Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

Description: ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

Search

Read the Text Version

ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซีย

ระบบบริหารราชการของ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย จดั ทำ�โดย : สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) 47/111 ถนนติวานนท์ ต�ำ บลตลาดขวญั อ�ำ เภอเมอื ง นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์ 0 2547 1000,  โทรสาร 0 2547 1108 หัวหนา้ โครงการ : รศ.ดร.จริ ประภา อัครบวร ท่ีปรกึ ษาโครงการ : นายสุรพงษ์ ชัยนาม ผู้เชย่ี วชาญด้านระบบราชการใน ASEAN บรรณาธกิ าร : ดร.ประยูร อัครบวร นักวจิ ยั : นายจารุวัฒน์ เจริญพิเชฐ นายชญานิน ประวชิ ไพบูลย์ นางสาวปราง ตริ พฒั นพร ผปู้ ระสานงานและตรวจทานคำ�ผิด : นางสาวเยาวนุช สุมน เลขมาตรฐานประจ�ำ หนังสอื : 978-616-548-151-9 จ�ำ นวนพิมพ์ : 5,400 เลม่ จำ�นวนหนา้ : 200 หนา้ พมิ พ์ท่ี : กรกนกการพมิ พ์ 2

คำ�น�ำ สำ�นักงาน ก.พ. ในฐานะองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ภาครัฐ และได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบตามแผนงานการจัดตั้งประชาคม สงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี นในการเพม่ิ ขดี ความสามารถของทรพั ยากรบคุ คล ในระบบราชการ จากการด�ำ เนนิ การทผี่ า่ นมา แมว้ า่ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ไดด้ �ำ เนนิ การจดั อบรม หลกั สตู รความรเู้ กยี่ วกบั อาเซยี นใหแ้ กข่ า้ ราชการหลายครง้ั แตก่ ย็ งั ไมค่ รอบคลมุ บุคลากรภาครัฐ ซงึ่ มจี �ำ นวนมากกว่า 2 ล้านคน ส�ำ นักงาน ก.พ. จงึ เห็นควร พัฒนาชุดส่ือการเรียนรู้ “อาเซียน กูรู” เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบราชการ ซ่ึงมีความหลากหลายของประเทศสมาชิกอาเซียน ท้ัง 10 ประเทศใหแ้ กบ่ ุคลากรภาครฐั ซึ่งจะเป็นประโยชนต์ อ่ การปฏบิ ัตงิ าน ของบคุ ลากรภาครฐั ท้ังนี้ทางสำ�นักงาน ก.พ. จึงทำ�ความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) จัดทำ�หนังสือเร่ือง “ระบบบริหารราชการของ ประเทศอาเซียน” เพื่อเสริมทักษะความรู้เก่ียวกับการบริหารราชการให้แก่ บุคลากรภาครัฐทุกระดับ หวังว่าท่านผู้อ่านคงได้รับความรู้และเพลิดเพลิน ไปกบั หนงั สือชุดน้ี ส�ำ นกั งาน ก.พ. ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี 3

ข้อคดิ จากบรรณาธิการ หนังสือเร่ือง “ระบบบริหารราชการของประเทศอาเซียน” เป็นหนังสือ ที่จัดทำ�ข้ึนเพ่ือเสริมทักษะความรู้แก่ข้าราชการไทย เพื่อเรียนรู้และเข้าใจ ระบบการบรหิ ารงานภาครฐั ของประเทศตา่ งๆ ในอาเซยี น อนั จะเปน็ ประโยชน์ ในการตดิ ตอ่ ประสานงานกบั ขา้ ราชการของประเทศเหลา่ นี้ในอนาคต โดยรปู แบบของหนังสอื ได้ปคู วามรใู้ หผ้ ้อู า่ นต้ังแต่ประวตั ิ ข้อมูลเก่ียวกับ ประเทศ วิสยั ทศั น์ รวมถงึ ความเปน็ มาของระบบราชการ นโยบายการเขา้ สู่ ประชาคมอาเซยี น และทนี่ า่ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรรู้ ะบบราชการของ ประเทศเหล่านี้ คือ เนื้อหาในส่วนของยุทธศาสตร์และภารกิจของแต่ละ กระทรวง ระบบการพัฒนาข้าราชการ ท้ายเล่มผู้เขียนได้รวบรวมกฎหมาย สำ�คัญที่ควรรู้ และลักษณะเด่นของระบบราชการที่น่าเรียนรู้ไว้ได้อย่าง น่าสนใจ หนังสือระบบบริหารราชการของประเทศในอาเซียนทั้ง 10 น้ี อาจมี เน้ือหาแตกต่างกันไปบ้าง เน่ืองจากผู้วิจัยไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของ บางประเทศได้ด้วยข้อจำ�กัดด้านภาษา และบางประเทศยังไม่มีการจัดทำ� ยุทธศาสตร์ของรายกระทรวง ทางคณะผู้จัดทำ�หนังสือหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะมสี ว่ นในการตดิ อาวธุ องคค์ วามรภู้ าครฐั ใหก้ บั ขา้ ราชการไทย ไมม่ ากก็นอ้ ย สดุ ทา้ ยตอ้ งขอขอบคณุ เจา้ ของรปู ภาพและเวบ็ ไซตท์ ชี่ ว่ ยเผยแพรอ่ าเซยี น ให้เป็นหนงึ่ เดยี วรว่ มกัน ดร.ประยูร อคั รบวร บรรณาธกิ าร 4

สารบัญ หน้า 9 บทท่ ี 10 1. ประวัตแิ ละข้อมลู ประเทศและรฐั บาล 10 1.1 ประวตั แิ ละข้อมลู ประเทศโดยยอ่ 13 1.1.1 ข้อมูลท่วั ไป 15 1.1.2 ลักษณะทางภูมศิ าสตร ์ 17 1.1.3 ประวัตศิ าสตร์ 20 1.1.4 ลักษณะประชากร 24 1.1.5 ขอ้ มูลเศรษฐกิจ 1.1.6 ข้อมลู การเมืองการปกครอง 32 1.1.7 ลกั ษณะทางสังคมและวฒั นธรรม 34 1.1.8 โครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบสาธารณูปโภค 1.1.9 ระบบสาธารณสุข 41 1.1.10 ระบบการศกึ ษา 44 1.1.11 ระบบกฎหมาย 46 1.1.12 ความสมั พนั ธ์ระหว่างไทยกับอินโดนเี ซีย 48 1.2 ประวตั แิ ละข้อมลู รฐั บาลโดยย่อ 50   57 2. วิสัยทัศน์ เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตร์ 58 2.1 วิสยั ทศั น์ 58 2.2 เปา้ หมาย 58 2.3 ยุทธศาสตร์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย 5

หนา้ 3. ประวตั คิ วามเปน็ มาของระบบราชการ 63 3.1 การปฏิรปู ระบบราชการ 64 3.2 ระบบราชการภายใต้การปกครอง 67 ตง้ั แต่ยคุ ซฮู ารโ์ ตถึงปจั จบุ นั 4. ภาพรวมของระบบราชการ 71 4.1 รฐั บาล นโยบายรฐั บาล และนโยบายการเขา้ สู่ 72 ประชาคมอาเซียน 78 4.2 จ�ำ นวน และรายช่ือกระทรวงพร้อมที่ตดิ ตอ่ 89 4.3 จ�ำ นวนขา้ ราชการทว่ั ประเทศพรอ้ มคณุ ลกั ษณะหลกั 89 89 หรอื คณุ ลกั ษณะหลักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น 93 4.3.1 จ�ำ นวนขา้ ราชการท่วั ประเทศ 4.3.2 คุณลกั ษณะหลักของขา้ ราชการ 4.3.3 คณุ ลกั ษณะหลกั ของข้าราชการ ในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซยี น 5. ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละกระทรวงและ หนว่ ยงานหลกั ท่ีรบั ผดิ ชอบงานทเ่ี ก่ยี วกบั ASEAN 97 5.1 ยุทธศาสตร์ และภารกจิ ของแต่ละกระทรวง 98 5.2 หนว่ ยงานหลักทร่ี บั ผิดชอบงานท่เี ก่ยี วกับ ASEAN 135   6. ระบบการพัฒนาข้าราชการ 137 6.1 ภาพรวมของการพัฒนาขา้ ราชการ 138 6.2 กลยทุ ธก์ ารพัฒนาข้าราชการ 145 6.3 หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบดา้ นการพฒั นาขา้ ราชการ 151 6

หนา้ 7. กฎหมายสำ�คญั ทคี่ วรรู้ 153 7.1 กฎระเบียบข้าราชการ 154 7.2 กฎหมายแรงงาน 171 7.3 กฎหมายเขา้ เมอื ง 187 7.4 กฎหมายอืน่ ๆ ที่ควรรู้ 190 8. ลกั ษณะเด่นของระบบราชการทีน่ า่ เรียนรู้ 193 8.1 การจัดต้ังนโยบายทาง CSR ในสงั คมชนบท 194 (โกตองโนยอง) บรรณานกุ รม 195 สารบญั ภาพ หน้า ภาพท่ี 1 การบรู ณาการระหว่างการศึกษาระดับกลาง 150 และระดับสูงของอนิ โดนีเซีย ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย 7

