Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกถั่วลิสง

Description: การปลูกถั่วลิสง

Search

Read the Text Version

เอกสารคำ� แนะน�ำที่ 3/2557 การปลูกถั่วลสิ ง พมิ พ์คร้ังที่ 1 : ปี 2557 จ�ำนวน 5,000 เลม่ พิมพท์ ี่ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั



สารบัญ หน้า 1 การปลกู ถั่วลสิ ง 1 สภาพอากาศที่เหมาะสม 1 สภาพพืน้ ท่ี 1 แหล่งน�้ำ 2 ลกั ษณะดิน 2 การเลือกพันธ์ถุ ั่วลิสง 6 การเตรยี มพันธุ ์ 7 การใชไ้ รโซเบยี ม 8 การปลูก 9 การเตรยี มดนิ 10 การให้น้�ำ 11 การก�ำจดั วชั พชื และพนู โคน 12 การใส่ปยุ๋ 12 การใส่ยิปซมั 13 ศตั รูของถัว่ ลิสงและการป้องกนั ก�ำจัด 13 โรคที่สำ� คัญและการป้องกนั ก�ำจัด 19 แมลงศัตรูทส่ี �ำคัญและการป้องกันกำ� จดั 24 การเกบ็ เกย่ี ว 27 อะฟลาทอกซนิ คอื อะไร 27 การปนเปื้อนของอะฟลาทอกซินในถั่วลิสง 28 การควบคมุ การปนเป้ือนของเชื้อรา และสารพิษอะฟลาทอกซิน

การปลกู ถ่ัวลิสง การปลูกถั่วลิสงให้ได้ผลผลิตสูง คุณภาพดี ได้มาตรฐาน และปลอดภัย ต้องพิจารณาถึงการปฏบิ ัติดูแลรักษา รวมถึงปจั จยั ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ดังน้ี สภาพอากาศที่เหมาะสม • ถั่วลิสงสามารถปลูกได้ในทุกภาคของประเทศไทยที่มีปริมาณน้�ำฝน •ประมาณ 1,000 - 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และมกี ารกระจายตัวดี อุณหภูมิที่เหมาะสมส�ำหรับการเจริญเติบโตของถั่วลิสงระหว่าง •กลางคนื กับกลางวันควรอย่รู ะหวา่ ง 25 - 35 องศาเซลเซียส มีแสงแดดจดั สภาพพื้นท่ี •• สภาพพื้นทท่ี ีเ่ หมาะสม คอื ท่ีราบเชิงเขา ที่ดอน ทรี่ าบทม่ี ีการระบายน�้ำดี นำ�้ ไมท่ ่วมขัง แหล่งน�้ำ • มีน�้ำเพียงพอส�ำหรับใช้เม่ือเวลาจ�ำเป็น ช่วยแก้ไขปัญหาการขาดน�้ำ •ในกรณที ีฝ่ นทง้ิ ช่วงนานๆ ถ้าถั่วลิสงขาดน้�ำในระยะช่วงออกดอกถึงติดฝักอ่อน จะท�ำให้ผลผลิต ลดลงมาก ระยะวกิ ฤตของการขาดน้�ำอยู่ระหว่าง 30 - 70 วันหลังงอก การปลกู ถ่วั ลสิ ง 1

ลกั ษณะดิน • ดนิ รว่ น ดนิ รว่ นปนทราย หรอื ดนิ รว่ นเหนียว • ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง มีอินทรยี วตั ถไุ มน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 1.5 • การระบายน้�ำและถา่ ยเทอากาศดี • ระดบั หน้าดนิ ลกึ ประมาณ 30 เซนติเมตร • มีความเปน็ กรดดา่ งระหว่าง 5.5 - 6.5 การเลือกพันธถ์ุ ่วั ลิสง การปลูกถั่วลิสงในปัจจุบันปลูกตามความต้องการใช้ผลผลิตของตลาด คือ ใช้ผลผลิตในรูปฝักสด เช่น ถ่ัวลิสงต้มทั้งฝักสด และการใช้ผลผลิตในรูป ฝักแห้ง ซ่ึงตอ้ งเลอื กพนั ธุ์ท่ใี ชเ้ พาะปลูกให้เหมาะสม คอื 1. พันธุ์ท่ีใช้ในรูปฝักสด ถ้าเป็นถั่วลิสงต้มสดท้ังฝักนิยมใช้พันธุ์ ท่ีมีเมล็ด 3-5 เมล็ดต่อฝัก เช่น สุโขทัย 38 กาฬสินธุ์ 1 ซ่ึง 2 พันธุ์น้ีมี เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง เช่น ท่ีปลูกในแถบจังหวัดลพบุรี สระบุรี นครนายก ล�ำปาง ฯลฯ อย่างไรก็ตามพันธุ์ถั่วลิสงต้มสดท้ังฝักที่มีเย่ือหุ้มเมล็ดสีอ่อนยังนิยม ปลูกในบางแหล่ง เช่น ที่ จ.ขอนแก่น จ.อุตรดิตถ์ เป็นต้น ซึ่งเป็นพันธุ์พื้นเมือง ส่วนพันธุ์ท่ีทางราชการรับรองและสามารถท�ำเป็นถ่ัวต้มได้ เช่น พันธุ์ขอนแก่น 60 - 2 และขอนแก่น 4 ส�ำหรับถั่วลิสงต้มอบแห้งนิยมใช้ทั้งพันธุ์ไทนาน 9 และพันธุ์อื่นๆ ข้ึนอยู่กับโรงงานแปรรูปนั้นๆ การเลือกพันธุ์ถ่ัวลิสงเพื่อใช้เพาะ ปลูกนั้น ควรพิจารณาเลือกปลูกพันธุ์ตามความต้องการของตลาด โดยค�ำนึงถึง สภาพแวดล้อมท่ีปลูกด้วย เช่น ถ้าดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ควรเลือกปลูก พันธ์ุทม่ี ขี นาดเมลด็ ปานกลาง ในสภาพที่มีฝนชว่ งสนั้ และค่อนข้างแลง้ ควรเลือก พันธุ์ที่มีอายุสัน้ เช่น ถวั่ ลสิ งตม้ สดท้งั ฝกั 2 การปลูกถวั่ ลิสง

2. พันธุ์ท่ีใช้ในรูปฝักแห้ง นิยมใช้พันธุ์ท่ีมเี ยอื่ หุ้มเมล็ดสีชมพอู ่อน เท่านั้น ส�ำหรับพันธุ์ที่มีการรับรอง และโรงงานกะเทาะถ่ัวลิสงต้องการมาก คือ พันธุ์ไทนาน 9 ขอนแก่น 60 - 1 ขอนแก่น 5 และขอนแก่น 4 หรือพันธุ์ พ้นื เมืองที่มลี ายฝักชดั เจนมี 2 - 3 เมลด็ ตอ่ ฝัก เช่น ทีป่ ลูกในจังหวัดนครสวรรค์ และล�ำปาง ถ่ัวลิสงเมล็ดโต (จัมโบ้) แม้ว่า เมล็ดจะเป็นที่ต้องการของตลาดผู้แปรรูป เป็นอย่างมาก แต่โรงงานกะเทาะที่ รับซื้อถั่วลิสงพันธุ์นี้ยังไม่มีในท้องถ่ิน ดังนั้น หากเกษตรกรผู้สนใจจะปลูกควร สามารถจัดการทั้งระบบได้ เช่น กะเทาะ ถ่วั ลิสง พนั ธถุ์ ่วั ลสิ ง 1. พันธุ์ สข.38 มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง อายุเก็บเก่ียวฝักสด 85 - 90 วัน ฝักแก่เต็มท่ี 95 - 105 วัน ติดฝักเป็นกระจุกที่โคนต้น เส้นลายฝัก และจะงอยฝักเห็นได้ชัดเจน มี 3 - 4 เมล็ดต่อฝัก เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง น�้ำหนัก 100 เมล็ด 38.90 กรัม ให้ผลผลิตฝักสด 510 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตฝักแห้ง 250 กิโลกรมั ต่อไร่ เหมาะส�ำหรบั ใช้บริโภคในรูปถ่วั ตม้ สด 2. พันธุ์ล�ำปาง มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง อายุเก็บเก่ียวฝักสด 85 - 90 วัน ฝักแก่เต็มที่ 95 - 110 วัน ติดฝักเป็นกระจุกท่ีโคนต้น เส้นลายฝักและ จะงอยฝักเห็นได้ชัดเจน มี 3 - 4 เมล็ดต่อฝัก เยื่อหุ้มเมล็ดสีชมพู น้�ำหนัก 100 เมล็ด 40.60 กรัม ให้ผลผลิตฝักแห้ง 280 กิโลกรัมต่อไร่ เหมาะส�ำหรับ บรโิ ภคในรูปถ่วั ตม้ สด การปลกู ถ่วั ลสิ ง 3

