์ของประชาชน 2. เพม่ิ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑท์ างทะเลและ การประมงให้มีความสามารถใน การแขง่ ขนั 18. กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ วสิ ยั ทัศน์ ภารกิจ • ก�ำหนดทิศทางการท่องเท่ียว 1. อนรุ ักษแ์ ละพัฒนาวัฒนธรรมบน ของชาติ เพื่อเป็นเอกภาพความ พ้นื ฐานคณุ คา่ ทางวัฒนธรรม หลากหลายทางวัฒนธรรมของ 2. ส่งเสริมพัฒนาสถานทีท่ ่องเทย่ี ว ประเทศ รวมไปถึงสวัสดิการของ เพื่อใหไ้ ด้เปรยี บในการแข่งขนั ประชาชนและความรว่ มมอื ระหวา่ ง 3. พัฒนาวัฒนธรรมและแหลง่ ประเทศ ทรพั ยากรท่สี ง่ เสริมการทอ่ งเท่ียว 4. พฒั นาใหม้ คี วามโปรง่ ใสและความ รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 118

19. กระทรวงการสือ่ สารและสารสนเทศ วิสยั ทัศน์ ภารกจิ • พัฒนาระบบการส่ือสารและ 1. เพ่ิมขีดความสามารถในการให ้ สารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพและ บริการข้อมลู และเพิ่มศกั ยภาพ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ภ า ย ใ ต ้ ก ร อ บ ข อ ง เพือ่ ชุมชนในระเบยี บสงั คมทม่ี ี สาธารณรัฐอินโดนีเซียที่ไม่สามารถ ความศวิ ไิ ลซ์ดา้ นข้อมูลข่าวสาร แบ่งแยกได้ 2. เพม่ิ การควบคุมดูแลโครงสร้าง พ้นื ฐาน การสอื่ สาร และระบบ สารสนเทศ เพื่อให้ชมุ ชนไดเ้ ข้าถงึ ขอ้ มลู และลดชอ่ งวา่ งการรบั ขอ้ มลู ข่าวสาร 3. กระตุ้นใหเ้ กิดการใชง้ านทเี่ พิ่มขึน้ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สารสง่ รับ และจดั เกบ็ ข้อมลู จากอุปกรณร์ ะยะไกล เพือ่ เพิม่ มูลค่าการให้บรกิ าร และการ ประยุกตใ์ ชใ้ นอตุ สาหกรรม 4. พฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน และการใหใ้ บรับรอง เพ่อื สร้าง บรรยากาศทางธุรกจิ ท่เี อื้อต่อการ สรา้ งสรรคใ์ นภาคอตุ สาหกรรมการ สอ่ื สารและสารสนเทศ 5. เพิ่มความร่วมมือ ความเป็นหุ้น ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย 119

วสิ ัยทศั น ์ ภารกจิ สว่ นสถาบันต่างๆ ของรฐั บาลดา้ น 120 การส่ือสารและสารสนเทศ และ สังคม 6. เพิ่มบทบาทของส่ือมวลชนในการ ปรับปรุงขอ้ มลู ตามระเบียบท่มี ี จรยิ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบ และ จดั เตรียมมูลค่าเพ่มิ เพอ่ื สร้างชาติ 7. ปรับปรุงคุณภาพการวจิ ัยและ พฒั นา เพื่อสรา้ งการพงึ่ พาตนเอง และการแขง่ ขนั ดา้ นการสอ่ื สารและ สารสนเทศ 8. เพม่ิ ขดี ความสามารถของทรพั ยากร บคุ คลด้านการสือ่ สารและ สารสนเทศ เพือ่ ปรับปรงุ ความร้ ู และความเป็นมืออาชีพ 9. เพม่ิ ความมสี ว่ นรว่ มของอนิ โดนเี ซยี ในเวทตี ่างประเทศดา้ นการสอื่ สาร และสารสนเทศ อกี ท้งั ยกระดับ ความคิดเชิงบวกของระดบั ชาติ และระดบั รัฐ 10. ปรบั ปรุงคณุ ภาพของการควบคมุ ดแู ล เพอ่ื ท�ำใหร้ ะบบธรรมาภบิ าล ประสบผลส�ำเร็จ

20. กระทรวงโยธาธิการ วิสัยทศั น์ ภารกจิ • เพิม่ สิง่ กอ่ สร้างสาธารณะและ 1. น�ำภาพแผนผงั การพฒั นาทีอ่ ้างอิง โครงสรา้ งพน้ื ฐาน เพอ่ื สรา้ งความ มติ ทิ างพน้ื ที่ (Spatial Dimension) เจรญิ รุ่งเรอื งในปี 2568 ของประเทศและภูมภิ าค และการ บรู ณาการโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพือ่ ให้ เกดิ กรอบการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื 2. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการรกั ษาไว้ซ่ึงทรพั ยากร เหล่านี้ โดยให้มกี ารพัฒนาการใช ้ และการธ�ำรงรกั ษาทรพั ยากร- ธรรมชาติ เพอ่ื ลดความเสยี่ งในการ ท�ำลายแหลง่ น�้ำต่างๆ 3. การเพม่ิ พ้ืนที่การเขา้ ถึงเพือ่ สนบั สนุนการขยายตวั ทาง เศรษฐกิจ และการปรับปรงุ สภาพ ความเปน็ อยทู่ ี่ดขี น้ึ ของชมุ ชน โดยการจดั ท�ำเครือข่าย บรู ณาการ การตดั ถนนแตล่ ะสาย 4. ปรับปรงุ สภาพโดยรอบของพืน้ ท ่ี บริเวณใกลเ้ คียง โดยปรับปรุงและ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 121

วสิ ัยทศั น ์ ภารกิจ บูรณาการโครงสรา้ งพืน้ ฐานใหม้ ี 122 ความนา่ เชอ่ื ถือและยั่งยนื 5. สง่ เสริมอตุ สาหกรรมการก่อสรา้ ง ให้มีความสามารถในการแขง่ ขัน เพือ่ มั่นใจได้วา่ ธุรกจิ กอ่ สรา้ งจะม ี การบรหิ ารจดั การทีด่ ี และไม ่ กระท�ำผดิ กฎหมาย เพอ่ื ใหส้ ามารถ เจริญเตบิ โตไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง 6. จดั ให้มีการวจิ ยั และพัฒนา การใช้ ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพือ่ ปรบั เป็นมาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ ค่มู ือ หรอื เกณฑ์ เพ่ือการสนับสนุนการวาง โครงสรา้ งพน้ื ฐาน 7. สนับสนุนให้มีนวตั กรรมท ่ี บูรณาการการบริหารทรพั ยากร เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 8. ลดการทจุ รติ คอรปั ชนั่ ในกระทรวง เพอื่ ปรับปรุงคณุ ภาพการตรวจ สอบ และการท�ำงานอยา่ งมอื อาชพี

