Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูพืช

การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูพืช

Description: การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูพืช

Search

Read the Text Version

เอกสารคำ� แนะน�ำท่ี 2/2557 การปลกู มะพรา้ วและการควบคุมศัตรมู ะพรา้ ว พิมพค์ รั้งท่ี 1 : ปี 2557 จ�ำนวน 10,000 เล่ม พิมพ์ท่ี : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั





ค�ำน�ำ มะพร้าวเป็นพืชที่มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของคนไทยมาเป็นเวลาช้านานจึงมีความผูกพันอยู่กับวัฒนธรรมของคนไทย ทุกส่วนของมะพร้าวสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ส�ำหรับมวลมนุษยชาติ จาก สถานการณ์มะพรา้ วการผลิต ปี 2554 ในแหลง่ ผลิตมะพรา้ วส�ำคญั ของประเทศ คาดว่าเนื้อท่ีให้ผลผลิตลดลงจากปี 2554 เน่ืองจากปัญหาการระบาดของ แมลงศัตรูมะพร้าว ส่งผลให้เกษตรกรขาดแรงจูงใจในการดูแลรักษาสวน ขณะที่เกษตรกรบางรายปรับเปลี่ยนเนื้อท่ีไปปลูกปาล์มน้�ำมันและยางพารา ท่ีให้ผลตอบแทนสูงกว่าทดแทน ปัญหาการผลิตมะพร้าวเกิดข้ึนจากแนวโน้ม การลดลงของผลผลิตมะพร้าว ส่งผลกระทบต่อความขาดแคลนวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมต่อเน่ือง และท�ำให้ราคามะพร้าวภายในประเทศปรับตัวสูงข้ึน มีผลกระทบให้ความสามารถในการแข่งขันกับการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก การระบาดของแมลงศัตรูมะพร้าวในแหล่งผลิต ประกอบกับสวนมะพร้าวท่ีมีอยู่ ในปัจจุบันเป็นสายพันธุ์ด้ังเดิมและมีอายุมากให้ผลผลิตต่�ำ นอกจากนี้การปรับ เปล่ียนเน้ือท่ีปลูกมะพร้าวไปปลูกปาล์มน้�ำมันและยางพารา ส่งผลให้ผลผลิต มะพร้าวไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ภายในประเทศ และมีผลต่อเน่ืองไป ในอนาคต ดังนั้นกรมส่งเสริมการเกษตรจึงได้จัดท�ำเอกสารการปลูกมะพร้าวและ การควบคุมศัตรูมะพร้าว หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ การผลิตมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกรได้รับ ผลผลิตจากการท�ำสวนมะพร้าวเพ่ิมข้ึน ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้และอาชีพ ท่ียั่งยนื ต่อไป การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว iกii



สารบัญ ค�ำน�ำ หนา้ สารบญั ก การปลูกมะพรา้ ว ข การเลือกที่ปลูกมะพร้าว 1 การเตรยี มท่ปี ลูกมะพรา้ ว 2 วธิ ปี ลกู 5 การใสป่ ุย๋ ต้นมะพร้าวทีเ่ ริ่มปลูก 7 การดแู ลรกั ษาสวนมะพร้าวทอ่ี อกผลแล้ว 8 ศตั รมู ะพรา้ วและการป้องกนั กำ� จัด 10 โรคมะพรา้ วท่สี �ำคัญ 20 แมลงศตั รูมะพร้าวท่ีสำ� คัญ 20 สัตว์ฟนั แทะศตั รูมะพรา้ ว 22 การดูแลสวนมะพรา้ วไม่ให้เกดิ การระบาดของศตั รูพชื 40 45 การปลูกมะพรา้ วและการควบคมุ ศตั รมู ะพรา้ ว ขv



การปลูกมะพรา้ ว และการควบคมุ ศัตรูมะพร้าว การปลกู มะพรา้ ว การปลูกมะพร้าวให้ได้ผลดี ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ คือ เลือกทป่ี ลกู ดี ใช้พนั ธด์ุ ี ปลกู ถูกวิธี ดูแลรกั ษาตน้ มะพรา้ วใหส้ มบรู ณ์ ปราศจากโรค และศัตรูที่มารบกวนและแก้ไขอุปสรรคที่ท�ำให้มะพร้าวออกผลน้อย โดยหลัก ในการพจิ ารณาเลือกที่ปลกู และดแู ลรักษาสวนมะพรา้ วดงั นี้ การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศัตรูมะพร้าว 1

