Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

Description: คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

Search

Read the Text Version

คู่มือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควนั โด A

ชอื่ หนังสอื คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาเทควนั โด ตามหลกั สตู รมาตรฐานวิชาชพี ผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด จัดทำ� โดย กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า ปที ี่พิมพ ์ 2559 จำ�นวน 2,500 เลม่ ISBN 978-616-297-423-6 ออกแบบ นายเกยี รติศกั ดิ์ บุตรศาสตร์ พมิ พ์ที ่ ศูนยส์ ่ือและสงิ่ พมิ พ์แกว้ เจา้ จอม มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา 1 ถนนอู่ทองนอก แขวงดสุ ิต เขตดุสิต กทม. 10300 B คมู่ อื ฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด

คำ�นำ� กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นองค์กรหลักด้านการกีฬา ของประเทศซึ่งมีพันธกิจ อำ�นาจหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา ได้เล็งเห็น ความสำ�คัญของการฝึกอบรม ผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโดให้เป็นไปตามมาตรฐานบุคลากร ด้านการกีฬาระดับชาติ จึงได้จัดทำ�คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโดตามหลักสูตร มาตรฐานวชิ าชพี ดงั กลา่ ว ทงั้ นี้ เพอ่ื ใชใ้ นการฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โดใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และเป็นมาตรฐานเดยี วกนั กรมพลศึกษา ขอขอบคุณคณะผู้จัดทำ� ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญ และผู้เกี่ยวข้อง ทุกท่านท่ที ำ�ให้ค่มู ือฝึกอบรมผ้ฝู ึกสอนกีฬาเทควันโดสำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี หวังเป็นอย่างย่งิ ว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโดให้มีประสิทธิภาพและ มาตรฐานเดียวกนั กรมพลศกึ ษา กันยายน 2559 คู่มือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาเทควันโด C

D ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด

สารบัญ หน้า คำ� นำ� สารบญั 1 หลกั สูตรการฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควันโด 9 มาตรฐานวิชาชพี ผ้ฝู กึ สอนกีฬาเทควันโด 14 บทท่ี 1 ความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกบั กีฬาเทควันโด 14 ประวตั ิกีฬาเทควนั โดในประเทศไทย 20 ล�ำดับข้ันสายสีและความอาวโุ สของเทควันโด 23 บทท่ี 2 หลกั การเป็นผู้ฝกึ สอนกฬี า 23 ความหมายของผฝู้ กึ สอนกีฬา 24 บทบาทของผ้ฝู ึกสอนกฬี าทด่ี ี 26 จรรยาบรรณของผู้ฝกึ สอนกฬี า 27 บทท่ี 3 หลกั การฝึกสอนกฬี า 27 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของนักกีฬาในแต่ละชว่ ง 30 หลกั การสอนกฬี า 39 วธิ ีการฝึกสอนกฬี า 43 การสอ่ื สาร 48 บทที่ 4 หลักการฝกึ กีฬา 48 กฎธรรมชาตขิ องรา่ งกาย 48 การประเมนิ องค์ประกอบของร่างกาย 52 สมรรถภาพทางกาย 55 การฝกึ ซ้อม 63 การอบอ่นุ รา่ งกาย 64 การยืดกล้ามเน้ือ 66 การเสริมสร้างความแข็งแรง พลัง ความอดทนของกลา้ มเนื้อ 70 การเสรมิ สรา้ งความอดทนของระบบไหลเวยี นเลอื ดและการหายใจ 72 ระบบพลงั งานในการฝกึ 76 บทท่ี 5 จติ วทิ ยาการกฬี า E 77 คู่มือฝ ึกอบรมผคู้ฝวึกาสมอวนกติ ีฬกากเทังคววลนั แโดละการควบคมุ

สารบญั หน้า การตงั้ เปา้ หมาย 88 การจนิ ตภาพ 93 การพดู กับตนเองและการคดิ กบั ตนเองในสถานการณ์กีฬา 98 บทที่ 6 โภชนาการส�ำหรับนกั กีฬา 102 หลกั การรับประทานอาหารกอ่ นการแขง่ ขนั และการฝึกซ้อม 109 หลักการรบั ประทานอาหารระหว่างการแขง่ ขัน 111 หลกั การรับประทานอาหารหลังการแขง่ ขนั 112 ขอ้ ส�ำคญั ที่ควรรเู้ กี่ยวกับคาร์โบไฮเดรต 114 Carbohydrate Loading หรอื Glycogen Loadind 115 บทท่ี 7 การปฐมพยาบาล 117 ความสำ� คญั ของการปฐมพยาบาล 117 การปฐมพยาบาลผทู้ ่ีกระดูกหัก 118 การปฐมพยาบาลผู้ทม่ี อี าการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ 122 การปฐมพยาบาลผทู้ ม่ี อี าการบาดเจ็บของขอ้ ต่อ 125 การปฐมพยาบาลผู้ทม่ี ีอาการเป็นลม 128 การปฐมพยาบาลผู้ทีม่ ีภาวะทรี่ า่ งกายขาดน�ำ้ 129 การช่วยฟืน้ คืนชีพข้ันพืน้ ฐาน 131 บทที่ 8 การบริหารจดั การในการเปน็ ผูฝ้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด 135 หลกั การการบริหารจัดการ 135 การเตรียมการก่อนการแข่งขัน 136 การบริหารจดั การในช่วงการแขง่ ขนั 140 บทที่ 9 ทกั ษะและวธิ ีการฝกึ กฬี าเทควนั โด 143 ทักษะกีฬาเทควนั โดเพื่อการแข่งขนั ประเภทตอ่ ส้ ู 143 เทคนิคและการฝกึ ซ้อมในกฬี าเทควนั โด 172 ทักษะกฬี าเทควนั โดเพอื่ การแขง่ ขันประเภทการร่ายร�ำ 191 ทา่ ร�ำในกฬี าเทควันโดระดับสี 202 บทท่ี 10 กตกิ าการแขง่ ขนั และคำ� อธิบายกตกิ ากฬี าเทควันโด 206 บรรณานุกรม 247 Fคณะกรรมการจัดทำ� คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด คูม่ ือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทคว2ันโ5ด0

ห ลกั สตู รการฝึกอบรม ผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด Class 3 ระยะเวลาดำ�เนนิ การ : จ�ำ นวน 5 วนั เน้อื หาหลกั สตู ร : ลำ�ดับ กิจกรรม บรรยาย อภิปราย ฝกึ ปฏิบตั ิ สเอ่ื ทนควโัตนกโลรรยมี ปรทะดเสมอนิ บผล จชำว่ั�นโมวนง ท่ี เนื้อหา สาธิต 1 ความรู้ท่วั ไปเกี่ยวกับกีฬาเทควันโด 1.00 - - - - 1.00 2 ปรัชญาการฝกึ สอนกีฬา บทบาท หน้าที่ 2.00 - - - - 2.00 และความรับผดิ ชอบ 3 - การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกาย 1.00 - - - - 1.00 - การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 4 การสรา้ งความแข็งแรง - - 1.00 - - 1.00 5 การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของนักกีฬา 1.00 - - - - 1.00 แตล่ ะชว่ งอายุ - - 1.00 6 หลกั การสอนส�ำหรบั นกั กฬี าเทควนั โดยคุ ใหม ่ 1.00 - - 7 การสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพส�ำหรบั ผฝู้ กึ สอนกฬี า - - - 2.00 - 2.00 8 กฎ ระเบยี บ และกติกาการแข่งขนั 2.00 - - - - 2.00 9 หลกั การฝกึ ซอ้ มกฬี า และการปอ้ งกนั การบาดเจบ็ 1.00 - - - - 1.00 10 การวางแผนการฝึกซอ้ ม 1 1.00 - - - - 1.00 11 การวางแผนการฝึกซ้อม 2 2.00 - - - - 2.00 12 การฝกึ ซ้อมรา่ งกายส�ำหรับผู้รเิ ร่มิ เล่น - - 2.00 - - 2.00 (Body Conditioning) 13 จิตวิทยาการกฬี า 2.00 - - - - 2.00 14 การประเมินสมรรถนะของนกั กีฬา 2.00 - - - - 2.00 15 การฝกึ ทกั ษะ - - 10.00 - - 10.00 16 หลักการบริหารจดั การทมี เพอ่ื การฝึกซ้อม 2.00 - - - - 2.00 และแข่งขัน 17 โภชนาการและสารตอ้ งห้าม 2.00 - - - - 2.00 18 สอบภาคทฤษฎี - - - - 2.00 2.00 19 สอบภาคปฏบิ ัต ิ - - - - 2.00 2.00 หมายเหตุ : หลกั สตู รอาจมีการเปลย่ี นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด 1

2 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด ตารางการฝกึ อบรมหลักสตู รผฝู้ ึกสอนกีฬาเทควันโด Class 3 วนั /เวลา 08.00-09.00 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00- 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00 16.00-17.00 13.00 1 ลงทะเบียน ความรทู้ ว่ั ไปเกยี่ ว ปรัชญาการฝึกสอนกีฬา - การเสรมิ สรา้ ง การสรา้ ง การฝกึ ทักษะ พธิ เี ปดิ กบั กฬี า บทบาทหน้าท่ีและ สมรรถภาพทางกาย ความแขง็ แรง ปฐมนเิ ทศ เทควนั โด ความรบั ผดิ ชอบ - การทดสอบ สมรรถภาพทางกาย 2 การเจริญเติบโต หลกั การสอน การสือ่ สารทม่ี ปี ระสิทธิภาพ กฎ การฝึกทกั ษะ และพฒั นาการ ส�ำหรับนักกีฬา ส�ำหรับผูฝ้ ึกสอนกฬี า ระเบยี บ การฝกึ ทักษะ ของนกั กฬี า และกตกิ าการแข่งขนั แต่ละช่วงอายุ เทควันโด การฝกึ ซอ้ มรา่ งกาย ยคุ ใหม่ ส�ำหรบั ผ้เู รม่ิ เล่น (Body Conditioning) หลกั การ การวางแผน การวางแผน พัก ฝกึ ซอ้ มกฬี า การฝึกซอ้ ม 1 การฝึกซ้อม 2 3 และการป้องกัน การบาดเจ็บ 4 จิตวทิ ยาการกฬี า การประเมนิ สมรรถนะ การฝกึ ทักษะ การฝกึ ทกั ษะ ของนกั กีฬา สอบภาคทฤษฎี สอบภาคปฏิบัติ 5 หลกั การบรหิ ารจัดการทมี โภชนาการและสารตอ้ งห้าม เพื่อการฝึกซอ้ มและแข่งขัน

ห ลกั สตู รการฝึกอบรม ผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควนั โด Class 2 ระยะเวลาด�ำ เนนิ การ : จ�ำ นวน 6 วนั เน้ือหาหลักสตู ร : ลำ�ดบั กจิ กรรม บรรยาย อภปิ ราย ฝึกปฏบิ ตั ิ สเ่อื ทนควโตันกโลรรยมี ปรทะดเสมอนิ บผล จชำ่วั�นโมวนง ท่ี เนอ้ื หา สาธิต 1 บทบาทหน้าทขี่ องผู้ฝึกสอนกฬี าเทควันโด 1.00 - - - - 1.00 (Role of a Coach) 2 การสรา้ งสมรรถภาพทางกายและความแขง็ แรง 1.00 - 1.00 - - 2.00 (Body Conditioning) 3 Competition Rule of Coach 1 2.00 - - - - 2.00 4 Competition Rule of Coach 2 2.00 - - - - 2.00 5 หลักการสอน Methodology Teaching 1.00 - - - - 1.00 6 การวางแผนการสอน 1 (Practice Plan) 1.00 - - - - 1.00 7 การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพนักกีฬา 1.00 - - 1.00 - 2.00 (Evaluation) 8 Physical and Strength 1 2.00 - - - - 2.00 9 Physical and Strength 2 2.00 - - - - 2.00 10 จติ วิทยาการกีฬา การสรา้ งแรงจงู ใจและ 2.00 - - - - 2.00 ความมงุ่ มัน่ ในการเล่น 11 การปอ้ งกันการบาดเจบ็ จากการกีฬาและ 2.00 - - - - 2.00 การปฐมพยาบาล 12 การตัดสินใจและเทคนคิ ในการแขง่ ขัน 1 2.00 - - - - 2.00 13 Basic Movement 1 - - 2.00 - - 2.00 14 หลักการฝกึ (Training) 1.00 - - - - 1.00 15 การวางแผนการสอน 2 (Practice Planning) 1.00 - - - - 1.00 16 การวางแผนการสอน 3 (Practice Planning) 2.00 - - - - 2.00 17 การตัดสนิ ใจและเทคนิคในการแข่งขนั 2 2.00 - - - - 2.00 18 Basic Electronic Protection and - - - 2.00 - 2.00 Scoring System 1 ค่มู ือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควนั โด 3

ลำ�ดับ กจิ กรรม บสรารธยติาย อภปิ ราย ฝกึ ปฏิบัติ ส่อื นวตั กรรม ทดสอบ จำ�นวน ท่ี เน้ือหา เทคโนโลยี ประเมนิ ผล ช่ัวโมง 19 การบริหารควบคุมทมี เพอ่ื การฝกึ ซ้อมและ 2.00 - - - - 2.00 แขง่ ขนั (Management Organize) 20 โภชนาการการกีฬาและการควบคุม 2.00 - - - - 2.00 สารตอ้ งหา้ ม 21 การตัดสนิ ใจและเทคนคิ ในการแขง่ ขนั 3 2.00 - - - - 2.00 22 Basic Electronic Protection and - - - 2.00 - 2.00 Scoring System 2 23 Technical Coach 1 1.00 - - - - 1.00 24 Technical Coach 2 1.00 - - - - 1.00 25 Basic Electronic Protection and - - - 2.00 - 2.00 Scoring System 3 26 สอบภาคทฤษฏี - - - - 1.00 1.00 27 สอบภาคปฏิบตั ิ - - - - 2.00 2.00 หมายเหตุ : หลักสูตรอาจมีการเปลีย่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม 4 คู่มอื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาเทควันโด

คู่มือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควนั โด ตารางการฝึกอบรมหลักสตู รผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควันโด Class 2 วัน/เวลา 08.00-09.00 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00- 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00 16.00-17.00 13.00 บทบาทหนา้ ท่ี 1 ลงทะเบียน ของผฝู้ ึกสอนกีฬา การสร้างสมรรถภาพทางกาย Competition Rule of Competition Rule of พิธเี ปดิ และความแขง็ แรง Coach 1 Coach 2 ปฐมนิเทศ เทควนั โด (Role of a Coach) (Body Conditioning) 2 หลกั การสอน การวางแผนการ การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ Physical and Strength 1 Physical and Strength 2 Methodology สอน (Practice ศักยภาพนกั กฬี า (Evaluation) Teaching Plan) 1 3 จติ วิทยาการกฬี า การปอ้ งกันการบาดเจบ็ การตดั สินใจและ Basic Movement 1 4 การสรา้ งแรงจูงใจและ จากการกฬี าและการปฐมพยาบาล พัก เทคนคิ ในการแขง่ ขนั 1 ความมุ่งมั่นในการเล่น หลกั การฝกึ การวางแผน การวางแผนฝึกซอ้ ม การตดั สนิ ใจและ Basic Electronic Protection (Training) ฝึกซ้อม และแขง่ ขัน เทคนคิ ในการแขง่ ขัน 2 and Scoring System 1 (Practice (Practice Planning) 3 การตดั สินใจและ Planning) 2 เทคนคิ ในการแข่งขนั 3 Basic Electronic Protection 5 การบรหิ ารควบคมุ ทมี เพ่ือการฝึก โภชนาการการกีฬาและ and Scoring System 2 ซอ้ มและแขง่ ขัน การควบคุม สารตอ้ งหา้ ม (Management Organize) 6 Technical Technical Basic Electronic Protection สอบภาคทฤษฎี สอบภาคปฏิบตั ิ สอบภาคปฏิบัติ พธิ ปี ดิ การอบรม Coach 1 Coach 2 System 3 5

ห ลักสูตรการฝึกอบรม ผู้ฝึกสอนกฬี าเทควันโด Class 1 ระยะเวลาดำ�เนนิ การ : จำ�นวน 7 วัน เนอ้ื หาหลักสตู ร : ลำ�ดับ กิจกรรม บรรยาย อภปิ ราย ฝึกปฏิบัติ สเื่อทนควโตันกโลรรยมี ปรทะดเสมอนิ บผล จชำวั่�นโมวนง ท่ี เน้ือหา สาธิต 1 Introduction to advanced tactic 1.00 - - - - 1.00 2 Main Tactical Principle 2.00 - - - - 2.00 3 Tactical Training for Advanced Player 2.00 - - - - 2.00 4 ศพั ทเ์ ทคนิค การฝึกซ้อม และการแขง่ ขนั 2.00 - - - - 2.00 5 ชวี กลศาสตร์ และหลกั การสอนการเคลอื่ นท่ ี 2.00 - - - - 2.00 6 Biomechanical Performance Model - - - 2.00 - 2.00 Movement Mechanics 7 การสรา้ งสมรรถภาพทางกาย 2.00 - - - - 2.00 8 Developing Strength 2.00 - - - - 2.00 9 Body Conditioning 2.00 - - - - 2.00 Screening + Testing 10 Long-term Athletes Development 2.00 - - - - 2.00 Train Ability and Physical Preparation ของนกั กีฬา 11 กลยุทธก์ ารพัฒนาทกั ษะนักกีฬาใหเ้ ต็ม 2.00 - - - - 2.00 ศักยภาพ 1 12 กลยุทธ์การพัฒนาทกั ษะนกั กีฬาใหเ้ ตม็ 2.00 - - - - 2.00 ศักยภาพ 2 13 Training Principle - - 2.00 - - 2.00 14 Injury Prevention and Muscle Control 2.00 - - - - 2.00 - การฟ้ืนฟหู ลงั การบาดเจ็บ 15 การฝึกหดั เป็นผู้ฝกึ สอนคนละ 30 นาที - - 4.00 - - 4.00 (Competition Decision) 16 Psychological Training for Advanced Players - - 2.00 - - 2.00 6 คมู่ อื ฝึกอบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาเทควันโด

ลำ�ดับ กิจกรรม บสรารธยติาย อภิปราย ฝกึ ปฏิบตั ิ สื่อนวัตกรรม ทดสอบ จำ�นวน ที่ เน้อื หา เทคโนโลยี ประเมินผล ชัว่ โมง 17 Goal Setting for Advanced Player 2.00 - - - - 2.00 - Emotional Control - Control of Thoughts 18 Basic Electronic Protection and - - - 4.00 - 4.00 Scoring System 19 Motivation in Teaching Imagery 2.00 - - - - 2.00 20 Psychological Performance in 2.00 - - - - 2.00 Competition for Advanced Player - - - 4.00 4.00 21 สอบภาคปฏิบตั ิ - 1.00 - - - 2.00 22 การบันทึกและการวเิ คราะห์เกมการแขง่ ขัน 1.00 และการแกป้ ญั หา 23 กลยทุ ธก์ ารควบคมุ นกั กฬี าเทควนั โด 2.00 - - - - 2.00 24 สอบภาคทฤษฏี - - - - 2.00 2.00 หมายเหตุ : หลกั สูตรอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม คู่มือฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาเทควนั โด 7