3. พนั ธ์ไุ ทนาน 9 มีทรงตน้ เป็นพุ่มตรง อายุเก็บเก่ยี ว 95 - 105 วัน ติดฝักเป็นกระจกุ ทีโ่ คนต้น เส้นลายฝกั เรียบ เมลด็ มี 2 เมล็ดต่อฝัก เย่อื หมุ้ เมล็ด สีชมพู น้�ำหนัก 100 เมล็ด 42.40 กรัม ให้ผลผลิตฝักแห้ง 260 กิโลกรัมต่อไร่ เหมาะสำ� หรบั ใช้ในรูปถ่วั กะเทาะเปลือก (ถ่ัวเมลด็ ) 4. พันธุ์ขอนแก่น 4 มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง อายุเก็บเก่ียวฝักสด 85 - 90 วัน ฝักแก่เต็มท่ี 95 - 100 วัน ติดฝักเป็นกระจุกที่โคนต้น เส้นลาย บนฝักชัดมี 3 - 4 เมล็ดต่อฝัก เย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู น�้ำหนัก 100 เมล็ด 47.10 กรัม ให้ผลผลติ ฝักสด 590 กโิ ลกรัมต่อไร่ ผลผลิตฝักแหง้ 270 กโิ ลกรัม ต่อไร่ เหมาะส�ำหรับใช้ประโยชน์ 2 รูปแบบ คือ ใช้บริโภคในรูปถ่ัวต้มสดและ ใชป้ ระโยชนใ์ นรปู ถั่วกะเทาะเปลอื ก 5. พันธุ์ขอนแก่น 5 มีทรงต้นเป็นพุ่มกว้างตั้งตรง อายุเก็บเก่ียว 90 - 110 วัน ติดฝักเป็นกระจุกที่โคนต้น เส้นลายบนฝักชัด มี 2 เมล็ดต่อฝัก เยอื่ หมุ้ เมลด็ สชี มพูเข้ม น�ำ้ หนกั 100 เมล็ด 51.10 กรัม ให้ผลผลิต 300 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ เหมาะส�ำหรบั ใช้ประโยชน์ในรูปถ่วั กะเทาะเปลอื ก 6. พนั ธุข์ อนแก่น 6 ทรงพมุ่ แผ่กวา้ ง ออกดอก 21 - 25 วนั เก็บเกย่ี ว 110 - 120 วนั เปลือกฝกั มลี ายชัดเจน 2 เมลด็ ต่อฝัก เยอ่ื หมุ้ เมลด็ สชี มพู น�้ำหนกั 100 เมลด็ 67.4 กรัม ผลผลิต 400 กิโลกรัม มีอายุพกั ตัว 6 สัปดาห์ ทนทาน โรคยอดไหม้ 7. พันธุ์ขอนแก่น 60 - 1 มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง อายุเก็บเกี่ยว 95 - 105 วัน ติดฝักเป็นกระจุกท่ีโคนต้น เส้นลายฝักชัดมี 2 เมล็ดต่อฝัก เยื่อหุ้มเมล็ดสีชมพู น�้ำหนัก 100 เมล็ด 45.90 กรัม ให้ผลผลิตฝักแห้ง 270 กโิ ลกรัมต่อไร่ เหมาะส�ำหรับใช้ในรูปถว่ั กะเทาะเปลือก 8. พันธุ์ขอนแก่น 60 - 2 มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง อายุเก็บเกี่ยว ฝักสด 85 - 90 วัน ฝักแก่เต็มที่ 95 - 105 วัน ติดฝักเป็นกระจุกท่ีโคนต้น 4 การปลูกถ่ัวลสิ ง

เสน้ ลายฝกั และจะงอยฝักเหน็ ได้ชัดเจนมี 3 - 4 เมล็ดตอ่ ฝัก เยอื่ หมุ้ เมล็ดสชี มพู น�้ำหนัก 100 เมล็ด 40.70 กรัม ให้ผลผลิตฝักสด 570 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิต ฝกั แหง้ 270 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ เหมาะส�ำหรับใชบ้ ริโภคในรปู ถ่ัวต้มสด 9. พันธุ์ขอนแก่น 60 - 3 มีทรงต้นเป็นพุ่มกว้างกึ่งเลื้อย ติดฝัก กระจายไปตามกิ่งท่ีทอดไปบนดินท�ำให้ฝักแก่ไม่พร้อมกัน อายุเก็บเกี่ยว 110 - 120 วัน เส้นลายบนฝักชัด มี 2 เมล็ดต่อฝัก เย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพูและส้มอ่อน น�้ำหนัก 100 เมล็ด 76.20 กรัม ให้ผลผลิต 380 กิโลกรัมต่อไร่ เหมาะส�ำหรับ ใช้ในรูปเมล็ดส�ำหรับแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ถ่ัวอบเนย ถั่วทอด เมล็ดมีการ พักตัว 60 วันหลังเก็บเก่ียว แก้ไขได้โดยใช้สารละลายอีเทรลเจือจางพรมเมล็ด ก่อนปลูก หรือปล่อยเมล็ดไว้จนหมดระยะพักตัวแล้วจึงใช้ปลูก แต่ควรค�ำนึงถึง ข้อเสียที่ว่าเมล็ดพันธุ์ท่ีปล่อยท้ิงจนพ้นระยะพักตัวจะเส่ือมความงอกอย่าง รวดเร็ว ถ่ัวลิสงพันธุ์น้ีมีความต้านทานต่อโรคราสนิม โรคใบจุด และต้านทาน แมลงปานกลาง จะให้ผลผลิตสูงมากในดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง - สูง และควรมคี วามชนื้ เพียงพอตลอดอายกุ ารเจริญเติบโต 10. พันธุ์กาฬสินธุ์ 2 หรือพันธุ์พระราชทาน (พันธุ์ KAC 431) ถ่ัวลิสงพันธุ์ KAC 431 มีช่ือเรียกในเชิงการค้าหลายชื่อต่างๆ กัน เช่น ถั่วลิสง พนั ธุ์พระราชทาน ถ่วั จัมโบ้ลาย ถั่วราชนิ ี ถ่ัวหลวง เป็นต้น การปลูกถ่วั ลิสง 5

การเตรยี มพนั ธุ์ 1. คัดเมล็ดพันธุ์ท่ีใหม่มีเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดสูงกว่า 70 เปอรเ์ ซน็ ตข์ ึ้นไป โดยการทดสอบความงอกก่อนปลกู 2. คลุกเมล็ดด้วยสารเคมีป้องกันโรคโคนเน่า และโคนเน่าขาด ท่ีเกิดจากเชอื้ รา โดยใชไ้ วตาแวกซ์ (Vitavax) รว่ มกบั คารเ์ บนดาซิม หรอื สารเคมี ที่จ�ำหน่ายในท้องตลาดอัตราตามค�ำแนะน�ำ หากมีการใช้เชื้อไรโซเบียมร่วมด้วย ควรเลอื กใชส้ ารเคมีท่ไี ม่มีผลตอ่ เช้อื ไรโซเบียม 3. ในกรณีใช้พันธุ์ขอนแก่น 60 - 3 (ถั่วลิสงเมล็ดโต จัมโบ้) จ�ำเป็น ต้องท�ำลายระยะพักตัวโดยใช้สารอีเทรล ความเข้มข้น 3 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ 9.5 มิลลิลิตรต่อน�้ำ 1 ลิตร พรมเมล็ดพันธุ์พอหมาดปล่อยท้ิงไว้ 1 วัน ก่อน น�ำไปปลกู 6 การปลูกถ่ัวลิสง