การเลอื กที่ปลูกมะพรา้ ว ประเทศไทยต้ังอยู่บนบริเวณท่ีมีลมฟ้าอากาศเหมาะสมส�ำหรับ ปลูกมะพร้าว โดยทั่วไปจะเห็นมะพร้าวปลูกอยู่ต้ังแต่ภาคเหนือจรดภาคใต้ หลกั ทั่วไปในการเลอื กที่ปลกู มะพรา้ วควรคำ� นงึ ถงึ ส่งิ ต่อไปน้ี ฝน เป็นปัจจัยส�ำคัญอันหน่ึงในการ ปลูกมะพร้าว จากการศึกษาพบว่าที่ปลูกมะพร้าว ได้เจริญงอกงามดี จะต้องมีปริมาณน�้ำฝนตก ไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และมีฝนตก สม่�ำเสมอทุกเดอื น ถ้ามีฝนตกนอ้ ยกว่า 50 มลิ ลิเมตร ต่อเดือน ติดต่อกันเกินกว่า 3 เดือน มะพร้าวจะ ออกผลใหน้ อ้ ยลง อุณหภูมิ บริเวณท่ีอากาศหนาวจัดเป็น เวลานานๆ คือ มีอุณหภูมิต่�ำกว่า 15 ํC ติดต่อกัน หลายๆ วัน จะมีผลให้มะพร้าวออกผลน้อยลง เพราะอากาศหนาวไปเปล่ียนระบบการปรุงอาหาร และกจิ กรรมอ่ืนๆ แต่ถา้ เป็นทซ่ี งึ่ หนาวเป็นคร้งั คราว ก็ไม่มีปัญหามากนัก ที่ซ่ึงมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 20 - 27 Cํ เชน่ ภาคใต้ ภาคกลาง และตะวนั ออก สามารถปลกู มะพร้าวไดผ้ ลดี 2 การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศัตรมู ะพร้าว

แสงแดด เป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหน่ึง ส�ำหรับการปลูกมะพร้าว บริเวณซึ่งแสงแดดส่อง ไม่ค่อยถึงมะพร้าวจะไม่ค่อยออกดอกออกผล หรือ มีเน้ือบาง ดังนั้นจึงไม่ควรปลูกมะพรา้ วในท่ีร่ม หรือ ท่ีซ่ึงมีเมฆหนาทึบอยู่ตลอดปีปริมาณแสงแดดที่ เหมาะสมวันละ 7.1 ชั่วโมง ความสูงของพ้ืนท่ี ระดับความสูง ของพื้นที่จะเก่ียวข้องกับอุณหภูมิ ความสูงทุกๆ 100 เมตร อุณหภูมิจะลดต่�ำลง 0.6 ํC ดังนั้นการ ท�ำสวนมะพร้าวเพื่อการค้าควรเลือกท่ีไม่สูงเกิน 500 เมตรเหนือระดับน้�ำทะเล ผลผลิตที่ได้ไม่ต่าง จากการท�ำสวนมะพรา้ วใกล้ทะเล การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว 3

ดินท่ีใช้ปลูกมะพร้าว มะพร้าวเป็นพืชที่ไม่ค่อยเลือกชนิดดิน ทป่ี ลกู มากนัก แต่ตอ้ งคำ� นงึ ถึงลกั ษณะพ้ืนทดี่ งั น้ี ท่ีลุ่ม ท่ีดอน มะพร้าวปลูกเจริญงอกงามบนท่ีดอนมากกว่าท่ีลุ่ม การท่ีจะปลูกมะพร้าวให้เจริญงอกงามในที่ลุ่ม ต้องยกเป็นคันร่องให้สูงพ้น ระดับน้�ำที่ขังอยู่ ให้หลังคันดินท่ียกขึ้นมาสูงกว่าระดับน�้ำในฤดูน้�ำสูงสุด ประมาณ 60 เซนติเมตร เป็นคันยาวไปตามรูปเน้ือท่ีท่ีมีอยู่ จึงจะพอใช้ปลูก มะพรา้ วใหไ้ ดผ้ ลดี ดนิ ดาน ดนิ ที่มีชน้ั หินแข็งหรือหนิ ดานอย่ลู ึกจากผวิ ดนิ น้อยกวา่ 1 เมตร ไม่ควรใช้ปลกู มะพรา้ วเพราะจะไมค่ อ่ ยได้รับผลดี ถ้าจะไดผ้ ลดีกต็ ้องลงทนุ สูง ดินดี ไม่ดี หมายถึง ดินที่ความอุดมสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด สังเกต ได้จากต้นไม้ หรือต้นมะพร้าวที่ขึ้นอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ถ้าต้นไม้เหล่าน้ัน มีใบเขียวเข้ม ออกดอกออกผลงามก็แสดงว่าดินดี แต่ถ้าต้นมะพร้าวหรือ ต้นไม้อ่ืนที่อยู่ใกล้เคียงน้ันไม่เจริญงอกงามควรจะสอบดูให้แน่ชัดโดยการเก็บ ตัวอย่างดนิ ส่งไปวเิ คราะห์ 4 การปลกู มะพรา้ วและการควบคมุ ศตั รมู ะพร้าว