21. กระทรวงคมนาคม วสิ ัยทศั น ์ ภารกิจ • สร้างบุคลากรให้มีความ 1. สง่ เสรมิ ความส�ำเร็จในการก�ำหนด สามารถด้านการขนส่งทางบกทั่ว มาตรฐานและการรับรองของ ภูมิภาคในประเทศอินโดนีเซีย อาจารย์ สื่อการเรยี นการสอน สิง่ ภายในปี 2014 อ�ำนวยความสะดวก โครงสร้างพ้ืน ฐาน และการบรหิ ารจดั การดา้ น การฝึกอบรม 2. ส่งเสรมิ และสร้างสภาพแวดล้อมท ่ี เอื้อต่อการเดนิ ทางไปศึกษาและ ฝกึ อบรม 3. ด�ำเนนิ การสรา้ งเสน้ ทางเชือ่ มโยง การสอื่ สารให้มคี วามสมั พันธ์กับ การฝึกอบรมพืน้ ฐานทีท่ �ำต่อเนอ่ื ง กบั สถาบันตา่ งๆ ท่ีเป็นศนู ย์กลาง การขนสง่ สาธารณะในสว่ นภมู ภิ าค 4. จัดเตรียมการให้บรกิ ารด้านการ ศกึ ษาและการฝกึ อบรมทม่ี คี ณุ ภาพ สงู มีความเทา่ เทียม ราคาไม่สงู และม่งุ เนน้ ด้านวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี เพื่อท่ีจะเขา้ ถึงสภาพ แวดลอ้ มในระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ชาติ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย 123

22. กระทรวงการศกึ ษาและวฒั นธรรม วสิ ยั ทศั น์ ภารกิจ • สร้างความเป็นเลิศด้านการ 1. ยกระดบั ความสามารถในการเขา้ ถงึ ศึกษาและวัฒนธรรม รวมท้ัง การศกึ ษาและวฒั นธรรม สร้างประชาชนที่ฉลาด และ 2. ขยายความสามารถการได้รบั การ มบี ุคลิคภาพที่ดี บรกิ ารดา้ นการศึกษาและ วฒั นธรรม 3. ปรบั ปรุงคณุ ภาพด้านการบรกิ าร การศึกษาและวัฒนธรรม 4. สร้างความเทา่ เทยี มกันในการเข้า รับการศึกษาและวฒั นธรรมอยา่ ง แพรห่ ลาย 5. สร้างความย่งั ยนื และสง่ เสริมความ แข็งแกร่งดา้ นภาษาและวัฒนธรรม ของอนิ โดนีเซยี 23. กระทรวงเกษตร วิสัยทศั น ์ ภารกจิ • สร้างการเกษตรอุตสาหกรรม 1. สร้างระบบท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือ ชน้ั สงู บนความยงั่ ยนื ของทรพั ยากร การเกษตรท่ยี ั่งยนื บนฐานทาง ท้องถิ่น สรา้ งมูลค่าเพิม่ และสร้าง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรพั ยากร สวสั ดกิ ารแก่เกษตรกร ท้องถ่ิน และวิสยั ทศั น์ของ 124

วสิ ยั ทศั น ์ ภารกิจ สง่ิ แวดลอ้ มเข้าถึงระบบธรุ กจิ การเกษตร 2. สร้างความสมดลุ ในระบบเกษตร ธรรมชาติ เกษตรที่สามารถสร้าง ความยั่งยนื ใหผ้ ลิตภณั ฑ์เกษตร และ ยกระดับผลิตภณั ฑ์ให้มีพลงั เสริมสรา้ งด้านอาหาร 3. ปรบั ปรงุ กระบวนการผลิตให้สด สะอาดและปลอดภยั ถูกอนามยั และทงั้ หมดต้องเปน็ ฮาลาล 4. ปรบั ปรงุ ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม ต้งั แตว่ ัตถดุ บิ ตา่ งๆ 24. กระทรวงการวิจัยและเทคโนโลยี วสิ ัยทัศน์ ภารกจิ • ใช้วิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือ 1. ใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ป็น ส�ำคัญในการปรับปรุงอารยธรรม รากฐานของนโยบายการพฒั นาชาติ ความสบายอยา่ งต่อเนื่อง ทยี่ ัง่ ยนื 2. วางรากฐานการพฒั นาทีม่ จี รรยา- บรรณ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย 125

วสิ ัยทศั น์ ภารกิจ 3. สง่ เสรมิ ความสามารถของชาตใิ น ดา้ นความคดิ รเิ ริ่ม เพอ่ื เพิ่มความ สามารถในการแข่งขันระดับสากล 4. สง่ เสรมิ ใหห้ นว่ ยงาน องคก์ ารตา่ งๆ พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. สร้างทรพั ยากรมนุษย์ เครอ่ื ง อ�ำนวยความสะดวก โครงสรา้ ง พื้นฐาน และสถาบนั วิทยาศาสตร ์ ทีม่ คี ณุ ภาพในการแขง่ ขัน 6. สรา้ งอินโดนเี ซยี ให้เป็นสงั คมผู้มี ความร้แู ละฉลาด มีความคิด สรา้ งสรรคใ์ นสงั คมบนฐานความรู้ 25. กระทรวงสหกรณเ์ พ่อื วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม วสิ ยั ทศั น์ ภารกจิ •ปเสแ พลหร่ิมะสกะคขรรสนณว้ าิ ทาาง์แมดธคลยสิ ภวะ่อาากามมมิจพาในกหรใา่ านถ้เรขเใขกช้มนนื่ อาแกาขถราด็งืสอรกแผรเลพลล้ าาิ่ือตะงง 1. สง่ เสรมิ การเตบิ โตและการ ตกนาเรอแงข่งขัน และการพ่ึงพา พัฒนา 70,000 ผปู้ ระกอบการท่ีมี คณุ สมบตั ิตามเงื่อนไขที่ได้รับการ สนับสนนุ และอกี 6 ล้านผ ู้ ประกอบการ SMEs ใหม่ 126