8 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด ตารางการฝึกอบรมหลักสตู รผ้ฝู กึ สอนกฬี าเทควันโด Class 1 วัน/เวลา 08.00-09.00 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00- 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00 16.00-17.00 13.00 ลงทะเบยี น Introduction 1 พิธเี ปิด to advanced Main Tactical Principle Tactical Training for ศพั ทเ์ ทคนิค การฝกึ ซอ้ ม ปฐมนเิ ทศ tactic Advanced Player และการแข่งขัน 2 ชีวกลศาสตร์และ Biomechanical Performance การสร้างสมรรถภาพทางกาย Developing Strength หลกั การสอนการเคลื่อนท่ี Model Movement Mechanics 3 Body Conditioning Long-term Athletes Development กลยุทธ์การพัฒนาทักษะนกั กีฬา กลยุทธก์ ารพัฒนาทกั ษะนกั กีฬา Screening + Testing Train Ability and Physical ให้เต็มศักยภาพ 1 ให้เต็มศักยภาพ 2 Preparation ของนักกีฬา 4 Training Principle Injury Prevention and Muscle พัก การฝกึ หัดเป็นผูฝ้ กึ สอน การฝกึ หัดเป็นผู้ฝึกสอน Control คนละ 30 นาที คนละ 30 นาที -การฟนื้ ฟหู ลงั การบาดเจบ็ (Competition Decision) (Competition Decision) 5 Psychological Training for Goal Setting for Basic Electronic Protection Basic Electronic Protection Advanced Players Advanced Player and Scoring System and Scoring System - Emotional Control - Control of Thoughts Motivation in Teaching 6 Imagery Psychological Performance in สอบภาคปฏิบตั ิ สอบภาคปฏิบัติ Competition for Advanced Player 7 การบันทึกและการวิเคราะหเ์ กม กลยุทธก์ ารควบคุมนักกีฬาเทควันโด สอบภาคทฤษฎี พธิ ีปิด การแข่งขันและการแกป้ ญั หา

ม าตรฐานวชิ าชพี ผ้ฝู ึกสอนกฬี าเทควนั โด มาตรฐานวิชาชีพ เป็นเกณฑ์มาตรฐานที่ผู้ประกอบวิชาชีพยึดถือเป็นแนวทางในการท�ำ หนา้ ที่ตามบทบญั ญัตแิ ห่งวิชาชีพ ซง่ึ ก�ำหนดไวอ้ ย่างมคี ุณภาพ ไดแ้ ก่ มาตรฐานในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ มาตรฐานดา้ นความรู้ และมาตรฐานในการปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวชิ าชพี มาตรฐานวิชาชีพบุคลากรด้านการกีฬา เป็นกรอบหรือแนวทางการด�ำเนินงานหรือ การปฏิบัติหน้าท่ีของบุคคลท่ีเป็นสมาชิกในวิชาชีพเดียวกัน ได้แก่ ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา เพอ่ื รบั รองความนา่ เชอ่ื ถอื และเปน็ การรบั ประกนั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งมคี ณุ ภาพและเปน็ มาตรฐาน เดียวกัน ในการจดั ท�ำค่มู อื ผฝู้ กึ สอนกีฬาเทควนั โดนี้ ได้ยดึ หลกั จากมาตรฐานวิชาชีพผ้ฝู กึ สอนกฬี า เทควันโดระดับชาติ ซ่ึงกรมพลศึกษาได้จัดท�ำโดยความร่วมมือของผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด ให้มคี วามรู้ ความสามารถ เป็นท่ยี อมรับและเช่ือถือของสังคมทงั้ ระดับชาติและนานาชาตติ ่อไป มาตรฐานวิชาชีพผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ ดา้ นความรู้ ด้านการปฏิบตั งิ าน และด้านการปฏิบัตติ น รวมท้งั สนิ้ 15 มาตรฐาน ดังน้ี 1) มาตรฐานดา้ นความรู้ แบง่ ออกเปน็ 3 มาตรฐานย่อย คือ มาตรฐานท่ี 1 มคี วามรูเ้ กยี่ วกับกฬี า 1.1 ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับประวตั ิ วิวฒั นาการ และการพัฒนาของกีฬาเทควนั โด 1.2 ความรู้เกี่ยวกับระบบ ระเบียบ กฎ กติกา สนาม และอุปกรณ์ วิธีการเล่น จ�ำนวนผ้เู ล่น ระยะเวลาของการแข่งขนั รวมถงึ แนวทางการตดั สนิ การประท้วงและการรอ้ งเรียน 1.3 ความร้เู กีย่ วกบั ทกั ษะ เทคนิค และแทคตกิ ของกีฬาเทควนั โด 1.4 การตรวจสอบในเกมด้วย VDO การประทว้ งและการร้องเรียน มาตรฐานที่ 2 มีความรู้เก่ยี วกับการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาและบคุ คลอื่นทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2.1 ปรชั ญาการกฬี า จรรยาบรรณของผู้ฝึกสอนกฬี า 2.2 บทบาทหนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบของผูฝ้ กึ สอนกีฬา 2.3 การเป็นผู้ฝึกสอนกฬี าและการพัฒนาผู้ฝกึ สอนกีฬา 2.4 ความร้เู กี่ยวกับหลักการสอนและการสื่อสาร 2.5 ความร้เู ก่ียวกบั การวางแผนและการเขียนแผนการฝกึ ซ้อมกีฬา คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกฬี าเทควนั โด 9

2.6 หลักการบริหารจัดการกีฬาท่ัวไป และการบริหารจัดการกีฬาในช่วง การฝกึ ซ้อมและแข่งขัน 2.7 การสือ่ สารและการประชาสัมพันธ์กับผ้บู รหิ าร นักกฬี า ผู้ปกครอง สอ่ื มวลชน และองคก์ รท่ใี หก้ ารสนับสนุน มาตรฐานท่ี 3 มคี วามร้เู กยี่ วกบั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา 3.1 ความรู้เก่ยี วกับสรีรวิทยาการออกก�ำลงั กาย 3.2 ความรเู้ กยี่ วกบั หลกั การฝกึ กฬี าและการประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ ของนกั กฬี า 3.3 ความรู้เก่ียวกับสมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย และ หลกั การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย 3.4 พัฒนาการการเจริญเติบโต การพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา และความรู้ เกย่ี วกับหลกั การฝกึ นกั กฬี าในแต่ละชว่ งอายุ 3.5 ความรเู้ กยี่ วกบั หลกั การเคลอื่ นไหวในการเลน่ กีฬา (ชีวกลศาสตร์) 3.6 จิตวิทยาการกฬี า 3.7 โภชนาการการกีฬา การไมใ่ ช้สารเสพตดิ และสารต้องห้ามในนักกีฬา 3.8 ความปลอดภัยและการปอ้ งกันการบาดเจ็บจากการกฬี า การปฐมพยาบาล 3.9 หลักการฟ้นื ฟูสภาพทางกาย กายภาพบ�ำบัดเบื้องต้น 2) มาตรฐานดา้ นการปฏิบตั ิงาน แบง่ ออกเปน็ 9 มาตรฐานย่อย คือ มาตรฐานที่ 4 ปรชั ญา คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม 4.1 ปลกู ฝงั นกั กฬี าและผเู้ กย่ี วขอ้ ง ใหเ้ หน็ คณุ คา่ ของการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการกฬี า ตามปรชั ญาการกีฬา 4.2 สง่ เสริมนักกฬี าและบุคลากรกฬี าให้มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ 4.3 พัฒนาแนวทางการฝึกสอนให้เป็นไปตามปรัชญาของการฝึกสอน โดยเน้น นกั กฬี าเปน็ ศนู ย์กลาง มาตรฐานที่ 5 ความปลอดภัยและการป้องกนั การบาดเจบ็ 5.1 จัดหาอุปกรณ์ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก และจัดสภาพแวดล้อมให้มีความ ปลอดภยั 5.2 ดูแลอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการฝึกซ้อมและแข่งขันให้มีความเหมาะสม และปลอดภยั 5.3 เปลี่ยนแปลงแก้ไขสถานท่ีและอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการฝึกซ้อมกีฬาและ ปลอดภัยต่อนกั กีฬา 5.4 มวี ธิ กี ารตรวจสอบสภาวะรา่ งกายของนกั กฬี าอนั อาจเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ การบาดเจบ็ จากการเลน่ กีฬาหรอื การแขง่ ขันกีฬา 10 คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควันโด

5.5 ท�ำการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ได้อยา่ งเหมาะสมและทนั ท่วงที 5.6 ประสานงานการดแู ลอาการบาดเจบ็ และสขุ ภาพของนกั กฬี า รวมทงั้ การฟน้ื ฟู สมรรถภาพทางกายตามค�ำแนะน�ำของแพทย์ 5.7 วิเคราะหผ์ ลกระทบทางจิตวิทยาจากอาการบาดเจ็บของนกั กฬี า มาตรฐานท่ี 6 การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของนักกฬี า 6.1 น�ำความรดู้ า้ นพฒั นาการของนกั กฬี าทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเรยี นรแู้ ละการพฒั นา ทักษะความสามารถของนักกีฬามาใช้ในการฝกึ ซอ้ มนกั กีฬาในแตล่ ะช่วงอายุ 6.2 ส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์และสังคม โดยสนับสนุนให้มีประสบการณ์ ในการรว่ มกจิ กรรมกฬี าและกิจกรรมทางสงั คม 6.3 สง่ เสรมิ โอกาสใหน้ กั กฬี ามคี วามรบั ผดิ ชอบ มภี าวะผนู้ �ำและผตู้ ามตามวฒุ ภิ าวะ ของตน มีเหตผุ ลและรเู้ ท่าทัน มาตรฐานที่ 7 การเสริมสร้างสภาพรา่ งกาย 7.1 น�ำความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี ามาใชใ้ นการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย ของนกั กฬี า 7.2 ออกแบบการฝึก การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย และการฟื้นฟูสภาพ รา่ งกายดว้ ยหลกั การและวิธีการทีถ่ กู ต้องเหมาะสม 7.3 ให้ค�ำแนะน�ำนักกีฬาเร่ือง การรับประทานอาหารที่เหมาะสม และกวดขัน การใช้สารตอ้ งห้ามและวิธกี ารตอ้ งห้ามทางการกีฬา 7.4 จัดท�ำแผนฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาที่บาดเจ็บ ตามค�ำแนะน�ำ ของแพทย์ เพ่ือชว่ ยเหลอื นักกฬี าใหส้ ามารถกลบั เขา้ รว่ มการแขง่ ขันไดเ้ ต็มที่หลงั การบาดเจ็บ มาตรฐานที่ 8 การฝึกซ้อมกฬี า 8.1 สามารถออกแบบและจัดท�ำแผนการฝึกซ้อมตามหลักการทฤษฎี โดยการ น�ำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์การกฬี า มาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมฝึกซ้อม เพอ่ื เพิ่มขดี ความสามารถ ของนักกีฬา 8.2 จัดระบบและวิธีการฝึกในแต่ละฤดูกาลแข่งขันอย่างเหมาะสม เพ่ือให้เป็นไป ตามเปา้ หมายในแต่ละชว่ งเวลา 8.3 วางแผนการฝกึ แต่ละวนั ใหไ้ ดผ้ ลสงู สุดภายในเวลาและทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ 8.4 ใช้เทคนิคการฝึกทางจิตวิทยาเพ่ือกระตุ้นให้นักกีฬาได้พัฒนาความสามารถ ของตนเองและลดความเครยี ด มาตรฐานท่ี 9 การสอน การถ่ายทอดความรู้ และการสอ่ื สาร 9.1 สามารถประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทฤษฎกี ารสอน จติ วทิ ยาการเรยี นรู้ เพอื่ ใหบ้ งั เกดิ ผลดตี อ่ นักกีฬา คมู่ อื ฝึกอบรมผ้ฝู ึกสอนกฬี าเทควันโด 11

9.2 ถ่ายทอดการสอนตอ่ นักกีฬา โดยค�ำนึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 9.3 ใช้วิธีการสอนที่เหมาะสม เพ่ือให้นักกีฬาได้พัฒนาความสามารถของตนเอง และยดึ มั่นในจรรยาบรรณ 9.4 สามารถสอ่ื สารกบั นกั กฬี าและผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมทง้ั วาจาและการกระท�ำ มาตรฐานที่ 10 การก�ำหนดกลยุทธใ์ นการเล่นและการแขง่ ขัน 10.1 ตัง้ เป้าหมายในการฝึกซอ้ มทักษะและการแขง่ ขนั ตลอดฤดูกาล 10.2 คดั เลอื กนกั กฬี า พฒั นาและใชก้ ลยทุ ธแ์ ละกลวธิ ใี นการแขง่ ขนั กฬี าใหเ้ หมาะสม กับวัย และระดับทักษะของนกั กีฬา 10.3 สามารถใช้วธิ ีสังเกตการณ์ในการวางแผนการฝกึ ซ้อม การเตรียมความพรอ้ ม ส�ำหรับการแข่งขนั และการวเิ คราะหเ์ กมการแขง่ ขนั 10.4 เตรยี มความพรอ้ มส�ำหรบั การแขง่ ขนั โดยค�ำนงึ ถงึ สภาพอากาศ สภาพแวดลอ้ ม และความเหมาะสมทางกายภาพ มาตรฐานท่ี 11 การบรหิ ารและการจัดการ 11.1 สามารถจดั ระบบเพ่อื การเตรียมทมี แขง่ ขนั กีฬาทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ 11.2 สามารถบริหารบุคลากรในทีมและควบคมุ นกั กีฬาได้ 11.3 มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมประชาสมั พันธ์ทมี กฬี า 11.4 สามารถบริหารจดั การเรอ่ื งการเงนิ และงบประมาณในส่วนทต่ี นรับผดิ ชอบ 11.5 สามารถบรหิ ารจดั การขอ้ มลู เอกสาร และบนั ทกึ ตา่ งๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ท่ี นั สมยั 11.6 มีความรับผิดชอบในทางกฎหมายและมีข้ันตอนการบริหารความเส่ียงท่ี เกี่ยวข้องกับการฝกึ สอนกีฬา มาตรฐานที่ 12 การประเมนิ ผล 12.1 ใชเ้ ทคนคิ การประเมนิ ผลทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการประเมนิ ผลสมรรถภาพของทมี โดยใหส้ มั พันธก์ ับเปา้ หมายทวี่ างไว้ 12.2 สามารถประเมินผลแรงจูงใจและสมรรถภาพของนักกีฬา โดยสัมพันธ์กับ เป้าหมายและจดุ หมายในฤดกู าลแข่งขนั 12.3 ใช้กระบวนการท่ีมีประสิทธิภาพและเป็นกลางในการประเมินตนเองและ เจา้ หน้าที่ 12.4 น�ำผลจากการประเมินมาวเิ คราะหแ์ ละวางแผนในการด�ำเนนิ งานครง้ั ตอ่ ไป 12.5 มาตรฐานด้านการปฏิบัตติ น แบ่งออกเป็น 3 มาตรฐานยอ่ ย คือ 12 คู่มอื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาเทควันโด

มาตรฐานท่ี 13 การปฏบิ ตั ติ ่อตนเอง 13.1 ดูแลสขุ ภาพเปน็ ประจ�ำ 13.2 สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายอย่างสม�ำ่ เสมอ 13.3 มีความอดทน อดกลั้น และควบคมุ อารมณ์ได้ 13.4 มบี คุ ลกิ ภาพท่ีดี มีความเปน็ ผนู้ �ำ และเช่อื ม่นั ในตนเอง 13.5 มีการพัฒนาตนเองและใฝห่ าความร้อู ยู่เสมอ 13.6 สามารถใชเ้ ทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มาตรฐานที่ 14 การปฏิบตั ิต่อผอู้ ืน่ 14.1 มีมนษุ ยสัมพันธ์ทดี่ กี บั นักกีฬาและผอู้ นื่ 14.2 สามารถท�ำงานรว่ มกบั ผ้อู ่ืนได้ 14.3 มีการแสดงออกทัง้ การพูดและการกระท�ำอย่างเหมาะสม 14.4 ไมว่ ิจารณ์ผ้ฝู กึ สอนดว้ ยกันในทส่ี าธารณะหรือในระหว่างการแขง่ ขัน มาตรฐานที่ 15 ปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ไดแ้ ก่ 15.1 มวี ินัยในการท�ำหน้าท่ผี ูฝ้ กึ สอน 15.2 มีนำ�้ ใจนักกฬี า รแู้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั 15.3 มีความเสยี สละ 15.4 มคี วามยุตธิ รรม 15.5 ปฏิบัตหิ นา้ ทอี่ ย่างเต็มความสามารถ 15.6 ปฏิบตั หิ นา้ ทดี่ ้วยความซอื่ สตั ยส์ จุ ริต 15.7 มคี วามรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี ตอ่ นักกีฬา และต่อตนเอง 15.8 กลา้ ยอมรบั ในความบกพร่องผิดพลาด คู่มอื ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควันโด 13

บ ทที่ 1 ความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกบั กีฬาเทควนั โด ประวตั กิ ีฬาเทควันโดในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่มรู้จักกีฬาเทควันโดเม่ือประมาณปี พ.ศ.2510 โดยคณะอาจารย์ จากสาธารณรฐั เกาหลี จ�ำนวน 6 ทา่ น ไดเ้ ขา้ มาเผยแพรว่ ชิ าเทควนั โด ในขณะนน้ั อยรู่ ะหวา่ งสงคราม เวียดนามได้ท�ำการสอนตามฐานทัพทหารสหรัฐอเมริกา เช่น ท่ีสัตหีบ ตาคลี นครราชสีมา อบุ ลราชธานี และในกรงุ เทพฯ อาจารย์มายยุง ซู คิม (Myung Soo Kim) มาท�ำการเปิดสอนอยู่ที่ สมาคมวายเอ็มซีเอ (Y.M.C.A.) เมื่อฐานทัพสหรัฐอเมริกาถอนตัวออกจากประเทศไทยอาจารย์ ส่วนใหญก่ ็ยา้ ยกลบั ไปดว้ ย จนเมื่อปี พ.ศ. 2516 อาจารยซ์ อง คิ ยอง (Song Ki Yong) ได้เดนิ ทาง มาเปิดสอนเทควันโดที่ราชกรีฑาสโมสร และในปี พ.ศ. 2519 ก็ได้เปิดส�ำนักข้ึนที่โรงเรียนศิลปะ ปอ้ งกนั ตัวอาภสั สา ถนนเพลินจติ โดยการสนบั สนุนของคณุ มลั ลิกา ขัมพานนท์ ผู้ซงึ่ เห็นคณุ ค่าของ กีฬาเทควันโดท่ีมีต่อสุขภาพและสังคมที่ดีขึ้น ซึ่งต่อมาก็ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรหลายแห่ง เช่น โรงเรยี นนายรอ้ ยสามพราน โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ เปน็ ตน้ ในขณะนน้ั มผี ฝู้ กึ วชิ าเทควนั โด อยู่ประมาณ 5,000 คน ในปี พ.ศ. 2521 จึงได้มีการก่อต้ังสมาคมส่งเสริมศิลปะป้องกันตัว เทควันโดข้ึน ณ โรงเรียนอาภัสสา โดยมีคุณสรยุทธ์ ปัทมินทร์วิโรจน์ เป็นนายกสมาคมคนแรก ในปี พ.ศ. 2523 พันโทกุศล อิศรางกูร ณ อยธุ ยา (ยศในขณะนนั้ ) ไดร้ บั เลือกเป็นนายกสมาคมฯ จนถงึ ปี พ.ศ. 2526 ตอ่ มาเมอื่ คณุ อาณฐั ชยั รตั ตกลุ ไดร้ บั เลอื กตงั้ ใหเ้ ปน็ นายกสมาคมสง่ เสรมิ ศลิ ปะ ป้องกันตัวเทควันโด เม่ือปี พ.ศ. 2527 ก็ได้ด�ำเนินการก่อต้ังสมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และในท่ีสุดก็สามารถก่อต้ังจดทะเบียนเป็นสมาคมเทควันโด แหง่ ประเทศไทยไดส้ �ำเรจ็ เปน็ สมาคมทไี่ ดร้ บั การรบั รองจากการกฬี าแหง่ ประเทศไทย คณะกรรมการ โอลิมปิคแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสหพันธ์เทควันโดสากล เม่ือปี พ.ศ. 2528 คุณอาณัฐชัย รัตตกลุ จึงได้เป็นนายกสมาคมแห่งประเทศไทยคนแรกนับแต่นั้นมา และก็ได้ผลกั ดนั ให้มีหลักสูตรเป็นทางการอบรมวิชาเทควันโดในกรมพลศึกษา มีการส่งเสริมนักกีฬาเข้าแข่งขัน ในระดับเอเช่ียนเกมส์ข้ึนเป็นคร้ังแรกจนสามารถพิชิตได้เหรียญรางวัล 2 เหรียญทองแดง ในการ แขง่ ขนั เอเชยี่ นเกมส์ คร้งั ที่ 10 ในปี พ.ศ. 2529 ณ ประเทศเกาหลใี ต้ ประเทศไทยได้รับเหรยี ญจาก ทกุ ชนดิ กฬี า เปน็ เหรยี ญทองแดง 7 เหรยี ญ ในครงั้ นน้ั 2 เหรยี ญทองแดง เปน็ ของกฬี าเทควนั โด ในรุ่นฟลายเวทจากนายอนันต์ เมฆสวรรค์ และรนุ่ เฟเธอรเ์ วทจากนายธนา สินประสาธน์ และได้ จัดส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในกีฬาซีเกมส์ ณ ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งการแข่งขันในครั้งน้ีสมาคม เทควันโดแห่งประเทศไทยไดป้ ระสบความส�ำเร็จในการแข่งขนั เป็นท่ีน่าพอใจ คือ ได้ 2 เหรียญทอง 14 คู่มอื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด

3 เหรียญเงิน และ 1 เหรียญทองแดง หลังจากน้ันก็ได้มีการรณรงค์เผยแพร่วิชาเทควันโดไปยัง โรงเรียนและสถาบันต่างๆ ท่ัวประเทศ มีการแสดงสาธิตวิชาเทควันโดถวายหน้าพระพักตร์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกุมาร ได้มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ทั่วประเทศ และเมือ่ ปี พ.ศ. 2530 คณุ มลั ลกิ า ขัมพานนท์ ไดร้ บั เลอื กต้งั เปน็ นายกสมาคม กไ็ ดม้ กี ารพัฒนาวชิ า เทควนั โดใหเ้ ปน็ สากลขนึ้ จนกระทง่ั ปี พ.ศ. 2536 พล.ต.อ.ชมุ พล อตั ถศาสตร์ ไดร้ บั เลอื กเปน็ นายก สมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย และเป็นผู้ผลักดันให้กีฬาเทควันโดเข้าแข่งขันในกีฬาแห่งชาติ ได้เปน็ ผลส�ำเร็จ และผลงานอ่ืนๆ คือ ปี พ.ศ. 2536 ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกฬี าซเี กมส์ ครงั้ ท่ี 17 ณ ประเทศสงิ คโปร์ ได้ 3 เหรยี ญทอง และ 3 เหรยี ญทองแดง ในปี พ.ศ. 2538 การแข่งขนั กีฬา เทควนั โดชงิ แชมปอ์ าเซยี น ครัง้ ท่ี 3 ณ กรงุ เทพฯ ได้ 5 เหรยี ญทอง 3 เหรียญเงนิ และ 6 เหรยี ญทองแดง และในปเี ดยี วกนั การแขง่ ขนั กฬี าซเี กมส์ ครงั้ ท่ี 18 ณ จงั หวดั เชยี งใหม่ ได้ 4 เหรยี ญทอง 3 เหรยี ญเงนิ และ 5 เหรียญทองแดง และเอเช่ยี นเกมส์ คร้ังที่ 13 ประเทศไทยเปน็ เจ้าภาพ ทีมนักกฬี าเทควันโด ทีมชาติไทยสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรยี ญเงนิ และ 5 เหรียญทองแดง หลังจากนน้ั มีการแข่งขัน อีกหลายรายการ ต่อมาสมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย ได้ย้ายท่ีท�ำการมาอยู่โรงยิมเนเซ่ียม สนามบญุ ยจินดา ถนนวภิ าวดี บางเขน หลักสี่ และต่อมาในปี พ.ศ. 2544 เทควันโดในยุคกีฬาความหวงั ของชาติในมหกรรมการแข่งขนั Olympic game ยุคนี้นับได้จากการเข้ารับต�ำแหน่งของนายธวัชชัย สัจจกุล เป็นนายกสมาคม เทควันโดแห่งประเทศไทย และได้เชิญทีมงานคนส�ำคัญหลายท่านเข้าช่วยบริหารงานอาทิ เช่น ดร.ณฐั อินทรปาน ผศ.พิมล ศรวี ิกรม์ คุณปรีชา ตอ่ ตระกลู ซ่งึ ในเวลาต่อมา ดร.ณฐั อนิ ทรปาน และผศ.พิมล ศรีวิกรม์ ไดข้ น้ึ บรหิ ารในต�ำแหนง่ นายกสมาคมเทควนั โดแหง่ ประเทศไทยจนปจั จบุ นั ชว่ งนนี้ บั เปน็ ชว่ งเวลาทองของวงการเทควันโด และผลงานใน Olympic game สมาคมเทควนั โด แห่งประเทศไทยมีผลงานอย่างต่อเน่ืองจากปี 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ผลงาน 1 เหรียญทองแดง จากนางสาวเยาวภา บุรพลชัย ปี 2008 ทีก่ รุงปักกงิ่ ผลงาน 1 เหรียญเงิน จากนางสาวบตุ รี เผือดผอ่ ง และปี 2012 ที่ลอนดอนเกมส์ ผลงาน 1 เหรียญทองแดง จากนางสาวชนาธิป ซอ้ นข�ำ ดว้ ยผลงาน ที่โดดเด่นจนเป็นกีฬาความหวัง ท�ำให้ภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุนมากข้ึน ที่ส�ำคัญคือการ ให้การสนับสนุนจากโครงการ 1 กีฬา 1 รัฐวิสาหกิจ ที่มีผศ.พิมล ศรีวิกรม์ รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงการคลงั ในขณะนั้นผลักดนั ให้หลายสมาคมกฬี าได้รบั การสนบั สนนุ ท�ำใหห้ ลายสมาคมกีฬา สามารถแก้ปัญหาการพฒั นานักกีฬาแตเ่ ดิมท่ขี าดความตอ่ เน่อื งให้สามารถพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื งได้ โดยสมาคมเทควนั โดแหง่ ประเทศไทยจับคู่กับธนาคารอาคารสงเคราะห์จนถึงปจั จุบนั ลำ� ดับเหตุการณ์ท่ีสำ� คัญในชว่ งการพัฒนานี้ 1. 2544 – 2546 คณุ ธวัชชยั สจั จกลุ เขา้ รบั ต�ำแหนง่ นายกสมาคมฯ 2. 2547 – 2548 ดร.ณัฐ อนิ ทรปาน เขา้ รบั ต�ำแหน่งนายกสมาคมฯ คมู่ อื ฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควนั โด 15

3. 2547 นางสาวเยาวภา บรุ พลชยั ไดร้ บั เหรยี ญทองแดง โอลมิ ปกิ กรงุ เอเธนส์ 4. 2549 – ปจั จบุ นั ผศ.พมิ ล ศรวี ิกรม์ เขา้ รับต�ำแหน่งนายกสมาคมฯ 5. 2551 นางสาวบตุ รี เผอื ดผ่อง ไดร้ บั เหรยี ญเงิน โอลิมปิก กรงุ ปักก่ิง 6. 2554 สมาคมฯ ปลกู สรา้ งอาคารทท่ี �ำการใหม่ บนพนื้ ทกี่ ารกฬี าแหง่ ประเทศไทย สามารถใชเ้ กบ็ ตวั ฝกึ ซ้อมใช้เปน็ ทพ่ี ักนกั กฬี าและท่ที �ำการส�ำนักงาน 7. 2555 นางสาวชนาธปิ ซ้อนข�ำ ไดร้ บั เหรยี ญทองแดงโอลมิ ปกิ ลอนดอนเกมส์ 8. 2559 นายเทวินทร์ หาญปราบ ไดร้ บั เหรยี ญเงนิ โอลมิ ปกิ ทนี่ ครรโี อเอจาเนโร 9. 2559 นางสาวพาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ ได้รับเหรียญทองแดง โอลิมปิก ทีน่ ครรโี อเอจาเนโร ล�ำดบั ผลงานที่สำ� คัญๆ ของทีมนักกีฬาไทย 2548 – 2556 (บางสว่ นทส่ี �ำคญั ๆ และ ยังมีผลงานอื่นๆ อีกมาก) 1. รายการ The 17th World Taekwondo Championships & 10th Women’s World Taekwondo Championships ในระหวา่ งวนั ที่ 13 – 17 เมษายน 2548 ณ เมอื งแมดรดิ ประเทศสเปน นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 2 เหรยี ญทองแดง 2. รายการ กฬี ามหาวทิ ยาลยั โลกฤดรู อ้ น ครงั้ ท่ี 23 ระหวา่ งวนั ที่ 11 – 21 สงิ หาคม 2548 ณ เมืองอีสเมยี ร์ ประเทศตุรกี นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ถึง 1 เหรยี ญทอง 1 เหรียญเงิน และ 1 เหรียญทองแดง 3. รายการ The 3rd Asian Junior Taekwondo Championships ระหว่าง วันท่ี 16 – 23 สิงหาคม 2548 ณ เมือง Almaty City ประเทศคาซัคสถาน นักกีฬาสามารถ ท�ำผลงานได้ 4 เหรยี ญทอง 2 เหรียญเงนิ และ 1 เหรยี ญทองแดง 4. กีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 23 ระหว่างวันที่ 27 พฤศจิกายน - 5 ธันวาคม 2548 ณ เมืองมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ นกั กีฬาสามารถท�ำผลงานได้ถงึ 3 เหรียญทอง 3 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง 5. รายการ 9th World University Taekwondo Championships ณ เมอื งวาเลนเซยี ประเทศสเปน ระหวา่ งวนั ที่ 16 – 20 พฤษภาคม 2549 นักกฬี าสามารถท�ำผลงาน ได้ 3 เหรยี ญทอง และ 1 เหรยี ญทองแดง 6. รายการ The 6th WTF World Junior Taekwondo Championships 2006 ณ โฟโต้ สเตเดีย้ ม เมอื งโฮจิมินซติ ี้ ประเทศเวียดนาม ระหวา่ งวันท่ี 26 – 30 กรกฎาคม 2549 โดยการแขง่ ขนั ในรายการนน้ี กั กฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 2 เหรยี ญทอง 4 เหรยี ญเงนิ และ 1 เหรยี ญทองแดง 7. รายการ 15th Asian Games ณ เมอื งโดฮาร์ ประเทศกาตาร์ ระหวา่ งวนั ที่ 1 – 15 ธันวาคม 2549 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรยี ญเงนิ และ 2 เหรยี ญทองแดง 16 คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควันโด

8. รายการ 17th Asian Taekwondo Championship Bangkok 2006 ในระหวา่ ง วันท่ี 21 – 23 เมษายน 2549 ณ อินดอร์สเตเดี้ยม หัวหมาก การกีฬาแห่งประเทศไทย โดยมี ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันถึง 31 ประเทศ มีนักกีฬาและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกว่า 600 คน นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรียญทอง และ 3 เหรียญเงนิ 9. สมาคมเทควนั โดแหง่ ประเทศไทย ไดเ้ ปน็ เจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั 2006 Bangkok World Cup Taekwondo Team Championship ในระหว่างวันท่ี 14 – 18 กันยายน 2549 ณ อินดอร์สเตเด้ียม หัวหมาก การกีฬาแห่งประเทศไทย โดยมีประเทศท่ีเข้าร่วมการแข่งขัน 33 ประเทศ มีนักกีฬาและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกว่า 500 คน นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรียญทอง 1 เหรยี ญเงิน และ 1 เหรียญทองแดง 10. รายการ 2007 Beijing WTF World Taekwondo Championships ณ เมอื งปกั ก่งิ สาธารณรัฐประชาชนจนี ระหว่างวนั ที่ 16 – 23 พฤษภาคม 2550 นักกฬี าสามารถ ท�ำผลงานได้ 3 เหรยี ญเงนิ และ 1 เหรียญทองแดง 11. รายการ กีฬามหาวทิ ยาลัยฤดูร้อน ครั้งที่ 24 ระหวา่ งวันที่ 9 – 13 สงิ หาคม 2550 ณ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ จังหวัดปทมุ ธานี นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรยี ญทอง และ 4 เหรียญเงนิ 12. รายการ 4th Asian Junior Taekwondo Championships 2007 ณ เมอื งอมั มาน ประเทศจอร์แดน ในระหว่างวันท่ี 20 - 26 สิงหาคม 2550 โดย นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรียญทอง 2 เหรยี ญเงิน และ 3 เหรียญทองแดง 13. รายการ 2007 World Taekwondo Qualification Event For The Beijing Olympic Games ณ เมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ในระหว่างวันที่ 22 กันยายน – 3 ตลุ าคม 2550 นกั กีฬาสามารถควา้ ต๋วั ส�ำหรับเข้ารว่ มการแขง่ ขันโอลิมปกิ ได้ 1 ทนี่ ั่ง 14. รายการ 2007 Asian Taekwondo Qualification Event For The Beijing Olympic Games ณ เมอื งโฮจมิ ินซติ ้ี ประเทศเวยี ดนาม ในระหว่างวันท่ี 28 – 30 พฤศจิกายน 2550 โดยนกั กีฬาสามารถควา้ ต๋ัวส�ำหรับเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกได้ 2 ท่นี ่ัง 15. รายการซีเกมส์ ครั้งท่ี 24 ณ จงั หวัดนครราชสีมา ระหว่างวันท่ี 6 – 15 ธนั วาคม 2550 นกั กีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 8 เหรียญทอง 3 เหรยี ญเงิน และ 2 เหรยี ญทองแดง 16. รายการ 18th Asian Taekwondo Championships ณ ลว่ั หยาง สาธารณรัฐ ประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 23 – 29 เมษายน 2551 โดยนกั กฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง และ 4 เหรียญทองแดง 17. รายการ 7th WTF World Junior Taekwondo Championships ณ เมืองอีซเมีย์ ประเทศตุรกี ในระหว่างวันที่ 4 - 12 พฤษภาคม 2551 โดยนักกีฬาสามารถ ท�ำผลงานได้ 3 เหรยี ญเงนิ และ 3 เหรยี ญทองแดง คมู่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควนั โด 17

18. รายการโอลิมปิกเกมส์ 2008 ณ เมืองปักก่ิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่าง วันที่ 20 – 23 สงิ หาคม 2551 โดยนักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรียญเงิน 19. รายการกฬี ามหาวทิ ยาลยั โลก ฤดรู อ้ น ครงั้ ที่ 25 ณ เมอื งเซอรเ์ บยี ร์ ประเทศรสั เซยี ในระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 6 กรกฎาคม 2552 นกั กฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญเงนิ และ 6 เหรยี ญทองแดง 20. รายการ 1st Asian Martial Arts Games 2009 ณ อินดอร์สเตเดย้ี ม หัวหมาก ประเทศไทย 1 – 9 สิงหาคม 2552 นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 2 เหรียญทอง 1 เหรยี ญเงนิ และ 4 เหรียญทองแดง 21. รายการ 2009 WTF World Taekwondo Championships Copenhagen ระหว่างวันท่ี 9 – 19 ตุลาคม 2552 ณ เมืองโคเปเฮเก้น ประเทศเดนมาร์ก นักกีฬาสามารถ ท�ำผลงานได้ 1 เหรียญเงิน และ 3 เหรียญทองแดง 22. รายการ 5th Asian Junior Taekwondo Championships 2009 ณ เกาะคสี ประเทศอิหร่าน ระหว่างวันที่ 17 – 24 พฤศจิกายน 2552 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 4 เหรยี ญทอง 4 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง 23. รายการซเี กมส์ ครั้งท่ี 25 ณ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ในระหว่าง วันที่ 9 – 12 ธันวาคม 2552 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 6 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน และ 3 เหรียญทองแดง จากการแข่งขันประเภทตอ่ สู้ และ 2 เหรียญเงนิ 1 เหรยี ญทองแดง จากการ แข่งขันประเภทพมุ เซ่ 24. รายการ 8th Junior Taekwondo Championships Tijuana Mexico 6 – 9 มีนาคม 2553 นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 3 เหรยี ญทองแดง 25. รายการ WTF World Qualification for 2010 YOG Tijuana Mexico 3 - 4 มีนาคม 2553 นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรียญทองแดง 26. รายการ 19th Asian Taekwondo Championships & 1st Asian Taekwondo Poomsae Championships ณ ประเทศคาซคั สถาน ในระหว่างวนั ท่ี 20 – 23 พฤษภาคม 2553 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 2 เหรียญทอง 1 เหรยี ญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง *ถ้วยรางวัลรวมอนั ดับท่ี 3 ประเภททีมชาย *ถ้วยรางวลั รวมอนั ดับที่ 4 ประเภทรวมทีมชาย/หญงิ 27. รายการ 2010 WTF World Cup Taekwondo Team Championships ณ เมืองกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน ในระหวา่ ง 14 – 21 กรกฎาคม 2553 นักกีฬาสามารถ ท�ำผลงานได้ 1 เหรียญทองแดง 28. รายการ The 6th WTF World Taekwondo Poomsae Championship 2011 ณ เมือง Vladivostok ประเทศรัสเซยี ระหว่างวันที่ 26 กรกฎาคม - 1 สิงหาคม 2554 นกั กฬี าสามารถ ท�ำผลงานได้ 1 เหรียญทองแดง (อันดับท่ี 3 ของโลก) รุ่นซเี นียร์หญงิ 18 คู่มอื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควันโด

29. รายการแขง่ ขนั กฬี าซเี กมส์ คร้ังที่ 26 ณ ประเทศอนิ โดนเี ซยี 12 – 15 พฤศจิกายน 2554 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 7 เหรียญทอง 3 เหรยี ญเงนิ และ 2 เหรียญทองแดง 30. รายการ Asian Qualification Tournament for London 2012 Olympic Games 26 – 27 พฤศจิกายน 2554 ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตบางนา นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 2 เหรยี ญทอง 31. รายการ 1st Asian Junior Taekwondo Poomsae Championships ณ เมืองโฮจิมินทร์ ประเทศเวียดนาม ระหว่างวันที่ 4 – 5 พฤษภาคม 2555 นักกีฬาสามารถ ท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญเงนิ 32. รายการ 2013 WTF World Taekwondo Championships เมืองพูบา ประเทศเมก็ ซโิ ก ระหว่างวนั ที่ 15 – 21 กรกฎาคม 2556 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง และ 1 เหรียญทองแดง 33. รายการ 2nd Asian Junior Taekwondo Poomsae Championships ณ เมอื งจากาตาร์ ประเทศอินโดนีเซยี ระหว่างวันที่ 18 – 21 มถิ นุ ายน 2556 นักกีฬาสามารถ ท�ำผลงานได้ 2 เหรยี ญทองแดง 34. รายการ 2nd Asian Youth Games 2556 ณ เมอื งนานจงิ สาธารณรฐั ประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 16 – 24 สงิ หาคม 2556 นกั กฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง และ 1 เหรยี ญเงนิ 35. รายการ 8th WTF World Taekwondo Poomsae Championships ณ เมอื งบาหลี ประเทศอนิ โดนเี ซยี ระหวา่ งวนั ท่ี 31 ตลุ าคม - 3 พฤศจกิ ายน 2556 นกั กฬี าสามารถ ท�ำผลงานได้ 2 เหรยี ญทอง และ 4 เหรยี ญทองแดง 36. รายการ 2nd Asia Europe Intercontinental Taekwondo Championships 2013 สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันท่ี 15 – 18 พฤศจิกายน 2556 ณ เมืองเซินเจิน นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง และ 1 เหรยี ญเงนิ 37. รายการ 27th Sea Games ณ เนปดิ อร์ ประเทศเมียนมาร์ ระหว่างวนั ที่ 15 – 23 ธันวาคม 2556 นกั กฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 6 เหรยี ญทอง 5 เหรียญเงิน และ 4 เหรยี ญทองแดง 38. รายการเอเชยี นเกมส์ ครงั้ ท่ี 17 ระหวา่ งวันท่ี 19 กนั ยายน - 4 ตลุ าคม พ.ศ. 2557 ที่เมืองอินชอ็ น ประเทศเกาหลใี ต้ นักกฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง 1 เหรยี ญเงิน และ 4 เหรยี ญทองแดง ถือเปน็ บ�ำดบั 6 จาก 37 ชาติทีเ่ ข้าร่วมแข่งขันในเอเชยี นเกมส์ประเภทเทควนั โด โดยเหรยี ญทอง ได้จากชนาธิป ซ้อนข�ำ รนุ่ น�้ำหนกั 49 กโิ ลกรมั หญิงเหรยี ญเงนิ ไดจ้ าก อคั รินทร์ กิจวิจารณ์ รุน่ น้�ำหนกั 63 กโิ ลกรมั ชายและเหรยี ญทองแดงจาก รามณรงค์ เสวกวิหารี น�้ำหนกั 54 กโิ ลกรมั ชาย ณฐั ภัทร ตนั ตามาตย์ รุ่นน้ำ� หนกั 87 กโิ ลกรมั ชาย พาณภิ ัค วงศพ์ ฒั นกิจรุน่ น�ำ้ หนัก 46 กิโลกรมั หญงิ และรังสมิ า นิสยั สม รนุ่ น้ำ� หนัก 57 กิโลกรมั หญิง คมู่ อื ฝกึ อบรมผูฝ้ ึกสอนกฬี าเทควันโด 19