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ตารางแสดงมูลค่าการคา้ รว่ มไทย-อินโดนีเซยี 22 ตารางที่ 2 ตารางแสดงสินคา้ ส่งออกทสี่ ำ�คัญ 23 ตารางท่ี 3 ตารางแสดงสินค้าน�ำ เข้าทสี่ ำ�คัญ 24 ตารางที่ 4 ลักษณะส�ำ คัญของการบริหารภาครัฐ ทัง้ สามรูปแบบ 70 ตารางที่ 5 ตารางแสดงกลยุทธ์ 94 ตารางที่ 6 ระดบั การศกึ ษาของข้าราชการในประเทศ อนิ โดนีเซีย 139 ตารางท่ี 7 สดั สว่ นของพนกั งานขา้ ราชการ แบง่ ตามระดับปี พ.ศ. 2553 140 ตารางท่ี 8 จำ�แนกแรงงานตามพ้นื ฐานการศึกษา 175 ตารางที่ 9 ตารางอัตราการลงทนุ จากต่างชาต ิ 190 ท่เี พม่ิ มากขึ้น ตารางท่ี 10 ตารางแสดงข้อจำ�กัดของการลงทนุ 191 จากตา่ งชาติ ตารางที่ 11 ตารางการลงทุนในสาขาโทรคมนาคม 191 ตารางท่ี 12 ตารางอัตราส่วนการลงทนุ ของต่างชาติ 192 ในลกั ษณะ PPP 8

1 ประวัติและข้อมลู ประเทศ และรฐั บาลโดยย่อ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี 9

1.1 ประวัติและขอ้ มูลประเทศโดยย่อ อินโดนีเซียเป็นประเทศ 1 ใน 10 ของสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซ่ึงมีประชากร มากกว่าหน่ึงในสามของประชากรรวมของอาเซียน เป็นประเทศที่มี ประชากรนับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในโลก เป็นประเทศท่ีมีความ หลากวฒั นธรรมทน่ี า่ ศกึ ษา  ประเทศอนิ โดนเี ซยี จงึ เปน็ ประเทศที่ เพื่อนบ้านต้องเรียนรู้ แต่ท่ีส�ำคัญการจะเรียนรู้ต้องเข้าใจในเร่ืองต่างๆที่ เปน็ องค์ประกอบแห่งความเปน็ อนิ โดนีเซยี ดงั น้ี 1.1.1 ข้อมูลทั่วไป ชอ่ื ประเทศอย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี (Republic of Indonesia) เมืองหลวง กรงุ จาการ์ตา พื้นท่ี 1,904.6 ล้านตารางกิโลเมตร ประชากร 247.21 ลา้ นคน วนั ชาติ 17 สงิ หาคม ภาษาราชการ บาฮาซาอินโดนีเซีย ระบบการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยแบบสาธารณรัฐ 10

ธงชาติ พื้นสแี ดง คอื ความกล้าหาญ และ อสิ รภาพของชาวอนิ โดนีเซยี พนื้ สขี าว คอื ความบริสุทธ์แิ ละความยุตธิ รรม ตราแผ่นดนิ ตราแผน่ ดนิ มีรายละเอยี ดดังนี ้ พญาครฑุ ที่มีปกี 17 แฉก หาง 8 แฉก ขนบรเิ วณโคนหาง 19 ขน ขนบรเิ วณ คอ 45 ขน โล่ คือ การบอกเล่าตวั ตน ของอนิ โดนเี ซยี ควายปา่ คอื อ�ำนาจแหง่ ประชาชนชาว อินโดนีเซยี ตน้ ไทร คอื ลทั ธชิ าตนิ ิยม รวงขา้ ววางเคยี งข้าง กบั ดอกฝา้ ย คอื ความยตุ ธิ รรมในสงั คม ทต่ี อ้ งด�ำรงอยู่ ห่วงเล็กๆ ทรงกลมสลบั กบั สีเ่ หล่ยี มคล้องกันเป็นสรอ้ ยทอง เส้นใหญ่ คือ หลักมนษุ ยธรรม และ ความผูกพนั ในสังคมท่ีไม่มีจดุ ส้นิ สดุ โล่ประดับรูปดาว คือ ความเชอื่ และ ความศรัทธาทมี่ ีตอ่ พระเจ้า ปา้ ยจารึก ขอ้ ความวา่ “Bhinneka Tunggal Lka” มคี วามหมายว่า “อันหน่งึ อันเดยี วใน ความแตกต่าง” ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย 11

ดอกไมป้ ระจ�ำชาติ ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) เปน็ กลว้ ยไม้สายพนั ธุ์ Phalaenopsis Amabilis ท่บี านได้ยาวนานท่ีสดุ ชอบอากาศช้ืน พบไดง้ ่ายในพน้ื ที่ ราบต�ำ่ ของประเทศอนิ โดนีเซีย วนั ทเ่ี ข้าเปน็ สมาชิกอาเซยี น 8 สงิ หาคม 2510 สกลุ เงินตรา รูเปียห์ อตั ราการแลกเปลยี่ น ≈9.39 รเู ปียห์ ตอ่ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ ผลิตภัณฑ์มวลรวม 878.0 พนั ลา้ นดอลลา่ ร์สหรัฐ ภายในประเทศ (GDP) รายได้ประชาชนตอ่ หวั 4,828 ดอลลา่ รส์ หรัฐ (GDP per Capita) Real GDP Growth ร้อยละ 6.2 อตั ราเงินเฟ้อ รอ้ ยละ 4.3 อัตราการวา่ งงาน ร้อยละ 6.1 จ�ำนวนการจา้ งงาน 118.05 ล้านคน 12

1.1.2 ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ ประเทศอินโดนีเซียหรือช่ือทางราชการ คือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เปน็ หมู่เกาะที่ใหญ่ท่ีสดุ ในโลกเป็นหมเู่ กาะ ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมทุ รอนิ เดยี และระหวา่ งทวปี เอเชยี กบั ออสเตรเลยี ท�ำใหอ้ นิ โดนเี ซยี สามารถควบคมุ เสน้ ทางการตดิ ตอ่ ระหวา่ งมหาสมทุ รทงั้ สองผา่ นชอ่ งแคบ ส�ำคัญต่างๆ อาทิ ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดรา และช่องแคบ ลอ็ มบอ็ ก ซง่ึ ลว้ นเปน็ เสน้ ทางทใี่ ชส้ �ำหรบั ขนสง่ นำ�้ มนั จากตะวนั ออกกลาง มายังประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเซียตะวันออก โดยอินโดนีเซียมอี าณาเขตดงั นี้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 13

• ทศิ เหนอื เกาะบอรเ์ นยี วมอี าณาเขตตดิ กบั รัฐ ซาราวคั และรฐั ซาบาห์ของมาเลเซีย • ทิศใต้ มเี กาะหอ้ มล้อมสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยตมิ อร-์ เลสเต • ทศิ ตะวันออก มีอาณาเขตติดกับประเทศปาปวั นิวกนิ ี • ทิศตะวันออก เกาะอเี รยี นจายามีอาณาเขตติดกับ เฉยี งเหนอื ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ • ทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื เกาะสมุ าตรามอี าณาเขตตดิ กบั ประเทศ มาเลเซีย 14

1.1.3 ประวตั ศิ าสตร์ ในอดตี หมเู่ กาะตา่ งๆเหลา่ น ี้ ทป่ี ระกอบขน้ึ เปน็ ประเทศอนิ โดนเี ซยี ในปัจจุบันยังไม่มีการรวมตัวกันเป็นรัฐเดียว แต่เรียกแยกกันไปตาม อาณาจกั ร เช่น มะตะรัม ศรวี ิชัย สิงหสารี มชั ฌปาหิต หรอื เรียกตาม กลุม่ ชน เช่น ชวา มาตุรา บาหลี [1] จนกระท่ังชาวดตั ชไ์ ดเ้ ขา้ มาปกครอง แต่เดิมหมู่เกาะต่างๆ ของอินโดนีเซียมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอินเดีย ท้งั ด้านการคา้ และวัฒนธรรม ท�ำให้ไดร้ ับอทิ ธิพลทางด้านความเชือ่ ของ ศาสนาฮินดูและพุทธ จนกระท่ังอิทธิพลของศาสนาอิสลามได้เข้ามา แทนที่ในศตวรรษท่ี 13 ในศตวรรษท่ี 15 อนิ โดนเี ซยี เร่มิ เป็นทส่ี นใจของชาวยุโรป เนอ่ื งจาก เปน็ แหล่งเครอ่ื งเทศ ชาวโปรตุเกสและสเปนไดเ้ ร่ิมเขา้ มาในภมู ภิ าคช่วง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และโปรตุเกสได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็น อาณานิคม ท้ังยังเป็นช่วงท่ีมีการจัดตั้งบริษัท ดัตช์ อีส อินเดีย หรือ Vereniging Oost Indische Compagnie-VOC ที่ใช้วิธีการเข้าไปมี อิทธิพลเหนือผู้ปกครองท้องถ่ิน และใน พ.ศ. 2145 นับเป็นจุดเร่ิมต้น ของการเขา้ ปกครองอนิ โดนีเซียในฐานะอาณานคิ มของดัตช์ ต่อมาใน พ.ศ. 2342 หลังจากรัฐบาลฮอลันดาเข้าควบคุมกิจการ บริษัท VOC รัฐบาลฮอลันดาก็ได้เข้าปกครองอินโดนีเซียในรูปแบบ อาณานคิ ม  ในชว่ งตน้ ครสิ ตศตวรรษท ี่ 20  เกดิ กระแสชาตนิ ยิ ม ในอินโดนีเซยี ต่อตา้ นการปกครองของเจ้าอาณานิคม ใน พ.ศ. 2485 ญีป่ ุน่ มีชยั ชนะเหนอื บริษทั ดตั ช์ อีสท์ อินเดีย และได้ เขา้ ปกครองอนิ โดนีเซยี ระยะหน่งึ หลังจากที่ญ่ปี ุ่นแพ้สงคราม กลมุ่ ชาติ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี 15