วิสยั ทัศน์ ภารกจิ 2. สรา้ งเงื่อนไขและสภาพแวดล้อม ทางธุรกิจท่ีเออื้ ต่อการพัฒนา สหกรณ์และกจิ การขนาดกลาง และขนาดย่อมใหก้ ้าวหนา้ ในทกุ ระดับ 3. เพ่อื เพม่ิ ความสามารถในการผลติ แขง่ ขนั และพึง่ พาตนเองทั้งตลาด ภายในประเทศและต่างประเทศ 4. พฒั นาชมุ ชนและกิจการต่างๆ ให้ สามารถร่วมงาน และมสี ว่ นร่วมใน การพัฒนาสหกรณ์และกจิ การ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มใหเ้ ข้ม แขง็ 5. ใหก้ ารบรกิ ารประชาชนทมี่ คี ณุ ภาพ รวดเร็ว กระชบั โปร่งใส และ น่าเชื่อถอื 26. กระทรวงสิง่ แวดล้อม วสิ ัยทัศน ์ ภารกิจ • เน้นการสร้างเศรษฐกิจท่ีเป็น 1. วางนโยบายการจัดการทรัพยากร- มิตรต่อส่ิงแวดล้อม เพื่อเข้าไปมี ธรรมชาติ และสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มองค์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซีย 127

วสิ ัยทัศน ์ ภารกิจ บทบาทในการพัฒนาท่ีย่ังยืนด้วย รวมทีเ่ อ้อื ตอ่ การสร้างเศรษฐกจิ ท ่ี เศรษฐกจิ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม เพอ่ื การ พัฒนาทีย่ ่ังยนื 2. น�ำเศรษฐศาสตรแ์ ละนเิ ทศวทิ ยามา รวมเขา้ ดว้ ยกัน และสงั เคราะห์ เพือ่ ใหเ้ กิดการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน 3. ปอ้ งกันความเสียหายและควบคมุ มลพิษท่จี ะเกดิ กบั ทรพั ยากร- ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 4. สรา้ งธรรมาภบิ าลและพฒั นาความ สามารถของหน่วยงานต่างๆ ใน การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ มแบบองคร์ วม 27. กระทรวงสง่ เสรมิ สิทธสิ ตรีและคมุ้ ครองเยาวชน วิสัยทัศน์ ภารกิจ • สร้างความเสมอภาคระหว่าง • พัฒนาความเป็นอยู่และคุณภาพ เพศ และพทิ ักษ์สิทธเิ ด็ก ชวี ิตสตรแี ละเดก็ 128

28. กระทรวงการปฏริ ปู การบรหิ ารและการปฏิรูประบบราชการ วิสยั ทัศน์ ภารกจิ • มีความเป็นมืออาชีพที่เช่ือถือ 1. ปรับปรุงประสิทธิภาพและ ได้ และมีคุณธรรมบนพื้นฐาน ประสทิ ธผิ ลการใชป้ ระโยชนจ์ าก ธรรมาภบิ าล กลไกการประสานงาน 2. การปรบั ปรงุ คุณภาพการบริการ สาธารณะ 3. ปรบั ปรงุ หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบใน การปฏบิ ัติงาน 4. ปรบั ปรุง ก�ำกบั ดแู ลการประสาน งาน 5. จดั ตง้ั สถาบนั ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล 6. ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพและ ประสิทธิผลของการจัดการ 7. เพม่ิ ความเป็นมอื อาชพี ในการ บริหารทรัพยากรมนุษย์ 8. ปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพกลไกการ ท�ำงานของกระทรวง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซีย 129

29. กระทรวงการพัฒนาสว่ นภูมิภาค วสิ ัยทัศน์ ภารกจิ • เน่ืองจากยังมีพื้นที่จ�ำนวน 1. ใชท้ รพั ยากรมนษุ ยแ์ ละหน่วยงาน มากทยี่ งั ไมไ่ ดร้ บั การพฒั นา กระ ท้องถ่ิน เพือ่ พฒั นาเศรษฐกจิ ใน ทรวงฯ จงึ มวี สิ ยั ทศั นท์ จี่ ะพฒั นา ทอ้ งถนิ่ นนั้ ๆ โดยใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น ภาคชนบทด้วยการพัฒนาพ้ืนที่ เสียทั้งหมดมสี ่วนร่วมในการ หา่ งไกลความเจรญิ ใหเ้ ปน็ พนื้ ทท่ี ่ี พัฒนา มี ค ว า ม เ จ ริ ญ ก ้ า ว ห น ้ า แ ล ะ 2. สรา้ งความเข้มแข็งแก่ชุมชนด้วย ทัดเทียมกับพื้นท่ีอื่นๆ ใน การท�ำให้ผู้คนได้มโี อกาสเข้าถงึ อนิ โดนีเซยี การศึกษาและบริการสาธารณสขุ มากยงิ่ ข้ึน 3. สร้างงานและเพ่มิ โอกาสในการ ร่วมทนุ เขา้ ถงึ เทคโนโลยี ตลาด และขอ้ มลู ขา่ วสาร 4. พัฒนาความสามารถของหน่วย งานต่างๆ ในรฐั บาลทอ้ งถ่นิ และ ชุมชนพัฒนาส่ิงอ�ำนวยความ สะดวก การติดตอ่ สอ่ื สาร การ คมนาคมเพอ่ื ใหพ้ นื้ ทห่ี า่ งไกลความ เจริญสามารถตดิ ต่อกบั พ้นื ท่ีอ่นื ๆ ได้ 130

วสิ ยั ทัศน ์ ภารกิจ 5. เร่งฟ้นื ฟู บรรเทาพ้นื ท่ีท่ีไดร้ บั ผล กระทบจากภัยธรรมชาติ และม ี ความขดั แยง้ 30. กระทรวงการวางแผนพฒั นาแห่งชาติ วสิ ัยทัศน์ ภารกิจ • วางแผนพัฒนาแห่งชาติให้มี 1. ด�ำเนนิ แผนพัฒนาแห่งชาติ ประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือ อยา่ งมคี ณุ ภาพ และสามารถก�ำหนดทิศทางได้ 2. ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและตรวจ สอบผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผน พฒั นาแหง่ ชาตแิ ละประเมนิ ผล ของนโยบายคณุ ภาพท่เี กยี่ วกบั ปัญหาการพัฒนา เพื่อน�ำเปน็ ข้อมลู ในการวางแผนกระบวน- การตอ่ ไป หรอื ก�ำหนดนโยบาย การพฒั นาในภาคสนามต่างๆ 3. ด�ำเนินการประสานงานต่างๆ เพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพการ ด�ำเนินงานของแตล่ ะกระทรวง ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 131