การใชไ้ รโซเบยี ม การคลุกเมล็ดถ่ัวลิสงด้วยเชื้อไรโซเบียมก่อนปลูกจะช่วยให้รากถั่ว มีปมติดมากข้ึน ท�ำให้ถั่วลิสงสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาใช้ประโยชน์ ได้มากข้ึน ช่วยลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนท�ำให้ถั่วลิสงเจริญเติบโตดีและเป็น ประโยชน์ต่อพชื ท่ีปลกู ตอ่ เนอ่ื ง เช้ือไรโซเบียมท่ีกรมวิชาการเกษตรผลิตจ�ำหน่ายเป็นเช้ือแบบผง บรรจุ ในถุงพลาสติกจ�ำนวนถุงละ 200 กรัม เพียงพอส�ำหรับใช้คลุกเมล็ดถั่วลิสง ประมาณ 15 - 20 กโิ ลกรมั เพอื่ ปลกู ในพน้ื ท่ี 1 ไร่ การคลุกเชอ้ื ไรโซเบียมทำ� ได้ โดยเคล้าเมลด็ ถ่วั ลสิ งด้วยน�้ำแล้วเทเช้อื ลงคลกุ ให้ทวั่ เมล็ดท่ีคลุกไรโซเบียมแล้วควรน�ำไปปลูกให้หมดภายในวันน้ันหรือหาก เกบ็ ไวไ้ ม่ควรเก็บไว้นานเกิน 24 ชัว่ โมง โดยเก็บไว้ในท่รี ่มและมภี าชนะปดิ การปลกู ถ่ัวลิสง 7

การปลกู การปลูกถั่วลิสงในประเทศไทย สามารถปลูกได้ทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง โดยมชี ว่ งระยะเวลาเพาะปลูกทเี่ หมาะสม ดงั นี้ ฤดูฝน ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกในพ้ืนท่ีดอนหรือพ้ืนท่ีสภาพไร่ •แบง่ ออกได้เป็น 3 ชว่ ง คือ ตน้ ฤดฝู น ควรปลูกในชว่ ง เมษายน - พฤษภาคม • เก็บเกี่ยวประมาณ กรกฎาคม - สงิ หาคม กลางฤดูฝน ควรปลูกในเดอื นมิถนุ ายน • เกบ็ เกี่ยวประมาณ กันยายน - ตุลาคม ปลายฤดูฝน ควรปลูกในชว่ ง กรกฎาคม - สิงหาคม เกบ็ เก่ียวประมาณ ตลุ าคม - พฤศจกิ ายน ฤดูแล้ง เป็นการปลูกถ่ัวลิสงในพื้นที่นาหลังการเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว •แบง่ ตามการใช้น�ำ้ ได้ คือ การปลกู โดยอาศยั น�ำ้ ชลประทาน ควรปลูกในชว่ งธนั วาคม - มกราคม •เก็บเกย่ี วประมาณเมษายน - พฤษภาคม การปลูกโดยอาศัยความช้ืนท่ีเหลือในดิน มีเง่ือนไขคือ จะต้องเป็น แหลง่ ทม่ี นี �้ำใตด้ ินต้ืน โดยปลูกให้เร็วที่สุดหลงั จากเสรจ็ ส้นิ การท�ำนา 8 การปลกู ถั่วลิสง

การเตรยี มดนิ สิ่งท่ีเกษตรกรควรปฏิบัติในการปลูกถั่วลิสงในข้ันตอนการเตรียมดิน คือ ดินต้องร่วนซุย ควรปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 5.5 - 6.5 การปรับสภาพดินให้เหมาะสมจะช่วยให้ธาตุอาหารพืชสามารถละลาย ออกมา และเป็นประโยชน์กับรากพืชท่ีจะดึงดูดไปใช้ในการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตไดอ้ ยา่ งเต็มที่ ในดินทเ่ี ป็นดา่ งจัดควรใสป่ ุย๋ คอกและปุ๋ยอนิ ทรีย์ การไถเตรียมดนิ 1. ในพ้ืนท่ีที่ไม่มีวัชพืช สามารถไถเปิดร่องแล้วหยอดเมล็ด โดยไม่ต้อง เตรียมดนิ 2. ในพืน้ ท่ที ่ีมีวัชพชื หนาแน่น ควรไถพรวนดินลึก 10 - 20 เซนตเิ มตร ประมาณ 1 - 2 ครั้ง 3. การปลูกในฤดูแล้งโดยใช้น�้ำชลประทาน หลังจากไถพรวนดิน ควร ยกร่องปลูก ความกว้างของสันร่องขึ้นอยู่กับเนื้อดิน ถ้าดินแน่นควรใช้สันร่องแคบ ประมาณ 0.6 - 1.0 เมตร ปลูกถ่ัวลิสงได้ 2 แถว ถ้าดินมีการระบายน้�ำดีอาจ ขยายกว้างขึ้นถึง 1.5 เมตร ทั้งนี้จะต้องให้น�้ำซึมเข้าไปได้ถึงกลางของสันร่อง และปลูกถั่วลสิ ง 3 - 4 แถว การปลกู ถัว่ ลสิ ง 9

ระยะปลูก ระยะการปลูกถั่วลิสง ที่เหมาะสมโดยทั่วไป ระยะ ระหว่างแถว 40 - 60 เซนติเมตร ระยะระหว่างหลุม 10 - 20 เซนติเมตร มีจ�ำนวนต้น 1 - 3 ต้นต่อหลุม หรือในระยะ 1 เมตร ควรมีจ�ำนวนต้นกระจายอยู่ 10 ต้น ปลูกลึกประมาณ 5 - 8 เซนติเมตร ใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 20 - 25 กิโลกรัมฝักแห้งต่อไร่ ส�ำหรับถ่ัวเมล็ดโต เมล็ดพันธุ์ขนาดใหญ่หรือเล็กสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตไม่แตกต่างกัน แต่ในขั้นตอนการปลูกควรแยกกลุ่มตามขนาดเมล็ด โดยกลุ่มที่มีเมล็ดขนาดใหญ่ ให้ปลูกในกลุ่มเดียวกัน ส่วนขนาดเมล็ดเล็กถึงปานกลางก็ให้แยกกลุ่ม เพื่อให้ เกิดความสม่�ำเสมอในการเจริญเติบโตในพื้นท่ี กลุ่มเมล็ดขนาดเล็กสามารถ เจริญเตบิ โตให้ผลผลิตไดด้ ี เชน่ เดยี วกบั กลมุ่ เมล็ดขนาดใหญ่ การใหน้ ้ำ� • ตอ้ งให้น้ำ� ทุกๆ 10 - 15 วัน อย่าใหถ้ วั่ ลิสงขาดน้�ำในระยะออกดอก •(30 - 40 วนั หลงั งอก) และช่วงลงเข็ม เพราะจะทำ� ให้ผลผลิตลดลงมาก ในช่วงฤดูฝน ควรมีแหล่งน�้ำท่ีสามารถช่วยลดความเสียหาย •หากถั่วลิสงเกิดกระทบแลง้ ในช่วงฤดูแล้ง อาศัยน�้ำชลประทาน ควรควบคุมการให้น้�ำอย่าให้ แฉะเกินไป เพราะจะท�ำให้ถั่วลิสงเจริญเติบโตไม่ดีและเกิดโรคโคนเน่าได้ง่าย และอย่าปล่อยให้ถ่ัวลิสงขาดน้�ำจนแสดงอาการใบเหี่ยว ในการให้น้�ำก็ไม่ควร ให้น�้ำท่วมหลังแปลงปลูก การให้น้�ำปริมาณน้อยแต่บ่อยคร้ังจะท�ำให้ผลผลิต และคุณภาพของเมล็ดถ่ัวลิสงเจริญเติบโตได้ดีกว่าการให้น้�ำคร้ังละมากๆ แตน่ อ้ ยครงั้ 10 การปลูกถวั่ ลสิ ง