39. รายการ 2015 WTF World Taekwondo Championships เมอื เชลยาบนิ ส์ ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันท่ี 12 - 18 พฤษภาคม 2558 นักกีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง และ 1 เหรยี ญทองแดง ซ่งึ ถือเป็นล�ำดบั ท่ี 8 จาก 139 ชาติทเี่ ขา้ รว่ มแข่งขนั 40. รายการโคเรยี โอเพน่ 2015 ทเ่ี มอื งอนิ ชอน ประเทศเกาหลใี ต้ ระหวา่ งวนั ท่ี 22 - 27 กรกฎาคม 2558 นกั กฬี า สามารถท�ำผลงานได้ 6 เหรยี ญทอง 1 เหรยี ญเงนิ และ 5 เหรียญทองแดง ส่งผลใหโ้ ค้ชเชได้รับรางวลั โคช้ ยอดเยยี่ มในการแข่งขนั ครง้ั น้ี 41. รายการโคเรยี โอเพน่ ระดบั จีทู 2015 เมอื งคย็องจู ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวนั ท่ี 4-5 กรกฎาคม 2559 นกั กฬี าสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรยี ญทอง และ 2 เหรยี ญทองแดง ซงึ่ เหรยี ญ ทองจากประเภทเยาวชนหญงิ รนุ่ นำ้� หนกั 52 กก. วภิ าวรรณ ศริ พิ รเพม่ิ ศกั ด์ิ และสามารถควา้ รางวลั นกั กฬี ายอดเยย่ี มเยาวชนหญงิ จากรายการนี้ ไดอ้ กี ดว้ ย สว่ นเหรยี ญทองแดงจากรนุ่ นำ�้ หนกั 49 กก. รชั นกี ร สนู ประหตั และเหรยี ญทองแดงจากรนุ่ ประชาชนหญงิ รนุ่ นำ�้ หนกั 53 กก. เบญจรตั น์ อยา่ งตระกลู 42. รายการโอลิมปิกเกมส์ 2016 ที่นครรีโอเดจาเนโร สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล จดั ขึน้ ระหวา่ งวนั ท่ี 5 - 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 นกั กีฬาสามารถท�ำผลงานได้ 1 เหรียญเงนิ และ 1 เหรียญทองแดง โดยเหรียญเงิน ได้จากเทวินทร์ หาญปราบ ที่สร้างประวัติศาสตร์เป็น นกั เทควันโดชายคนแรกที่ได้เหรยี ญรางวัลในโอลิมปิก ในรนุ่ น�้ำหนัก 58 กโิ ลกรัม ชาย และเหรยี ญ ทองแดงจากพาณิภัค วังศพ์ ฒั นกจิ ในรุ่นน้�ำหนัก 49 กโิ ลกรัมหญิง รายชื่อผูเ้ ข**า้ *รว่ สมมสามัคมมนเทาค4วtนั hโดPแoหoง่mปsรaะeเทIRศไRทeยfรreว่ sมhกeบั rสCหoพuนั rsธeเ์ ท&คว8นัthโดPโoลoกm จsดั aโeครIRงกSาeรmอบinรaมr ระหวา่ งวันท่ ี 22 – 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2551 ณ โรงแรมอเล็กซานดอร์ ดว้ ยผลงานทผ่ี า่ นมาทงั้ หมดคงเปน็ สง่ิ ทบี่ อกถงึ กระบวนการหลายๆ อยา่ งทด่ี �ำเนนิ มาอยา่ ง ถูกต้อง และด้วยความทุ่มเทของทุกส่วน โดยเฉพาะคณะนักกีฬาทุกคนที่ได้ทุ่มเทฝึกซ้อม และต้ังใจแข่งขันกันมาอย่างเต็มความสามารถอีกทั้งคณะผู้บริหารทุกชุดท่ีเสียสละท�ำงานให้กับ สมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย ที่ส�ำคัญสุดผู้สนับสนุนทั้งภาครัฐและเอกชน และธนาคาร อาคารสงเคราะหท์ ไ่ี ดใ้ หค้ วามสนบั สนนุ ตอ่ เนอ่ื ง ท�ำใหน้ กั กฬี าของไทยสรา้ งผลงานกนั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ลำ� ดับข้ันสายสแี ละความอาวุโสของเทควันโด เทควันโดมีการก�ำหนดหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรได้ถูกก�ำหนดโดย สหพันธ์เทควนั โดโลก (W.T.F.) ซ่งึ ผ้ทู ี่จะเป็นครูผสู้ อนได้จะตอ้ งไดร้ บั สายด�ำ ทีไ่ ดร้ ับการรับรองโดย การสอบสายจากสหพันธ์เทควันโดโลก (W.T.F.) และวุฒิความสามารถ ในการฝึกเทควันโด ซึ่งจะใชข้ ัน้ สายสีเปน็ ตวั ก�ำหนดหลักสูตร โดยแบ่งระดับดังน้ี 1. ระดบั สายสี เรม่ิ จาก 20 คมู่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด

สายขาว ผู้เริ่มเรยี น สายเหลอื ง แสดงคุณวฒุ ิขน้ั ท่ี 10 และ 9 สายเขียว แสดงคณุ วุฒิข้นั ที่ 8 และ 7 สายฟ้า แสดงคุณวฒุ ขิ นั้ ที่ 6 และ 5 สายน้ำ� ตาล แสดงคุณวฒุ ขิ ั้นท่ี 4 และ 3 สายแดง แสดงคุณวฒุ ิข้นั ที่ 2 และ 1 2. ระดับขั้นสายด�ำแสดงคุณวุฒิความสามารถระดับสูง สามารถเป็นครูผู้สอนและ เปิดส�ำนกั ได้ มีทง้ั หมด 9 ดง้ั เรม่ิ จากดั้งที่ 1 ไปจนถงึ ดั้งท่ี 9 (สงู สดุ ) สว่ นเดก็ ที่มีอายตุ ำ�่ กว่า 15 ปี ที่สอบไดร้ ะดับสายด�ำจะไดร้ บั สายด�ำ-แดง พูม (Poom) เมอ่ื อายคุ รบ 15 ปี จะไดร้ ับการปรับเป็น สายด�ำเมือ่ ผ่านการทดสอบในล�ำดบั ขน้ั ต่อไป 1. สายด�ำดงั้ 1 - 2 เรยี กว่า ซัน-แบ-นิม (sun-bae-nim) 2. สายด�ำดัง้ 3 เรยี กวา่ เคยี ง-ซา-นมิ (Kyo-Sar-Nim) 3. สายด�ำดง้ั 4 - 5 เรยี กวา่ ซา-บม-นิม (Sa-Bom-Nim) 4. สายด�ำดง้ั 6 ข้นึ ไป เรียกว่า ควัน-จาง-นิม (Kwan-Jang-Nim) ความหมายของสายแตล่ ะสี สขี องสายคาดเอวนน้ั ไมไ่ ด้ใช้ประโยชน์เพยี งแคก่ ารเรียงล�ำดับข้นั เทา่ น้นั เพราะสายแต่ละสี มีความหมายถงึ การเพ่ิมของการรับรแู้ ละพัฒนาการของผู้เรยี น ระบบสีของข้ันสายสีแสดงข้ันของการพัฒนาและยังแสดงถึงการเติบโตและการรับรู้ของ แต่ละบุคคล การพัฒนาเหล่านี้ไม่ได้เป็นเพียงแค่การพัฒนาทางด้านการต่อสู้ในยิมหรือในโรงฝึก เทา่ นน้ั แตย่ งั แสดงถงึ บคุ ลกิ ภาพและการเตบิ โตทางความคดิ นอกโรงฝกึ หรอื ในการด�ำเนนิ ชวี ติ อกี ดว้ ย สายขาว (White) หมายถึง การเกดิ หรือการเริม่ ตน้ ของเมล็ดพันธุ์ นกั เทควนั โดสายขาว กค็ อื จุดเรม่ิ ตน้ ในการเรียนรเู้ ช่นเดยี วกบั เมล็ดพันธ์ุ สีเหลือง (Yellow) หมายถงึ ล�ำแสงแรกแหง่ ดวงอาทติ ย์ ซง่ึ เปน็ ล�ำแสงทสี่ อ่ งสวา่ งใหแ้ ก่ เมล็ดพันธุ์เพื่อเป็นการเร่ิมต้นแห่งชีวิตใหม่ นักเทควันโดสายเหลืองเปรียบดัง การได้รับรัศมี การเร่มิ ตน้ ของการเรียนรู้ และการเปิดใจตวั เองพร้อมที่จะเรยี นรู้ และรบั ฟงั ครหู รอื อาจารย์ สีเขียว (Green) หมายถึง การเติบโตของเมล็ดพันธุ์ท่ีงอกและปักล�ำต้นลงกับพื้นดิน และอย่ใู ตแ้ สงแหง่ ดวงอาทติ ย์ จนคอ่ ยๆ พฒั นาเติบโตเปน็ ต้นไมเ้ หมือนนักเทควันโดสายเขยี วท่อี ยู่ ในขัน้ ของการพฒั นาและเตบิ โต และเรมิ่ ตน้ กบั การเรียนรเู้ ทคนคิ ท่ถี ูกต้อง สฟี า้ (Blue) หมายถงึ การทตี่ น้ ไมไ้ ดเ้ จรญิ เตบิ โตงอกงามจนสงู ถงึ ทอ้ งฟา้ ซง่ึ เปรยี บเหมอื น กับนกั เทควันโดสายฟา้ ท่ีไดข้ ยับไปในข้นั ที่สงู กว่า เหมอื นท่ตี ้นไมไ้ ดส้ งู ข้ึนทุกวันและได้รบั แสงแดด ค่มู ือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด 21

ในการเจรญิ เตบิ โต เชน่ เดยี วกับนกั เรยี นไดร้ ับความรู้เพ่มิ เติมดา้ นร่างกายและจิตใจ เพื่อการเติบโต และพฒั นาตอ่ ไป สีน้�ำตาล (Brown) หมายถึง การเปรียบเสมือนล�ำต้นที่ผ่านแดดและฝนจนแกร่งกล้า แข็งแรงให้ร่มเงาและผลผลิต ซ่ึงเหมือนกับนักเทควันโดที่ผ่านการฝึกฝนจนมีร่างกายท่ีแข็งแรง และแกรง่ กลา้ พร้อมท่ีจะน�ำส่ิงท่ไี ด้มาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ สีแดง (Red) หมายถงึ ความร้อนแรงแหง่ ดวงอาทติ ยท์ ี่ตน้ ไม้งอกงามไปถงึ นกั เทควนั โด สายแดง จดั วา่ เปน็ ขน้ั ทส่ี งู กวา่ สายอนื่ ๆ มาก พวกเขาไดเ้ รยี นรรู้ ายละเอยี ดของเทควนั โด และเหมอื น กบั ต้นไม้ที่เจริญเตบิ โต จนก่งิ ก้านงอกงามถงึ ดวงอาทิตย์ถงึ ตอนนน้ี ักเทควันโดสายแดง ก็ได้เรยี นรู้ ในการระมัดระวงั การใชว้ ิชาทเ่ี รยี นมาและรู้จักการใชส้ ดั ส่วนของรา่ งกายใหเ้ ปน็ ประโยชน์มากขึ้น สดี ำ� (Black) หมายถงึ ความมดื เหนอื แสงแหง่ ดวงอาทติ ย์ นกั เทควนั โดสายด�ำจะแสวงหา ความรู้ใหมแ่ ห่งศลิ ปะการปอ้ งกันตัว พวกเขาจะเร่มิ ต้นกับการสอนผ้อู ่นื เช่นเดียวกบั ท่เี ร่ิมต้นเพาะ เมล็ดใหม่ ซ่ึงก็คือนักเรียนสายขาวรุ่นแล้ว รุ่นเล่า อีกทั้งเพ่ือเป็นการฝังรากลึกในศิลปะการต่อสู้ แต่ถึงอย่างนน้ั ตน้ ไม้ก็ยงั ไมห่ ยดุ เจรญิ เติบโต เหมอื นทน่ี กั เทควนั โดสายด�ำทุกคนทย่ี ังเจรญิ เติบโตต่อไป การจดั ต�ำแหน่งของสายในกฬี าเทควันโด TAEKWONDO BELT RANKING WHITE I YELLOW I YELLOW II GREEN I GREEN II BLUE I BLUE II BROWN I BROWN II RED I RED II RED IIII (PRE-BLACK BELT) BLACK 22 คมู่ อื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควนั โด

บ ทที่ 2 หลกั การเป็นผู้ฝึกสอนกฬี า ความหมายของผฝู้ ึกสอนกฬี า ผู้ฝึกสอนกีฬา (Coach) หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความเข้าใจ และความรอบรู้สูง ในเร่ืองของชนิดกีฬาน้ันๆ มีความช�ำนาญและกว้างขวางพอต่อการกีฬาท่ีท�ำ มีอ�ำนาจบทบาท ในการควบคมุ ดแู ล ประสานงาน และก�ำหนดเกณฑต์ า่ งๆ ตอ่ นกั กฬี าและทมี เปน็ ผวู้ างแผนก�ำหนด แนวทางแก้ปญั หาเก่ยี วกับวิธีการฝกึ ซ้อมและแข่งขันเพ่อื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายที่ได้วางไว้ การเป็นผู้ฝึกสอนท่ีดี Drake chamber (1998) ได้เขียนไว้ในคู่มือการบริหารกีฬาของ กองทนุ สงเคราะหโ์ อลมิ ปกิ (Olympic solidarity) ของคณะกรรมการโอลมิ ปกิ นานาชาติ (International Olympic Committee: IOC) ได้สรปุ การเปน็ ผู้ฝกึ สอนที่ดี (Academy of a Good coach) ไว้ดังนี้ 1. มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโต และพัฒนาการของนักกีฬา (Knowledge of growth and development) 2. อทุ ิศตนและกระตอื รอื รน้ ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ (Dedicated and Enthusiastic) 3. มวี ฒุ ิภาวะ (Mature) 4. มีคุณธรรมจริยธรรม (Ethical) 5. มีความยตุ ิธรรม (Fairness) 6. รหู้ ลักวธิ กี ารฝกึ ซ้อมนกั กีฬา (Knowledge of training method) 7. มีความสามารถในการฝกึ นกั กฬี าอย่างไดผ้ ล (Effectively run practice) 8. มีความสามารถในการประเมินนักกีฬา (Evaluation of personnel) 9. มยี ทุ ธศาสตร์ (Strategy) 10. ร้จู กั การใช้คน (Effectively use of personnel) 11. มีความหว่ งใยนกั กฬี า (Centre for the athlete) 12. มีความสามารถในการสอน (Ability to teach) 13. มคี วามสามารถในการใชส้ ่อื (Media) 14. มคี วามสามารถในการสอื่ สาร (Communication) 15. เปน็ ผู้สรา้ งแรงจูงใจใหน้ กั กีฬา (Motivator) 16. มีวนิ ัย (Discipline) 17. มีทกั ษะการจัดองคก์ ร (Organization skills) 18. มีความรู้เกีย่ วกับการท�ำงานของร่างกาย (Knowledge of how the body works) 19. มีอารมณ์ขนั (Humour) (International Olympics committee 1998) คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกฬี าเทควนั โด 23

สถาบนั ผู้ฝึกสอนกีฬา สหราชอาณาจักร (The British Institute of Sport coach: BISC) (1989) และสภาจรรยาบรรณผฝู้ ึกสอนกีฬาแหง่ ยุโรป (The council of Europe of code of sport ethics) (1992) ได้ก�ำหนดมาตรฐานคุณสมบตั ิวิชาชีพผฝู้ ึกสอนกีฬาระดบั ภาค พรอ้ มไดม้ ี การปรับปรุงแก้ไขในปี ค.ศ.1998 โดยก�ำหนดให้มาตรฐานวิชาชีพผู้ฝึกสอนกีฬาประกอบด้วย จริยธรรมมาตรฐาน 10 ดา้ น คือ 1. ดา้ นมนษุ ยศ์ าสตร์ (Humanity) การยอมรบั ในคณุ คา่ และสทิ ธสิ ว่ นบคุ คลของมนษุ ยชน 2. ด้านความสัมพันธ์ (Relationship) จะต้องมีความสัมพันธ์ของบุคคลเกี่ยวกับ ความเป็นอยทู่ ีด่ ี ความปลอดภยั การปกป้องสิทธ์ใิ นปัจจบุ นั และอนาคตของนักกฬี า 3. ดา้ นการยึดมั่นสัญญา (Commitment) ต้องปฏิบตั ติ ามหนา้ ท่ีและค่าตอบแทน 4. ด้านความร่วมมือ (Co-operation) มีการส่ือสารและความร่วมมือกับนักกีฬา หรอื องค์กรวิชาชีพ 5. ดา้ นความซ่อื สตั ย์ (Integrity) มีความซ่อื สตั ยป์ ฏบิ ัตติ ามกติกา และไมส่ นับสนนุ ให้ นักกีฬาท�ำผิดกฎระเบยี บกติกาต่างๆ 6. ดา้ นการโฆษณาสินค้า (Advertising) การโฆษณาทเ่ี กี่ยวกับกฬี าจะต้องเป็นไปตาม ขอ้ ตกลง และกฎกตกิ า ขององคก์ รเพื่อสัญญาตา่ งๆ ท่ีไดก้ �ำหนดไว้ 7. ดา้ นการรกั ษาความลบั ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล (Confidentiality) จะตอ้ งเปน็ ผรู้ กั ษาความลบั หรอื ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของนกั กีฬา 8. ด้านการไม่ละเมิดสิทธ์ิ (Abuse of privilege) จะต้องไม่มีการสัญญาและไม่มี การละเมิดสิทธขิ์ องผู้อืน่ 9. ด้านความปลอดภัย (Safety) จะต้องดูแลความปลอดภัยของนักกีฬา ตลอดระยะ เวลาทีป่ ฏิบัตหิ นา้ ท่ี 10. ด้านสมรรถนะ (Competency) จะต้องมีสมรรถนะในการฝึกสอนนักกีฬา อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั และจรยิ ธรรมของนักกีฬานั้น บทบาทของผฝู้ กึ สอนกีฬาทีด่ ี กรมพลศึกษา (2552) ไดเ้ สนอลักษณะและบทบาทของผู้ฝกึ สอน ไว้ดังน้ี 1. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งตระหนกั ดวี า่ การแพห้ รอื ชนะนนั้ ขน้ึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบหลายประการ ทั้งสภาพร่างกายและจิตใจของนักกีฬา รวมทงั้ สภาพแวดลอ้ มภายนอก 2. มคี วามมานะพยายาม มีระเบียบวินัย และเสยี สละท�ำงานเพอ่ื หมู่คณะ 3. มีความรู้ ความสามารถ และมีความคิดอย่างมีเหตุผลในการถ่ายทอดความรู้และ ฝึกสอนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นทีย่ อมรบั ของนักกีฬา 24 คมู่ อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาเทควันโด

4. เคารพและยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของนกั กฬี า ทง้ั เลอื กสรรอยา่ งมเี หตผุ ล มหี ลกั การ และยดึ มนั่ ในระเบียบข้อตกลงทีร่ ่วมกัน 5. ควรฝึกสอนให้พอเหมาะกับสภาพร่างกายและจิตใจของนักกีฬา อย่าพยายามสอน และให้บทเรยี นหรือแบบฝึกหดั มากเกนิ ไป 6. พยายามใหก้ �ำลงั ใจ กระตนุ้ หรอื จงู ใจใหน้ กั กฬี าเกดิ ความรกั ในชอื่ เสยี งของหมคู่ ณะ เพ่ือนนักกฬี า เพื่อให้เกดิ ความรับผิดชอบในการฝกึ และมจี ิตวญิ ญาณที่จะน�ำชยั ชนะมาสู่หมู่คณะ 7. ผฝู้ ึกสอนจะต้องฝกึ ให้นักกฬี าเกดิ การเรยี นรู้จนถึงขั้นช�ำนาญ 8. การฝึกจะต้องใช้วิธีการฝึกหลายวิธี ข้ึนอยู่กับความสนใจของแต่ละบุคคลเพื่อไม่ให้ เกดิ ความเบ่ือหนา่ ย 9. การฝึก ควรเริ่มจากการสอนทฤษฎีแล้วจึงภาคสนาม โดยการอธิบาย สาธิต ลองปฏบิ ัติ ใหน้ ักกฬี าเกิดความเข้าใจ 10. จัดท�ำสถิติการฝึก การเข้าร่วมการฝึก ความส�ำเร็จของนักกีฬาแต่ละคน เพ่ือเป็นระเบียบสะสม ช่วยเป็นแรงกระตุ้นให้นักกีฬาตื่นตัวอยู่เสมอในการที่จะพยายามท�ำดี ปรบั ปรุงความสามารถของตนเองให้ดีข้ึน 11. ผู้ฝึกสอนจะต้องพยายามหาวิธีการเพื่อช่วยให้นักกีฬามีความสามารถสูงสุด เทา่ ที่จะท�ำได้ 12. ควรสร้างเสริมสมรรถภาพและทดสอบความสามารถของนักกีฬาอยู่เสมอ เพื่อชี้ให้เห็นความสามารถของนักกีฬาแต่ละคนเป็นอย่างไร จะได้พัฒนาความสามารถให้คงอยู่ ในเกณฑ์ดีเสมอไป 13. ผฝู้ กึ สอนจะตอ้ งเขา้ ใจ การฝกึ นนั้ จะตอ้ งฝกึ ตลอดสมำ�่ เสมอ แตช่ ว่ งระยะเวลาการฝกึ อาจแตกตา่ งกนั ออกไป 14. ควรฝกึ ซอ้ มใหม้ ากกวา่ สภาพความเปน็ จรงิ ในการแขง่ ขนั เมอื่ ถงึ เวลาการแขง่ ขนั จรงิ ไม่ควรพูดอะไรมากเกนิ ไป นอกจากให้ค�ำแนะน�ำ 15. เม่ือนักกีฬาได้พัฒนาสมรรถภาพและความสามารถอย่างดีท่ีสุดแล้ว ผู้ฝึกสอนควร พยายามให้ก�ำลงั ใจเพอื่ สง่ เสริมพลงั ใจให้เข้มแข็งพรอ้ มทีจ่ ะเข้าแขง่ ขนั 16. ในขณะท�ำการแขง่ ขนั อยา่ สอนหรอื ตะโกนบอกนกั กฬี ามากเกนิ ไป จะท�ำใหน้ กั กฬี า เกิดความกังวลและสภาพจติ ใจเสียไป 17. เม่ือนักกีฬาแพ้ ผู้ฝึกสอนต้องพยายามอธิบายสาเหตุของการแพ้ให้นักกีฬาทราบ เพ่ือหาทางแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องและปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติม เพ่ือให้นักกีฬาเกิดความเชื่อมั่น ในตนเองมากขน้ึ 18. ไมใ่ ชว้ าจาหยาบคายหรอื ดหู มน่ิ ความสามารถของนกั กฬี า พยายามใหก้ �ำลงั ใจเมอื่ แพ้ และพยายามชมเชยเม่ือไดร้ บั ชยั ชนะ คู่มือฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควันโด 25

19. ผู้ฝึกสอนจะต้องมีลักษณะผู้น�ำ มีความคิดริเร่ิม วางโครงการ แนะน�ำนักกีฬาให้มี ระเบียบวินัย ตดั สินใจถูกตอ้ ง ออกค�ำสั่งชดั เจน มีความเขา้ ใจนกั กฬี าทกุ ด้าน 20. ผู้ฝึกสอนจะต้องซื่อสัตย์ จริงใจ และมีความยุติธรรมแก่นักกีฬาทุกๆ ด้าน ถือวา่ นักกฬี าทกุ คนมคี วามส�ำคัญเท่าๆ กนั จรรยาบรรณของผฝู้ กึ สอนกีฬา กรมพลศึกษา (2552) ได้เสนอจรรยาบรรณของผ้ฝู กึ สอน (Coaches Code of Ethics) ไวด้ งั นี้ 1. ผู้ฝึกสอนพึงระลึกอยู่เสมอว่าตนมีอิทธิพลมากในการปลูกฝังให้นักกีฬาเป็นคนดี มีน�้ำใจมากกว่าการหวังผลชนะอยา่ งเดยี ว 2. ผู้ฝึกสอนพงึ ปฏบิ ัตติ นเปน็ ตัวอย่างทดี่ แี กท่ ุกคนทเี่ กี่ยวขอ้ ง 3. ผฝู้ กึ สอนท�ำหน้าท่ีอย่างเขม้ งวดในการปอ้ งกนั การใชส้ ารกระตุน้ ในนกั กีฬา 4. ผฝู้ กึ สอนต้องไมด่ ม่ื เหลา้ และสูบบุหร่ขี ณะท�ำหน้าที่ 5. ผู้ฝึกสอนจะท�ำหน้าทไี่ ปจนส้ินสดุ ฤดกู าลแข่งขัน (จะไมล่ ะท้ิงหนา้ ท)่ี 6. ผู้ฝึกสอนต้องรู้โปรแกรมการแข่งขันและวางแผนเป็นอย่างดี โดยไม่แสวงหา ผลประโยชนจ์ ากชอ่ งวา่ งของกตกิ า 7. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งสง่ เสรมิ ความมนี ำ�้ ใจนกั กฬี า โดยใหค้ นดแู ละผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี (Stakeholder) แสดงความมีน�้ำใจนักกฬี า 8. ผู้ฝึกสอนต้องเคารพกฎกติกา โดยไม่ส่งเสริมให้ผู้เล่นและผู้ดูต่อต้านผู้ตัดสินและ ผจู้ ดั การแข่งขนั 9. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งจดั ใหม้ กี ารประชมุ และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจตรงกนั ในกฎกตกิ าการแขง่ ขนั 10. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งไมบ่ บี บงั คบั ใหอ้ าจารยพ์ จิ ารณาผลการเรยี นของนกั กฬี าเปน็ กรณพี เิ ศษ 11. ผ้ฝู ึกสอนจะไม่สอดแนมทีมค่ตู ่อส้เู พือ่ ล้วงความลบั ของค่ตู ่อสู้ 26 คู่มือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาเทควนั โด

บ ทที่ 3 หลกั การฝึกสอนกีฬา การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของนกั กีฬาในแต่ละช่วง เพศและการเจริญเตบิ โต (Gender and Growth Development) ผฝู้ กึ สอนกฬี า จ�ำเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในความแตกตา่ งของนกั กฬี าทอี่ ยใู่ นความดแู ล ซึ่งเป็นเรื่องท่ีค่อนข้างยากและซับซ้อน ผู้ฝึกสอนบางคนมักเข้าใจว่า การให้ความเอาใจใส่ แกน่ ักกฬี าทกุ คนอย่างเทา่ เทยี มกันก็ถอื ว่ามคี วามยุตธิ รรมและเป็นการเพยี งพอแล้ว ซ่งึ แท้จรงิ แลว้ เปน็ วธิ กี ารทไี่ มถ่ กู ตอ้ งทผ่ี ฝู้ กึ สอนจะปฏบิ ตั กิ บั นกั กฬี าทกุ คนในรปู แบบเดยี วกนั เพราะนกั กฬี าแตล่ ะคน ต่างมคี วามแตกตา่ งกนั โดยเฉพาะในพืน้ ฐานต่างๆ ดงั นี้ 1. ความพร้อมทางด้านร่างกาย (Maturation) 2. วฒั นธรรม (Culture) 3. เพศ สมรรถภาพทางกาย และจิตใจ (Gender Physical and Mental) ในอดีตนักกีฬาที่มีความต้องการเฉพาะตัว หรือไม่สนใจที่จะท�ำการฝึกซ้อม หรือร่วมท�ำ กิจกรรมอย่างจริงจัง มักถูกคัดออกจากทีม ปัจจุบันแนวทางดังกล่าวได้มีการเปล่ียนแปลงไปแล้ว ผ้ฝู กึ สอนจ�ำเป็นตอ้ งเตรียมนักกีฬาและฝึกสอนนักกฬี าทมี่ คี วามแตกต่างกนั อยา่ งมาก เช่น นกั กีฬา ท่ีมคี วามต้องการพิเศษ มคี วามแตกต่างทางด้านจติ ใจ สังคม หรือวฒั นธรรม เป็นตน้ ซ่งึ ผฝู้ กึ สอน ท่ีดตี ้องรแู้ ละเขา้ ใจความแตกต่างดังกล่าวขา้ งตน้ และสามารถถา่ ยทอดความรู้ให้กับนักกฬี ากลุ่มน้ี ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ดงั น้ี ความเขา้ ใจในนกั กฬี าวยั รนุ่ การฝกึ ส�ำหรบั นกั กฬี าวยั รนุ่ เปน็ งานทท่ี า้ ทาย เพราะนกั กฬี า วัยน้ีเป็นช่วงที่มีการเปล่ียนแปลงและมีพัฒนาการทางด้านร่างกายอย่างมาก โดยเฉพาะนักกีฬา ท่ีมีอายุระหว่าง 11 - 21 ปี ซ่ึงเป็นช่วงที่เปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ซ่ึงอาจแบ่งได้เป็น 3 ช่วงอายุ ดังนี้ 1. ชว่ งวยั รุน่ ตอนต้น (อายุ 11 – 14 ปี) โดยเฉลย่ี ของช่วงนี้ เดก็ ผูห้ ญงิ จะมีอายุ 9.5 ปี เด็กชายอายเุ ฉลย่ี 11.5 ปี เดก็ วยั นจ้ี ะมี การเปล่ยี นแปลงทางความสูงอยา่ งรวดเร็ว โดยจะมีการเพม่ิ ความสูงที่อายเุ ฉลีย่ 11.5 ปี ในเดก็ ผ้หู ญงิ และ 13.5 ปี ในเด็กผู้ชาย เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางความสูงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้เด็กวัยนี้เคล่ือนไหวร่างกาย ไม่คล่องแคล่ว ไม่กระฉับกระเฉง การทรงตัวไม่ดี และการท�ำงานของร่างกายไม่ค่อยสัมพันธ์กัน จนกว่าจะมีการปรบั ตวั ในการท�ำงานในส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย คมู่ ือฝึกอบรมผูฝ้ ึกสอนกฬี าเทควันโด 27

ความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ และรา่ งกายในวยั น้ี มกี ารเพม่ิ ข้นึ ทั้งเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชาย และหากมีโปรแกรมการฝึกซ้อมท่ีดีก็จะสามารถเพ่ิมความแข็งแรงขึ้นได้อีก เด็กผู้ชายจะเพิ่มได้ มากกวา่ เดก็ ผหู้ ญิงเลก็ นอ้ ยในระยะกอ่ นวยั รนุ่ และจะเพ่มิ ขน้ึ อยา่ งเห็นได้ชดั ในชว่ งวัยรุ่น ในกิจกรรม เช่น การกระโดด การขว้าง และการว่ิง ท้ังเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงจะมี พัฒนาการอยา่ งตอ่ เนือ่ งในชว่ งวัยรนุ่ แต่เด็กผูห้ ญงิ จะมีพฒั นาการน้อยลงในชว่ งอายุ 12 – 13 ปี ส่วนเด็กผู้ชายจะมีการพัฒนาต่อเน่ืองจนถึงช่วงวัยรุ่นตอนปลาย เนื่องจากเป็นช่วงที่มีการเจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กวัยน้ีจ�ำเป็นที่จะต้องได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีการพักผ่อน มากกว่าปกติ เด็กจะสูงและแข็งแรงมาก โดยเฉพาะผู้ท่ีมีพรสวรรค์ทางกีฬา จะเห็นได้ชัดเจน เม่อื เทยี บกบั เพ่ือนในกลุ่ม ในชว่ งอายนุ ี้ ทงั้ เดก็ ผชู้ ายและเดก็ ผหู้ ญงิ จะยา่ งเขา้ สวู่ ยั รนุ่ จงึ ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ การเปลย่ี นแปลง ทางเพศ เชน่ เด็กผหู้ ญิงจะมกี ารขยายขนาดของเตา้ นมและเริม่ มปี ระจ�ำเดอื น เสยี งของเดก็ ผู้ชาย จะเรม่ิ ท้มุ ตำ�่ และมคี วามตน่ื ตวั ทางเพศบ่อยขนึ้ ช่วงก่อนวัยรุน่ จะมคี วามสนใจทางเพศ เรม่ิ ตอ้ งการ ความเป็นส่วนตวั และสนใจการแตง่ กายมากข้ึน การเปล่ยี นแปลงทางร่างกายเร่ิมปรากฏชัดเจน เมื่อเปรยี บเทียบกบั กลุ่มเพ่อื น เรมิ่ มีการ จับกลุ่มโดยเฉพาะในกลุ่มเพศเดียวกัน และความต้องการความเป็นอิสระ ซึ่งสังเกตได้จากการ มคี วามคดิ เหน็ ทข่ี ดั แยง้ กบั ผใู้ หญ่ เดก็ ชว่ งวยั นช้ี อบการคน้ หาตวั เองวา่ ตวั เองเปน็ ใครและอยสู่ ว่ นใด ของสังคม ไมม่ น่ั ใจในการเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายและอารมณ์ หงดุ หงิดงา่ ย มีความคิดทม่ี เี หตุผล มากขึน้ แต่สว่ นใหญจ่ ะเปน็ แนวคดิ ที่เปน็ นามธรรม จากความแตกตา่ งของความพรอ้ มทางรา่ งกาย เดก็ ชว่ งวยั นจี้ ะมพี ฒั นาการตามความเชอ่ื ของตนเองและมักจะไดร้ บั อิทธิพลจากกลมุ่ เพื่อน หรอื ผใู้ หญท่ ีเ่ ขาใหค้ วามเชอ่ื ถอื 2. ช่วงวยั ร่นุ ตอนกลาง (อายุ 15 – 17 ป)ี การเจริญเติบโตทางร่างกายจะสมบูรณ์ ส�ำหรับเด็กผู้หญิงอยู่ท่ีอายุเฉลี่ย 14.5 ปี และ เดก็ ผชู้ ายอายุเฉล่ยี 16.5 ปี โดยเดก็ ผชู้ ายจะมีมดั กล้ามเนอื้ เพ่ิมข้ึนและเดก็ ผหู้ ญิงจะมไี ขมันเพ่ิมขนึ้ เด็กวัยนี้เร่ิมให้ความสนใจกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายน้อยลง แต่ให้ความสนใจต่อบุคลิกภาพ มากข้ึน มักให้ความส�ำคัญกับความเป็นหญิงหรือชาย โดยเฉพาะการแสดงออกทางวัฒนธรรม ของตน ชอบความอิสระ ต้องการการยอมรับจากสังคมรอบข้าง และต้องการเป็นเอกเทศในเร่ือง การตัดสินใจ แตม่ กั จะตดั สนิ ใจผิดพลาด ผใู้ หญ่ทีใ่ กล้ชิดควรให้ค�ำแนะน�ำท่ถี กู ตอ้ ง กลมุ่ เพ่อื นจะมี อิทธิพลต่อความคิดและการตัดสินใจของเด็กช่วงวัยน้ี เช่น การแต่งกาย ภาพลักษณ์ภายนอก การเขา้ ร่วมกจิ กรรมตา่ งๆ การได้รับความอิสระ ความไว้วางใจจากกลุ่มเพื่อนหรือผู้ใหญ่ จะเป็นการเสริมสร้าง ความภาคภูมใิ จและความมั่นใจใหแ้ ก่เด็กวัยนี้ 28 ค่มู ือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควนั โด