31. กระทรวงรัฐวิสาหกจิ วสิ ัยทัศน์ ภารกจิ • จัดการรัฐวิสาหกิจอย่างเหมาะ 1. เพิ่มความสามารถการแข่งขันของ สมแบบมืออาชีพและเพิ่มมูลค่า รฐั วสิ าหกจิ ในระดับชาติ ระดบั รฐั วสิ าหกจิ ภมู ิภาค และระดับนานาชาติ 2. สรา้ งองคก์ ารทีท่ นั สมัย มีธรรมา- ภิบาล 3. เพิ่มการขยายตวั ของเศรษฐกิจแห่ง ชาตดิ ้วยรัฐวสิ าหกิจ 32. กระทรวงการเคหะ วสิ ัยทัศน ์ ภารกิจ • ทุกๆ คนในครอบครัวอาศยั อยู่ 1. ช่วยเพมิ่ แนวโนม้ ทีเ่ อ้อื ในการอย ู่ บ้านท่ีมคี วามค้มุ คา่ ในอนิ โดนเี ซยี อาศยั และพัฒนาถน่ิ ฐาน 2. เพิ่มอ�ำนาจในชุมชน สถาบัน และ กฏระเบยี บทีอ่ ยู่อาศยั 3. เพม่ิ ประสิทธภิ าพการกอ่ สรา้ งและ พฒั นารูปแบบทอ่ี ยอู่ าศยั 4. ปรับปรุงบ้านทตี่ ้องการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมในทอ่ี ย่อู าศยั และ ปรับปรุงคุณภาพของบ้านและ ชุมชนทอ่ี ยอู่ าศัย 132

33. กระทรวงเยาวชนและการกฬี า วิสัยทศั น์ ภารกจิ • ส่งเสริมให้เยาวชนมีความ 1. เพิม่ ศักยภาพเยาวชนใหร้ ู้จักมีใจ สามารถในการแข่งขัน และความ นกึ ถึงสังคม ตระหนักถงึ ศกั ยภาพ สามารถดา้ นกีฬา ตนเอง ศักยภาพการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ การมคี วามเชอื่ มั่น ความคดิ สรา้ งสรรค์ และการท�ำงาน ในองคก์ าร เพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้ ยาวชนมี สว่ นรว่ ม แสดงความเป็นผู้น�ำและ เพมิ่ ผลผลิต เพ่อื พฒั นาตนเอง ชมุ ชน และประเทศชาติ 2. สง่ เสรมิ ศกั ยภาพและความสามารถ ในการแข่งขนั ของเยาวชน สรา้ ง เยาวชนให้มีใจรกั ม่งุ มั่น มจี ติ อาสา มคี วามรบั ผดิ ชอบ มคี วามกลา้ หาญ มคี วามกลา้ คิดกล้าวิจารณ์ มี อดุ มการณ์ มีความคดิ ริเร่ิม ความ คิดก้าวหนา้ ความกระตอื รือรน้ ความเปน็ นักพัฒนา และคิดถงึ อนาคต โดยรกั ษารากเหง้า วัฒนธรรมอนิ โดนเี ซีย เพอ่ื พฒั นาการศึกษา ความเปน็ ผ ู้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี 133

วิสยั ทศั น ์ ภารกจิ ประกอบการ ความเป็นผู้น�ำ ความ คิดร่ิเรมิ่ และจติ อาสาเยาวชน เพ่ือ สร้างเยาวชน ใหเ้ ปน็ ผู้น�ำทด่ี ีในอนาคต 3. พัฒนาอตุ สาหกรรมการกีฬาเพ่ือส่ง เสริมการกฬี าในครอบครัว สถาน ศกึ ษา และสาธารณชน เพ่ือให้ผคู้ น มีใจรกั กฬี า และสร้างสุขภาพ อนามยั ที่แข็งแรง มคี วามสขุ และ ความสัมพันธอ์ ันดรี ะหว่างผ้คู นใน สงั คม 4. สง่ เสรมิ ศกั ยภาพของนักกีฬา เยาวชน และนกั กฬี าระดับชาตเิ พ่อื ให้มีความสามารถในการแข่งกีฬา ระดบั ภมู ิภาคและสากล ใช ้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และ กีฬาสมยั ใหมอ่ ยา่ งเปน็ ระบบและ ยงั่ ยืน เพ่ือพฒั นานกั กฬี าท่ีมี พรสวรรค์ และพฒั นาคุณภาพโค้ช กีฬาในระดบั สากล 134

34. กระทรวงการคา้ วิสยั ทศั น์ ภารกจิ =ไมพ่ บขอ้ มลู = 5.2 หนว่ ยงานหลักที่รับผดิ ชอบงานที่เก่ยี วกบั ASEAN คณะกรรมการด�ำเนนิ งานแผน MP3EI ประกอบดว้ ย ทมี ด�ำเนนิ แผน งาน ทีมปฏบิ ัตกิ าร และทมี เลขา 1. ทีมด�ำเนินแผนงาน ประกอบด้วย รัฐมนตรี ประธานหน่วยงาน ต่างๆ ทไี่ ม่เก่ยี วขอ้ งกับคณะรฐั มนตรี และหน่วยงานตัวแทน ทมี ด�ำเนิน แผนงานมหี น้าทีใ่ ห้ค�ำชแ้ี นะทวั่ ไป อนุมตั มิ ติตา่ งๆ เกย่ี วกับยทุ ธศาสตร์ การด�ำเนนิ งาน และแกไ้ ขปัญหาต่างๆ เกีย่ วกบั ยุทธศาสตร์ ซ่ึงอาจเกิด ขน้ึ ระหว่างการด�ำเนนิ แผนงาน MP3EI 2. ทีมปฏบิ ตั ิการ ประกอบด้วย ข้าราชการระดบั 1 และข้าราชการ ท่ีส�ำคัญจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนในการด�ำเนินตามแผนงาน MP3EI ทมี ปฏบิ ัติการมีหน้าท่ีประสานงานในการด�ำเนนิ โครงการลงทุน และสร้างโครงสร้างพ้ืนฐาน ทีมปฏิบัติงานจะร่วมมือกับหน่วยงานท่ี เกยี่ วขอ้ ง มหี นา้ ทแี่ กป้ ญั หาระหวา่ งกระทรวงตา่ งๆ และสรา้ งความมน่ั ใจ ว่ารัฐบาลจะสนบั สนนุ การด�ำเนนิ งานตามแผน MP3EI 3. ทีมเลขา เป็นทีมส่งเสริม MP3EI ซ่ึงท�ำงานเต็มเวลาและด้วยใจ ทุ่มเท มีหน้าท่ีพัฒนาระบบการตรวจตราและประสานงาน เพ่ือให้การ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 135

ด�ำเนินงานตามแผน MP3EI มีความคืบหน้า ทีมเลขาจะสนับสนุนทีม ด�ำเนนิ แผนงาน และทมี ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งขนั แขง็ ดว้ ยการใหก้ ารวเิ คราะห์ ทชี่ ดั เจนและขอ้ เสนอทางเทคนคิ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ จากการตรวจตรา ในแตล่ ะวนั 136