การก�ำจัดวัชพชื และพูนโคน กำ� จัดวัชพืชคร้งั แรกทอี่ ายุ 15 วนั และครั้งที่ 2 ทีอ่ ายุ 30 วนั หลงั งอก ถ้ายังมีวัชพืชตกค้างในแปลงมาก ควรมีการก�ำจัดอีกคร้ังเม่ืออายุ 60 วัน แต่ต้องระมัดระวังไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการลงเข็มของต้นถ่ัว หรือใช้สารเคมี ก�ำจัดวัชพืช เช่น อะลาคลอร์ เมโทลาคลอร์ อิมาเซ็ททาเพอร์ แลคโตเฟน ฮาล๊อคซิฟอพเมทิล เป็นต้น ในกรณีที่เป็นการใช้แรงงานคนในการก�ำจัดวัชพืช มักจะท�ำพร้อมกับการพรวนดินและพูนโคน ซ่ึงควรท�ำหลังจากถ่ัวลิสงออกดอก และก่อนลงเข็ม หรือเมื่อต้นถั่วอายุ 30 - 40 วัน การพูนโคนไม่ควรกองดินสูง ควรพูนโคนเต้ียๆ และให้แผ่กว้างออกจากโคนต้น ทั้งนี้เนื่องจากการติดฝักไม่ได้ กระจายอยูบ่ ริเวณโคนแตจ่ ะแผก่ ระจายออกจากแนวโคนต้นเลก็ น้อย การใสป่ ุ๋ย ก่อนการใส่ปุ๋ยควรมีการวิเคราะห์ค่าความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยส่ง ตัวอย่างดินไปวิเคราะห์ที่หน่วยงานของกรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาท่ีดิน หรือกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อจะเลือกใช้ปุ๋ยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ส�ำหรับค�ำแนะน�ำทั่วไปในดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียว ควรใส่ปุ๋ยเคมีในอัตรา ••ดงั น้ี ดนิ ร่วนอัตรา 3 - 9 - 0 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ของ N - P2O5 - K2O ดนิ รว่ นเหนียวปนทรายอตั รา 3 - 9 - 6 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ของ N - P2O5 - K2O หรือใส่ปยุ๋ สูตร 12 - 24 - 12 อัตรา 25 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ส่วนช่วงเวลาใส่ปุ๋ยอาจใส่ก่อนปลูกหรือหลังจากงอกไม่เกิน 15 วัน ซ่ึงอาจจะใส่พร้อมกับการก�ำจัดวัชพืช โดยโรยปุ๋ยและพรวนคลุกเคลา้ กับดินข้างแถว ปลกู ในดนิ ทรายทมี่ แี คลเซยี มต�่ำกว่า 120 สว่ นในลา้ นส่วน การใส่ปุ๋ยแคลเซียม จะช่วยลดปริมาณฝักที่มีเมล็ดลีบ เพิ่มเปอร์เซ็นต์การกะเทาะและผลผลิต แหล่งของปุ๋ยแคลเซียม ได้แก่ ปูนขาว 100 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ก่อนปลูก หรือ ใสย่ ปิ ซมั 50 กิโลกรมั ต่อไร่ โรยโคนต้นเม่อื ออกดอก หรือถว่ั ลสิ งอายุประมาณ 30 วัน การปลูกถว่ั ลสิ ง 11

การใสย่ ิปซมั ยิปซัม เป็นแหล่งธาตุอาหารรองท่ีเป็นประโยชน์กับพืชโดยเฉพาะ ถ่ัวลิสง ธาตุอาหารดังกล่าวได้แก่ แคลเซียม (Ca) มีประมาณร้อยละ 23 - 24 และก�ำมะถัน (S) มีประมาณรอ้ ยละ 14 - 17 วิธีการใช้ยิปซัม ส�ำหรับถั่วลิสงใช้ยิปซัมอัตรา 25 - 50 กิโลกรัม ต่อไร่ โรยตามแถวในระยะเร่ิมออกดอกแรก 20 - 30 วันหลังปลูก และพรวน กลบโคนต้น หากดินท่ีปลูกถ่ัวลิสงมีธาตุแคลเซียมในดินต�่ำ อาจจ�ำเป็นต้องใช้ ยปิ ซมั ในอตั ราสูงขึ้นระหวา่ ง 50 - 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ส�ำหรับถั่วลิสงเมล็ดใหญ่ (จัมโบ้) จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องใช้ยิปซัมตาม อัตราแนะน�ำระหวา่ ง 50 - 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ใส่ช่วงออกดอกหรอื ระยะลงเขม็ ไม่ควรใส่ในข้ันเตรียมดนิ เน่อื งจากจะถกู ชะล้างสูญเสียได้ง่าย 12 การปลกู ถวั่ ลิสง

ศัตรูของถ่วั ลสิ งและการปอ้ งกันกำ� จัด โรคที่สำ� คัญและการป้องกนั กำ� จดั 1. โรคโคนเนา่ หรือโคนเน่าขาด สาเหตุ เช้ือรา Aspergillus niger ลักษณะอาการ ต้นเห่ียวเหลือง ยุบตัว โคนต้นเป็นแผลสีน�้ำตาล พบกลุ่มสปอร์สีด�ำปกคลุมบริเวณแผล เมื่อถอนขึ้นมาส่วนล�ำต้นจะขาดจาก ส่วนราก ชว่ งเวลาระบาด รุนแรงในระยะต้นกล้า อายุ 1 - 4 สัปดาห์ ในสภาพ ดินทรายหรอื ร่วนทราย อุณหภมู ิของดนิ และอากาศสงู 30 - 35 องศาเซลเซียส •• การป้องกันก�ำจัด ไม่ควรปลกู ด้วยเมลด็ พนั ธทุ์ ีเ่ กบ็ ไวน้ านเกนิ ไป คลุกเมลด็ ก่อนปลกู ดว้ ยสารเคมี benomyl + mancoceb, • carboxin และ iprodione เกบ็ เกีย่ วถวั่ ลิสงตามอายุของพนั ธ์ุ การปลูกถัว่ ลิสง 13

2. โรคล�ำตน้ เน่า หรือโคนเนา่ ขาว (Sclerotium stem rot) สาเหตุ เช้ือรา Sclerotium rolfsii ลักษณะอาการ ยอด ก่ิง และล�ำตน้ เหยี่ วยบุ เป็นหย่อมๆ พบแผลเน่า ท่ีส่วนสมั ผสั กับผิวดิน บรเิ วณท่ีถูกท�ำลายจะมเี สน้ ใยสีขาว รวมท้งั เมด็ สเคลอโรเทยี ของเช้ือราท่ีมีสีขาว โดยเฉพาะในพ้ืนที่ท่ีมีการปลูกพืชแน่นเกินไป และปลูกซ�้ำ ทีเ่ ดิม พบพชื เปน็ โรคในช่วงหลังจากติดฝักถงึ เก็บเก่ยี ว ชว่ งเวลาระบาด พบมากในฤดูฝน สภาพที่มคี วามชนื้ สูง หรอื มฝี นตกชกุ การปอ้ งกนั ก�ำจัด • ปลกู พืชหมนุ เวียนทไี่ มใ่ ชพ่ ชื ตระกูลถ่วั เชน่ ข้าวฟ่าง • ถอนตน้ ทเี่ ป็นโรคตง้ั แต่เร่ิมแสดงอาการ เผาท�ำลายนอกแปลงปลูก • เกบ็ เก่ยี วถ่วั ลสิ งตามอายุของพนั ธุ์ • พ่นสารป้องกนั ก�ำจดั โรคพืช ตามคำ� แนะน�ำในตารางที่ 1 14 การปลกู ถว่ั ลสิ ง