3. ช่วงวัยรนุ่ ตอนปลาย (อายุ 18 - 21 ปี) เด็กวัยน้ีจะรู้จักตัวเองดีขึ้น รู้ว่าจะท�ำอะไรได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และเริ่มมองถึงอนาคต ของตน เนอื่ งจากมคี วามสามารถทจ่ี ะพง่ึ พาตวั เองและพรอ้ มทจ่ี ะยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผใู้ หญ่ มากข้ึน มีการวางเป้าหมายในชีวิต แต่กลุ่มเพ่ือนก็ยังคงมีอิทธิพลในการตัดสินใจและการให้ความ เอาใจใส่ ความใกล้ชิดจากคนในครอบครัวก็ยังมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่ง บุคลิกของเด็ก ในช่วงวัยนี้ เป็นช่วงส�ำคัญท่ีผู้ฝึกสอนจ�ำเป็นต้องรู้และเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงทางบุคลิกภาพ ของเดก็ วัยนี้ ความแตกต่างของช่วงวัยต่างๆ เป็นปัญหาส�ำหรับการจัดกลุ่ม เพราะบางคร้ังอายุไม่ได้ เป็นตัวก�ำหนดสภาพร่างกาย อารมณ์ หรือความพร้อมทางสังคม ดังน้ัน การจัดกลุ่มตามอายุ เพอ่ื การแขง่ ขนั กฬี าจงึ ไมเ่ หมาะสม เพราะอาจจะมปี ญั หาเรอื่ งความปลอดภยั และความไมเ่ ปน็ ธรรม ความเข้าใจในความแตกตา่ งของการเจรญิ เติบโต มนุษย์มีความแตกต่างทางโครงสร้างของร่างกายมากในช่วงอายุระหว่าง 10 – 16 ปี เด็กชายทม่ี อี ายุ 13 ปเี ทา่ กนั แต่อาจมลี ักษณะทางกายวิภาคทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ จะศกึ ษาไดจ้ ากการ เอก๊ ซเรย์ กระดกู ข้อมอื (ขา้ งที่ไมถ่ นดั ) ซ่ึงจะเปน็ ตัวชีว้ ดั การเจริญเติบโตทางกายวิภาคของกระดูก แมอ้ ายจุ ะเทา่ กนั แต่สรีระรา่ งกายอาจจะไมเ่ ทา่ กนั การจัดการแข่งขัน โดยทั่วไปจะแบ่งตามเพศและอายุ แต่ส�ำหรับกีฬาต่อสู้จะใช้น้�ำหนัก เป็นเกณฑใ์ นการแบ่ง เพราะท�ำไดง้ า่ ยและเหมาะสมกับสรีระของนกั กีฬา แตผ่ ฝู้ กึ สอนควรค�ำนึงถงึ สภาพความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย ความแตกตา่ งทางดา้ นอารมณแ์ ละสงั คมดว้ ย เพราะความแตกตา่ ง ทางความพร้อมดังกล่าว มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และฝึกซ้อมของนักกีฬา ซ่ึงบางคนอาจจะเรียนรู้ ได้ชา้ กวา่ นกั กฬี าคนอืน่ ๆ ผู้ฝกึ สอนจะตอ้ งเขา้ ใจและใหโ้ อกาสแก่นกั กฬี ากลุ่มนี้ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม สถานะครอบครัว การอบรมเล้ียงดู มีผลต่อการคิด การแสดงออก บุคลิกภาพและการเข้าสังคมของนักกีฬา ในการฝึกสอนกีฬาจะต้องขัดเกลาจิตใจ ส่งเสริมความมีน�้ำใจนักกีฬา และการท�ำงานเป็นทีมแก่นักกีฬา ผู้ฝึกสอนจะต้องรู้และเข้าใจ ในเรื่องความแตกต่างดังกล่าวข้างต้น เพ่ือหาวิธีการท่ีเหมาะสมในการปรับนักกีฬาให้แต่ละคน อยรู่ ว่ มกนั ได้ ความแตกตา่ งทางเพศ เด็กผู้หญิงจะมีรูปร่างเล็กและมีไขมันมากกว่าเด็กผู้ชาย ในสมัยก่อนเด็กผู้หญิงมีโอกาส ในการเลน่ กฬี าหรอื เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั กฬี านอ้ ยกวา่ เดก็ ผชู้ าย ปจั จบุ นั ความแตกตา่ งดงั กลา่ วลดลง และเกิดการเรียกร้องในสิทธิสตรีเพื่อความเท่าเทียมกันทางเพศ ผู้ฝึกสอนจึงต้องส่งเสริมและ ค่มู อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด 29

ใหก้ �ำลงั ใจแกน่ กั กฬี าเพศหญงิ ใหเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมกฬี าใหม้ ากขนึ้ ควรค�ำนงึ อยเู่ สมอวา่ การฝกึ นกั กฬี าหญงิ และชายมีความแตกต่างกันทั้งสรีระรา่ งกายและจติ ใจ หลกั การสอนกีฬา บทบาทท่สี �ำคัญทส่ี ดุ ของผู้ฝึกสอน คอื การสอนเทคนคิ ทักษะ และแทคตกิ ในการแข่งขนั เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของนกั กฬี าอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การฝกึ ซอ้ มของนกั กฬี าในปจั จบุ นั มงุ่ เนน้ การฝกึ ซอ้ ม ในสภาพการณ์ทีเ่ หมอื นการแข่งขนั มากกวา่ การฝึกซ้อมเทคนคิ ทักษะ ซึง่ จะท�ำใหน้ ักกฬี าไดเ้ รียนรู้ จากสถานการณจ์ รงิ นน่ั คอื แทคตกิ ในการแขง่ ขนั เมอื่ นกั กฬี าประสบปญั หาจากการมเี ทคนคิ ทกั ษะ ไม่ดีพอที่จะน�ำไปใช้ในการฝึกซ้อมแทคติก จะท�ำให้นักกีฬาตระหนักว่าต้องการการเรียนรู้เทคนิค ทกั ษะตา่ งๆ เพม่ิ เตมิ การเรยี นรเู้ ทคนคิ ทกั ษะจะมคี วามหมายกบั นกั กฬี ามากขนึ้ เนอื่ งจากเปน็ ความ ต้องการของนักกฬี าทจี่ ะเรยี นรู้เพ่อื น�ำไปใช้ในการฝกึ ซ้อมเพอี่ การแขง่ ขนั การสอนเทคนคิ ทกั ษะ การฝึกสอน คอื การสอน และการสอนคือ การท�ำให้นกั กฬี าเกดิ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ คือ การพฒั นาความสามารถอยา่ งถาวรอันเนอ่ื งมาจากการฝึกหดั นักกีฬาท่ีมีความสามารถสูงและประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันกีฬา จะต้องใช้เวลา ในการฝกึ หดั เปน็ เวลานาน โดยการแสดงทกั ษะไดเ้ ปลย่ี นแปลงและพฒั นาขน้ึ เรอื่ ยๆ ซงึ่ ในตอนแรก ท่เี ปน็ ผู้หัดใหม่จะมีความตง้ั ใจอยทู่ ่ที ักษะพ้นื ฐาน จะคอยคิดอยู่เสมอว่าจะแสดงทักษะท่ถี กู ตอ้ งได้ อยา่ งไร เมอ่ื การฝกึ หดั ผา่ นไป ความตงั้ ใจกเ็ ปลย่ี นไปยงั สว่ นอน่ื ของทกั ษะ อาจจะเปน็ ทกั ษะทสี่ งู ขนึ้ หรอื กศุ โลบายในการเลน่ อาจจะกล่าวได้ว่า ภายหลังการฝึกหัด นักกีฬามีทักษะที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาจาก ผู้หัดใหม่ จนกลายเป็นผู้มีความช�ำนาญและมีความสามารถสูง การเปล่ียนแปลงและพัฒนาน้ี ได้ด�ำเนินไปเป็นล�ำดับ ตามข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ทักษะ ซ่ึงประกอบด้วย 3 ข้ันตอน ดว้ ยกัน คอื 1. ขัน้ หาความรู้ (Cognitive State) เม่ือผู้เรียนเริ่มเรียนทักษะใหม่ จะพบกับค�ำถามตัวเองเก่ียวกับความรู้ในทักษะพ้ืนฐาน ของกีฬาน้ันๆ เช่น ทักษะพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญมีอะไรบ้าง จะแสดงทักษะเหล่าน้ันอย่างไร ท�ำอย่างไร จงึ จะเลน่ ไดด้ ี กฎและกตกิ าการเลน่ มอี ะไรบา้ ง การนบั แตม้ มวี ธิ กี ารอยา่ งไร และอน่ื ๆ ค�ำถามเหลา่ นี้ ผู้เรยี นจะต้องคิดค้นหาค�ำตอบ ซึ่งอาจจะได้จากครผู สู้ อน จากหนังสือวารสาร จากภาพยนตร์ หรอื จากเครือ่ งมือโสตทัศนปู กรณอ์ ่ืนๆ นอกจากนอี้ าจจะได้รบั ค�ำตอบจากการฝกึ หดั ของตนเอง ดังนน้ั ขนั้ แรกนีจ้ ึงเรยี กว่าขัน้ หาความรู้ 30 คมู่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควนั โด

ในข้ันหาความรู้ ผู้เรียนจะมีการแสดงทักษะท่ีผิดพลาดอยู่เสมอๆ ความสามารถในการ แสดงออกจะแปรผัน ผิดบ้าง ถูกบ้าง ผู้เรียนไม่ตระหนักถึงความผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนและไม่รู้ว่า จะท�ำใหด้ ขี น้ึ ในครง้ั ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งไร มกี ารลองผดิ ลองถกู ตลอดเวลา กอ่ นการแสดงทกั ษะแตล่ ะครงั้ จะต้องคดิ วา่ จะท�ำอยา่ งไร ท�ำให้การเคลือ่ นไหวชา้ ไมม่ ีประสิทธภิ าพ 2. ขนั้ การเชือ่ มโยง (Associative Stage) เปน็ การเชอื่ มโยงระหวา่ งความรแู้ ละการฝกึ หดั ในขนั้ นผี้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ หดั ทกั ษะพนื้ ฐานมากขนึ้ และมีการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดี ความผิดพลาดซ่ึงแต่ก่อนน้ันได้เกิดข้ึนอยู่เสมอๆ ได้ลดลงไป ผู้เรียนรู้ตัวว่าการแสดงทักษะของตนเองนั้นถูกหรือผิด สามารถท่ีจะแก้ไขและปรับปรุงให้ถูกต้อง และดขี น้ึ ได้ เมอ่ื ไดร้ บั ค�ำแนะน�ำท่เี หมาะสม หรอื จากการลองผิดลองถกู ของตนเอง ความสามารถ ท่แี สดงออกมคี วามแปรผันน้อยลง มีความถกู ตอ้ งและคงเสน้ คงวามากขึน้ 3. ขน้ั อัตโนมตั ิ (Autonomous Stage) ภายหลังจากการฝึกหัดและมีประสบการณ์มากขึ้น ผู้เรียนจะมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ ข้ันสุดท้ายของการเรียนรู้ คือ ข้ันอัตโนมัติ ในข้ันนี้การแสดงทักษะจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว และ อัตโนมัติ ผู้เรียนไม่ต้องนึกถึงท่าทางการเคล่ือนไหว แต่จะมีความตั้งใจต่อส่วนของทักษะที่ส�ำคัญ และยากข้ึน นอกจากน้ีผู้เรียนจะมีความต้ังใจต่อกุศโลบายในการเล่น เพ่ือท่ีตนเองจะได้แสดง ความสามารถสูงสดุ จะเห็นว่าก่อนท่ีผู้เรียนจะมีทักษะดีในกีฬาแต่ละประเภทนั้น จะต้องผ่านข้ันตอนต่างๆ ของกระบวนการเรียนรู้ทักษะมาตามล�ำดับ การเรียนรู้จะด�ำเนินไปด้วยความรวดเร็วและมี ประสทิ ธิภาพหรอื ไม่น้นั ผู้ฝกึ สอนเป็นผู้มีอิทธิพลและบทบาทส�ำคญั ในการนี้ ในข้ันหาความรู้ ผู้ฝึกสอนจะต้องแก้ไขความผิดพลาดทั้งหลายท่ีเกิดขึ้นโดยอธิบายและ สาธติ การแสดงทกั ษะทถี่ กู ตอ้ งใหผ้ เู้ รยี นไดร้ แู้ ละเขา้ ใจ ในกรณที ท่ี กั ษะยากและซบั ซอ้ น อาจจะแบง่ แยก ทกั ษะนนั้ ออกเป็นสว่ นย่อยๆ ให้ผเู้ รยี นฝึกหัด ให้เวลาผู้เรยี นไดฝ้ ึกหัดมากขึ้น เม่ือผู้เรียนท�ำผดิ และ หมดก�ำลังใจในการฝึกหัด ก็ให้แรงจูงใจกระตุ้นให้ผู้เรียนพยายามมากขึ้นเม่ือเห็นว่าผู้เรียนท�ำได้ ถกู ตอ้ งกก็ ลา่ วค�ำชมเชย จะเปน็ แรงหนนุ ใหผ้ เู้ รยี นแสดงทกั ษะนนั้ ไดถ้ กู ตอ้ งบอ่ ยครง้ั จนคงเสน้ คงวา ในทสี่ ดุ ถา้ มเี วลาผฝู้ กึ สอนควรใหค้ วามสนใจผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลจะชว่ ยแกไ้ ขความผดิ พลาดไดต้ รงจดุ ส�ำหรับข้ันการเช่ือมโยงนั้นผู้ฝึกสอนควรให้เวลาผู้เรียนได้ฝึกหัดมากขึ้น ช่วยแก้ไขในส่วนละเอียด ของทักษะ ให้ข้อมูลท่ีเป็นผลย้อนกลับภายหลัง การแสดงทักษะอาจใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ เช่น วีดิโอเทปช่วยประกอบในการแก้ไขความผิดพลาด ส่วนในขั้นอัตโนมัติผู้ฝึกสอนควรให้ผู้เรียน ไดฝ้ กึ หดั ทกั ษะสว่ นทยี่ ากและซบั ซอ้ น สอนกศุ โลบายตา่ งๆ ทสี่ �ำคญั ในการเลน่ และจดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั เพื่อให้ผู้เรียนได้น�ำเอาทักษะท่ีได้เรียนมาไปใช้ในสถานการณ์จริง อันจะเป็นการเพิ่มประสบการณ์ ในการแขง่ ขันให้ผู้เรยี น คมู่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาเทควันโด 31

การสอนเทคนิคทกั ษะ 3 ขนั้ ตอน 1. ขั้นอธิบายและสาธิต การอธิบายและสาธิตจะช่วยให้นักกีฬาได้เรียนรู้จากการ เหน็ ตน้ แบบที่มคี วามสามารถสงู ในเทคนิคทักษะนั้น ข้ันตอนนี้ประกอบด้วย - การอธิบายและการสาธติ - เชอ่ื มโยงเทคนคิ ทกั ษะกับเทคนคิ ที่ไดเ้ รยี นรูม้ าแล้ว - ตรวจสอบความเขา้ ใจ 2. ขั้นฝึกหัด ขั้นตอนนี้จะให้นักกีฬาได้ฝึกหัดเทคนิคทักษะในทันทีหลังจากการอธิบาย และสาธิต การฝึกหัดน้ีสามารถกระท�ำได้ด้วยการฝึกหัดแบบส่วนรวมหรือแบบส่วนย่อย โดยมี หลกั การดังน้ี ชว่ งของการฝึกหัด ผฝู้ กึ สอนก�ำหนดตารางฝกึ ซอ้ ม 2 ชว่ั โมงตอ่ วนั จะวางแผนการฝกึ ซอ้ มอยา่ งไร จะฝกึ ซอ้ ม โดยไมห่ ยุดพัก 2 ช่วั โมง หรอื จะฝกึ 2 ชว่ งๆ ละ 1 ช่วั โมง พกั 10 นาที หรือจะฝกึ 4 ชว่ งๆ ละ 30 นาที จากตัวอย่างทีก่ ล่าวมานีผ้ ฝู้ ึกสอนจะตอ้ งมหี ลักการและเหตผุ ลท่จี ะเลอื กวิธีฝึกหัด ชว่ งของการฝึกหดั อาจแบ่งออกได้ 2 ลกั ษณะ คอื 1) การฝกึ หดั ช่วงยาว (Massed Practice) 2) การฝึกหดั ช่วงส้นั (Distributed Practice) การฝึกหดั ช่วงยาว 1 ชัว่ โมง การฝึกหดั ช่วงส้ัน 20 นาท ี พกั 20 นาที พัก 20 นาที การฝึกหัดช่วงยาว คือ การฝึกหัดที่กระท�ำต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุดพัก ผู้เรียนฝึกหัด 1 คร้ัง เป็นเวลา 1 ชว่ั โมง ส่วนการฝกึ หดั ช่วงสนั้ คือ การฝกึ หดั ทแี่ บง่ ออกเปน็ ช่วงๆ และมกี ารหยุดพัก ระหวา่ งช่วงเวลาฝกึ หัด 1 ชวั่ โมง จะแบ่งออกเปน็ 3 ช่วงๆ ละ 20 นาที พัก 5 นาที เปน็ ตน้ ไดม้ กี ารเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพระหวา่ งการฝกึ ทงั้ 2 วธิ ี พบวา่ การแสดงความสามารถ จากการฝึกหัดด้วยวิธีการฝึกหัดช่วงส้ันสูงกว่าการแสดงความสามารถจากการฝึกช่วงยาว อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากหยดุ ไปแลว้ ท�ำการทดสอบเปรยี บเทยี บกนั อกี พบวา่ ทงั้ สองวธิ ไี มแ่ ตกตา่ งกนั การทดสอบครั้งหลังเป็นการวัดการคงอยู่ของการเรียนรู้ จึงสรุปได้ว่าความสามารถท่ีแสดงออก ในการฝึกหัดด้วยการฝึกหัดช่วงสั้นจะให้ผลดีกว่า แต่การเรียนรู้ซ่ึงวัดจากการคงอยู่ของการเรียนรู้ ไมแ่ ตกตา่ งกนั สาเหตทุ กี่ ารแสดงความสามารถจากการฝกึ หดั ชว่ งยาวตำ�่ กวา่ ความสามารถจากการฝกึ หดั ชว่ งสน้ั อยู่ 3 ประการ คอื ประการแรก ผู้เรียนใช้เวลาในการฝึกหัดนานจะรู้สึกเหน่ือย ท�ำให้แสดงความสามารถ ไมไ่ ด้เตม็ ท่ี 32 คู่มอื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาเทควนั โด

ประการท่สี อง ผเู้ รียนขาดแรงจงู ใจ ไมต่ ้งั ใจฝึกหดั เตม็ ความสามารถ ประการที่สาม ผู้เรียนไม่มีโอกาสท่ีจะส�ำรวจความผิดพลาดของตนเอง และไม่มีโอกาส แกไ้ ขความผดิ พลาด ตรงกันข้าม ผู้เรียนที่ฝึกช่วงส้ัน ได้มีโอกาสพักระหว่างการฝึกหัด มีแรงจูงใจท่ีจะฝึกหัด และสามารถน�ำผลยอ้ นกลบั มาแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดของตนเอง จงึ มกี ารแสดงความสามารถสงู กวา่ กลมุ่ ที่ฝึกด้วยการฝึกหัดช่วงยาว อย่างไรก็ตาม หลังจากหยุดไปแล้ว ท�ำการทดสอบการเรียนรู้พบว่า ท้ังสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้เพราะในระหว่างหยุดพักนั้น กลุ่มฝึกด้วยการฝึกหัดช่วงยาว ไดม้ โี อกาสแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดไดพ้ กั ผอ่ นและมแี รงจงู ใจในการกฬี า จงึ เกดิ การเรยี นรทู้ ไี่ มแ่ ตกตา่ งกนั ในการพจิ ารณาวางแผนการฝกึ หดั พบวา่ จะเลอื กวธิ ฝี กึ หดั ชว่ งสนั้ หรอื วธิ ฝี กึ หดั ชว่ งยาวนน้ั จะตอ้ งค�ำนึงถึงองค์ประกอบ 4 ประการด้วยกนั คอื 1) ความยากง่ายของทักษะ ถ้าทักษะยากซับซ้อน ควรฝึกหัดด้วยการฝึกหัดช่วงสั้น ถ้าทกั ษะง่ายควรฝึกหดั ด้วยการฝึกหัดชว่ งยาว 2) ระดับของทักษะผู้เรียน ถ้าผู้เรียนมีทักษะสูง ควรฝึกหัดด้วยการฝึกหัดช่วงยาว ถ้ามที ักษะตำ่� ควรฝึกหัดด้วยการฝกึ หัดช่วงสัน้ 3) แรงจงู ใจ ถา้ ผเู้ รยี นมแี รงจงู ใจสงู ควรฝกึ หดั ดว้ ยการฝกึ หดั ชว่ งยาว และถา้ มแี รงจงู ใจตำ่� กฝ็ ึกหัดดว้ ยการฝกึ หดั ชว่ งสนั้ 4) ความต้องการพลังงาน ถ้าผู้เรียนแข็งแรง อดทน ควรใช้วิธีการฝึกหัดช่วงยาว และถ้าอ่อนแอ ควรใชว้ ธิ ีฝกึ หัดช่วงสั้น การฝกึ หัดแบบสว่ นรวม หรือแบบสว่ นย่อย (Whole and Parts Practice) ในการสอนทกั ษะการเคลือ่ นไหว ผู้สอนอาจให้ผ้เู รยี นฝึกองค์ประกอบของทกั ษะท้งั หมด ในเวลาเดียวกัน หรือฝึกองค์ประกอบของทักษะที่จะสอน การฝึกองค์ประกอบของทักษะทั้งหมด เรียกว่า การฝึกแบบส่วนรวม (Whole Practice) และการฝึกองค์ประกอบของทักษะท่ีจะสอน เรยี กวา่ การฝกึ แบบสว่ นยอ่ ย (Parts Practice) การฝึกแบบส่วนรวมอาจช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้สึกถึงความต่อเน่ือง และจังหวะของ องคป์ ระกอบทง้ั หมดของการเคลอ่ื นไหวไดด้ ี สว่ นการฝกึ แบบสว่ นยอ่ ยนน้ั ชว่ ยลดความซบั ซอ้ นของ ทกั ษะ และสามารถเนน้ การแยกทกั ษะแตล่ ะสว่ นใหถ้ กู ตอ้ ง กอ่ นทจ่ี ะรวมสว่ นยอ่ ยทง้ั หมดเขา้ ดว้ ยกนั จะเหน็ วา่ การฝกึ หดั ทง้ั สองวธิ ชี ว่ ยในการเรยี นรทู้ กั ษะของผเู้ รยี น อยา่ งไรกต็ ามเมอ่ื พจิ ารณา ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ ในกรอบเวลาทเี่ ทา่ กนั แลว้ การฝกึ หดั ทง้ั สองวธิ ี ใหผ้ ลแตกตา่ งกนั ดังน้ันผู้สอนจึงเผชิญกับปัญหาในการตัดสินใจท่ีจะเลือกการฝึกแบบส่วนรวมหรือการฝึกแบบ สว่ นย่อย คูม่ อื ฝึกอบรมผูฝ้ ึกสอนกีฬาเทควนั โด 33