แผนทข่ี องดตั ชใ์ นตน้ ศตวรรษท่ี 18 ทอี่ ยูช่ ายฝั่งดา้ นเหนอื ของเกาะชวา นยิ มน�ำโดย ซกู ารโ์ น  และฮัตตา  ได้ประกาศอสิ รภาพให้แก่อนิ โดนีเซีย ในวันที่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2488 อย่างไรกต็ าม ยงั มกี ารต่อสกู้ ันระหว่าง อนิ โดนีเซียกบั ดัตช ์ ซ่ึงพยายามกลบั มาปกครองอนิ โดนเี ซีย  ในฐานะ เจา้ อาณานคิ ม จนกระทงั่ วนั ท ่ี 27 ธนั วาคม พ.ศ. 2488 ดตั ชจ์ งึ ไดย้ อมมอบ เอกราชคนื ให้แกอ่ นิ โดนเี ซยี อย่างสมบรู ณ์ อนิ โดนเี ซยี ไดข้ ยายเขตแดนของประเทศ 3 คร้งั ไดแ้ ก่ เมอ่ื วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ภายหลังจาก Dutch New Guinea หรือ Irian Jaya ในปัจจุบันได้รับเอกราช อินโดนีเซียได้ประกาศผนวกดินแดนใน เดอื นกันยายน พ.ศ. 2512 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2518-2519 อินโดนีเซยี ได้ บกุ เขา้ ยดึ ครองและผนวกดนิ แดนตมิ อรต์ ะวนั ออก ซง่ึ เคยเปน็ อาณานคิ ม ของโปรตุเกส และได้ประกาศผนวกดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ 16

สาธารณรัฐอินโดนีเซียในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2519 แต่ประชาคม ระหว่างประเทศไม่ยอมรับการอ้างสิทธิเหนือติมอร์ตะวันออกของ อนิ โดนเี ซยี จนท�ำใหส้ หประชาชาตไิ ดเ้ ขา้ มามบี ทบาทด�ำเนนิ การใหต้ มิ อร์ ตะวนั ออก (สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยติมอร์-เลสเต) กลายเปน็ ประเทศ อิสระเม่ือวนั ท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ในเดือนเมษายน 2525 นานาชาตไิ ด้ประกาศให้การยอมรบั การอา้ ง อธิปไตยเหนอื พนื้ ที่ทะเล ซง่ึ เชอ่ื มเกาะต่างๆ ของอินโดนเี ซยี เข้าด้วยกนั ท�ำใหอ้ นิ โดนเี ซยี สามารถประกาศใหพ้ นื้ ทท่ี ะเลเปน็ เขตเศรษฐกจิ จ�ำเพาะ ของประเทศไดใ้ นปี 2526 1.1.4 ลักษณะประชากร ประชากรอนิ โดนเี ซียประกอบดว้ ยหลายเช้ือชาตแิ ละเผา่ พันธ์ุ แต่ละ เผ่าพันธุ์ต่างก็มีมรดกทางวัฒนธรรมและลักษณะทางสังคมของตน สบื ทอดกนั มาจากการทส่ี ภาพทตี่ ง้ั ทางภมู ศิ าสตรข์ องประเทศอนิ โดนเี ซยี มลี กั ษณะแยกกนั เปน็ หมเู่ กาะมากมาย และมอี าณาเขตกวา้ งใหญไ่ พศาล ประชากรติดต่อกันได้ยาก ท�ำให้แต่ละภูมิภาคมีรูปแบบวัฒนธรรมของ ตนเอง จึงปรากฏลักษณะวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี [4] ภาษา ทใ่ี ช้ และวถิ ชี วี ติ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะกลมุ่ ชน ซง่ึ สามารถแบง่ ออกเปน็ สามกลุม่ ใหญๆ่ ดว้ ยกัน คอื กลุ่มแรก เป็นกลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ในเกาะชวาและเกาะบาหลี ผคู้ นทอี่ ยใู่ นแถบนจี้ ะยดึ มนั่ ตามแนวทางของศาสนาฮนิ ดแู ละศาสนาพทุ ธ มีวัฒนธรรมเน้นหนักในเร่ืองคุณค่าของจิตใจและสังคม ก่อให้เกิดการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 17

พฒั นาศลิ ปะอยา่ งมากมาย โดยเฉพาะนาฏศลิ ปแ์ ละดรุ ยิ างคศลิ ปใ์ นการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันประชากรจะประพฤติตามหลักจริยธรรม มีการ เคารพต่อบุคคลตามฐานะของบุคคลนั้นๆ[4] กลุ่มสอง เป็นกลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ตามบริเวณริมฝั่งทะเลของ เกาะต่างๆ ด�ำเนินชีวิตอยู่ได้ด้วยการประกอบการค้าขาย มีชีวิตทาง วฒั นธรรมตามหลักของศาสนาอิสลามอย่างเครง่ ครัด และเปน็ นักธรุ กจิ ของสังคมอนิ โดนเี ซยี ยคุ ใหม่ และได้รับการยกย่องว่าเปน็ ผมู้ คี วามร้ทู าง ศาสนาและกฎหมาย[4] 18

กลุ่มสาม เป็นกลุ่มท่ีมีความล้าหลังมาก อาศัยอยู่ตามบริเวณ เทอื กเขาในสว่ นลกึ ของประเทศ ด�ำเนนิ ชวี ติ อยูด่ ว้ ยการลา่ สตั ว์และการ เพาะปลูก รัฐบาลอินโดนีเซียได้เข้าไปปรับเปลี่ยนวิถีชิวิตของชนกลุ่มนี้ แล้ว ชนกลุ่มนี้ยังยึดหลักการปฏิบัติท่ีเรียกเป็นภาษาอินโดนีเซียว่า “โกตองโรยอง” คือ การช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันในงานต่างๆ เช่น การเพาะปลกู การเก็บเกีย่ ว การแตง่ งาน การสร้างบา้ นทอี่ ยู่อาศัย และ การใชท้ ด่ี นิ รว่ มกนั [4] ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย 19

1.1.5 ขอ้ มูลเศรษฐกิจ ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศท่ีมีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม มากทส่ี ดุ ในโลก และยงั เปน็ ประเทศทมี่ เี กาะมากทสี่ ดุ ในโลก จงึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื ง แปลกทจี่ ะมขี นาดเศรษฐกจิ ใหญท่ ส่ี ดุ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยในปี พ.ศ. 2555 ประเทศอนิ โดนเี ซยี มอี ตั ราผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายใน ประเทศ (GDP) สูงถงึ 1.237 หมื่นลา้ นดอลล่ารส์ หรฐั 20

ในดา้ นการลงทนุ จากตา่ งประเทศ อนิ โดนเี ซยี สามารถดงึ ดดู นกั ลงทนุ ต่างชาติได้มาก ปัจจัยส�ำคัญก็คือ การเมืองที่มีเสถียรภาพ ทรพั ยากรธรรมชาติทีส่ มบูรณ์ มีตลาดรองรับขนาดใหญ่  เนอ่ื งจาก มีประชากรมากถึง 245.6 ลา้ นคน มากกว่ารอ้ ยละ 50 อาศัยอยใู่ นเขต เมอื ง มชี วี ติ ความเปน็ อยแู่ บบสมยั ใหม่ หมายความวา่ มกี ารบรโิ ภคสนิ คา้ ต่างๆ ในอัตราท่ีสูง มีการลงทุนเพ่ิมข้ึนชัดเจนในช่วงเดือนมกราคม- มิถนุ ายน  2555  ไตรมาสแรกของปีนี้การลงทนุ โดยตรงจากต่างชาติ มมี ลู คา่ 11,390 ลา้ นดอลลาร์ หรอื เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 30.4 เมอื่ เทยี บกบั ชว่ ง เดียวกันของปีก่อนหน้า สาขาการลงทุนของต่างชาติในไตรมาสแรกปี 2555 ไดแ้ ก่ เหมอื งแร่ เคมภี ณั ฑ์ อตุ สาหกรรม เภสชั ภณั ฑ์ การคมนาคม โทรคมนาคม โลหะ เครอ่ื งจกั ร อตุ สาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อตุ สาหกรรม อาหาร  และการเพาะปลกู   ดา้ นทตี่ งั้ ทนี่ กั ลงทนุ ตา่ งชาตเิ ขา้ มาลงทนุ มากทส่ี ดุ ได้แก่ เขตตะวันตกของเกาะชวา จาการ์ตา บันเตน เขตทาง ตะวนั ออกของชวา และกาลิมนั ตนั ดา้ นการลงทุนของเอกชนไทยในอินโดนีเซียปี 2553 มี 14 โครงการ มูลค่า 45.2 ล้านดอลล่ารส์ หรัฐ ปี 2554 มี 30 โครงการ มูลค่า 87.2 ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ ไทยมีการลงทุนเปน็ อนั ดับสามตามหลงั สงิ คโปรแ์ ละ มาเลเซีย ดา้ นการคา้ ระหวา่ งกนั โดดเดน่ มากใน 2 ปที ผ่ี า่ นมา ปี 2554 มมี ลู คา่ สงู ถงึ   17,454  ลา้ นดอลลารส์ หรฐั   ซง่ึ เปน็ เรอ่ื งทด่ี เี นอ่ื งจากไทย ได้ดลุ การคา้ จากอินโดนีเซยี ตวั เลขส่งออกไปยังไทยมมี ลู คา่ 7,375 ลา้ น ดอลลาร์สหรัฐ ส่วนการน�ำเข้ามีมูลค่า 10,078 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศไทยเป็นฝ่ายไดด้ ุลการค้ามลู ค่า  2,702  ล้านดอลลารส์ หรัฐ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย 21