การเตรียมทป่ี ลูกมะพร้าว ท่ีดินซ่ึงจะใช้ปลูกมะพร้าว ควรท�ำให้เตียนและถอนตอออกให้หมด ส่วนท่ีลุ่มหรือที่น้�ำท่วมถึงต้องยกร่องปลูก โดยให้คันร่องอยู่สูงกว่าระดับ น�ำ้ ท่วมสงู สดุ ไม่น้อยกวา่ 60 เซนติเมตร การปลูกมะพร้าวบนเขาหรือท่ีชันมากๆ ควรท�ำขั้นบันไดแล้วปลูกพืช กันดินพังทลาย หลังจากถางป่าแล้วควรไถดินและปรับระดับดิน อย่าให้มีน�้ำขัง ในแปลงปลกู แลว้ จึงวางผงั ปลูกมะพร้าว ระยะปลูกมะพร้าว การปลูกมะพร้าวควรปลูกแบบสามเหลี่ยม ด้านเท่า เพราะจะได้จ�ำนวนต้นมากกว่าการปลูกแบบสี่เหล่ียมจัตุรัสประมาณ 15 % ถ้าปลูกมะพร้าวชนิดต้นสูงควรปลูกห่างกัน 8.50 - 9.00 เมตร ถ้า ปลูกมะพร้าวต้นเตี้ย ใช้ระยะปลูกห่างกัน 6.5 เมตร ระยะห่างระหว่างแถว •ในการปลกู แบบสามเหลี่ยมด้านเท่า มดี ังน้ี ระยะระหวา่ งต้น 9.00 เมตร ระยะระหว่างแถว 7.80 เมตร • จ�ำนวน 22 ต้นตอ่ ไร่ ระยะระหวา่ งตน้ 8.50 เมตร ระยะระหว่างแถว 7.36 เมตร • จ�ำนวน 25 ตน้ ต่อไร่ ระยะระหวา่ งตน้ 6.50 เมตร ระยะระหว่างแถว 5.63 เมตร จ�ำนวน 43 ตน้ ตอ่ ไร่ (มะพร้าวเต้ีย) การปลกู มะพร้าวแบบสเ่ี หลีย่ มจตรุ ัส การปลูกมะพร้าวแบบสามเหลย่ี มดา้ นเทา่ การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว 5

การเตรียมหลุมปลูก การปลูกมะพร้าวบนที่ดอนและดินมีความ อุดมสมบูรณ์ต่�ำ เช่น ดินทราย ดินลูกรัง ควรขุดหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร และลึก 1 เมตร ส่วนในท่ีลุ่มหรือที่ท่ีดินอุดมสมบูรณ์อาจขุดหลุม ใหเ้ ล็กกวา่ นไี้ ด้ การเตรียมหลมุ ปลูกท่ีดีจะช่วยให้หน่อมะพร้าวเจรญิ เตบิ โตเร็ว การขดุ หลุม ให้ขุดเอาดนิ ผิวไว้ดา้ นหนงึ่ และดินชัน้ ลา่ งไวอ้ ีกทางหนึง่ และควรขุดในฤดูแล้ง หลังจากขุดหลุมแล้วให้ตากดิน 7 วัน หากสามารถ หาไม้มาเผาในก้นหลุมจะช่วยป้องกันปลวกควรรองก้นหลุมด้วยกาบมะพร้าว 2 ชั้น แล้วเอาดินชั้นบนใส่ลงไปประมาณคร่ึงหลุม จากนั้นใส่ดินผสมกับ ปุ๋ยคอก หรือผสมปุ๋ยกับดิน และกาบมะพร้าวสลับกันไปเป็นช้ันๆ ปุ๋ยคอกใส่ หลุมละ 1 ปีบ หรือ ร็อคฟอสเฟตครึ่งกิโลกรัมต่อหลุม ใส่ดินและปุ๋ยท่ี ผสมกันแลว้ จนเต็มหลมุ และทิง้ ไวจ้ นถงึ ฤดูปลกู ฤดูปลูก ฤดูปลูกที่เหมาะสมส�ำหรับปลูกมะพร้าว ควรเร่ิมปลูกใน ฤดฝู นหลงั จากที่ฝนตกใหญ่แลว้ 2 ครัง้ การปลูก ควรปลูกต่�ำกว่าปากหลุม 15 เซนติเมตร แต่ในท่ีบางแห่ง ซ่ึงเป็นท่ีลุ่มระดับน�้ำใต้ดินสูง ควรปลูกให้เสมอกับปากหลุมหรือสูงกว่าปากหลุม เลก็ น้อย 6 การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศัตรมู ะพร้าว