การเลือกวิธีการฝึกระหว่างการฝึกแบบส่วนรวม หรือการฝึกแบบส่วนย่อยสามารถ พิจารณาไดจ้ ากลกั ษณะ 2 ประการของทกั ษะทตี่ อ้ งการฝึกน้ัน ได้แก่ 1) ความซับซอ้ นของงานหรอื ทกั ษะ (Task Complexity) และ 2) การจัดระเบียบของงานหรือทกั ษะ (Task Organization) ความซบั ซอ้ นของงานหรือทกั ษะ หมายถึง จ�ำนวนส่วนประกอบของทักษะ และความ ตงั้ ใจในการแสดงทกั ษะ เมอ่ื สว่ นประกอบเพมิ่ ขนึ้ ความตง้ั ใจในการแสดงทกั ษะเพม่ิ ขนึ้ ความซบั ซอ้ น ของงานก็เพิ่มข้ึนด้วย ตัวอย่างเช่น การเล่นยิมนาสติก การเต้นร�ำท่าที่ยาก การวิ่งไลน์รักบี้ เป็นทักษะท่ีมีความซับซ้อนค่อนข้างสูง ส่วนการยกน้�ำหนักท่าเพลส เป็นทักษะที่มีความซับซ้อน คอ่ นขา้ งต่�ำ การจัดระเบยี บของงานหรือทกั ษะ หมายถงึ ความสมั พันธต์ ่อเน่อื งของส่วนประกอบทกั ษะ ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งใกลช้ ดิ จะมกี ารจดั ระเบยี บของงานสงู เชน่ การกระโดดยงิ ประตบู าสเกตบอล ทักษะที่มีส่วนประกอบเป็นอิสระไม่สัมพันธ์กัน จะมีการจัดระเบียบทักษะต่�ำ เช่น การเต้นร�ำ ทา่ ง่ายๆ บางท่า การฝกึ หดั จะเปน็ แบบสว่ นรวม หรอื สว่ นยอ่ ย จะตอ้ งพจิ ารณาลกั ษณะของงานหรอื ทกั ษะ ที่ส�ำคัญ คือ ความซับซอ้ นและการจัดระเบียบ ถ้าทักษะมคี วามซบั ซ้อนตำ่� และการจดั ระเบยี บสูง ทกั ษะนี้ควรใช้การฝึกแบบส่วนรวม แตถ่ า้ ทกั ษะมีความซับซอ้ นสงู และการจดั ระเบยี บต่�ำ ควรใช้ การฝกึ หดั แบบสว่ นยอ่ ยจะใหผ้ ลดที สี่ ดุ ในการฝกึ หดั แบบสว่ นยอ่ ยนน้ั ถา้ สว่ นใดเปน็ อสิ ระ ควรแยก ฝึกส่วนยอ่ ยน้ันๆ แตส่ ว่ นใดมีความสมั พันธ์กนั ควรฝึกสว่ นเหล่านน้ั เปน็ หนว่ ยเดยี วกัน 3. ขนั้ ตรวจสอบความถกู ต้อง ทา่ นอาจจะไดย้ ินค�ำกล่าวท่ีวา่ “การฝึกหัดท�ำให้สมบูรณ์” ซง่ึ มกั จะพูดถึงเสมอๆ ในการ ฝึกซ้อมหรือเรียนรู้ทักษะกีฬา ค�ำกล่าวน้ีอาจหมายความว่า ถ้าฝึกหัดมากเท่าไหร่ ความสามารถ ก็จะพัฒนามากข้ึนเท่าน้ัน จะเป็นจริงมากน้อยเพียงใดลองพิจารณาดูให้ดี ในการฝึกหัดย่อมจะมี ความผิดพลาดไปจากการแสดงทักษะที่ถูกต้องเกิดขึ้น ถ้าผู้เรียนรู้จักแก้ไขความผิดพลาดก็จะลด น้อยลงไป จนกระท่ังการแสดงทักษะนั้นถูกต้อง ถ้าเป็นเช่นน้ีการฝึกหัดมากคร้ังจะท�ำให้ความ สามารถพัฒนาข้ึนเป็นล�ำดับ ตรงกันข้ามถ้าผู้เรียนฝึกหัดอย่างผิดๆ ไม่รู้ข้อบกพร่องของตนเอง หรอื ถงึ แมจ้ ะรแู้ ตไ่ มอ่ าจแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งได้ การฝกึ หดั มากครง้ั ท�ำนองนกี้ ไ็ มไ่ ดช้ ว่ ยใหม้ คี วามสามารถ มากข้ึน การรู้ความผิดพลาดในการแสดงทักษะคร้ังหนึ่ง แล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไขการกระท�ำ ครงั้ ตอ่ ไปใหด้ ขี นึ้ เปน็ สง่ิ ส�ำคญั ในการเรยี นรทู้ กั ษะ ดงั นนั้ ค�ำกลา่ วทถี่ กู ตอ้ งควรเปน็ “การฝกึ หดั ดว้ ย ผลย้อนกลบั จะท�ำให้สมบูรณ”์ 34 คู่มือฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาเทควันโด

ผลยอ้ นกลบั (Feedback) ผลย้อนกลับ หมายถึง ข้อมูลหรือข่าวสารที่บุคคลได้รับในระหว่างแสดงทักษะ หรือ ภายหลงั การแสดงทกั ษะ รูปภาพที่ 1 แสดงถงึ กระบวนการขา่ วสารอยา่ งง่ายๆ สง่ิ เร้าหรือข่าวสาร ท่ีผู้เรียนได้รับในความรู้สึกต่างๆ ได้แก่ เสียง สัมผัส ความรู้สึกภายในจากข้อต่อ ปลายเอ็นของ กล้ามเน้อื กลา้ มเนือ้ กระสวย เป็นตน้ จะถูกส่งไปยังกลไกกระบวนการข่าวสารส่วนกลาง เปน็ ผลให้ เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือข่าวสารนั้นข้ึน การตอบสนองน้ีได้ย้อนกลับมาเป็นข้อมูลเพ่ือช่วย ให้ผู้เรียนเปรยี บเทยี บกบั การตอบสนองท่ีถกู ตอ้ ง ซึ่งได้ก�ำหนดไวก้ ่อน การยิงลกู โทษบาสเกตบอล ห่างจากตาข่าย 2 ฟุต การได้คะแนนในการแสดงทักษะ 8 จาก 10 คะแนน การปรบมือ แสดงความยนิ ดี การกลา่ วชม การบอกข้อผิดพลาดจากครู เหล่านเี้ ปน็ ตัวอยา่ งของผลยอ้ นกลบั สิ่งเรา้ กระบวนการส่วนกลาง การตอบสนอง (Stimulus) (Central Processing) (Respones) ผลยอ้ นกลับ (Feedback) รปู ภาพ กระบวนการขา่ วสาร ชนิดของผลยอ้ นกลับ ผลย้อนกลบั ภายใน (Intrinsic Feedback) ผลย้อนกลบั ภายใน หมายถึง ผลยอ้ นกลับทเ่ี กิดจากตัวผู้เรียนเอง แบ่งออกได้เป็น 2 ชนดิ ดงั ต่อไปน้ี 1. ผลยอ้ นกลบั ภายในขณะแสดงทกั ษะ (Concurrent Intrinsic Feedback) เปน็ ขอ้ มลู หรือข่าวสารท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนขณะแสดงทักษะข่าวสารน้ีย้อนกลับไปเป็นข่าวสารใหม่ให้ผู้เรียน ใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่วางไว้ เพ่ือแก้ไขการแสดงทักษะให้ถูกต้อง ข่าวสารน้ี ไดร้ บั จากประสาทรับความรสู้ กึ ต่างๆ ท่สี �ำคัญ ได้แก่ การมองเห็น การไดย้ ิน และความรูส้ กึ ภายใน เกี่ยวกบั การเคลอ่ื นไหว ตัวอย่าง ขณะเลี้ยงฟุตบอลเข้าไปยิงประตู ผู้เล่นจะต้องเล้ียงหลบคู่ต่อสู้ การมองเห็น คตู่ อ่ สเู้ ขา้ มาสกดั กนั้ จะเปน็ ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ไปใหผ้ เู้ ลน่ เปลยี่ นทศิ ทางในการเลยี้ งลกู ปรบั การเลย้ี งลกู เพอื่ หาโอกาสยงิ ประตู ในขณะเดยี วกนั ผเู้ ลน่ อาจจะไดย้ นิ เสยี งเรยี กจากเพอื่ นรว่ มทมี เพอ่ื ชว่ ยในการ คูม่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ กึ สอนกีฬาเทควันโด 35

ตดั สนิ ใจทจี่ ะสง่ ลกู หรอื เลย้ี งลกู ตอ่ ไป นอกจากน้ี ผเู้ ลน่ ยงั ไดร้ บั ผลยอ้ นกลบั เกยี่ วกบั การเคลอื่ นไหว จากประสาทรับความรู้สึกภายในที่อยู่ตามข้อต่อปลายเอ็นของกล้ามเน้ือ กล้ามเน้ือกระสวย และหชู ้ันในเพื่อใหก้ ล้ามเน้ือท�ำงานสัมพนั ธก์ นั ดยี ิ่งขนึ้ 2. ผลย้อนกลับภายในหลังการแสดงทักษะ (Terminal Intrinsic Feedback) เปน็ ขา่ วสารท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผเู้ รยี นภายหลังการแสดงทกั ษะได้สิ้นสุดลงแลว้ ตัวอย่างเช่น ภายหลังการ ยงิ ประตฟู ตุ บอล ผเู้ ลน่ จะรวู้ า่ ลกู บอลเขา้ หรอื ไมเ่ ขา้ ประตู หา่ งจากประตใู นทศิ ทางใด และมากนอ้ ย เพียงใด และในการเสริ ์ฟลูกเทนนสิ เมื่อเสิรฟ์ ไปแลว้ ผู้เลน่ จะรู้วา่ ลูกลงคอร์ทเสริ ฟ์ หรอื ออกคอร์ทเสิรฟ์ การแสดงทักษะที่ถูกต้องหรือผิดพลาดนี้จะเป็นข้อมูลที่ผู้เล่นได้รับ และสามารถน�ำมาปรับปรุง การแสดงทกั ษะครง้ั ตอ่ ไปได้ ผลยอ้ นกลับเสรมิ (Augmented Feedback) ผลยอ้ นกลบั เสรมิ หมายถงึ ผลยอ้ นกลบั ทไี่ ดร้ บั จากแหลง่ ภายนอก อาจเปน็ ครผู สู้ อนหรอื เคร่ืองมือโสตทศั นปู กรณ์ เชน่ วดี โิ อเทป ภาพยนตร์ รปู ภาพ และอื่นๆ ผลย้อนกลบั ชนิดนี้ มคี วาม ส�ำคัญต่อการเรียนการสอนมาก ทั้งน้ีเพราะผลยอ้ นกลับทีเ่ กดิ ขึ้นในตัวผูเ้ รยี นเองนน้ั ยังไม่เพียงพอ จะปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด ยังต้องการผลย้อนกลับเสริมจากครูหรืออุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ เพมิ่ เตมิ ผลยอ้ นกลับเสริมชนดิ น้ียงั แบ่งออกได้เปน็ 2 ชนดิ คอื 1. ผลย้อนกลับเสริมขณะแสดงทักษะ (Concurrent Augmented Feedback) เปน็ ผลย้อนกลับทไี่ ด้รบั จากแหลง่ ภายนอก ในขณะที่ผ้เู รยี นก�ำลังแสดงทักษะ ตวั อย่างเช่น ครบู อก ให้นักเรียนเลี้ยงลูกต่�ำลง สูงข้ึน วิ่งเร็วข้ึน วิ่งช้าลง ในขณะเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และผู้ฝึกสอน บอกให้นกั เทนนิสถอยหลัง กา้ วไปขา้ งหนา้ ในการฝึกหัดตบลกู เทนนิส เปน็ ตน้ 2. ผลย้อนกลับเสริมหลังการแสดงทักษะ (Terminal Augmented Feedback) เป็นผลย้อนกลับท่ีได้จากแหล่งภายนอกหลังการแสดงทักษะได้สิ้นสุดลงแล้ว ผลย้อนกลับชนิดนี้ แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื 2.1 การรู้ผล (Knowledge of Result) เป็นผลย้อนกลับเสริมท่ีได้รับจาก แหลง่ ภายนอก ภายหลงั การแสดงทกั ษะไดส้ นิ้ สดุ ลง ขา่ วสารนจ้ี ะบอกถงึ ผลการกระท�ำ ขนาดความ ผิดพลาดที่เกดิ ข้นึ เพ่ือเปรียบเทยี บกับเกณฑม์ าตรฐาน หรอื จดุ ม่งุ หมายที่ก�ำหนดไว้ เช่น ครูบอกให้ ผู้เรยี นทราบว่าในการแสดงทักษะหน่งึ ผ้เู รยี นได้คะแนน 8 คะแนน จาก 10 คะแนน หรอื ผ้เู รยี น เสิรฟ์ ลูกเทนนิสไดเ้ กอื บถกู ต้องแลว้ เป็นตน้ 2.2 การรู้ทาง (Knowledge of Performance) เป็นผลย้อนกลับเสริม จากแหลง่ ภายนอกท่ีใหข้ า่ วสารเกีย่ วกับรูปแบบการเคลอ่ื นไหว เช่น จังหวะ ระยะหา่ ง ล�ำดบั และ ขนาดของแรง เปน็ ต้น 36 ค่มู ือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควันโด

ตวั อย่าง ในการเรยี นยืดหยนุ่ ครูบอกผู้เรียนว่าการแสดงท่าม้วนหนา้ ผเู้ รียนได้ 8 คะแนน จาก 10 คะแนน หรอื เกอื บถูกตอ้ งแล้ว จะเป็นการบอกการรผู้ ล แต่ถา้ ครอู ธบิ ายให้ผู้เรียนทราบว่า ควรเก็บคางใหม้ ากขึน้ และถีบเท้าใหแ้ รงขึ้นอีกเล็กน้อย จะเป็นการบอกการร้ทู ่าทาง บทบาทของผลย้อนกลับ เป็นที่ยอมรับว่าผลย้อนกลับท�ำหน้าท่ีช่วยในการเรียนรู้ทักษะให้มีประสิทธิภาพ ความส�ำคัญของผลย้อนกลบั นัน้ อาจกล่าวได้ 3 บทบาท คือ 1. ผลย้อนกลับท�ำหน้าที่แก้ไขข้อผิดพลาด (Correction) ผลย้อนกลับจะเป็นข้อมูล ที่บอกให้ผู้เรียนรู้ว่าการแสดงทักษะของตนอยู่ห่างจากเกณฑ์มาตรฐานหรือเป็นการแสดงทักษะ ทถี่ กู ตอ้ งมากนอ้ ยเพยี งใด ผเู้ รยี นจะไดน้ �ำขอ้ มลู เหลา่ นนั้ มาแกไ้ ขการกระท�ำของตนเองในครงั้ ตอ่ ไป ความผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขน้ึ ครง้ั กอ่ นๆ กจ็ ะถกู ขจดั ออกไปจนกระทงั่ การแสดงทกั ษะนนั้ ถกู ตอ้ งถงึ เกณฑ์ หรือมาตรฐานท่ีวางไว้ 2. ผลยอ้ นกลบั ทำ� หนา้ ทเ่ี สรมิ แรง (Reinforcement) ในทนี่ ห้ี มายถงึ การทผี่ ลยอ้ นกลบั กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นรกั ษาการแสดงทกั ษะทถี่ กู ตอ้ งคงเสน้ คงวาอยเู่ สมอ การทค่ี รบู อกผเู้ รยี นวา่ ถกู ตอ้ งแลว้ ดีแล้ว หรือการได้คะแนนเต็มจะช่วยให้ผู้เรียนต้ังใจที่จะแสดงทักษะให้ถูกต้องสม�่ำเสมอ เป็นผลให้ การเรียนรู้ทักษะน้ันมีการเปล่ียนแปลงค่อนข้างถาวร การแสดงทักษะก็จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมท่ีจะเรยี นรูใ้ นระดับสูงต่อไป 3. ผลย้อนกลับท�ำหน้าท่ีเป็นแรงจูงใจ (Motivation) จะกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความ พยายามมากขน้ึ ขยันฝกึ ซอ้ มมากขนึ้ จนกระทั่งมีทกั ษะเปน็ ไปตามเกณฑท์ ีก่ �ำหนดไว้ การทีค่ รูแจง้ ให้ผูเ้ รยี นทราบวา่ ได้คะแนน 8 จาก 10 คะแนน จะเปน็ ขอ้ มลู บอกว่าตนเองอย่หู า่ งจากจดุ หมาย ปลายทางเพียง 2 คะแนนเท่านั้น ข้อมูลนี้จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนพยายามฝึกหัดมากยิ่งขึ้น เพื่อทจี่ ะไดบ้ รรลุจุดมุ่งหมายปลายทางทีว่ างไว้ ดังน้ัน จะเห็นว่าผลย้อนกลับช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น โดยท�ำ หน้าท่ีแก้ไขข้อผิดพลาด กระตุ้นให้ผู้เรียนรักษาความสามารถให้สูงอยู่เสมอ และกระตุ้นให้ผู้เรียน พยายามบรรลุจุดหมายปลายทางท่ีวางไว้ การคาดการณ์ล่วงหนา้ การคาดการณล์ ว่ งหนา้ นกั กฬี าทมี่ ที กั ษะสามารถคาดการณล์ ว่ งหนา้ ไดถ้ กู ตอ้ ง ท�ำใหเ้ กดิ การเคล่ือนไหวได้เรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพ การคาดการณ์ล่วงหน้าอาจกระท�ำได้ใน 2 ลักษณะ ลกั ษณะที่ 1 การคาดการณล์ ว่ งหนา้ จากการรับรู้ (Perceptual Anticipation) หมายถงึ การคาดการณล์ ่วงหนา้ จากขอ้ มลู ทไี่ ดศ้ ึกษาสังเกตมากอ่ น ลักษณะที่ 2 การคาดการณล์ ว่ งหนา้ จากข้อมูลปัจจบุ ัน (Receptive Anticipation) คู่มอื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด 37