ในชว่ งไตรมาสท่ี 2 (มกราคม-พฤษภาคม) ปี 2557 การคา้ ระหว่างไทย และอนิ โดนเี ซยี มมี ลู คา่  7,080.93 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั โดยชว่ งเดยี วกนั กบั ปกี อ่ นหนา้ มมี ลู คา่ 8,748.15 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั หรอื ลดลงรอ้ ยละ 23.55 ตารางท่ี 1 ตารางแสดงมูลคา่ การคา้ รว่ มไทย-อนิ โดนีเซีย มูลคา่ : ล้านเหรยี ญ รายการ 2554 2555 2556 (ม.2ค5.-5พ6.ค.) (ม.2ค5.-5พ7.ค.) ไทย-โลก มูลค่าการค้า 451,358.90 479,224.06 479,252.36 203,792.04 187,280.48 การส่งออก 222,579.16 229,236.13 228,529.77 94,005.54 92,862.13 การน�ำ เขา้ 228,779.74 249,987.93 250,722.59 109,786.50 94,418.35 ดุลการค้า -6,200.58 -20,751.80 -22,192.82 -15,780.96 -1,556.23 ไทย-อินโดนีเซีย มูลคา่ การค้า 17,454.18 19,304.06 18,945.47 8,748.15 7,080.93 การส่งออก 10,078.24 11,209.46 10,872.60 5,079.44 4,040.49 การน�ำ เขา้ 7,375.29 8,094.60 8,072.87 3,668.71 3,040.44 ดลุ การคา้ 2,702.29 3,114.86 2,799.73 1,410.73 1,000.05 ท่ีมา: International Cooperation Study Center: ICSC [25] สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก น�้ำตาลทราย เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ของเครื่องจักรกล เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เคร่ืองยนต์สันดาป ภายในแบบลกู สบู และสว่ นประกอบ เครอื่ งปรบั อากาศและสว่ นประกอบ รถจกั รยานยนต์และสว่ นประกอบ และผลติ ภณั ฑ์พลาสติก 22

ตารางที่ 2 ตารางแสดงสนิ คา้ ส่งออกทสี่ �ำคัญ มูลค่า: ล้านเหรยี ญ ชอื่ สนิ คา้ 2553 2554 2555 (2ธม5..ค5ค.5.)- (ม2.ค5.-5ธ6.ค.) 1.รถยนต์ อปุ กรณแ์ ละส่วนประกอบ 1,784.4 2,039.9 3,002.4 3,002.4 2,458.6 2.เมด็ พลาสติก 400.4 803.6 713.8 713.8 832.5 3. เคมีภณั ฑ์ 402.4 597.3 684.8 684.8 814.1 4..เคร่ืองจกั รกลและส่วนประกอบของ 491.1 767.1 792.2 792.2 729.8 เครอื่ งจกั รกล 5.น้�ำ ตาลทราย 595.7 708.7 852.4 852.4 673.5 6.เหลก็ เหลก็ กล้าและผลติ ภณั ฑ์ 301.6 353.4 389.4 389.4 563.2 7.เครือ่ งยนตส์ นั ดาปภายในแบบลูกสูบ 373.6 434.7 508.9 508.9 448.5 และส่วนประกอบ 8.เครอ่ื งปรบั อากาศและสว่ นประกอบ 203.6 250.6 381.7 381.7 386.9 9.รถจกั รยานยนต์ และส่วนประกอบ 190.3 216.9 239.7 239.7 259.3 10.ผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ 157.2 184.3 178.7 178.7 242.7 รวม 10 รายการ 4,900.2 6,356.7 7,743.8 7,743.8 7,382.0 อ่ืนๆ 2,446.2 3,721.5 3,465.6 3,465.6 3,490.6 มลู ค่ารวม 7,346.4 10,078.2 11,209.5 11,209.5 10,872.6 ท่มี า: International Cooperation Study Center: ICSC [25] สนิ คา้ น�ำเขา้ หลกั ไดแ้ ก่ นำ�้ มนั ดบิ ถา่ นหนิ สนิ แรโ่ ลหะอนื่ ๆ เศษโลหะ และผลิตภัณฑ์ เคร่ืองจักรกลและส่วนประกอบ ส่วนประกอบและ อปุ กรณย์ านยนต์ รถยนตน์ ง่ั เคมภี ณั ฑ์ เครอื่ งจกั รไฟฟา้ และสว่ นประกอบ เรอื และสงิ่ กอ่ สรา้ งลอยนำ้� สตั วน์ ำ้� สด แชเ่ ยน็ แชแ่ ขง็ แปรรปู และกง่ึ แปรรปู ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซีย 23

ตารางท่ี 3 ตารางแสดงสินคา้ น�ำเขา้ ท่ีส�ำคญั มูลคา่ : ล้านเหรยี ญ ชือ่ สินคา้ 2553 2554 2555 (ม.2ค5.-5ธ5.ค.) (ม.2ค5.-5ธ6.ค.) 1.นำ�้ มนั ดิบ 593.5 442.0 1,316.8 1,316.8 1,589.9 2.ถา่ นหิน 863.5 1,014.3 1.154.1 1.154.1 993.4 3.สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและ 924.0 1,234.3 839.3 839.3 800.2 ผลิตภัณฑ์ 4.เครอ่ื งจักรกลและส่วนประกอบ 450.4 472.7 601.1 601.1 615.4 5.ส่วนประกอบและอปุ กรณย์ านยนต์ 311.0 284.9 482.0 482.0 546.6 6.รถยนตน์ ง่ั 188.8 189.2 438.5 438.5 390.4 7.เคมีภณั ฑ์ 400.5 537.6 398.4 398.4 342.0 8.เคร่อื งจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 223.1 249.2 379.7 379.7 274.7 9.สัตวน์ �ำ้ สด แช่เยน็ แช่แขง็ 137.4 131.1 198.1 198.1 199.1 แปรรปู และกึง่ แปรรปู 10.เรือและสงิ่ กอ่ สรา้ งลอยน�้ำ 0.9 809.0 136.5 136.5 196.3 รวม 10 รายการ 4,093.1 5,364.3 5,944.6 5,944.6 5,948.0 อ่นื ๆ 1,599.2 2,011.7 2,150.0 2,150.0 2,143.7 มูลค่ารวม 5,692.3 7,375.9 8,094.6 8,094.6 8,091.7 ที่มา: International Cooperation Study Center: ICSC [25] 1.1.6 ขอ้ มูลการเมอื งการปกครอง แมส้ ภาพประเทศจะเปน็ หมู่เกาะ แตใ่ นอดีตมกี ารรวมศูนยอ์ ยูท่ ี่ส่วน กลาง โดยเฉพาะในชว่ ง 31 ปที ่ปี กครองโดยประธานาธิบดซี ูฮาร์โต ที่ได้ กระชบั อ�ำนาจในช่วงตน้ ทศวรรษ 1970 (พ.ศ. 2513) จ�ำนวนรฐั มนตรี กว่าคร่งึ หนึ่ง ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั ทั่วประเทศจ�ำนวน 2 ใน 3 เปน็ ทหาร 24

ทั้งสิ้น[2] และเริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นการเลือกตั้งเม่ือประธานาธิบดี ซฮู าร์โตถกู ประชาชนขบั ไล่ และตอ้ งลาออกจากต�ำแหนง่ โครงสร้างการ ปกครองของอนิ โดนเี ซยี ในปจั จบุ นั จงึ แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คอื การบรหิ าร สว่ นกลางและการบริหารสว่ นท้องถิน่ ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. การบริหารส่วนกลาง มีกระทรวง 34 กระทรวง กรม และกอง ต่างๆ โดยมีข้าราชการตั้งแต่ระดับปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้อ�ำนวย การกอง ฯลฯ เปน็ บุคลากรร่วมบริหารในส่วนราชการ ส่วนการจดั แบง่ กระทรวงประเทศอินโดนเี ซียยังแบง่ ตามภาระกจิ ดังตอ่ ไปน้ี ประเภทท่ี 1 ภารกจิ เก่ยี วกับการเมอื งและความม่นั คง ● รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ ● รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม ● รฐั มนตรีว่าการกระทรวงยตุ ธิ รรม ● เลขาธิการส�ำนักข่าวกรองแหง่ ชาติ (ต�ำแหนง่ เทียบเท่ารัฐมนตรี) ประเภทที่ 2 ภารกิจเกี่ยวกับภาคเศรษฐกิจ การเงิน และ อุตสาหกรรม ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ● รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงพาณิชย์ ● รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงป่าไม ้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 25

● รฐั มนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ ● รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงคมนาคม ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสอ่ื สารและสารสนเทศ ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ● เลขาธิการส�ำนักทีด่ ินแหง่ ชาติ (ต�ำแหน่งเทียบเท่ารัฐมนตรี) ● รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงท่องเท่ยี วและเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์เพื่อกิจการขนาดกลาง และขนาดย่อม ประเภทท่ี 3 ภารกิจเกีย่ วกบั สวัสดิการประชาชน ● รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาและวัฒนธรรม ● รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ● รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการศาสนา ● รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสงั คมสงเคราะห์ ประเภทที่ 4 รฐั มนตรีประสานงาน (Coordinating Ministers) ● รัฐมนตรีประสานงานกจิ การการเมอื งและความม่ันคง ● รฐั มนตรปี ระสานงานการเศรษฐกจิ ● รฐั มนตรีประสานงานการสวสั ดกิ ารประชาชน ● รฐั มนตรปี ระจ�ำส�ำนกั ประธานาธบิ ดี 26