วิธีปลูก น�ำหน่อมะพร้าววางลงในหลุมเอาดินกลบและเหยียบดินข้างๆ ให้แน่น การกลบดินอย่าให้สูงมากนักเพราะดินจะทับคอหน่อมะพร้าว ท�ำให้เจริญ เติบโตช้า หลังจากปลูกแล้วเกล่ียดินปากหลุมให้เรียบร้อย และเอาไม้ปัก ผกู ต้นไวก้ ับหลัก เพอื่ กนั ลมโยก ภาพแสดงการปลูกมะพร้าวในทล่ี ่มุ ต้องวางระดับหนอ่ มะพรา้ ว ใหส้ งู กว่าหลุมปลูก ภาพแสดงการปลูกมะพรา้ วในทด่ี อน ตอ้ งวางระดับหนอ่ มะพรา้ ว ใหต้ ำ�่ กว่าหลุมปลกู การปลูกมะพร้าวพวกต้นเต้ียสีเหลือง หรือแดง ควรมีร่มกันแดดไว้ ตอนย้ายปลูกใหม่ๆ เพราะมะพร้าวท้ังสองชนิดไม่ทนทานต่อแดด ใบอาจไหม้ได้ เม่ือถกู แดดจัด การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว 7

การใส่ปุ๋ยต้นมะพรา้ วท่เี ริ่มปลูก ควรใส่ต้ังแต่มีอายุ 6 เดือน หรือใบยอดเร่ิมคล่ีออกหลังจากปลูก ใส่ปีละ 2 คร้ัง ปุ๋ยที่ใส่อาจใช้ได้ท้ังปุ๋ยมูลสัตว์และปุ๋ยเคมี ปุ๋ยมูลสัตว์ พวกมูลวัวมูลควาย ควรใส่ต้นละ 2 ปีบต่อปี มูลเป็ดมูลไก่ควรแบ่งใส่ 2 คร้ัง คร้ังละ 1 ปีบ การใส่ปุ๋ยเคมี แบ่งใส่ทุก 6 เดือน ตอนต้นฝนช่วงเดือน พฤษภาคม หรือเดือนมิถุนายน ครั้งท่ี 2 ตอนปลายฝน ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม แล้วแต่ฤดูกาลของแต่ละแห่ง ปุ๋ยเคมีที่แนะน�ำให้ใช้เป็น ปุ๋ยผสมสูตร 13 : 13 : 21 รวมกับปุ๋ยแมกนีเซียมซัลเฟต หรือหินปูนไดโลไมท์ จ�ำนวนปุ๋ยและอายุท่ีใชด้ ังตาราง อายุมะพรา้ ว ปุ๋ยผสม ป๋ยุ หรือหินปูน 13 : 13: 21 แมกนเี ซียมซัลเฟต ไดโลไมท์ ปี 1 (กิโลกรัม) (กรัม) (กโิ ลกรมั ) 2 1 - - 3 2 200 2 4 หรือมากกวา่ 3 300 3 4 500 4 ส�ำหรับปุ๋ยแมกนีเซียมซัลเฟต และหินปูนไดโลไมท์ให้ใช้อย่างใด อย่างหน่ึง ถ้าใช้หินปูนไดโลไมท์ ให้หว่านก่อนใส่ปุ๋ยอย่างอื่นอย่างน้อย 1 เดอื น 8 การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศัตรมู ะพร้าว

วิธีใส่ปุ๋ย ก่อนใส่ปุ๋ยควร ถางโคนต้นใหเ้ ตยี น แล้วใช้ป๋ยุ โรยรอบต้น ตั้งแต่โคนตน้ ออกมาถึงรศั มี 1.5 เมตร และบริเวณใส่ปุ๋ยควรขยายออกไปทุกที วิธีใส่ปุ๋ยมูลสัตว์ ให้กับ ต้นมะพร้าว ควรขุดรางรอบต้น ให้ลึกประมาณ 10 เซนติเมตร กว้าง 12 เซนติเมตร วงในห่างต้น 1 เมตร เอามูลสัตว์ที่ต้องการใส่ลงไป ในรางท่ีขุดแล้วกลบดิน อีกวิธีหนึ่งที่ นยิ มกนั คอื ขดุ เป็นหลุม กวา้ งประมาณ 30 x 30 x 30 เซนตเิ มตร ทโี่ คนต้น หา่ งจากล�ำต้น 1.5 เมตร ต้นละ 3 หลมุ แล้วใส่ปุย๋ ในหลมุ ท่ขี ุด หลมุ ท่ีขดุ ใสป่ ุ๋ย เปลยี่ นทท่ี ุกปจี นรอบต้น การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศัตรูมะพรา้ ว 9