6 ระบบการพัฒนาขา้ ราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 137

6.1 ภาพรวมของการพัฒนาขา้ ราชการ การบริหารทรัพยากรมนษุ ยใ์ นภาครฐั ประเทศอนิ โดนเี ซยี มจี �ำนวนขา้ ราชการประมาณ 3.74 ลา้ นคน หรอื รอ้ ยละ 1.7 ของจ�ำนวนประชากรในปี 2005 ตัวเลขเหลา่ น้แี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ปรมิ าณทีล่ ดลงจากปี 2517 (ค.ศ. 1974) โดยในชว่ งหลายปีท่ผี ่านมา มีอัตราส่วนประมาณร้อยละ 2.1 ของประชากร จ�ำนวนข้าราชการ พลเรือนท่ีได้รับมอบอ�ำนาจให้อยู่ในระดับภูมิภาคมากกว่าข้าราชการ ส่วนกลาง ทั้งน้ีมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรัฐบาลในการให้ บริการท่ีมีคุณภาพดียิ่งข้ึนแก่ประชาชน เช่นเดียวกับภาครัฐท่ีได้เคล่ือน ย้ายตนเองให้ใกล้ชิดกับสังคม ซึ่งแท้จริงแล้ววัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญของ การปฏิรูประบบราชการโดยส่วนใหญ่ของประเทศต่างๆ ในเอเชีย คือ การปรบั ปรุงบริการใหแ้ กป่ ระชาชน หน่วยงาน ก.พ. ของอินโดนีเซีย (The National Civil Service Agency) มขี อ้ มลู เกยี่ วกบั ขา้ ราชการกบั ระดบั การศกึ ษาพบวา่ ขา้ ราชการ ส่วนใหญ่จบมธั ยมปลายร้อยละ 35.77 ในขณะท่ีจบปริญญาตรี โท และ เอก อยทู่ ี่รอ้ ยละ 32.24 สว่ นท่ีจบระดบั ประถมศกึ ษาประมาณร้อยละ 2.34 และระดับมธั ยมต้นร้อยละ 3.17 โดยมีรายละเอยี ดดงั ตารางที่ 6 138

ตารางที่ 6 ระดบั การศกึ ษาของขา้ ราชการในประเทศอินโดนเี ซีย หมายเลข ระดบั การศึกษา จ�ำนวน ร้อยละ 1 ประถมศกึ ษา (%) 110.816 2.34 2 มธั ยมตน้ 150.353 3.17 3 มัธยมปลาย 1,693.115 35.77 4 Diploma 1 82.305 1.73 5 Diploma 2 710.104 15.04 6 Diploma 3 477.586 9.45 7 Diploma 4 11.729 0.24 8 ปริญญาตรี 1,423.238 30.07 9 ปริญญาโท 93.512 1.97 10 ปรญิ ญาเอก 9.714 0.20 ท้งั หมด 4,732.472 100.00 ท่มี า: The National Civil Service Agency, Website 2010 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 139

ขา้ ราชการเองยังสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท คือ ขา้ ราชการ ของรัฐบาลกลาง และข้าราชการของรัฐบาลท้องถิ่น[28] จากข้อมูลของ หน่วยงานข้าราชการแหง่ ชาติ (Badan Kepegawaian Negara: BKN) ทท่ี �ำหนา้ ทดี่ แู ลเรอื่ งการบรหิ ารขา้ ราชการประเทศอนิ โดนเี ซยี โดยขอ้ มลู ปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010)  ขา้ ราชการท้งั หมดของประเทศอินโดนีเซยี มจี �ำนวนทง้ั สนิ้ 4,732,472 คน โดยในมมุ ล�ำดบั ขน้ั ของขา้ ราชการในประเทศอนิ โดนเี ซยี สามารถแบง่ ออกเปน็  4 ระดบั คอื ระดบั I, II, III, และ IV โดยทข่ี ้าราชการระดบั I น้ัน จะเป็นระดบั ต�่ำที่สดุ ในขณะทร่ี ะดบั ท่ี IV เปน็ ระดับสูงท่สี ุด (Dewi & Winarsih, 2011: 6) โดยขา้ ราชการสว่ นใหญน่ นั้ จะอยทู่ รี่ ะดบั III คดิ เปน็ ร้อยละ 47.43 ของขา้ ราชการท้ังหมด รองลงมาเปน็ ระดบั II, IV, และ I ตามล�ำดับ ดังแสดงให้เห็นในตารางสัดส่วนของข้าราชการแบ่งตาม ระดับปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ตารางที่ 7 สัดส่วนของพนกั งานข้าราชการแบง่ ตามระดบั ปี พ.ศ. 2553 ล�ำดับ ระดับข้ัน จ�ำนวน รอ้ ยละ (%) 1 ระดับ I 124,445 2.65 2 ระดบั II 1,458,055 30.81 3 ระดบั III 2,244,785 47.43 4 ระดับ IV 904,187 19.11 รวม 4,732,472 100.00 ทมี่ า: The National Civil Service Agency website, 2010 อา้ งถงึ ใน Dewi & Winarsih, 2011: 6 140

การสรรหาและการคดั เลือก เมื่อมีการกระจายอ�ำนาจ ดังนั้น การสรรหาและคัดเลือกจึงไม่ใช่ หน้าท่ีของหน่วยงานกลาง แต่เป็นภาครัฐในแต่ละจังหวัดที่จะสามารถ สรรหาและคัดเลือกบุคลากรเองได้ โดยข้ันตอนการสมัครประกอบด้วย ใบสมคั ร และการสอบ เพอื่ ดวู า่ เหมาะสมกบั งานหรอื ไม่ โดยการสอบจะ สอบเก่ยี วกบั งานบรหิ ารจัดการภาครฐั เชน่ ภาษาอนิ โดนีเซยี ปรชั ญา ภาครฐั ประวตั ศิ าสตร์ นโยบายรฐั ซงึ่ จะไมค่ อ่ ยมขี อ้ สอบทเ่ี กย่ี วกบั ทกั ษะ ความถนดั ในการท�ำงาน เมอื่ สอบผา่ นขอ้ เขยี น ผสู้ มคั รจะตอ้ งทดลองงาน ประมาณ 1 หรอื 2 ปี และเม่ือผา่ นการทดลองงาน จึงจะไดเ้ ข้าเป็น บคุ ลากรของรัฐ การจ่ายค่าตอบแทน การจ่ายค่าตอบแทนในภาครัฐจะจ่ายน้อยกว่าภาคเอกชน ซ่ึง ภาคเอกชนจะจ่ายให้มากกว่า 3-4 เท่า ต่อมาในปี 2549-2550 (ค.ศ. 2006-2007) ภาครฐั พยายามจา่ ยเงนิ เดอื นเพม่ิ ขนึ้ เพอื่ ไมใ่ หค้ นไหลออก จากระบบ โดยสูงข้ึนอีกร้อยละ 15 ค่าตอบแทนที่ภาครัฐจ่ายประกอบ ด้วย เงนิ เดือน เบ้ียเล้ยี ง ค่าเดินทาง ค่าทพี่ กั โดยการจ่ายค่าตอบแทน รายได้ เรียกว่า “Combination Scale System” หมายถึง การผสมผสานการจา่ ยคา่ ตอบแทน ซง่ึ จะรวมคา่ เบยี้ เลยี้ ง (Allowance) ซงึ่ อาจจา่ ยในรูปแบบเงินสงเคราะหค์ รอบครวั (Family Allowances) เงินพิเศษตามโครงสร้าง (Structural Allowance) และเงินพิเศษ (Special Allowance) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 141