ประเภทที่ 5 รัฐมนตรเี ก่ียวกบั กจิ การแหง่ รัฐ (State Ministers) ● รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักประธานาธิบดี ● รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการวางแผนพัฒนาแหง่ ชาติ ● รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวจิ ยั และเทคโนโลยี ● รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสิง่ แวดล้อม ● รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการเคหะ ● รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงเยาวชนและกจิ การการกีฬา ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการปฏิรปู การบรหิ ารและปฏริ ูป ระบบราชการ ● รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงส่งเสริมสิทธิสตรแี ละคุ้มครอง เยาวชน ● เลขาธิการส�ำนกั งานประสานการลงทนุ (ต�ำแหนง่ เทยี บเท่ารัฐมนตรี) ● รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ประเภทที่ 6 ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับสูงซ่ึงมีสถานะเทียบเท่า รฐั มนตรี ● ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ● อธิบดกี รมอัยการ ● ผวู้ า่ การธนาคารแหง่ ชาติ 2. การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ ในอนิ โดนเี ซยี มหี ลายรปู แบบ ทแี่ ยกการ บรหิ ารออกเปน็ หลายแบบ หลายระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั ภาคหรอื มณฑลจนถงึ ระดบั หมู่บ้าน ซง่ึ มีรายละเอยี ดดงั นี้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี 27

2.1 การบริหารแบบภาคหรือมณฑล  มี 32 ภาคหรือมณฑล (Provinces or Propinsi-Daerah Otonom Tingkat) มกี ารเลือกตง้ั ผวู้ า่ ราชการ (Gubernur-Governor) โดยทางออ้ มผา่ นการคดั เลอื กของ สมาชกิ สภามณฑลทมี่ าจากการเลือกตัง้ โดยตรงจากประชาชน จึงท�ำให้ สภามณฑล (Dewan Perwakilan Rakyat Daerah Tingkat I) มอี �ำนาจ หน้าท่ีส�ำคัญๆ ที่นอกเหนือจากการเป็นผู้เสนอแต่งต้ังและถอดถอน ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แลว้ ยงั เปน็ ผคู้ ดั เลอื กตวั แทนของสมาชกิ สภาเพอ่ื เปน็ ตัวแทนของจังหวัดเข้าร่วมกิจกรรมในระดับชาติ ร่วมกับผู้ว่าราชการ มณฑลในการออกกฎหมายและระเบียบของมณฑลจังหวัด ร่วมกับ ผวู้ า่ ราชการมณฑลในการจดั ท�ำงบประมาณของมณฑล ใหค้ �ำแนะน�ำและ เสนอขอ้ คดิ เหน็ ตอ่ การด�ำเนนิ กจิ การตา่ งๆ ในมณฑล และคอยตรวจสอบ ซึ่งการบริหารแบบภาคหรือมณฑลน้ีในยุคของประธานาธิบดีซูฮาร์โต เป็นการปกครองในส่วนภูมิภาค โดยผวู้ ่าราชการถูกสง่ มาจากสว่ นกลาง 2.2 จังหวัด (Regencies) และเมืองใหญ่ (City) ด้วยพ้ืนท่ีการ ปกครองของประเทศอินโดนีเซียกว้างขวางมาก และกระจัดกระจายไป ตามเกาะตา่ งๆ จงึ ท�ำใหก้ ารจดั การพนื้ ทก่ี ารปกครองทบั ซอ้ นกนั อยา่ งใน จังหวดั (Regencies หรอื Kabupaten) เดยี วกนั มีผู้วา่ ราชการจังหวดั (Governor  หรอื Bupati)  และยงั มีการปกครองของเมอื งใหญ่ (City) ท่ีมีนายกเทศมนตรี (Mayor หรือ Walikota) ทั้งยังมีสภาจังหวัดและ สภาเมือง ซึ่งท้ังหมดมาจากการเลือกตั้ง และท่ีส�ำคัญการปกครองของ จงั หวดั และเมอื งใหญจ่ ดั อยใู่ นระดบั เดยี วกนั เพยี งแตก่ ารบรหิ ารงานของ นายกเทศมนตรีอยู่ในเขตเมืองท่ีถูกจัดแบ่งโดยประชากรและเศรษฐกิจ ในเมอื งจะไมม่ ภี าคการเกษตร สว่ นจงั หวดั (Regencies หรอื Kabupaten) 28

ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 29

ดูแลพ้ืนท่ีรอบๆ เมืองและที่เป็นชนบทท้ังหมด ในปัจจุบันทั่วประเทศ อนิ โดนีเซยี มี 413 จงั หวดั และ 98 เมืองใหญ่ 2.3 อ�ำเภอ (District หรือ Kecamatan) เป็นการปกครองระดบั รองลงมา มีการเลือกต้ังนายอ�ำเภอและสภาอ�ำเภอ ซ่ึงการแต่งต้ัง ผวู้ า่ ราชการจังหวดั กับนายอ�ำเภอมีกระบวนการทค่ี ลา้ ยคลงึ กัน คือ ใน ระดับจงั หวดั สภาจังหวัด จะเลอื ก 2-3 คนจากจ�ำนวนผสู้ มัครรบั เลอื ก เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยื่นเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และหนึ่งในจ�ำนวนน้ันจะได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีให้ดํารง ตําแหน่งภายใต้การก�ำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และ ในกรณีของอ�ำเภอ  สภาอ�ำเภอจะเลอื ก  2-3  คนจากจ�ำนวนผสู้ มคั ร รับเลือกเป็นนายอ�ำเภอย่ืนเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และหนึ่งในจ�ำนวนนั้นจะได้รับการแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยให้ด�ำรงต�ำแหน่งภายใตก้ ารก�ำกบั ของผวู้ ่าราชการจงั หวัด 2.4 ต�ำบล (Kelurahan) และผนู้ �ำของต�ำบล คอื ก�ำนัน (Lurah) มาจากการแตง่ ตั้งของนายอ�ำเภอหรอื นายกเทศมนตรี 2.5 หมบู่ า้ น (Desa) เปน็ หนว่ ยการปกครองทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ มผี ใู้ หญบ่ า้ น (Kepala Desa)  เปน็ ผนู้ �ำในหมบู่ า้ น  ท�ำงานรว่ มกบั   คณะกรรมการ หมู่บา้ น (The Rural Representative Board) ซงึ่ ต่างก็มาจากการเลือกตั้ง ในดา้ นการบริหารตอ้ งรายงานตอ่ นายอ�ำเภอ นอกจากนี้ยังมีการปกครองท้องถ่ินที่ขยายไปตามความเจริญของ ชมุ ชนในรปู แบบเทศบาล (Municipality) ทเ่ี รยี กวา่ เทศบาลเมอื ง (Kota หรอื Kotamadya) และยงั มีเขตการปกครองพเิ ศษ (Special Regions หรอื Daerah-daerah Istimewa) อกี 5 เขตพเิ ศษ และ 1 เขตนครหลวง 30

ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 31

พเิ ศษ (Special Capital City District-Daerah Khusus Ibukota) คือ จาการ์ตา 1.1.7 ลักษณะทางสงั คมและวฒั นธรรม อนิ โดนเี ซยี มปี ระชากรทพ่ี ดู ภาษาตา่ งๆ มากกวา่ 100 ภาษา ผทู้ อ่ี าศยั อยู่ตามหมู่เกาะเหล่าน้ีเป็นพวกมาเลย์-โพลีนีเชียน (Malayo-Polyne- sian) ซงึ่ ในแตล่ ะหมเู่ กาะยงั มภี าษาถน่ิ ทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สารตา่ งกนั อกี ดว้ ย ส่วนภาษาบาฮาซาอินโดนีเซียที่เป็นภาษาราชการน้ันมีความคล้ายคลึง กับภาษามาเลย์ มกี ารน�ำค�ำในภาษาต่างประเทศมาใชม้ ากมาย เป็นการ บอกทม่ี าของประวัติศาสตร์อันยาวนานของประเทศ ที่เคยเป็นเมอื งข้ึน และถูกปกครองโดยชนชาตติ ่างๆ อย่างยาวนานมาในอดตี ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่นั้นใจกวา้ ง  และเปน็ มติ รกบั คนแปลกหน้า มักเต็มใจเปิดบ้านรับแขกต่างเมืองเพื่อเป็นการต้อนรับกับทั้งเชื้อเชิญให้ เขา้ ไปเยอื นสถานทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธท์ิ างศาสนา เมอื่ เหน็ ผมู้ าเยอื นใหค้ วามสนใจ ในงานเทศกาลตา่ งๆ และแมว้ า่ อนิ โดนเี ซยี เปน็ รฐั อสิ ลามใหญท่ สี่ ดุ ในโลก มผี ู้นบั ถือศาสนาอสิ ลามประมาณร้อยละ 88 ของประชากรทง้ั ประเทศ แตศ่ าสนาอสิ ลามในอนิ โดนเี ซยี ไมเ่ หมอื นกบั ศาสนาอสิ ลามทว่ั ไปทพ่ี บอยู่ ในประเทศอาหรบั หรอื อนิ เดยี มคี วามแตกตา่ งทเี่ หน็ ไดช้ ดั คอื สตรมี สุ ลมิ ในอินโดนเี ซียไมต่ ้องแต่งกายหรือคลุมร่างกายทุกส่วนเหมือนสตรมี ุสลมิ อาหรับ[4] ศาสนาหลักทุกศาสนาท่ีเข้ามาเผยแพร่ในอินโดนีเซีย มักมี พฤติกรรมผสมผสานและเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามความเชื่อดั้งเดิมของ 32