การดแู ลรกั ษาสวนมะพรา้ วท่อี อกผลแล้ว 1. การไถพรวน ไถพรวนระหว่าง แถวมะพรา้ วไมใ่ หล้ ึกเกินกว่า 20 เซนติเมตร ไถแถว เว้นแถวให้ห่างจากต้นข้างละ 2 เมตร ไถสลับกัน ทุก 2 ปี ตอนปลายฤดูแล้งรากที่อยู่ผิวดินจะแห้ง ไมด่ ูดอาหาร เม่ือถูกตัดกจ็ ะแตกใหมเ่ ม่อื ฝนตก 2. การขุดคูระบายน�้ำและการรดน�้ำ ในฤดูแล้ง ถ้ามีฝนตกมากและที่ปลูกเป็นท่ีลุ่ม น้�ำท่วมแปลงปลูก ควรขุดคูระบายน้�ำออกอย่าให้ มีน�้ำขังในแปลง ถ้าฝนแล้งนานก็จะกระทบต่อ การติดดอกออกผลดังน้ันเมื่อถึงฤดูแล้ง ถ้าท่ีใด พอจะหาน�้ำรดให้ต้นมะพร้าวได้ ก็จะท�ำให้มะพร้าว งามดี ออกผลดก ไมเ่ ห่ยี วเฉา น้ำ� ทรี่ ดตน้ ควรใชน้ ้ำ� จืด แต่น้ำ� ทะเลก็สามารถใชร้ ดได้ 10 การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศตั รูมะพร้าว

3. การควบคุมวัชพืชในสวนมะพร้าว ในพื้นท่ีแล้งนาน ควรคอยถางหญ้าให้เตียน หรือใช้จอบหมุนตีดินบนหน้าดิน อย่าให้ลึกกว่า 10 เซนติเมตร หรือใช้จานพรวนระหว่างแถวมะพร้าวส่วนบริเวณท่ีมีฝนตก ต้องเก็บหญ้าหรือพืชคลุมไว้ แต่ก็ไม่ให้ขึ้นรกมาก จึงควรมีการตัดหญ้าหรือ ใชจ้ านพรวนลาก แต่ไม่กดให้ลึกมากเพอื่ ใหพ้ ชื คลุมดินหรือหญ้านั้นราบลงไปบา้ ง หรือการใช้สารเคมีก�ำจัดวัชพืช ในมะพร้าวต้นเล็ก ให้ใช้ไกลโฟเสทท่ีมีส่วนผสม ของไกลโฟเสทไพรพิลามีนซอลต์ซ่ึงไม่ท�ำลายใบมะพร้าวแต่จะช่วยให้มะพร้าว เจริญเตบิ โตดี ส่วนในมะพร้าวทตี่ กผลแล้วไม่แนะนำ� ให้ใช้สารกำ� จัดวัชพชื 4. พืชคลุมดิน การปลูกพืชคลุมในสวนมะพร้าว เพ่ือควบคุมวัชพืช และช่วยรักษาความชื้นในดิน นอกจากนั้นพืชคลุมยังช่วยเพ่ิมธาตุอาหารและ ช่วยปรับปรุงดินในสวนมะพร้าวโดยเฉพาะพืชคลุมท่ีเป็นพืชตระกูลถั่ว ช่วยเพิ่ม ธาตุไนโตรเจนพืชคลุมที่นิยมปลูกกันมากได้แก่ เพอราเลีย เซ็นโทรซีมา และ คาโลโปโกเนี่ยม การปลกู มะพรา้ วและการควบคุมศัตรูมะพรา้ ว 11