กุศโลบายในการเรยี นรู้ (Learning Strategy) การสอนทีด่ ีและมีประสทิ ธภิ าพจะต้องค�ำนงึ ถึงวัตถุประสงค์ 3 ประการด้วยกนั คอื ประการแรก การสอนจะต้องท�ำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เร็ว ประหยัดท้ังเวลา และค่าใชจ้ า่ ย ประการท่ีสอง การสอนจะต้องส่งเสริมการเรียนรู้ของทักษะที่ได้เรียนมาแล้ว ใหค้ งอยู่นาน สามารถแสดงทกั ษะออกมาได้ดี ถงึ แมจ้ ะหยดุ ฝกึ หัด ประการที่สาม การสอนจะต้องเตรียมผู้เรียนให้พร้อมเพื่อท่ีจะเผชิญสถานการณ์ใหม่ สามารถน�ำเอาการเรยี นรทู้ ีเ่ กิดข้นึ ไปใชใ้ นอนาคต การสอนแต่เพียงเน้ือหาการเคล่ือนไหวเพียงอย่างเดียวจะไม่เกิดผลดี อีกทั้งจะต้องเสีย เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยมาก ฉะนนั้ การสอนกศุ โลบายควบคกู่ บั การสอนเนอื้ หาการเคลอ่ื นไหว จะชว่ ยเนน้ ส่ิงส�ำคัญในการเรียน ช่วยจัดระเบียบการจ�ำเน้ือหา ช่วยควบคุมและตรวจสอบการแสดง ความสามารถ และเตรยี มผเู้ รียนเผชิญสถานการณ์ใหม่ นักจิตวิทยาได้ให้ค�ำจ�ำกัดความ กุศโลบาย (Strategy) หมายถึง การจัดกระบวนการ ทางความคดิ ทเ่ี หมาะสมเพอ่ื ใหก้ ารกระท�ำบรรลเุ ปา้ หมายทตี่ งั้ ไว้ โดยทว่ั ไปกศุ โลบาย แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื 1. กุศโลบายเฉพาะ (Specific Strategy) กุศโลบายชนิดนจี้ ะวางแผนเฉพาะเจาะจง เพอื่ ใชใ้ นแต่ละสถานการณ์ 2. กุศโลบายทั่วไป (General Strategy) จะสามารถน�ำไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ ทีม่ ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั กุศโลบายท่ัวไปท่ีได้รับการยอมรับว่าช่วยท�ำให้การเรียนรู้ด�ำเนินไปด้วยความรวดเร็ว ผเู้ รยี นจดจ�ำทกั ษะไดน้ าน และน�ำไปใชไ้ ดใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ ไดแ้ ก่ การพดู เปน็ จงั หวะ การก�ำหนด ตวั แทนการเคล่อื นไหว การจบั กลุ่ม การถา่ ยทอดขอ้ ความและจนิ ตภาพ การพดู เปน็ จังหวะ (Rhythmic Verbalization) ในการใช้กุศโลบายนี้ในการสอนทักษะ ให้ผู้เรียนนับเสียงดังควบคู่กับการเคลื่อนไหว แต่ละสว่ น วธิ กี ารพูดเปน็ จังหวะน้ีช่วยท�ำให้ผู้เรียน 1. มคี วามต้งั ใจตอ่ ส่วนของทักษะทม่ี คี วามส�ำคัญ 2. ควบคมุ จงั หวะของการแสดงทักษะ 3. ชว่ ยพฒั นาความสมั พนั ธ์และต่อเน่ืองกนั ของทกั ษะสว่ นต่างๆ 38 คู่มอื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควันโด

จินตภาพ (Imagery) จินตภาพ คือ การสร้างภาพการเคลื่อนไหวในใจก่อนการแสดงทักษะจริง ถ้าภาพในใจ ทีส่ ร้างขนึ้ ชดั เจน และมีชีวิตชวี ามาก ก็จะช่วยใหก้ ารแสดงทกั ษะจรงิ ได้ผลดีมากขนึ้ วธิ กี ารฝกึ หดั จินตภาพแบง่ ออกเป็น 2 วิธี ไดแ้ ก่ 1. การฝกึ จินตภาพภายใน คอื การสรา้ งภาพการเคลื่อนไหวของตนเองในใจก่อนการ แสดงทักษะจริง และให้เกิดความรู้สึกเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวในขณะเดียวกันด้วย วิธีน้ีเหมาะสม กับนักกีฬาที่มีทักษะสูง รู้การแสดงทักษะที่ถูกต้อง และให้ผลดีกว่าการจินตภาพภายนอก เพราะเป็นการท�ำใหค้ วามร้สู กึ เคลือ่ นไหวเกดิ ขึ้นควบคู่กับการจินตภาพ 2. การฝึกจินตภาพภายนอก คือ การสร้างภาพการแสดงทักษะของตนเองหรือ บุคคลอ่ืนในใจก่อนการแสดงทักษะจริง อาจเป็นภาพการเคล่ือนไหวของครูผู้สาธิต หรือนักกีฬา ท่ีมีความสามารถสูง ภาพที่สร้างข้นึ อย่ภู ายนอก เหมอื นกบั ภาพปรากฏบนจอโทรทัศน์ วธิ กี ารฝกึ น้ี เหมาะส�ำหรบั ผู้หดั ใหมท่ ี่ยังไมร่ ู้วธิ ีการแสดงทกั ษะท่ถี ูกตอ้ ง สมาธิ : การรวมความต้ังใจ (Concentration: Attention Focusing) ปัญหาท่ีส�ำคัญท่ีสุดในการเล่นกีฬาไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันหรือการฝึกซ้อม คือการขาด สมาธิ จติ ใจที่สับสนลงั เลไมม่ ีสมาธจิ ะกอ่ ใหเ้ กิดความผดิ พลาดในระหวา่ งการแสดงความสามารถ สมาธิ หมายถึง การรวมความตง้ั ใจตอ่ ส่งิ หน่งึ ทส่ี �ำคญั โดยไมส่ นใจต่อส่ิงอืน่ และการรกั ษา ความต้ังใจต่อส่ิงนั้นเป็นเวลานาน เป็นท่ียอมรับว่าการรวมความตั้งใจที่เหมาะสม จะน�ำไปสู่ การแสดงความสามารถท่สี งู การรวมความตั้งใจต่อสิ่งส�ำคัญ หมายถึง การรวมความต้ังใจต่อสิ่งชี้แนะท่ีส�ำคัญ สิ่งช้ีแนะท่ีไม่เกยี่ วขอ้ งต้องก�ำจัดและไม่สนใจ การรักษาความต้งั ใจให้นาน การรกั ษาความตงั้ ใจใหน้ านในระหวา่ งการแขง่ ขนั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของสมาธิ นกั กฬี าหลายคน มีช่วงเวลาท่ีส�ำคัญเล่นได้ดีมากในช่วงหน่ึง แต่มีนักกีฬาไม่มากนักท่ีจะรักษาการเล่นให้สูงตลอด การแขง่ ขัน การรักษาความต้ังใจให้นานไม่ใช่สิ่งท่ีท�ำได้ง่ายๆ ดังน้ัน การขาดสมาธิเพียงชั่วครู่หนึ่ง มคี ่าถงึ กับสูญเสียต�ำแหน่งแชมป์ วธิ กี ารฝึกสอนกฬี า (Coaching Methods) วธิ ีการฝึกสอน จะมีความแตกตา่ งไปตามบริบททางกฬี า ผฝู้ ึกสอนทถ่ี กู วา่ จา้ งจากสโมสร เพ่ือท�ำให้สโมสรประสบความส�ำเร็จ ในการแข่งขันอาจจะต้องพิจารณาวิธีการฝึกสอนจากความ ตอ้ งการของเจา้ ของทมี ในขณะทผี่ ฝู้ กึ สอนทถ่ี กู นกั กฬี าเชญิ ใหเ้ ปน็ ผฝู้ กึ สอนอาจจ�ำเปน็ ตอ้ งมวี ธิ กี าร คู่มือฝึกอบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควันโด 39

ฝึกสอนท่ีตอบสนองต่อความต้องการของนักกีฬามาใช้ ซ่ึงเป็นส่ิงส�ำคัญมากท่ีผู้ฝึกสอนจะต้อง สามารถรู้ได้ว่าวิธีการฝึกสอนของพวกเขาต้องได้รับการแก้ไข เพ่ือให้เกิดการตอบสนองท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ ในเรอื่ งของรปู แบบหรอื สไตลใ์ นการฝกึ สอน ผฝู้ กึ สอนจะตอ้ งสามารถใชร้ ปู แบบการฝกึ สอน ทหี่ ลากหลายเพอื่ ท�ำใหน้ กั กฬี าไดเ้ รยี นรู้ นกั กฬี าหลายคนตอ้ งการค�ำแนะน�ำในเชงิ ลกึ และการอธบิ าย ผู้ฝกึ สอนต้องมีวธิ ีการสอนท่หี ลากหลายและมีความสามารถ ดงั นี้ 1. ให้ค�ำแนะน�ำอย่างตรงไปตรงมา 2. การซักถามเกยี่ วกบั การอ�ำนวยความสะดวก 3. ลดความเจ้ากเี้ จ้าการและความเปน็ ระเบยี บวินัยทพี่ วกเขาท�ำ 4. เพิม่ ความรับผิดชอบในการแสดงความสามารถของนกั กีฬา 5. พฒั นาความสามัคคีระหว่างนักกฬี าแตล่ ะคน 6. เป็นตวั อยา่ งทด่ี ี 7. ก�ำหนดความรับผดิ ชอบและความเกยี่ วข้องกบั ผลของการแขง่ ขัน 8. พฒั นาการตัดสนิ ใจและการแก้ปัญหาของนักกีฬา บรบิ ทของกฬี า (Sport Context) รปู แบบหรอื สไตล์ในการฝกึ สอน (Coaching Styles) มี 3 เงอ่ื นไขทีเ่ ปน็ สญั ญาณตอ่ การ ฝึกสอนท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ นกั กฬี าจะต้อง 1. ใช้เวลาในการเรยี นร้ทู ี่เหมาะสม 2. ใช้โอกาสในการเรยี นรทู้ ่เี หมาะสม 3. ไดร้ ับการฝึกที่ดที ส่ี ดุ ท่ีจะชว่ ยใหพ้ วกเขาเกิดการเรยี นรู้ ซงึ่ มบี างเทคนคิ ในการฝกึ เทา่ นนั้ ทร่ี บั ประกนั วา่ จะสง่ ผลตอ่ เงอื่ นไขทงั้ สามขอ้ ยกตวั อยา่ ง เช่น การฝึกในสนามฝึกตี (Driving Range) ของนักกีฬากอลฟ์ การฝกึ กับตาขา่ ยในกฬี าคริกเก็ต การให้ค�ำแนะนำ� อยา่ งตรงไปตรงมา (Direct instruction) การให้ค�ำแนะน�ำอย่างตรงไปตรงมาเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้นักกีฬาได้ใช้เวลาส่วนใหญ่ ของพวกเขาอยู่กับการฝึกซ้อม โดยวธิ ีการที่มคี ณุ ภาพ คอื 1. ต้ังความคาดหวงั ที่สูงแตเ่ ป็นไปได้ 2. เปน็ ผฝู้ กึ สอนทกี่ ระตอื รอื รน้ ในการใหผ้ ลยอ้ นกลบั ทถ่ี กู ตอ้ งและค�ำแนะน�ำทม่ี คี ณุ ภาพ 3. ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกบั ความสามารถของนกั กฬี าอยา่ งใกลช้ ดิ 4. ท�ำให้นกั กีฬามีความรับผดิ ชอบ 40 คูม่ อื ฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกฬี าเทควันโด

5. การก�ำหนดงานท่สี ง่ ผลกับความส�ำเรจ็ ในระดบั สงู 6. มกี ารน�ำเสนอ ความกระตือรอื รน้ และความอบอุ่นที่ชดั เจน การซกั ถามเก่ียวกับการอ�ำนวยความสะดวก (Facilitative questioning) การซักถามเก่ียวกับการอ�ำนวยความสะดวก เป็นรูปแบบของการฝึกท่ีมีจุดมุ่งหมาย เพ่ือเพ่ิมการตัดสินใจและการแก้ปัญหาทักษะของนักกีฬา ส่วนใหญ่แล้วในการเล่นกีฬาผู้ฝึกสอน ไมส่ ามารถทจี่ ะออกค�ำสง่ั ไดใ้ นระหวา่ งเกมหรอื ในบางกฬี ากท็ �ำไดจ้ ากขา้ งสนามเทา่ นนั้ ซงึ่ เปน็ ระยะ ท่ีห่างเกินกว่าจะท�ำการสาธิตได้ นักกีฬาที่ได้รับการฝึกการแก้ปัญหาและการตัดสินใจด้วยตัวเอง สามารถเปลี่ยนแปลงเกมของพวกเขาระหว่างการแข่งขันและยังสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสาเหตุและผลกระทบเก่ียวกับเทคนิคและแผนการเลน่ ของพวกเขาได้ การเพมิ่ ความรบั ผิดชอบของนกั กฬี า (Increasing athlete responsibility) นักกีฬาท่ีมีการพัฒนาในเรื่องของความรับผิดชอบเก่ียวกับความสามารถของตนเอง และทมี พรอ้ มๆ กบั ความสามารถในการจดั การตนเองจะท�ำใหผ้ ฝู้ กึ สอนท�ำงานไดง้ า่ ยยงิ่ ขนึ้ ผฝู้ กึ สอน ในทีมเยาวชนมักรู้สึกถึงความกดดันในบางครั้ง เนื่องจากความเช่ือท่ีว่าผู้ฝึกสอนต้องเป็นผู้จัดการ ทุกอย่างในทีม ขณะท่ีการจัดการและการควบคุมทีมท่ีมีคุณภาพเป็นตัวช้ีวัดถึงการเป็นผู้ฝึกสอนท่ีดี นักกีฬาที่มีการจัดการและควบคุมตนเองได้ดีก็มีโอกาสท่ีจะเป็นผู้ฝึกสอนที่ดีในอนาคตได้ ส่งิ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการพัฒนาเร่ืองของความรับผดิ ชอบของนักกีฬา ผู้ฝกึ สอนจะตอ้ ง 1. ชน่ื ชมนกั กฬี าทส่ี นบั สนนุ คนอน่ื ๆ ในทมี เพอ่ื เปน็ การเรม่ิ ตน้ การสรา้ งความรบั ผดิ ชอบ 2. หลกี เล่ยี งการตัดสินนกั กฬี า โดยใหถ้ ือว่าพวกเขาได้ใช้ความพยายามเต็มที่แลว้ 3. ท�ำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี 4. แสดงความคาดหวงั ทีช่ ดั เจนจากนกั กีฬาตงั้ แต่เร่มิ ตน้ ฝกึ ซ้อม 5. ต�ำหนพิ ฤติกรรม แตไ่ มต่ �ำหนินกั กฬี าเป็นรายคน 6. สละเวลาในการอธิบายเหตุผลของกิจวัตรประจ�ำวันท่ีหลากหลายท่ีจะส่งผลต่อ การจดั การและความสามารถ 7. ต้องแน่ใจว่านักกีฬาจะรู้ว่าความผิดพลาดของพวกเขาไม่ส่งผลต่อความเช่ือม่ันของ ผูฝ้ ึกสอนทีม่ ตี ่อนกั กีฬา 8. ยอมรับการช่วยเหลือจากนักกีฬาในการช่วยพัฒนานักกีฬาคนอื่นๆ เนื่องจากการ จดั การตนเองเปน็ ความสามารถทจี่ �ำเปน็ ตอ้ งเรยี นรู้ ผฝู้ กึ สอนจงึ ตอ้ งแนใ่ จวา่ นกั กฬี าสามารถเรยี นรู้ และพัฒนาในสว่ นนีไ้ ด้ คมู่ ือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด 41

การพฒั นาความสามคั ครี ะหวา่ งนกั กฬี าแตล่ ะคน (Developing a rapport with athletes) ผ้ฝู ึกสอนทโ่ี ดดเด่นมักจะมีความสัมพนั ธท์ ีแ่ ข็งแรงในทางบวกกับนกั กฬี า ในทีมที่ประสบ ความส�ำเร็จและนักกีฬามักจะมีความสามัคคีโดยอัตโนมัติกับผู้ฝึกสอน ซ่ึงกุญแจส�ำคัญท่ีพัฒนา ความสามัคคีระหว่างกันคือความเชื่อใจ เม่ือทีมชนะ นักกีฬาจะเกิดความเช่ือในตัวผู้ฝึกสอนว่าท�ำ ในส่ิงท่ีถูกต้อง อย่างไรก็ตาม สัญญาณของความสามัคคีที่แข็งแรงอาจเป็นเพียงแค่ผิวเผินเท่านั้น การประสบความส�ำเรจ็ ในบางครง้ั กเ็ ปน็ สงิ่ ทช่ี ว่ ยแกป้ ญั หาหรอื ความแตกตา่ งทม่ี อี ยรู่ ะหวา่ งนกั กฬี า กบั ผู้ฝึกสอนได้ นอกเหนอื จากอัตราการแพ้ชนะแล้วยังมตี ัวช้วี ดั อน่ื ๆ ที่ท�ำให้ความสามัคคคี งอยู่ระหว่าง นักกีฬาและผู้ฝกึ สอน ได้แก่ 1. นักกีฬาตอบสนองต่อความต้องการของผู้ฝึกสอนได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม ท�ำให้ผ้ฝู กึ สอนเกิดการยอมรบั 2. ผู้ฝึกสอนเข้าใจนักกีฬาเป็นอย่างดีและสามารถก�ำหนดงานและเป้าหมายที่นักกีฬา สามารถท�ำได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 3. ผู้ฝึกสอนน�ำกฎระเบยี บมาใช้อยา่ งเปน็ ธรรม และปฏิบัตติ ่อนักกีฬาดว้ ยความเคารพ โดยเรียนรูเ้ ก่ยี วกบั ตัวนกั กีฬา 4. ผฝู้ ึกสอนกระตอื รอื รน้ ทจี่ ะรบั ฟังนักกฬี า และใหส้ ทิ ธิพเิ ศษถ้ามีความจ�ำเปน็ 5. นกั กีฬาจะไมถ่ ูกห้ามในการเสนอความคิดเห็นหรอื ข้อเสนอแนะ การใหต้ ัวอยา่ ง (Modeling) วธิ กี ารหน่งึ ทเี่ ปน็ เครือ่ งมอื ในการฝกึ สอนท่ดี ี คือ การใหต้ วั อย่างกับนกั กฬี า ซงึ่ ผู้ฝึกสอน อาจจะสร้างตัวอย่างจากตนเอง และน�ำตัวอย่างท่ีดีมาให้นักกีฬาได้เห็นเพ่ือน�ำไปพัฒนาความสามารถ ตามตัวอย่างได้ โดยในบางคร้ังตัวอย่างก็อาจเป็นต้ังแต่นักกีฬาท่ีประสบความส�ำเร็จที่มีชีวิตอยู่ ไปจนถึงตัวอย่างการเล่นในอุดมคติของผู้ฝึกสอนและนักกีฬาก็ได้ โดยส่วนประกอบท่ีส�ำคัญ ของการให้ตัวอย่างของรปู แบบการฝึกสอน เช่น 1. ให้ตัวอย่างที่นกั กฬี ามองเหน็ ความส�ำเร็จ 2. อา้ งองิ ตวั อยา่ งทรี่ จู้ กั การจดั การตนเอง มพี ฤตกิ รรมทดี่ ี มที ศั นคตแิ ละความมนี ำ้� ใจนกั กฬี า เช่นเดยี วกับทักษะและการเล่น 3. ใช้ผู้เล่นคนอื่นในทีมท่ีแสดงความสามารถได้อย่างถูกต้องเป็นตัวอย่าง แต่ควร ระมัดระวงั เรื่องการเปรยี บเทยี บกับตัวของนกั กีฬา 4. ใหร้ างวลั นักกฬี าทแี่ สดงถงึ พฤติกรรมท่ตี อ้ งการ 5. เลือกตวั อยา่ งที่นกั กฬี าสามารถท�ำตามได้ 42 คมู่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ ึกสอนกีฬาเทควันโด