3. โรคยอดไหม้ (Bud necrosis) สาเหตุ เชื้อไวรสั Groundnut bud necrosis virus ลักษณะอาการ ในระยะ 2 สัปดาห์หลังต้นถัว่ งอกใบจะมีจดุ สซี ดี หรอื เป็นปื้นสีน�้ำตาลบนใบท่ีเชื้อเข้าท�ำลาย จากนั้นเส้นใบซีดหรือจุดกระสีซีดบนใบ ยอด ก้านใบและก่ิงโค้งงอ ถา้ เป็นโรคในระยะกลา้ ถั่วลิสงจะตายหรือแคระแกร็น ไมต่ ดิ ฝกั ถ้าเป็นโรคระยะตน้ โตท�ำใหก้ ารติดฝักลดลง ชว่ งเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในฤดแู ลง้ • การปอ้ งกนั ก�ำจัด การปลูกถ่ัวลิสงในฤดูแล้ง โดยอาศัยน�้ำชลประทาน ควรปลูกให้เร็ว ขนึ้ ในชว่ งปลายเดอื นพฤศจกิ ายน อาจจะชว่ ยลดความรนุ แรงของโรคได้ เนอ่ื งจาก ระยะที่เพลี้ยไฟเคล่ือนย้ายมาท่ีต้นถั่วนั้นเป็นระยะที่ออกดอกหรือติดฝักแล้ว ••ซึ่งถ่วั ลสิ งจะเป็นโรคยากข้นึ ถอนต้นท่ีเปน็ โรคต้ังแตเ่ รมิ่ แสดงอาการ เผาท�ำลายนอกแปลงปลกู พ่นสารปอ้ งกนั ก�ำจัดเพลย้ี ไฟพาหะน�ำโรค ตามคำ� แนะนำ� ในตารางที่ 1 การปลูกถั่วลิสง 15

4.  โรคใบจดุ สาเหตุ เช้อื รา Cercospora arachidicola ลกั ษณะอาการ แผลเป็นจดุ สดี �ำหรอื สนี ้�ำตาล ขนาด 1 - 8 มลิ ลิเมตร ขอบแผลอาจมีวงสีเหลืองล้อมรอบ ระยะแรกพบท่ีใบล่างต่อมาลุกลามสู่ใบบน อาการรุนแรงท�ำให้ใบเหลือง ขอบใบบิดเบี้ยว ไหม้แห้งด�ำ และร่วงก่อนก�ำหนด พบโรคทกุ แหลง่ ปลกู สปอรป์ ลวิ ไปตามลมและน้�ำ แพร่กระจายโดยนกและแมลง โดยทั่วไประบาดรว่ มกับโรคราสนิม ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในฤดฝู น โดยเฉพาะในสภาพทมี่ ีฝนตก ตดิ ต่อกนั 6 - 7 วัน การป้องกนั ก�ำจัด • เผาทำ� ลายเศษซากพืชที่เปน็ โรคหลงั การเก็บเกย่ี ว • ปลกู พืชหมุนเวียน เชน่ ถวั่ เหลือง ถ่ัวเขียว และขา้ วฟ่าง • พ่นสารปอ้ งกันกำ� จัดโรคพืช ตามคำ� แนะน�ำในตารางท่ี 1 16 การปลูกถัว่ ลิสง

5. โรคราสนิม สาเหตุ เช้อื รา Puccinia arachidis ลักษณะอาการ แผลเป็นตุ่มสีน�้ำตาลถึงน้�ำตาลเข้ม ขนาดเท่าหัวเข็ม หมุดกระจายทัว่ บนใบ ตอ่ มาแผลจะแตก พบสปอรข์ องเชือ้ ราสนี �ำ้ ตาลคล้ายสนมิ เหล็กจ�ำนวนมากคลุมบริเวณปากแผล สปอร์ปลิวไปตามลมและน�้ำแพร่กระจาย โดยนกและแมลง โดยทั่วไประบาดร่วมกับโรคใบจุด ช่วงเวลาระบาด ระบาดรนุ แรงในฤดฝู น การป้องกันก�ำจัด • ปลูกพันธตุ์ า้ นทานตอ่ โรค คอื กาฬสนิ ธุ์ 2 • เผาทำ� ลายเศษซากพืชที่เปน็ โรค หลงั การเกบ็ เกยี่ ว • พน่ สารป้องกนั ก�ำจดั โรคพืช ตามค�ำแนะน�ำในตารางท่ี 1 การปลกู ถัว่ ลสิ ง 17

ตารางที่ 1 การใชส้ ารป้องกันก�ำจดั โรคถวั่ ลสิ ง โรค สารเคมี อตั ราการใช/้ วธิ กี ารใช/้ ขอ้ ควรสงั เกต โคนเน่า ใชส้ าร 1 ช้อนแกง อตั ราใช้ อาจใชแ้ คปแตนหรือ หรือ แคปตาโฟล ตอ่ เมล็ด 1 กก. คลกุ เมลด็ พนั ธ์ุ โคนเน่าขาด ไธแรม ก่อนปลกู พีซเี อน็ บแี ทน ลำ� ตน้ เนา่ คาร์บอกซ่ี ใช้ 2 ช้อนแกง ฉดี พน่ สารบริเวณ อาจใชค้ ลกุ เมลด็ หรือ พซี เี อ็นบี ตอ่ น�้ำ 20 ลิตร โคนต้น 2 - 3 ครงั้ ถา้ พบวา่ พ้ืนท่ปี ลกู หา่ งกนั 10 วนั มโี รคนีร้ ะบาดมาก โคนเน่าขาว ในฤดกู ่อน ใบจดุ และ สารผสมเบโนมิล ผสมนำ้� ฉดี พ่นใชส้ าร เมอื่ พบโรคระบาด โรคใบจุด ราสนิม กับแมนโคเซบ 2 - 4 ช้อนแกง/ ในระยะออกดอก อาจดอื้ สารเบโนมลิ นำ้� 20 ลิตร ถึงตดิ ฝกั ให้พ่นสาร ให้เปลีย่ นใช้ คลอโรธาโลนิล 3 - 5 ครั้ง สารไตรเฟนลิ - สารผสมคอปเปอร์ ห่างกนั 7 - 14 วนั อะซิเตท ใช้เพยี ง กับมาเนีย ตามความรุนแรง 1 ช้อนแกง ไตรเฟนลิ อะซีเตท ของโรค 18 การปลูกถั่วลิสง

แมลงศัตรทู ส่ี �ำคัญและการป้องกนั ก�ำจัด 1. หนอนชอนใบถ่ัวลิสง ลักษณะและการท�ำลาย ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือกลางคืนสีน้�ำตาล ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร หนอนฟักออกจากไข่และชอนเข้าไปกัดกินเน้ือเย่ือ ของใบเหลือไว้แต่ผิวใบบนและด้านล่าง ต่อมาใบจะแห้งเป็นสีขาว เม่ือหนอน โตมากข้ึนจะออกมาพับใบถ่ัวหรือชักใยเอาใบถ่ัวมารวมกัน อาศัยกัดกินและ เข้าดักแด้ในใบน้ัน ถ้าระบาดรุนแรงจะท�ำให้ต้นถ่ัวแคระแกร็น ใบร่วงหล่น ผลผลติ ลดลงประมาณ 50 เปอรเ์ ซ็นต์ ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศแห้งแล้ง ฝนท้ิงช่วง เปน็ เวลานานเกิน 15 วนั การปอ้ งกนั กำ� จดั   พน่ สารปอ้ งกนั กำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ตามคำ� แนะนำ� ในตารางที่ 2 การปลูกถ่ัวลิสง 19

2. เพลย้ี ออ่ นถวั่ ลักษณะและการท�ำลาย เป็นแมลงขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร เคล่ือนไหวช้า หัวมีขนาดเล็กกว่าส่วนอก ส่วนท้องโต ลักษณะ อ้วนปอ้ ม มที ่อเล็กๆ ย่ืนยาวไปทางส่วนท้าย 2 ทอ่ ตวั ออ่ นและตัวเตม็ วยั ดดู กิน น�้ำเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ดอก และเข็ม ท�ำให้ต้นแคระแกร็น ใบอ่อน และยอดอ่อนหงิกงอ ดอกร่วง ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศแห้งแล้ง ฝนท้ิงช่วง เปน็ เวลานานเกนิ 15 วนั การปอ้ งกนั ก�ำจดั   พน่ สารปอ้ งกนั กำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ตามคำ� แนะนำ� ในตารางท่ี 2 20 การปลูกถั่วลิสง