5. ปุ๋ยอินทรีย์และพืชสด ปุ๋ยอินทรีย์มีอยู่หลายชนิดด้วยกัน ไมว่ ่าจะเป็นปุ๋ยคอก เชน่ ปุ๋ยมูลววั มูลไก่ มูลหมู มูลแพะ เปน็ ต้น และปุ๋ยหมัก ต่างๆ ปุ๋ยพืชสด เช่น การปลูกพืชตระกูลถั่วระหว่างแถวมะพร้าว เช่น โสน คาร์โลโปโกเนียม เมื่อต้นเริ่มออกดอก ตัดเอาไปใส่ในร่อง ในกรณีท่ีขุดดิน เป็นร่องรอบโคนต้นหรือคลุมต้นมะพร้าว ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยพืชสดช่วยท�ำให้ ดินร่วนซุย เหมาะส�ำหรับการไชชอนของราก นอกจากน้ัน ธาตุอาหารที่มีอยู่ใน อินทรียวัตถุยัง ช่วยท�ำให้แบคทีเรียในดินท�ำงานได้ดี ซ่ึงแบคทีเรียจะช่วยเปลี่ยน ธาตอุ าหารท่ีพชื ดดู ไปใช้ไม่ได้ ให้มาอยู่ในรปู ธาตุทพ่ี ืชดดู ไปเป็นอาหารไดก้ ารเพมิ่ อินทรียวัตถุให้กับดิน จึงเป็นประโยชน์ต่อต้นมะพร้าวมาก การเพ่ิมอินทรียวัตถุ ท�ำดังนี้ คือ ใส่ปุ๋ยคอก ขี้ควาย ขี้ไก่ ปุ๋ยขยะ ปุ๋ยหมัก ฝังกาบมะพร้าวหรือ จะปลกู พชื คลุมแลว้ ไถกลบ หรือเลี้ยงสัตว์ในสวนมะพรา้ วกไ็ ด้ 12 การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศตั รมู ะพรา้ ว

เปอร์เซ็นตธ์ าตุอาหารในปุ๋ยอนิ ทรยี ์ต่างๆ ไนโตรเจน ฟอสฟอริคแอซิค โปแตส แคลเซยี ม ข้ีวัว ขค้ี วาย 1.2 0.6 1.2 - ข้ีแพะ 2.4 0.9 2.0 - ขีไ้ ก่ 1.5 6.9 2.0 - กากปลา 4.0 4.0 - - กากถ่ัว 7.6 1.3 1.2 - เถ้าไมเ้ ผา - - 1.5 4.0 เถา้ กาบมะพร้าว - - 10-20 - ตน้ โครตาลาเรยี 2.3 0.5 1.5 - กระดูกป่น 4.4 23.6 - 41.8 เลือดแห้ง - 10.5 1.2 - วัสดุเหล่านี้ น�ำมาใช้เป็นปุ๋ยได้โดยค�ำนวณปริมาณธาตุอาหารให้เท่ากับ ท่ีแนะน�ำไว้ คือ ให้มีปริมาณไนโตรเจน 520 กรัม ฟอสฟอริคแอซิค 520 กรัม โปแตช 840 กรมั การปลูกมะพรา้ วและการควบคมุ ศตั รูมะพร้าว 13

การใส่ปุ๋ยคอก ใช้รองก้นหลุมๆ ละประมาณ 40 กิโลกรัม ถ้าใส่ ตน้ มะพร้าวใหญ่ มวี ธิ ีใส่ให้ 2 วธิ ี วิธที ี่ 1 หว่านลงไปบนดินแล้ว พรวนกลบหรือใช้จอบหมุนพรวน ให้ลกึ ประมาณ 10 เซนติเมตร โดยให้ใส่ตน้ ละประมาณ 50 กิโลกรัม วิธีท่ี 2 ใส่ในรางซ่ึงขุดระหว่างต้นมะพร้าวหรือรอบต้นมะพร้าว แล้ว ใส่ปยุ๋ ลงไปแลว้ กลบ ป๋ยุ ที่ใส่ควรใชป้ ุย๋ พืชสด การใสป่ ยุ๋ ควรใสต่ อนตน้ ฤดฝู น การใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยขยะควรใส่ใน รางซึ่งขุดรอบต้น ห่างต้นละประมาณ 2 เมตร แล้วใส่ปุ๋ยลงไปและกลบ การขุดรางบริเวณรอบต้น อย่าขุดให้ลึกจนตัดรากมากนัก อาจขุดเป็นหลุมๆ แลว้ ใส่กไ็ ด้ การใช้กาบมะพร้าวเป็นปุ๋ยเอา กาบมะพร้าวใส่ในหลุมกว้าง 1 เมตร ยาว 4 เมตร ลึก 60 เซนติเมตร แล้วกลบ การฝังกาบมะพร้าว ช่วยท�ำให้มะพร้าวออกผลดกขึ้น และช่วยสงวน ความชื้นไว้ในดินในฤดูแล้งกาบมะพร้าวนอกจาก จะใช้ฝังดินแล้ว ยังน�ำมาเผาเป็นเถ้าถ่านซึ่งมีธาตุ โปแตชถงึ ประมาณ 20 % 14 การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศตั รมู ะพรา้ ว