142

ข้าราชการพลเรือนได้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ระดับ จาก 1 (ระดับ ลา่ งสดุ ) ถงึ 4 (ระดบั สงู สดุ ) แตล่ ะระดบั ประกอบดว้ ย ระดบั ขนั้ เงนิ เดอื น พื้นฐาน โดยระดับที่ 1-3 แบง่ ออกเป็น 4 ข้นั (a, b ,c และ d) สว่ นใน ระดบั ท่ี 4 ประกอบดว้ ย 5 ขัน้ (a,b,c, d และ e) จากระดับ 1 ถึง 4 รวม ทงั้ สนิ้ 17 ขนั้ ซงึ่ ต�ำแหนง่ ขา้ ราชการแตล่ ะคนขนั้ ขน้ึ อยกู่ บั วฒุ กิ ารศกึ ษา และระดับอาวุโส โดยระดับ 1-3 ต้องมวี ฒุ ิการศกึ ษาระดับปริญญาของ มหาวิทยาลัย และเงินเดือนพ้ืนฐานส�ำหรับข้าราชการพลเรือนจะ ประมาณ 66 ดอลลารส์ หรัฐตอ่ เดอื น สว่ นเงินเดอื นส�ำหรบั พนักงานรฐั ในระดบั 4 จะไดร้ บั ประมาณ 207 ดอลลารส์ หรฐั ตอ่ เดอื น อตั ราสว่ นระหวา่ งเงนิ เดอื นของขา้ ราชการในระดบั ลา่ งสดุ และระดบั สูงสุดเริ่มเปลี่ยนแปลงในปี พ.ศ. 2544 (2001) โดยส�ำนักงานของ ประธานาธิบดีซูฮาร์โต (President Suharto) ได้ท�ำการปฏิรูปอย่าง จรงิ จงั เมอื่ เดือนพฤษภาคม 2541 (ค.ศ. 1998) โดยอัตราสว่ นการจ่าย เงินเดือนข้าราชการระดับล่างสุดและสูงสุดเป็น 1 : 7 แต่เม่ือปี พ.ศ. 2544 (2001) เป็นเพยี ง 1 : 3 เทา่ น้นั เงนิ เดอื นข้าราชการเมื่อเปรยี บ เทียบกับการจ่ายค่าตอบแทนของภาคเอกชนพบว่า ภาครัฐจ่ายค่า ตอบแทนน้อยกว่า ซ่ึงส่งผลให้ข้าราชการระดับล่างมีแนวโน้มจะท�ำ กจิ กรรมทผ่ี ดิ กฎหมาย เชน่ การรบั สนิ บน และการขอคา่ ตอบแทนในการ ใหบ้ รกิ ารตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2546 (2003) ขา้ ราชการระดบั ภมู ภิ าคไดถ้ กู แบง่ ออกเป็นภาครัฐในส่วนจังหวัด และผู้ส�ำเร็จราชการหรือภาครัฐในส่วน เทศบาล ผลลพั ธข์ องการกระจายอ�ำนาจขา้ ราชการพลเรอื นไดเ้ รม่ิ ตน้ ขน้ึ เมอ่ื ปลายปี พ.ศ. 2543 (2000) อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื ปี พ.ศ. 2546 (2003) ได้มีการก�ำหนดจ�ำนวนข้าราชการ ซึ่งได้รับมอบหมายงาน 2 ระดับ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย 143

นับเป็นเร่ืองยาก ซ่ึงการกระจายอ�ำนาจเป็นกระบวนการท่ีช่วยให้การ จัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพมากข้ึน เพื่อลดความไม่เท่าเทียมกัน สรา้ งความโปร่งใส และสนับสนุนให้ประชาชนไดม้ สี ่วนรว่ มเพ่มิ ขน้ึ รวม ถึงความรับผิดชอบท่ีดีเช่นกัน จึงถือได้ว่าเป็นการปรับปรุงธรรมาภิบาล ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ ภาครฐั ในทอ้ งถน่ิ ตระหนกั และมคี วามคนุ้ เคยกบั ประชาชนใน ทอ้ งถนิ่ มากกวา่ ภาครฐั ในสว่ นกลาง ซงึ่ หมายความวา่ รฐั บาลทอ้ งถน่ิ อาจ มีความเข้าใจในโครงการและนโยบายในพ้ืนที่อาศัยของประชาชน มากกว่า สิ่งเหล่าน้ีล้วนมีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ ในแตล่ ะภมู ภิ าคแตกตา่ งกนั สว่ นผลกระทบอน่ื ๆ จากการกระจายอ�ำนาจ ได้มีการปรับปรุงเงื่อนไข เพื่อข้าราชการในส่วนภูมิภาคเหล่าน้ัน เช่น จังหวดั เรียว (Riau) ในสมุ าตราตะวันตก (West Sumatra) มพี ระราช กฤษฎีกาในเดือนธันวาคมให้ข้าราชการจากระดับล่างสุดหรือระดับ 1 ไดร้ ับเงนิ เพ่ิม 1.6 ล้านรเู ปียห์ (ประมาณ 160 ดอลลารส์ หรฐั ) ตอ่ เดือน ในขณะท่ีระดับ 4 ไดร้ ับเพมิ่ 4.5 ลา้ นรเู ปยี ห์ (ประมาณ 450 ดอลลาร์ สหรัฐ) ต่อเดือน ข้าราชการในจังหวัดนี้ได้รับเงินเดือนเกือบเท่ากับผู้ บรหิ ารระดับกลางภาคธรุ กิจในเมอื งหลวงจาการ์ตา (Jakarta) นอกจากนี้ข้าราชการในระดับภูมิภาคได้มีการจ่ายเงินมากข้ึนตาม สายอาชีพการท�ำงาน โดยวิธีการเพิ่มเบี้ยเล้ียงในหน้าท่ี เช่น ผู้ส�ำเร็จ ราชการของคตู าตะวนั ออก (East Kuta) ในจงั หวดั กาลมิ นั ตนั ตะวนั ออก (East Kalimantan) สว่ นครูในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาไดม้ ี การจ่ายเพ่ิมเป็น 1.2 ล้านรูเปยี ห์ (ประมาณ 120 ดอลลารส์ หรัฐ) ต่อ เดือน เพราะฉะนนั้ ครูเหลา่ นท้ี ่อี ย่ใู นระดบั 2 หรอื 3 จะมีรายไดม้ ากข้ึน ประมาณ 250-290 ดอลลาร์สหรัฐ) ต่อเดือน ซึ่งมากขึ้นกว่าค่าจ้าง 144