3. เพล้ียไฟ ลักษณะและการท�ำลาย เพล้ียไฟ ที่ท�ำลายถ่ัวมีหลายชนิด เป็นแมลงขนาดเล็กยาว ไม่เกิน 2 มิลลิเมตร สีน้�ำตาลหรือน�้ำตาลด�ำ เคล่ือนไหว ว่องไว ดดู กนิ น้�ำเล้ยี งตามยอดอ่อน ใบ และดอก ท�ำใหใ้ บหงกิ งอ บิดเบี้ยว มีรอยขีดข่วน เพล้ียไฟบางชนิดท�ำลายใบ ท�ำให้มีลักษณะ เหมือนไขติดอยู่เส้นกลางใบและหลังใบ สีน�้ำตาลคล้ายสนิม ถ้าระบาดรุนแรง จะท�ำให้ยอดไหม้และตาย เพลี้ยไฟบางชนิดเป็นพาหะน�ำโรคยอดไหม้ ท�ำให้ ตน้ ถว่ั ชะงกั การเจริญเตบิ โต ผลผลิตลดลงมากกวา่ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศแห้งแล้ง ฝนทิ้งช่วง เปน็ เวลานานเกนิ 15 วนั การปอ้ งกนั ก�ำจดั   พน่ สารปอ้ งกนั กำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ตามคำ� แนะนำ� ในตารางที่ 2 4. เพลยี้ จกั จ่นั ลกั ษณะและการทำ� ลาย เพลย้ี จกั จน่ั มลี ำ� ตวั ยาวประมาณ 3 มลิ ลเิ มตร สีเขียวอ่อน ตาสีขาว บินได้ว่องไว ตัวอ่อนเดินออกด้านข้างเป็นเส้นทแยงมุม ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดน้�ำเล้ียงบริเวณใต้ใบ ท�ำให้ใบเหลือง ปลายใบเป็น รูปตัววี ถ้าระบาดรุนแรงมากใบจะไหม้เป็นสีน�้ำตาลและร่วง ผลผลิตลดลง มากกวา่ 50 เปอร์เซน็ ต์ ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศแห้งแล้ง ฝนท้ิงช่วง เป็นเวลานานเกิน 15 วนั การปอ้ งกนั ก�ำจดั   พน่ สารปอ้ งกนั กำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ตามคำ� แนะนำ� ในตารางที่ 2 การปลกู ถ่วั ลิสง 21

5. เสี้ยนดนิ ลักษณะและการท�ำลาย เสี้ยนดินเป็นมดชนิดหนึ่ง ขนาดเท่ามดแดง ความกว้างของส่วนหัว 1.2 - 1.6 มิลลิเมตร ความยาวของส่วนหัว 1.4 - 1.9 มิลลิเมตร ท�ำลายฝักถ่ัวลิสง โดยการเจาะเปลือกถั่วเป็นรูแล้วกัดกินเมล็ดในฝัก หลังจากนนั้ จะนำ� ดนิ เขา้ ไปไวใ้ นฝกั แทนเมล็ดทีถ่ ูกทำ� ลาย ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในถั่วลิสงท่ีปลูกในป่าเปิดใหม่ ในดิน รว่ นปนทรายหรือแหล่งทป่ี ลกู ตามหลงั พืชอาหารอ่นื ๆ ของเสี้ยนดิน เช่น ขา้ วโพด และอ้อย เป็นต้น •• การปอ้ งกันก�ำจัด ไมป่ ลกู ถ่วั ลสิ งในแหล่งหรือแปลงทเ่ี คยพบการระบาดของเสี้ยนดิน ในแหลง่ ทพี่ บการทำ� ลายของเสย้ี นดนิ ควรทำ� การสมุ่ สำ� รวจการทำ� ลาย เปน็ ระยะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงระยะถว่ั ลสิ งสรา้ งฝักและเมล็ด โดยใชม้ ะพร้าวทง้ั ผล ผา่ ซกี ควำ่� ฝงั ดนิ ลกึ จนถงึ ด้านบนกะลามะพร้าว หากพบเสยี้ นดนิ ใหน้ ำ� ผลมะพร้าว •เผาทำ� ลาย พ่นสารปอ้ งกันก�ำจดั แมลงศตั รูพชื ตามคำ� แนะนำ� ในตารางท่ี 2 22 การปลกู ถ่วั ลิสง

ตารางที่ 2 การใชส้ ารปอ้ งกนั ก�ำจดั แมลงศตั รูถ่วั ลสิ ง แมลงศัตรพู ืช สารปอ้ งกนั อัตราการใช้/ วธิ ีการใช/้ ขอ้ ควรระวงั หยดุ การใช้สาร หนอนชอนใบ กำ� จัดแมลง นำ้� 20 ลิตร กอ่ นเก็บเกยี่ ว ศตั รูพชื 1/ ถั่วลิสง (วนั ) เพล้ยี อ่อนถว่ั ไตรอะโซฟอส 40 มลิ ลลิ ิตร พน่ เมอ่ื ใบถกู ท�ำลาย 30% ในระยะ 14 เพล้ียไฟ (40% อซี ี) ถัว่ เป็นตน้ ออ่ น หรอื เรมิ่ ติดฝกั 14 อะซีเฟต 7 เพล้ียจกั จั่น (75% เอสพี) 20 กรัม พ่นซ�ำ้ เมอ่ื พบการระบาด เส้ยี นดนิ 14 คลอร์ไพรฟิ อส 100 มิลลิลิตร พ่นเมอ่ื พบเพลีย้ ออ่ นระบาดมากใน 14 (20% อีซี) ระยะถว่ั แทงเข็ม เฉพาะบรเิ วณทพี่ บ 10 การระบาด พ่นซ�ำ้ เมอื่ พบการระบาด 14 - อะซเี ฟต 20 กรัม พ่นเมื่อพบเพลย้ี ไฟทำ� ลายใบ (75% เอสพี) ประมาณ 30 - 40 % ในระยะถวั่ - ไตรอะโซฟอส (40% อซี )ี 50 มลิ ลิลิตร เรม่ิ ติดฝัก พน่ ซำ้� เม่ือพบการระบาด เมทโิ อคารบ์ 30 กรมั (50% ดับบลวิ พ)ี อะซเี ฟต 20 กรมั พน่ เมื่อใบถูกทำ� ลาย 40% พ่นซำ้� (75% เอสพ)ี เมือ่ พบการระบาด ควินาลฟอส 4 กิโลกรมั /ไร่ โรยพร้อมกบั ปยุ๋ ขา้ งแถวถวั่ (5% จ)ี หลังดายหญ้าครัง้ ที่ 2 หรือเม่อื ถ่วั อย่ใู นระยะแทงเข็มหรือตดิ ฝกั คลอรไ์ พริฟอส 750 มิลลิลิตร/ พ่นลงดินระหว่างแถวถั่ว โดยพ่น (20% อีซี) นำ้� 80 ลติ ร/ไร่ คร้งั แรกเมือ่ ถ่วั อยใู่ นระยะแทงเขม็ หรือตดิ ฝัก และพน่ ซ�ำ้ อีกครั้งหลงั พน่ ครง้ั แรกประมาณ 1 เดือน 1/ ในวงเลบ็ คือ เปอร์เซน็ ต์สารออกฤทธ์ิและสูตรของสารป้องกันก�ำจัดแมลงศัตรพู ืช การปลกู ถ่ัวลสิ ง 23

การเก็บเกีย่ ว การเก็บเกี่ยวถ่ัวลิสงเป็นขั้นตอนท่ีส�ำคัญในการผลิตถั่วลิสงให้มีคุณภาพดี ซึ่งมีกจิ กรรมทค่ี วรปฏบิ ัติ คือ 1. การกำ� หนดอายเุ ก็บเกีย่ ว 1.1 การนับอายุ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ถั่วลิสง แต่ละพันธุ์จะใช้เวลาค่อนข้างคงที่ ในการเจริญเติบโตจนถึงให้ผลผลิต โดยทั่วไป ถ่ัวลิสงที่ปลูกในประเทศไทยจะมีอายุเก็บเกี่ยวฝักสด (เพ่ือการบริโภคในรูป ถ่ัวต้ม) ประมาณ 85 - 95 วัน และมีอายุเก็บเก่ียวฝักแก่เต็มท่ีอายุประมาณ 95 - 110 วัน 1.2 การสังเกตสีของเปลือกฝักด้านใน ท�ำการสุ่มถอนต้น ถั่วลิสงหลายๆ จุดในแปลงมาตรวจนับ หากมีเปอร์เซ็นต์ของฝักท่ีมีเปลือกฝัก ดา้ นในเปล่ียนสีเป็นสีน�ำ้ ตาลดำ� มากกวา่ 60 เปอร์เซน็ ต์ แสดงวา่ ถงึ อายเุ ก็บเกยี่ ว ทเี่ หมาะสม 24 การปลกู ถว่ั ลิสง