ชาวอินโดนีเซียซึ่งเป็นชาวเกาะ มีความเช่ือในลัทธิถือผีหรือจิตวิญญาณ (Animism) และในธรรมชาตลิ ว้ นมจี ติ วญิ ญาณทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ชวี ติ มนษุ ย์ กบั ทง้ั เชอื่ วา่ วญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ ทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ จะตอ้ งไดร้ บั การเซน่ ไหว้บชู า ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั คติศาสนาฮนิ ดขู องชาวบาหลีที่ต่างจากฮินดทู ่ี นับถือกันอยู่ในอินเดียและเนปาล ชาวบาหลีนับถือเทวรูปและพระเจ้า ทั้งสามของฮนิ ดู คอื พระศิวะ พระพรหม และพระวิษณุ แต่ชาวบาหลมี ี ความเชื่อในเร่ืองของอ�ำนาจฤดูกาล มีความเช่ือว่าภูเขาไฟคือสถานที่ ศกั ดสิ์ ทิ ธเิ์ ปน็ ทปี่ ระทบั ของเทพเจา้ มคี วามเชอื่ วา่ ทะเลเปน็ ทส่ี งิ สถติ ของ วญิ ญาณชวั่ รา้ ย และแผน่ ดนิ คอื ทอี่ ยอู่ าศยั ของมนษุ ย์ ดงั นนั้ เพอ่ื ปกปอ้ ง ภัยพบิ ตั จิ ากวญิ ญาณร้ายๆ ในทะเล ชาวบาหลีจงึ สร้างวัดสร้างโบสถ์ไว้ ตรงกลางระหว่างภูเขากับทะเล ในปัจจุบันอินโดนีเซียยังมีพ่อมดหรือหมอผีประจ�ำหมู่บ้านที่เรียกว่า “ดกู นั ” (Dukun) ซง่ึ คนทง้ั หมบู่ า้ นใหค้ วามเคารพยกยอ่ งและนบั ถอื มาก ในลัทธินีย้ งั มีอย่ทู ี่เกาะสมุ าตรา กาลิมนั ตนั และอีเรียนจายา ส่วนศาสนาคริสต์ท่ีมาไล่เล่ียกับการล่าอาณานิคมของโปรตุเกสและ ดัตช์ ศาสนาคริสต์เป็นมรดกที่ชาวดัตช์ผู้ปกครองอินโดนีเซียเป็นเวลา นานถงึ 300 กวา่ ปที งิ้ ไวใ้ หช้ าวอนิ โดนเี ซยี แมว้ า่ ปจั จบุ นั มชี าวอนิ โดนเี ซยี ที่เป็นคริสเตียนเป็นชนกลุ่มน้อยของประเทศ แต่ชนกลุ่มน้ีเป็นกลุ่มที่มี อทิ ธพิ ลมากทส่ี ดุ เพราะเปน็ กลมุ่ คนทม่ี กี ารศกึ ษา ไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหไ้ ป ศกึ ษาในประเทศยโุ รป เมอื่ กลบั มารบั ใชบ้ า้ นเมอื งกไ็ ดร้ บั ต�ำแหนง่ ส�ำคญั ๆ ในรฐั บาล กองทัพ และวงการธรุ กจิ การค้า ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซีย 33

1.1.8 โครงสรา้ งพ้นื ฐานและระบบสาธารณูปโภค การคมนาคมทางบก แบ่งการเดนิ ทางออกเป็น 2 สว่ น คอื การเดนิ ทางโดยถนน ประเทศอินโดนเี ซยี มถี นนยาว 391,009 กิโลเมตร ส่วนใหญอย่บู น เกาะชวา นอกนนั้ เปน็ โครงขา่ ยถนนบนเกาะสลุ าเวสแี ละกาลมิ นั ตนั  ขณะที่ เกาะอ่ืนๆ ยงั คอ นข้างจ�ำกัด สภาพถนนเปน็ ถนนลาดยาง (Asphalted Roads) ยาว 216,714 กิโลเมตร หรือประมาณรอยละ 55 ของถนน ทง้ั หมดเทานน้ั นอกนนั้ เปน็ ถนนไมไ ดล้ าดยาง (Non-asphalted Roads) 148,701 กโิ ลเมตร และถนนพนื้ ผวิ อนื่ ๆ 25,594 กโิ ลเมตร ในอนิ โดนเี ซยี มีการเดินรถโดยสารปรับอากาศระหว่างเมือง โดยเสนทางเดินรถท่ีมี ผนู้ ยิ มใชม้ ากทสี่ ดุ คอื เสน ทางบาหล-ี บนั ดาอะเจห์ (Bali-Banda Aceh Route) เปิดบริการทุกวันท้ังกลางวันและกลางคืน นอกจากนั้นยังมี บริการเดินรถโดยสารอีกหลายสายที่ว่ิงรับผูโดยสารระหวางเมืองส�ำคัญ ตา่ งๆ ในเกาะชวา 34

การเดนิ ทางโดยทางรถไฟ อินโดนีเซียมีเสนทางรถไฟยาวประมาณ 6,482 กิโลเมตร เป็น เส้นทางในเกาะชวายาว 4,684 กิโลเมตร ที่เหลืออยบู นเกาะสุมาตรา ส่วนใหญจ ะเปน การขนสง่ สนิ คา้ เทกอง (Bulk) หรือการขนส่งผู้โดยสาร ระยะไกล เสน้ ทางรถไฟที่ส�ำคัญ มีดังน้ี 1. เสนทางรถไฟสายเหนอื ถงึ ตอนกลางของเกาะชวา 2. “Bima”เปนรถไฟตนู้ อน เชอื่ มระหวา่ งยอร์กยาการต์ า้ และโซโล่ 3. “Mutiara” เปนรถไฟตูนอน ผานจังหวัดตางๆ ขึ้นไปทาง ตอนเหนือของเกาะชวา 4. “Senja Utama” เป็นรถดว นชว งกลางวนั เช่ือมยอร์กยาการ์ตา้ และโซโล่ 5. “Parahyangan” เชื่อมจาการตาและบันดุง ใชเวลาเดินทาง ประมาณ 4 ชวั่ โมง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 35

นอกจากนน้ั ยงั มรี ถไฟอกี หลายสายใหบ รกิ ารทกุ วนั ระหวา่ งจาการต์ า กับสุราบายา รวมถึงรถไฟฟ้า “Jabo Tabek” ควบคุมดวยระบบ คอมพวิ เตอร์ใหบรกิ ารเส้นทางจาการต์ า้ –บอกอร–์ ทังเกอรงั –เบกาสี การคมนาคมทางน�ำ้ เน่ืองจากสภาพทางภูมิศาสตร์ท่ีเป็นหมู่เกาะจ�ำนวนมาก ท�ำให้การ เดินทาง และการขนสงสินคาทางน�้ำเปน วิธกี ารที่สะดวกที่สุด  ปจจุบนั ทง้ั ประเทศมที า่ เรอื พาณชิ ยม ากกวา่  300 แหง  แตส ว่ นใหญส รางมานานแลว้ และมขี นาดเล็ก จงึ ยงั ตองการการพฒั นาอีกมาก ท่าเรอื ส�ำคญั ไดแ ก่ 1. ทา่ เรอื Tanjung Priok อยใู่ นนครจาการต์ า เปน็ ทา่ เรอื ใหญท่ สี่ ดุ ของประเทศ ปรมิ าณสินคา้ ผ่านท่าเรอื ปีละประมาณ 2.1 ลา้ นตัน 2. ท่าเรือ Tanjung Perak อยใู่ นเมืองสุราบายา ขนสง่ สินคา้ ได้ ปีละ 1.2 ลา้ นตัน 36

3. ทา่ เรอื Belawan อยู่ในเมืองเมดาน ขนส่งสินค้าได้ 2 แสนตนั 4. ทา่ เรอื Tanjung Emas อยใู่ นเมอื งเซอมารงั ปริมาณสินค้าผ่าน ท่าเรอื นีป้ ระมาณปีละ 2.6 แสนตัน นอกจากนี้ ยงั มที า่ เรอื อนื่ ๆ อกี อาทิ ทา่ เรอื Makassar ปรมิ าณสนิ คา้ ผา่ นท่าเรือประมาณ 1.8 แสนตัน ทา่ เรือ Pontianak ปริมาณสนิ ค้า 9.3 หมน่ื ตนั ทา่ เรอื Panjang ปรมิ าณสนิ คา้ 7.6 หมนื่ ตนั และทา่ เรอื Palem- bang ปรมิ าณสนิ ค้า 5 หม่ืนตนั การคมนาคมทางอากาศ การเดนิ ทางโดยเครอื่ งบนิ เปน็ ความจ�ำเปน็ ทต่ี อ้ งอ�ำนวยความสะดวก ในการท�ำธรุ กจิ หรอื การทอ่ งเทยี่ ว  ประเทศอนิ โดนเี ซยี มที า่ อากาศยาน ทง้ั ในประเทศ และทา่ อากาศยานระดบั สากล รวมกนั ประมาณ 150 แหง่ แต่มที า่ อากาศยานนานาชาติส�ำคญั 7 แหง ดงั น้ี ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนีเซยี 37