ขน้ั ตำ่� ทก่ี �ำหนดโดยพระราชกฤษฎกี าของรฐั บาลก�ำหนดท่ี 150 ดอลลาร์ สหรฐั ต่อเดือน อย่างไรก็ตามแม้จะมีการปรับปรุงเกิดขึ้น โดยด�ำเนินการตาม กฎหมายปกครองตนเองในภูมิภาค ซึ่งภาครัฐของอินโดนีเซียยังคงต้อง ไดร้ บั การเปลย่ี นแปลง โดยเฉพาะความสมั พนั ธใ์ นการจดั ตงั้ หลกั ธรรมาภิ บาลทจ่ี ะชว่ ยใหป้ ระเทศไปส่กู ารแขง่ ขนั ในเวทรี ะดับโลก 6.2 กลยทุ ธ์การพฒั นาขา้ ราชการ การฝึกอบรมและพฒั นาบคุ ลากรในภาครัฐ ดา้ นการฝกึ อบรมและพฒั นาบคุ ลากร ภาครฐั ไดจ้ า้ งสถาบนั รฐั กจิ แหง่ ชาติ (National Institute of Administration) ใหจ้ ดั หลกั สตู รฝกึ อบรม โดยเปา้ หมายเพอ่ื พฒั นาประเทศใหไ้ ปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยผทู้ มี่ รี ะดบั การศกึ ษาสงู จะไดร้ บั โอกาสในการฝกึ อบรมมากกวา่ ผทู้ ม่ี รี ะดบั การศกึ ษา นอ้ ย เชน่ หมอ บรรณารักษ์ นกั วชิ าการ เพื่อพัฒนาให้คนกล่มุ น้ีมีความ เป็นมืออาชีพมากขึ้น มีความสามารถในการบริหารจัดการได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ การฝกึ อบรมและพฒั นาสว่ นใหญเ่ ปน็ การฝกึ อบรม เกีย่ วกบั ทักษะความสามารถท่วั ไป อาจมเี รอ่ื งการฝกึ อบรมเกย่ี วกบั การ เพ่ิมสมรรถนะในการท�ำงาน แนวทางการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศอินโดนเี ซีย ในด้านทรัพยากรมนุษย์ ปี พ.ศ. 2553 (2010) อินโดนีเซยี ถือว่าเป็น ประเทศทม่ี ปี ระชากรมากทส่ี ดุ เปน็ อนั ดบั 4 ของโลก มจี �ำนวนประชากร ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซยี 145

ประมาณ 240 ล้านคน ซึ่งการมีประชากรจ�ำนวนมหาศาลในประเทศ ท�ำให้เกิดความต้องการซื้อภายในประเทศท่ีสูงมาก จึงเกิดเป็นตลาด ขนาดใหญ่ภายในประเทศ และจ�ำนวนประชากรที่มากน้ี ในที่สุดก็จะ กลายเปน็ แรงงานส�ำคญั ส�ำหรบั การพฒั นาประเทศ ศกั ยภาพดา้ นแรงงาน ของอนิ โดนเี ซยี เกดิ ขนึ้ จากการทปี่ จั จบุ นั ประชากรสว่ นใหญย่ งั มอี ายนุ อ้ ย โดยประชากรมากกวา่ รอ้ ยละ  50  มอี ายตุ ำ่� กวา่   29 ป ี ท�ำใหม้ กี าร คาดการณว์ า่ จ�ำนวนแรงงานในประเทศจะเพม่ิ ขนึ้ ทกุ ปไี มต่ ำ่� กวา่  2 ลา้ นคน สง่ ผลใหอ้ นิ โดนเี ซยี เปน็ ประเทศหนง่ึ ในภมู ภิ าคอาเซยี นทมี่ คี า่ แรงตำ่� และ ในช่วงปี พ.ศ. 2563-2573 (2020–2030) จะกลายเป็นปีท่ีมีจ�ำนวน ประชากรวยั ท�ำงานเพมิ่ ขน้ึ สงู สดุ ในชว่ งนอ้ี นิ โดนเี ซยี จงึ มโี อกาสจากการ มแี รงงานและก�ำลังการผลติ จ�ำนวนมาก จากแผนแมบ่ ทพฒั นาเศรษฐกิจอินโดนีเซยี MP3EI ในสว่ นของการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์[10] ของรัฐบาลอินโดนีเซียท่ีมีวิสัยทัศน์เก่ียวกับ การขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และต้องการเพ่ิมมูลค่าของสินค้าผ่าน การพฒั นาเทคโนโลยีและการสนบั สนนุ ฝีมอื แรงงาน โดยมีวตั ถุประสงค์ ทจ่ี ะขยายภาคอตุ สาหกรรมทมี่ อี ยเู่ ดมิ และการรบั เอากระบวนการวทิ ยา การใหม่ๆ เข้ามาปรับใช้ในการท�ำงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึง ถือว่าได้เป็นหนึ่งยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศของรัฐบาล อนิ โดนเี ซยี ดว้ ยความตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของการพฒั นาคนใหม้ กี าร ศกึ ษาในระดบั ทส่ี ามารถเปน็ แรงสนบั สนนุ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม ของชาตใิ ห้ประสบผลส�ำเรจ็ ตามเปา้ หมายได้ ในปัจจุบันระบบการศึกษาในประเทศอินโดนีเซียไม่ได้สร้างแรงงาน ท่ีมีศักยภาพมากพอท่ีจะเข้าสู่ตลาดโลก อีกทั้งภาคธุรกิจยังขาดแคลน 146

ความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับโครงสร้างของธุรกิจ และข้อมูลเก่ียวกับ อาชพี ซงึ่ อาจส่งผลให้เกิดความลา่ ช้าและความผิดพลาดในการใหค้ วาม รู้แก่แรงงานได้ แม้กระทั่งศูนย์กลางการฝึกอบรมของประเทศก็ยังไม่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาฯ เน่ืองจากยังมีหน่วยงานส่วนท้องถ่ินอีก มากมายทไี่ มต่ ระหนกั ถงึ การก�ำหนดการฝกึ อบรมในองคก์ ารตา่ งๆ ยงิ่ ไป กวา่ นน้ั เจา้ หนา้ ทที่ อ้ งถน่ิ ยงั ขาดจติ ส�ำนกึ ทางการเมอื ง และขาดความรบั ผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าท่ีให้สอดคล้องกับพันธกิจของศูนย์ฝึกอบรม และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ MP3EI นอกจากนั้น โครงสร้างพ้ืนฐาน ทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศอนิ โดนเี ซยี ก�ำลงั ขาดแคลนผทู้ เี่ คยผา่ นการ อบรมภาคสนาม และผู้ที่มีความพร้อมทางการศึกษาท่ีจะท�ำให้แผน พฒั นาเศรษฐกจิ นสี้ ามารถเกดิ ขึ้นไดจ้ ริง การขาดทักษะและการให้ความร่วมมือในการวางแผนระหว่าง องคก์ ารถอื วา่ เปน็ ปญั หาส�ำคญั ตามทโี่ ฆษกของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซยี 147

ก�ำลงั คนและการยา้ ยถน่ิ ฐานไดก้ ลา่ วในการสมั มนาเมอ่ื เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2553 ถงึ การวางแผนระยะสน้ั และระยะยาวส�ำหรบั ทกุ ภาคสว่ นทจี่ ะตอ้ ง ใหก้ ารสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ MP3EI ในวาระทเี่ กยี่ ว กบั การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ และมคี วามจ�ำเปน็ อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งไดร้ บั ทราบข้อมูลที่แม่นย�ำและเท่าทันสถานการณ์จากผู้เช่ียวชาญในแต่ละ สาขา รวมไปถงึ การสนับสนุนจากศูนยก์ ลางการอบรมด้วย รัฐมนตรีกระทรวงศกึ ษาและวัฒนธรรมของประเทศอนิ โดนีเซีย มคี วามคาดหวงั วา่ จะสามารถเพม่ิ ปรมิ าณนกั ศกึ ษาในดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์ ได้ เน่ืองจากเมื่อเปรียบเทียบตัวเลขของนักศึกษาอินโดนีเซียกับกลุ่ม ประเทศ BRIC อย่างเกาหลีใต้ สิงคโปร์ และประเทศไทยแล้วพบว่า ค่อนข้างต�่ำ รัฐบาลอินโดนีเซียจึงต้ังเป้าหมายท่ีจะเพิ่มจ�ำนวนนักศึกษา ดา้ นวศิ วกรรมศาสตรถ์ งึ หา้ เทา่ จากเดมิ ภายในปี พ.ศ. 2568 ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาระบบเศรษฐกจิ อยา่ งเรง่ ดว่ น  รวมไปถงึ ตอ้ งจดั ตง้ั โรงเรยี น เกยี่ วกบั อตุ สาหกรรมและวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และเตรยี มความพรอ้ ม บุคลากรด้านวิชาชีพให้ดีพอที่จะพัฒนาประสิทธิภาพของนักศึกษาตาม ทไี่ ด้ตง้ั เป้าไว้ อนิ โดนเี ซยี เรมิ่ สรา้ งคนดว้ ยการพฒั นาระบบการศกึ ษาใหม่ ทก่ี �ำหนด มาตรฐานการศกึ ษาใหเ้ ดก็ และเยาวชนอนิ โดนเี ซยี ไดร้ บั การศกึ ษาระดบั มาตราฐานโลก โดยจัดตั้งโรงเรียนมาตรฐานนานาชาติอินโดนีเซีย (Indonesia International Standard School) โดยไดก้ �ำหนดมาตรฐาน การศึกษาท้ังระบบให้เท่ากับมาตรฐานการศึกษาขององค์การเพื่อความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของยุโรป (Organization of Economic Cooperation and Development: OECD) และให้ 148

องคก์ ารรบั รองมาตรฐานการศกึ ษาในรัฐสมาชกิ OECD เข้ามาประเมิน และรับรองมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น RSBI โรงเรยี น RSBI มมี าตรฐานเทา่ กับหรือสูงกวา่ มาตรฐานของ OECD ซง่ึ ครูทกุ คนต้องสอนด้วยภาษาองั กฤษในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และอาชวี ศกึ ษา และครใู หญท่ กุ คนตอ้ งใชภ้ าษาองั กฤษไดด้ ี เพอ่ื เชอื่ มโยง เครอื ขา่ ยการศกึ ษาในระดับนานาชาตไิ ด้ การสร้างความเข้มแข็งด้านทรัพยากรมนุษย์ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ในดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย ์ การจดั การศกึ ษาทด่ี จี ะท�ำใหแ้ รงงาน มปี ระสทิ ธภิ าพ โดยรฐั บาลจะสนบั สนนุ ใหม้ กี ารน�ำความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการผลิต เพ่ือท�ำให้สินค้าเกิดมูลค่าเพ่ิม โดยจะมกี ารจัดการศึกษาที่ประกอบไปด้วย หลกั สตู รวชิ าการ หลักสูตร วิชาชีพ และหลักสูตรวิชาชีพชั้นสูง เพื่อสร้างแรงงานในการพัฒนา เศรษฐกิจของแต่ละพ้ืนท่ี และมีการให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาระบบ วิจัยของมหาวิทยาลัยในฐานะที่เป็นศูนย์กลางการสร้างนวัตกรรมของ ชาติ และต้องมีการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพ่ือใชใ้ น การแบ่งปนั ขอ้ มลู และทรพั ยากรร่วมกันของแต่ละสถาบนั ขณะท่ีการศึกษาในสายวิชาชีพจะมุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตท่ีมีทักษะ สอดคล้องกับความต้องการในแต่ละพ้ืนที่และแต่ละเศรษฐกิจท่ีบัณฑิต ท�ำการศกึ ษาผา่ นวทิ ยาลยั ชมุ ชนทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐาน  โดยรฐั บาล สว่ นกลางและภาคธรุ กจิ จะเขา้ มามสี ว่ นในการดแู ลวทิ ยาลยั ชมุ ชนน้ี เพอ่ื ให้ สามารถผลิตบัณฑิตที่มีทักษะตรงกับความต้องการของเศรษฐกิจน้ันๆ ได ้ และในด้านการพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อนิ โดนีเซยี มี ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย 149