2. การถอนหรอื ขุดต้นถ่วั ลสิ ง การเก็บเกี่ยวในขณะท่ีดินยัง มีความชื้นบ้างจะช่วยให้ถอนต้นถ่ัวขึ้น โดยง่าย แต่ถ้าดินแห้งจะต้องใช้จอบ หรือเคร่ืองมือช่วยขุด การใช้เคร่ืองมือ ในการขุดจะต้องระมัดระวังไม่ให้ฝัก ถว่ั ลสิ งเกดิ รอยแผลหรอื เกดิ ไดน้ อ้ ยทสี่ ดุ 3. การปลดิ ฝัก ปลิดฝักด้วยมือ หรือเคร่ืองปลิด ร่วนดินออกแล้วคัดฝักเสีย ฝักเน่า และฝักท่ีเป็นแผลออกหลังจากปลิดฝักถั่วแล้ว ต้นถั่วสามารถใช้เล้ียงสัตว์ หรือไถกลบบ�ำรุงดิน ท�ำให้พืชที่ปลูกตามมีการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตเพิ่มข้ึน 4. การตาก ควรตากฝักถั่วลิสงฝักแห้งบนตะแกรงตาข่าย แคร่ หรือผ้าใบ โดยไม่ให้ ฝักถ่ัวสัมผัสพื้นดิน กองถั่วหนาไม่เกิน 5 เซนติเมตร พลิกกลับกองถ่ัววันละ 2 - 3 คร้ัง เพื่อให้ฝักแห้งสม�่ำเสมอท่ัวท้ังกอง ในช่วงท่ีมีแดดจัดใช้เวลาตาก ประมาณ 3 - 5 วนั เพ่อื ใหค้ วามช้นื ลดลงต�่ำกวา่ 9 เปอรเ์ ซน็ ต์ การปลกู ถัว่ ลสิ ง 25

5. การเกบ็ รักษา • 5.1 การปฏิบตั ิหลังการเกบ็ เกี่ยว ฝักถั่วลสิ งทจ่ี ะน�ำเข้าเกบ็ ตอ้ งทำ� ความสะอาดให้ปราศจากฝ่นุ ผง •เศษซากพืชและคดั ฝักเนา่ เสียคละฝกั ลบี ไมส่ มบูรณอ์ อก ในหอ้ งทไี่ มม่ กี ารควบคมุ อณุ หภมู ิ ควรเกบ็ ในรปู ฝกั แหง้ จะเกบ็ ได้ นานกวา่ ในรูปเมลด็ แห้ง ประมาณ 2 เดอื น เนือ่ งจากเปลอื กฝักช่วยปกป้องเมลด็ •ไดอ้ ีกชั้นหนึ่ง ถ่ัวลิสงเมล็ดขนาดปานกลางเก็บรักษาได้นานกว่าเมล็ดขนาด •ใหญแ่ ละเล็ก ควรกะเทาะถ่ัวลิสงฝักแห้งภายใน 3 เดือน เพ่ือรักษาคุณภาพ ดา้ นการบริโภค 5.2 การเกบ็ รกั ษาผลผลติ และการบรรจุ • 5.2.1  ถว่ั ลิสงฝักสด ควรบรรจุถ่ัวลิสงฝักสดในกระสอบป่านท่ีสะอาด มีการถ่ายเท ••อากาศไดด้ ี และนำ� ส่งตลาดใหเ้ ร็วที่สดุ เพือ่ รักษาคุณภาพดา้ นรสชาติ ควรสง่ ถงึ ตลาดภายใน 24 ช่ัวโมง ล้างให้สะอาดแล้วตม้ ทันที ไม่ควรกองถวั่ ใหน้ านเกนิ 1 วนั เพราะอาจเกดิ เช้อื รา ไม่ปลอดภยั ตอ่ ผบู้ รโิ ภค • 5.2.2  ถ่ัวลสิ งฝักแหง้ บรรจุฝักในกระสอบป่านที่สะอาดและเก็บรักษาในโรงเก็บหรือ •ส่งจ�ำหน่ายให้พอ่ คา้ โรงเก็บตอ้ งเป็นอาคารโปร่ง อากาศถ่ายเทดี ป้องกนั ความเปียกช้ืน จากฝนได้ ไมม่ มี อด หนู หรอื สตั ว์เล้ยี ง เข้ารบกวน ถ้าเปน็ พ้นื ซเี มนต์ ให้หาวสั ดรุ อง กระสอบป่าน เช่น ไม้ไผ่ เสาคอนกรีต เพ่ือไม่ให้ถ่ัวลิสงดูดความช้ืนจากพ้ืนซีเมนต์ เพราะจะทำ� ให้ถั่วเกิดเชอ้ื ราได้ ควรดูแลท�ำความสะอาดโรงเก็บเมล็ดพันธ์อุ ย่เู สมอ 26 การปลกู ถั่วลิสง

5.3 สภาพแวดล้อมของการเก็บรักษา ควรมีการระบาย อากาศได้ดี ถ้าเก็บในสภาพห้องท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิและความช้ืนสัมพัทธ์ จะมีอายุในการเก็บรักษาได้นานข้ึน ในห้องที่มีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และมีความช้นื สมั พทั ธ์ 50 เปอร์เซน็ ต์ สามารถเกบ็ ไดน้ านถึง 18 เดอื น การเกบ็ เมลด็ พนั ธท์ุ ไี่ ดจ้ ากการใชเ้ ครอ่ื งกะเทาะในหอ้ งทม่ี อี ณุ หภมู ิ 20 องศาเซลเซียส ความชน้ื สัมพัทธ์ 50 - 60 เปอร์เซน็ ต์ สามารถเกบ็ ไว้ไดน้ าน 12 เดือน อะฟลาทอกซิน คืออะไร อะฟลาทอกซิน คือสารพิษที่สร้างข้ึนโดยเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดิน 2 ชนิด คอื แอสเปอร์จิลลัส ฟลาวัส (Aspergillus flavus) แอสเปอรจ์ ลิ ลสั พาราซิติกสั (Aspergillus parasiticus) แบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ อะฟลาทอกซิน B1 B2 G1 G2 ซึ่งพบมากในเมล็ดถั่วลิสง ข้าวโพด ฝ้าย ส่วนชนิด M1 พบในน้�ำนม ของสัตว์ท่ีกินอาหารปนเปื้อนอะฟลาทอกซิน อะฟลาทอกซิน B1 มีอันตราย รา้ ยแรงท่สี ดุ และมักพบในปรมิ าณทีส่ ูงกว่าชนิดอนื่ การปนเป้อื นของอะฟลาทอกซนิ ในถัว่ ลิสง การปนเปื้อนของอะฟลาทอกซินในถั่วลิสงอาจเกิดข้ึนได้ทุกข้ันตอน ของกระบวนการผลิต ทั้งในแปลงปลูกและในระหว่างการเก็บรักษา สาเหตุของ การเกิดอะฟลาทอกซนิ สรุปได้ดงั น้ี 3.1 สภาวะความแหง้ แล้งในช่วง 30 วันก่อนเก็บเกย่ี ว 3.2 ฝักถกู ท�ำลายจากโรค แมลงในดิน 3.3 การขาดแคลเซียม ท�ำใหเ้ กิดโรคจากเชือ้ ราทฝ่ี ัก 3.4 เก็บเก่ยี วเม่ือถั่วแกเ่ กินไป 3.5 ใชร้ ะยะเวลานานในการตาก เพอื่ ลดความชนื้ ลงจนถงึ จดุ ทปี่ ลอดภยั หรืออาจจะเปยี กฝนในขณะท่ตี าก การปลูกถ่ัวลสิ ง 27