การใช้ปุ๋ยเคมีการท่ีเราจะทราบว่าควรใส่ปุ๋ยให้กับต้นมะพร้าวหรือ อยากทราบว่าในปัจจุบันบริเวณท่ีปลูกมะพร้าวขาดธาตุอาหารอะไร วิธีการ ที่สะดวกและได้ผลดี คือ การเก็บเอาใบมะพร้าวไปวิเคราะห์โดยใช้ใบมะพร้าว ใบท่ี 14 ผลการวเิ คราะห์ใบเป็นเปอร์เซ็นต์ของธาตุตา่ งๆ คอื N, P, K, Ca, Mg น�ำมาเปรียบเทียบกับระดับมาตรฐานซ่ึงเรียกว่า ระดับวิกฤต (Critical level) ซึ่งระดับมาตรฐานของธาตุอาหารในใบมะพร้าวใบท่ี 14 ประกอบด้วย N 18, P 0.12, K 0.8-1.0, Ca 0.35, Mg 0.35, Na 0.30 การใส่ปุ๋ย ควรใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เพ่ือให้ได้ปริมาณธาตุอาหาร เพียงพอ ท�ำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ สามารถเพิ่มผลผลิตมะพร้าวได้อย่าง ยงั่ ยนื ความต้องการธาตุอาหารของมะพร้าว ธาตุ N, P, K, Ca, Mg และ S พบมากในส่วนของใบและผล ซ่ึงธาตุดังกล่าวจ�ำเป็นส�ำหรับมะพร้าวในการสร้าง ใบและผล และพบว่า มะพร้าว 1 ไร่ จะดูดธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย N 9 กิโลกรมั , P 4.4 กโิ ลกรัม, K 5.68 กโิ ลกรัม, Ca 7.68 กิโลกรัม และ Mg 3.56 กิโลกรัม การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศตั รมู ะพร้าว 15

ธาตุอาหารในสว่ นต่างๆของมะพร้าว ธาตุอาหาร ผลมะพร้าว ก้านเกสร จ่นั ใบและหูใบ ลำ� ต้น รวม (g) (g) (g) (g) (g) 100 ไนโตรเจน (N) 43.0 4.2 3.5 4.12 8.1 100 ฟอสฟอรสั (P) 40.2 7.0 2.9 45.1 5.0 100 โพแทสเซียม (K) 63.0 12.1 2.7 12.4 9.8 100 แคลเซยี ม (Ca) 15.0 3.3 4.5 73.8 3.1 100 แมกนเี ซียม (Mg) 25.0 11.4 4.9 56.5 2.1 นอกจากธาตุอาหารหลักแล้วธาตุอาหารรองก็มีความจ�ำเป็นต่อการ เจริญเติบโตและผลผลิตของมะพร้าว แต่ต้องการในปริมาณน้อยได้แก่ Mo, Cu, B, Fe, Mn, Zn และ Cl จะขาดขาดธาตุใดธาตุหน่ึงไม่ได้ถ้าขาดท�ำให้ราก ไม่พฒั นาใบมสี ีเหลือง น้ำ� หนักเนือ้ มะพร้าวแห้งและนำ้� มนั ลดลง ความตอ้ งการธาตุอาหารและธาตุอาหารรองในมะพร้าวอายมุ ากตอ่ ปี ธาตอุ าหารหลกั กิโลกรมั (kg) ธาตุอาหารรอง กรัม (g) 13 – 13 – 21 4 แคลเซียมซัลเฟต 200 (N – P – K) เฟอรัสซัลเฟต 150 แมกนเี ซยี มซลั เฟต 300 แมงกานสี ซลั เฟต 100 ซิงค์ซลั เฟต 100 โบแรกซ์ 150 16 การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว

การเพิ่มผลผลิตมะพรา้ วโดยใชเ้ กลือแกง เกลือแกง (NaCl) คุณสมบัตขิ องเกลือแกงต่อมะพร้าว 1. มีราคาถกู เมื่อเทยี บกับปุ๋ยมะพร้าวชนดิ อ่นื ๆ 2. สะดวกในการใช้ 3. ชว่ ยเร่งการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการดา้ นการเจริญเติบโต 4. เพมิ่ ความหนาของเน้อื มะพร้าว และเพิ่มน้�ำหนักเนื้อมะพรา้ วแห้ง 5. เพิม่ จำ� นวนผลต่อต้น 6. ทำ� ใหม้ ะพรา้ วทนทานตอ่ ความแหง้ แลง้ และตา้ นทานตอ่ โรคและแมลง ลดการเข้าทำ� ลายของโรคใบจดุ ในแปลงเพาะชำ� การใส่เกลือแกงแนะน�ำให้ใส่ตามอายุมะพร้าว ในอัตราต่างๆ กัน โดย แบ่งใส่ 2 ครัง้ ต่อปี คอื ตน้ ฤดูฝน และก่อนสน้ิ ฤดูฝน อายุของมะพร้าว (ป)ี อัตราการใหเ้ กลอื แกง (กรมั /ต้น/ป)ี 6 เดอื นหลังปลกู 150 1 500 2 750 3 1,100 4 1,300 1,500 5 ปีขน้ึ ไป ผลของการใส่เกลือแกงอัตรา 1,500 กรัมต่อต้นต่อปี สามารถเพ่ิม ผลผลิตมะพรา้ วได้ถึง 125 % คอื ใหผ้ ลผลิตมะพร้าว 1,600 ผลต่อไรต่ ่อปี สว่ น การไมใ่ ส่เกลอื แกง ให้ผลผลติ เพยี ง 544 ผลต่อไรต่ อ่ ปี การปลูกมะพรา้ วและการควบคุมศตั รมู ะพรา้ ว 17