1. ท่าอากาศยานนานาชาติ Soekarno Hatta อยู่ทางตะวันตก เฉียงเหนือของนครจาการ์ตา ห่างออกไปประมาณ 20 กิโลเมตร 2. ท่าอากาศยานนานาชาติ Halim Perdanakusuma อยทู่ าง ตะวันออกเฉยี งใตข องนครจาการ์ตา ห่างออกไปประมาณ 13 กโิ ลเมตร 3. ทา่ อากาศยานนานาชาติ Polonia อยใู่ นเขตเมอื งเมดาน จงั หวดั สุมาตราเหนือ 4. ท่าอากาศยานนานาชาติ Ngurah Rai ต้งั อย่ทู างใตข องเมือง เดนปาซาร จังหวดั บาหลี หา่ งออกไปประมาณ 13 กโิ ลเมตร 5. ท่าอากาศยานนานาชาติ Juanda อยู่ในเขตเมืองสุราบายา จังหวดั ชวาตะวันออก 6. ทา่ อากาศยานนานาชาติ Ratunkangi อยู่ในเขตเมอื งมานาโด จังหวดั สลุ าเวสีเหนอื 7. ทา่ อากาศยานนานาชาติ Hasanuddin ในเขตอจุ งั ปนั ดงั เมอื ง มากสั ซาร์ จงั หวัดสลุ าเวสใี ต้ 38

สายการบินแหงชาติของอินโดนีเซีย คือ Garuda Airline (GA) ใหบ รกิ ารการบนิ ท้งั ภายในและระหว่างประเทศ โดยสายการบนิ การูดา้ มเี ท่ียวบนิ ไปกลบั   กรุงเทพฯ-สงิ คโปร-์ จาการต า ทุกวัน  และเทย่ี วบิน ไปกลบั กรงุ เทพฯ-จาการต์ า-บาหลี ทกุ วนั พฤหสั บดี ศกุ ร์ และเสาร์ ขณะ ที่การบินไทย (Thai Airways International) บินไปกลับกรุงเทพฯ- จาการต์ า  และ กรุงเทพฯ-บาหลี ทกุ วนั   นอกจากนอี้ ินโดนเี ซยี ยังมี สายการบนิ ในประเทศอกี หลายบรษิ ทั อาทิ สายการบนิ Merpati Nusantara สายการบนิ Mandala  สายการบนิ Bouraq Indonesia  สายการบนิ Lion และสายการบนิ Star Air ระบบโทรคมนาคม อินโดนีเซยี เปนประเทศท่ีมีระบบโทรคมนาคมสื่อสารดปี ระเทศหนง่ึ โดยมีสายโทรศัพทครอบคลุมท่ัวประเทศ ผ่านโปรแกรมจานดาวเทียม ปาลาปา (Palapa Satellite Program) เฉลยี่ 159 เครอ่ื งตอประชากร 1,000 คน โดยมีผูใ้ หบ้ ริการหลกั 3 ราย คอื 1) PT Telkomsel เปนผู้ใหบริการหลักท้ังระบบพ้ืนฐาน (Fixed Line) และบรกิ ารไรส ายในอนิ โดนเี ซยี รวมทงั้ การใหบ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ และการติดตอส่ือสารอืน่ ๆ 2) PT Indosat ใหบริการดานการติดตอกับตางประเทศท้ังใน ลักษณะ Switching Telecommunication ของโทรศัพท์ โทรสาร โทรเลข Telex Datapocket เครอื ข่ายดจิ ติ อล และ Inmarsat Global System สว่ นบรกิ ารในลกั ษณะNon-Switching Telecommunication ไดแ้ ก่ โทรศพั ทร์ ะบบเครอื ขา่ ย (Leasing Circuit) การประชมุ นานาชาติ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนีเซยี 39

ผ่านทางเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (International Video Conference) และเครือขา่ ยในการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน เปน ตน 3) PT  Excelcomindo  Pratama  เปน ผูใ้ ห้บริการไรสาย ในระบบ GSM สว นใหญเปนการใหบ ริการในกรงุ จาการตา เกาะบาหลี และลอ็ มบอ็ ก มบี ริการใยแกวน�ำแสง (Fiber Optic) จากจาการต าไปยงั สุราบายา ซง่ึ เปน เครอื ขา่ ยการเช่ือมตอ ท่ีดีทส่ี ดุ ในอนิ โดนเี ซีย ระบบไฟฟ้า ประเทศอนิ โดนเี ซยี เปน็ ประเทศหนง่ึ ทมี่ คี วามตอ้ งการดา้ นไฟฟา้ เปน็ จ�ำนวนมาก แตจ่ ากสภาพภมู ปิ ระเทศทเี่ ปน็ หมเู่ กาะ จงึ ท�ำใหเ้ กดิ โรงผลติ ไฟฟ้าหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งปัจจุบันมีการผลิตกระแสไฟฟ้าได 21.0 พันล้านกิโลวัตต เปนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังไอน�้ำ รอยละ 33 จากโรงงานไฟฟ้าระบบผสม (Combine Cycle Power Plant) รอยละ 33 จากโรงไฟฟ้าพลังดีเซล ร้อยละ 12 จากโรงไฟฟ้า พลังน้�ำ รอ ยละ 15 จากโรงไฟฟ้าพลงั ก๊าซ รอ ยละ 6 และจากโรงไฟฟา้ ประเภท Geothermal Power รอ้ ยละ 2 40

1.1.9 ระบบสาธารณสขุ ตง้ั แตป่  ี พ.ศ.  2547  รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี ไดเ้ รมิ่ ด�ำเนนิ นโยบาย ประกนั สขุ ภาพใหก้ บั ประชาชนทวั่ ทกุ ภมู ภิ าค  โดยประกาศเปน็ กฎหมาย No. 40/2004 วา่ ดว้ ยระบบความมน่ั คงทางสงั คมแหง่ ชาตทิ ไี่ ดก้ ระจายอ�ำนาจ ให้รัฐบาลท้องถิ่นมีอ�ำนาจในการจัดการพัฒนาการประกันสุขภาพ บนความต้องการของชุมชน ซึ่งพัฒนาการของการประกันสุขภาพ ในอินโดนีเซียได้ขยายออกไปรอบด้าน และจากการน�ำเสนอของ ศาสตราจารย์ Hasbullah Thabrany แห่งมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย ในการประชุม The ISPOR 5th Asia-Pacific Conference ที่ไทเป เมอ่ื วนั ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555 ว่า ประชากรของอนิ โดนีเซยี 239 คน โดยแยกเปน็ กล่มุ คนสามกลมุ่ ดงั น้ี 1. กลุ่มเด็กและเยาวชน จ�ำนวน 119 ล้านคน ได้รับการคุ้มครอง จากโครงการประกันสุขภาพแห่งชาติ (The National Health Insurance Program) หรือในภาษาอินโดนีเซยี เรยี กว่า Jamkesmas 2. กลมุ่ คนที่อายุมากกวา่ 56 ปขี ึ้นไป จ�ำนวน 17 ลา้ นคน ไดร้ บั การ คุ้มครองจากโครงการประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (The National Health Insurance Program) 3. กลุ่มแรงงาน จ�ำนวน 104 ลา้ นคน โดยแบง่ เปน็ กลมุ่ ยอ่ ยดังน้ี ก) ข้าราชการ จ�ำนวน 5.5 ลา้ นคน ได้รับการคุ้มครองจากการ ประกันสุขภาพรอ้ ยละ 100 สามารถเบิกคา่ รกั ษาพยาบาลได้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซยี 41

42

ข) พนกั งานเอกชนและลกู จา้ งรฐั บางส่วน จ�ำนวน 35.8 ล้านคน ไดร้ บั คา่ รกั ษาพยาบาลบางสว่ นจากการประกนั สงั คม  (Jamsostek) มีกองทุนเลี้ยงชีพ เงินฌาปนกิจศพ และได้รับค่าชว่ ยเหลอื อีกรอ้ ยละ 5 ค) คนว่างงาน จ�ำนวน 9 ล้านคน จะได้รบั การคุม้ ครองจากการ ประกันสขุ ภาพ Jamkesmas เพยี งบางสว่ น ง) กลมุ่ คนท�ำงานส่วนตัวในชนบท เช่น ชาวนา ชาวประมง ฯลฯ จ�ำนวน 38.4 ลา้ นคน จะได้รับการคุม้ ครองจากการประกันสุขภาพจาก Jamkesmas เพยี งบางสว่ น จ) กลุ่มคนท�ำงานส่วนตวั ในเมือง เช่น รา้ นคา้ ปลกี คนขับแทก็ ซ่ี คนท�ำงาน แมบ่ า้ น ฯลฯ จ�ำนวน 15.3 ลา้ นคน จะไดร้ บั การคมุ้ ครองจาก การประกันสุขภาพ Jamkesmas เพยี งบางส่วน ในปจั จบุ นั โครงการประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (The National Health Insurance Program) หรอื Jamkesmas ยงั ครอบคลมุ ไมถ่ งึ คนบางกลมุ่ จึงมีการจัดต้ังการประกันสุขภาพสังคมของท้องถ่ิน (Local Schemes of Social Health Insurance)  หรือ Jamkesda  เพือ่ ความยุติธรรม ในการไดร้ ับโอกาสรกั ษาพยาบาลยามเจ็บป่วย จากโครงการท้ังหมดรัฐบาลอินโดนีเซียต้ังเป้าหมายจะคุ้มครองดูแล ให้ท่ัวหน้า โดยด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2557-2563 ซึ่งหากโครงการนี้ ประสบความส�ำเร็จจะท�ำให้อินโดนีเซียเป็นประเทศท่ีมีการประกัน สขุ ภาพใหญท่ สี่ ุดในโลก (The National Health Insurance Program that will be the largest single payer in the world) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 43