การควบคมุ การปนเป้ือนของเช้อื ราและสารพิษอะฟลาทอกซนิ ค�ำแนะน�ำการปฏิบัติ เพ่ือหลีกเล่ียงการปนเปื้อนสารอะฟลาทอกซิน •ซึง่ เกิดจากเช้อื ราในเมล็ดถัว่ ลิสง มแี นวทางในการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ไม่ปลูกถ่ัวลิสงต่อเนื่องในพื้นที่เดียวกันทุกปี ควรปลูกสลับด้วย •ขา้ วฟ่าง ถั่วเหลอื งหรอื ถวั่ เขยี ว เนื่องจากถั่วลิสงเป็นพืชที่ถูกเช้ือราเข้าท�ำลายในช่วงก่อนเก็บเกี่ยว เพื่อลดโอกาสเข้าท�ำลายของเชื้อราที่เหลือในแปลง ไม่ควรปลูกถ่ัวลิสงตาม •ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ กำ� จดั แหลง่ สะสมเชอื้ รา เชน่ ซากตน้ ถว่ั ลิสง ซากต้นและฝักข้าวโพด •เล้ยี งสัตว์ อย่าให้ถ่ัวลิสงขาดน้�ำช่วงออกดอก แทงเข็มและพัฒนาการเป็นฝัก ต้องให้น้�ำอย่างสม่�ำเสมอ หากต้นถั่วลิสงขาดน�้ำ จะท�ำให้ถ่ัวลิสงอ่อนแอต่อการ •เขา้ ทำ� ลายของเช้ือรา หลังจากกะเทาะเปลือก ต้องรีบคัดแยกเมล็ดท่ีถูกศัตรูเข้าท�ำลาย มีเช้ือรา เมล็ดเสีย เมล็ดเน่า ออกทิ้งทันที ห้ามน�ำเมล็ดที่คัดท้ิงไปบริโภคหรือ ใชเ้ ลี้ยงสัตว์อย่างเดด็ ขาด 28 การปลกู ถวั่ ลิสง

บรรณานุกรม กรมส่งเสริมการเกษตร. การผลิตถั่วลิสงคุณภาพดีปลอดภัยจากสารพิษ อะฟลาทอกซิน. กิจกรรมรณรงค์ แก้ปัญหาอะฟลาทอกซินในถ่ัวลิสง ภายใต้โครงการแก้ปัญหาอะฟลาทอกซินในอาหาร และอาหารสัตว์ แบบครบวงจร (สมอ.) (เอกสารแผน่ พับ). กรมส่งเสริมการเกษตร. 2543. เทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงเมล็ดโต (จัมโบ้). กลมุ่ พชื นำ้� มนั ,กองสง่ เสริมพืชไรน่ า กรุงเทพมหานคร. 40 หน้า. กรมสง่ เสริมการเกษตร. 2545. การปลกู ถัว่ ลิสง เอกสารคำ� แนะนำ� กรมวชิ าการ เกษตร. 2544. เกษตรดที ่เี หมาะสมสำ� หรับถวั่ ลิสง. กรมวชิ าการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 22 หน้า เตอื นจติ ต์ สตั ยาวิรุธิ์, มโนชยั กีรติกสกิ ร และสาทร สิรสิ งิ ห.์ 2539. แมลงศัตรูถ่วั ลสิ ง. กองกฏี และสตั ววิทยา กรมวิชาการเกษตร กรงุ เทพมหานคร 72 หน้า. ปิยะ ดวงพตั รา, จวงจนั ทร์ ดวงพัตรา, สพุ จน์ เฟือ่ งฟพู งศ,์ วชิ ัย พฤทัยธนาสนั ติ์, เพญ็ ขวัญ ชมปรีดา, สรุพล เช้าฉลอง, จุฑามาศ รม่ แก้ว และปารชิ าติ พรมโชติ.2545. ดินและปุ๋ยถ่ัวลสิ ง. เอกสารเผยแพรท่ างวชิ าการ โครงการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกถั่วลิสงพันธุ์เกษตร 1 และเกษตรศาสตร์ 50 ฉบบั ท่ี 2, ภาควชิ าพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ นาค โพธแ์ิ ทน่ . 2531. พชื ไรน่ ำ้� มนั และพชื ไรต่ ระกลู ถว่ั . กลมุ่ วชิ าการ สถาบนั วจิ ยั พืชไร่ กรมวชิ าการเกษตร. กรงุ เทพมหานคร. 245 หน้า. ศนู ยว์ ิจัยพชื ไร่ขอนแก่น. 2542. เอกสารวชิ าการ การผลิตถวั่ ลสิ งอยา่ งถกู ต้องและ เหมาะสม ศนู ย์วจิ ัยพชื ไร่ ขอนแก่น สถาบนั วิจยั พืชไร่ กรมวชิ าการเกษตร ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรผลิตสไลด์ ประกอบเสยี ง เรอื่ งการปลกู ถว่ั ลสิ ง (ใชภ้ าพบางภาพประกอบการเขยี น เอกสารค�ำแนะนำ� ). การปลกู ถว่ั ลิสง 29

สมจินตนา ทุมแสน, วรยทุ ธ ศริ ชิ ุมพนั ธ์ และอมฤต วงษ์ศิร.ิ 2543. ถ่วั ลสิ งฝักตม้ พนั ธุ์ KAC 1 หรือถวั่ เกษตร หรือถว่ั โล้นแดง พันธ์ุ KAC 431 หรอื ถั่วพระราชทาน หรือถั่วราชินี หรือถ่ัวจัมโบ้ลาย. เอกสารประกอบ การสัมมนาถั่วลิสงแห่งชาติ คร้ังท่ี 15 ณ โรงแรมอมิตี้ กรีนฮิลล์ จังหวัดเชยี งใหม่ วนั ที่ 10-12 พฤษภาคม 2543 จำ� นวน 4 หนา้ . โสภณ วงศ์แก้ว. 2528. โรคของถ่ัวลิสงในประเทศไทย, เอกสารเผยแพร่ของ กลุ่มนักวิจัยโรคถ่ัวลิสง โครงการร่วมถั่วลิสง ฉบับท่ี 1 ประเทศไทย. 75 หนา้ . โสภณ วงศ์แก้ว. 2536. โรคไวรัสของถั่วลิสงในประเทศไทย, กลุ่มพืชน้�ำมัน กองส่งเสรมิ พืชไร่ กรมสง่ เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. โสภณ วงศ์แก้ว. และสน่ัน จอกลอย. 2542. การปฏิบัติเพื่อให้ปลอดภัยจาก สารพิษอะฟลาทอกซินในถั่วลิสง เอกสารเผยแพร่ กรมส่งเสริม การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ สุกัญญา กองเงิน 2545. การปลูกถั่วลิสง. เอกสารเผยแพร่ของกองส่งเสริม พชื ไรน่ า กรมส่งเสริมการเกษตร กรุงเทพมหานคร 40 หน้า. H.A Malouk and F.M. Shokes. 1995. PEANUT HEALTH MANAGEMENT. The American Phytopathological Society. 171 p. ภาพประกอบได้รบั การเอ้อื เฟอ้ื จากกรมวิชาการเกษตร ✤✤✤ 30 การปลกู ถ่วั ลิสง

เอกสารค�ำแนะนำ� ท่ี 3/2557 การปลกู ถว่ั ลสิ ง ท่ปี รึกษา นายโอฬาร พทิ กั ษ ์ อธบิ ดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายน�ำชยั พรหมมีชยั รองอธิบดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝา่ ยบรหิ าร นายไพรชั หวังดี รองอธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร ฝ่ายวชิ าการ นายสรุ พล จารุพงศ ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายส่งเสรมิ และฝึกอบรม นางสกุ ญั ญา อธปิ อนันต ์ ผ้อู ำ� นวยการส�ำนักพฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี นางอรสา ดิสถาพร ผู้อำ� นวยการสำ� นักส่งเสรมิ และจดั การสินคา้ เกษตร เรียบเรียง นางศรสี ุดา เตชะสาน ผอู้ ำ� นวยการกล่มุ ส่งเสรมิ การผลติ พืชนำ�้ มันและพืชตระกูลถั่ว จัดท�ำ นางอมรทิพย์ ภิรมยบ์ รู ณ ์ ผอู้ �ำนวยการกล่มุ พฒั นาสอ่ื ส่งเสรมิ การเกษตร นายพงษ์เพชร วงศโ์ สภา นกั วิชาการเผยแพร่ชำ� นาญการ กล่มุ พัฒนาส่อื ส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักพฒั นาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสรมิ การเกษตร