1.1.10 ระบบการศกึ ษา ระบบการศึกษาในโรงเรียน ประกอบด้วย ระดับการศึกษาขนั้ ตา่ งๆ ดงั น้ี 1) การศึกษาก่อนวัยเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมของเด็กด้วยการ ศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานตามเกณฑใ์ ชเ้ วลา 9 ปี 2) การศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนประถมศึกษาจะก�ำหนดโครงการ การศกึ ษาเปน็ เวลา 6 ปี ซงึ่ โรงเรยี นจะมีลกั ษณะแตกตา่ งกัน 2 แบบ คอื ● โรงเรียนประถมศึกษาแบบทว่ั ไป (General Primary School) ● โรงเรยี นประถมศึกษาพิเศษส�ำหรบั เดก็ พกิ าร (Special Primary School for Handicapped Children) 44

3) การศกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 3 ปี ส�ำหรบั โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา ตอนต้น มี 5 แบบ ดงั นี้ แบบท่ี 1 การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาทวั่ ไป หลกั สตู รประกอบดว้ ย โครงการวิชาการสอนทั่วไป และการสอนเฉพาะวชิ า เพ่ือเตรยี มความร้แู ละพฒั นาทักษะส�ำหรบั การศึกษาใน ระดับอดุ มศกึ ษาตอ่ ไป แบบที่ 2 การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาทางวชิ าชพี เหมาะส�ำหรบั ผ ู้ ต้องการเข้าสู่วชิ าชพี สามารถแยกการศกึ ษานีอ้ อกเปน็ 6 กลุม่ ในสาขาวชิ าชีพตา่ งๆ ดงั นี้ คือ 1) เกษตรกรรมและการปา่ ไม้ 2) เทคโนโลยแี ละอุตสาหกรรม 3) ธุรกิจและการจัดการ 4) ความเป็นอย่ขู องชมุ ชน 5) การท่องเท่ยี ว 6) ศิลปะหตั ถกรรม แบบที่ 3 การศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาด้านศาสนา เปน็ การจัดการ ศกึ ษาด้านศาสนาโดยเฉพาะ แบบท่ี 4 การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาแบบบรกิ าร เป็นการจัดการ ศึกษา เพื่อเตรียมความร้คู วามสามารถส�ำหรับผูท้ ่ีจะเขา้ เป็นพนกั งานหรือขา้ ราชการ แบบที่ 5 การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาพเิ ศษ เปน็ การจดั การศกึ ษา ส�ำหรับนักเรยี นทพ่ี ิการทางรา่ งกาย และ/หรอื จติ ใจ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี 45

4) การศกึ ษาระดบั สงู มเี ปา้ หมายเพอ่ื จดั หาทกั ษะพนื้ ฐานการพฒั นา ตนเองในฐานะท่ีเป็นปัจเจกชน สมาชิกในสังคม ประชากรในประเทศ และโลก เท่าๆ กับท่ีเตรียมพร้อมเพ่ือก้าวเข้าสู่อาเซียน โดยการศึกษา ระดับสูงหรืออุดมศึกษาเป็นการขยายจากการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรีใชเ้ วลาเรียน 3-4 ปี ปรญิ ญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี สถาบันที่ให้การศึกษาระดับสูงน้ีมีลักษณะเป็นสถาบันวิชาการ โพลเี ทคนคิ สถาบนั การศึกษา และมหาวทิ ยาลัย 1.1.11 ระบบกฎหมาย อินโดนีเซียเป็นประเทศท่เี ก่าแก่ มีกฎหมายทใี่ ช้กนั มากอ่ นศตวรรษ ที่ 17 เป็นกฎหมายจารีตประเพณี (Customary Law) ท่ีแตกตา่ งจาก จารตี ประเพณที ั่วไป  (Ordinary  Customs)  และหลักการตัดสิน หลกั สอดคลอ้ งกบั มตขิ องคนสว่ นใหญ่ (Consensus through Decision Making)  ตอ่ มาตกเปน็ เมอื งขน้ึ ของดตั ช ์ หรอื ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ในปจั จบุ นั มา 301 ป ีท�ำใหอ้ นิ โดนเี ซยี ไดร้ บั อทิ ธพิ ลของกฎหมายอาณานคิ ม ดตั ช์ (Dutch Colonial Law) อยา่ งประมวลกฎหมายพาณชิ ยป์ ี พ.ศ. 2390 จนกระท่ังสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง และได้สร้างระบบกฎหมาย แหง่ ชาตขิ นึ้ มา ซง่ึ ยงั มรี ากฐานกฎหมายจากโรมนั -ดตั ช์ (Roman-Dutch Law) และเนอ้ื หาใจความขยายโดยความคดิ เหน็ ของชาวอนิ โดนเี ซยี และ สรา้ งประมวลกฎหมายอาญาใหม่ 46

ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 47

อนิ โดนเี ชียมกี ฎหมายรัฐธรรมนญู คร้งั แรกในปี พ.ศ. 2488 และไดม้ ี การแก้ไขเปล่ียนแปลงมาแล้ว 4 ครั้ง ซ่ึงกฎหมายรัฐธรรมนูญได้แยก อ�ำนาจการปกครองเป็น 3 สว่ น คอื อ�ำนาจบรหิ าร อ�ำนาจนติ บิ ัญญัติ และอ�ำนาจตุลาการ โดยในส่วนของอ�ำนาจตุลาการท่ีเป็นผู้รักษาความ ยุตธิ รรม โดยกฎหมายไดแ้ บ่งการบริหารออกเป็น 3 ระดบั คอื 1. ศาลเขต (District Courts) ซงึ่ เป็นศาลชนั้ ต้น (The Court of First Instance) 2. ศาลสงู (High Court) ซงึ่ เปน็ ศาลอทุ ธรณ์ (The Court of Appeal) 3. ศาลสูงสดุ (Supreme Court) หรอื ในอินโดนเี ซยี เรียกว่า “Mah- kamah Agung” ซึง่ เป็นศาลฎีกา 1.1.12 ความสมั พันธร์ ะหว่างไทยกับอนิ โดนเี ซีย ไทยเรมิ่ มคี วามสัมพนั ธท์ างการทูตกับอนิ โดนีเซียเม่ือวันท่ี 7 มีนาคม 2493 โดยเป็นพนั ธมิตรทสี่ �ำคัญของไทยทง้ั ในกรอบอาเซยี น และในเวที ระหวา่ งประเทศอน่ื ๆ การทอ่ี นิ โดนเี ซยี เปน็ ประเทศทมี่ จี �ำนวนประชากร มสุ ลมิ มากทส่ี ดุ ในโลก ทา่ ทขี องอนิ โดนเี ซยี เกย่ี วกบั ปญั หาจงั หวดั ชายแดน ภาคใตย้ อ่ มมผี ลตอ่ ท่าทขี องประเทศมสุ ลิม โดยเฉพาะในกรอบองค์การ ความรว่ มมืออิสลาม (Organization of Islamic Cooperation: OIC) ซ่ึงที่ผ่านมาอินโดนีเซียสนับสนุนแนวทางการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล และช่วยอธิบายให้ประเทศมุสลิมอ่ืนๆ เข้าใจปัญหาจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ฯลฯ 48

ในดา้ นการคา้ อนิ โดนเี ซยี เปน็ ประเทศคคู่ า้ ทสี่ �ำคญั อนั ดบั 2 ของไทย ในอาเซยี น รองจากมาเลเซยี และเปน็ คคู่ า้ อันดบั 5 ของไทยในโลก ในปี 2554 มูลค่าการค้าทวิภาคีระหว่างไทยกับอินโดนีเซีย เท่ากับ 17,454 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ โดยเปน็ การน�ำเขา้ 7,376 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และ ส่งออก 10,078 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยได้ดุลการค้า 2,702 ล้าน ดอลลารส์ หรฐั ในปี 2555 มลู คา่ การคา้ ระหวา่ งไทยกบั อนิ โดนเี ซยี เทา่ กบั 19,297 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเป็นการน�ำเข้าจากอินโดนีเซีย 8,087 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และส่งออก 11,209 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยได้ ดลุ การคา้ 3,122 ล้านดอลลาร์สหรฐั สนิ คา้ สง่ ออกของไทยไปอนิ โดนีเซียท่สี �ำคัญ ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เคมภี ณั ฑ์ เมด็ พลาสติก น้�ำตาลทราย เครื่องจักรกล และส่วนประกอบของเคร่ืองจักรกล เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ เครอ่ื งยนตส์ นั ดาปภายในแบบลกู สบู และสว่ นประกอบ เครอ่ื งปรบั อากาศ และสว่ นประกอบ รถจกั รยานยนตแ์ ละสว่ นประกอบ ผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ สินค้าน�ำเข้าจากอนิ โดนีเซยี ท่ีส�ำคัญ ไดแ้ ก่ น�ำ้ มันดบิ ถา่ นหนิ สินแร่ โลหะอนื่ ๆ  เศษโลหะและผลติ ภณั ฑ ์ เครอ่ื งจกั รกลและสว่ นประกอบ ของเครอ่ื งจกั รกล รวมถงึ สว่ นประกอบและอปุ กรณย์ านยนต ์ รถยนต์ เคมภี ณั ฑ์ เครอื่ งจกั รไฟฟา้ และสว่ นประกอบ  เรอื และสง่ิ กอ่ สรา้ งลอยนำ�้ สัตว์น�ำ้ สด แชเ่ ยน็ แช่แขง็ แปรรปู และกึง่ แปรรูป ด้านการลงทุน ในปี 2555 ไทยเป็นประเทศผู้ลงทุนอนั ดบั ท่ี 15 ใน อินโดนเี ซีย โดยมมี ลู ค่าการลงทนุ 68 ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ (ประมาณ 2 พันล้านบาท) ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมรถยนต์ อตุ สาหกรรมยางและพลาสติก ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 49