สาเหตทุ ี่มะพร้าวไมต่ ิดผลในช่วงฤดฝู น เกิดจากเม่ือดอกตัวผู้แตกออก ละอองเกสร ตัวผู้จะฟุ้งกระจายประมาณ 2 – 3 ช่ัวโมง ส่วน ดอกตัวเมียพร้อมที่จะผสมพันธุ์นาน 73 ชั่วโมง ในช่วงท่ีฝนตกชุกก่อให้เกิดการชะล้างละอองเกสร ตัวผู้ ประกอบกับแมลงไม่ออกมาหาอาหาร การ ปฏสิ นธิ จงึ ไมเ่ กดิ ข้นึ ท�ำใหท้ ลายมะพร้าวตดิ ผลน้อย 2 – 3 ผลตอ่ ทลาย หรือไมต่ ดิ ผลเลย การแก้ปัญหามะพร้าวไม่ติดผล ควรมีการ เลี้ยงผึ้งในสวนมะพร้าวเพราะผึ้งจะออกมาหา น�้ำหวานจากดอกมะพร้าวในช่วงท่ีฝนหยุดตกแล้ว น�ำละอองเกสรตัวผู้ไปผสมกับดอกตัวเมีย ท�ำให้ ผลผลิตมะพร้าวเพ่ิมข้ึน 46 - 56 % นอกจากน้ัน ยังมีแมลงอ่ืนๆ ท่ีช่วยในการผสมเกสรคือ ต่อ แตน มดด�ำเปน็ ตน้ การตัดทางใบ จะท�ำในมะพร้าวท่ีอายุไม่เกิน 30 ปี สูงไม่เกิน 12 เมตร มีใบบนต้น 30 - 36 ทาง ซึ่งทางมะพร้าว 6 - 8 ทาง ท่ีอยู่ล่างสุดเป็นใบแก่เกินไปและมี ประโยชน์น้อยต่อต้นมะพร้าว การตัดทางมะพร้าวที่แก่มากท่ีสุด 10 - 12 ทาง จะท�ำให้ทางมะพร้าวท่ียังอ่อนกว่าได้รับธาตุอาหารและความช้ืนมากขึ้น ในพ้ืนที่ ท่ีมะพร้าวกระทบแล้ง การตัดทางใบมะพร้าวท่ีแก่ออกจะช่วยให้สงวนน้�ำที่มีอยู่ จ�ำกัดไว้ให้ทางที่อ่อนกว่าได้ใช้ประโยชน์ ทางมะพร้าวที่แก่มากจะคายน�้ำได้ เร็วกว่าทางมะพร้าวที่อ่อน การตัดทางที่แก่ออกจะช่วยลดการคายน�้ำลงได้ 25 – 50 % ในพ้ืนท่ีที่มีช่วงแล้งนาน 3 - 6 เดือน และมีฝนตกน้อยกว่า 100 มิลลิเมตร การตัดทางมะพร้าว พร้อมการเก็บเก่ียวมะพร้าวก่อนถึงฤดูแล้ง 18 การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว

จะช่วยให้เกิดผลกระทบต่อการติดผลน้อยลง ในกรณีที่เกิดการระบาดของศัตรู มะพร้าวกับทางมะพร้าวท่ีอยู่ล่างๆ ท่ีแก่แล้ว การตัดทางมะพร้าวท่ีถูกแมลง ท�ำลาย เป็นการควบคุมด้วยมาตรการทางวิธีกลซึ่งไม่มีผลกระทบต่อกิจกรรม ทางสรรี วิทยาของมะพรา้ ว ผลการตัดทางมะพร้าว การตัดทางมะพร้าวใหเ้ หลอื 13 ทางทกุ 45 วนั เปน็ เวลา 3 ปี ในปที ี่ 1 ไม่กระทบต่อผลผลิตมะพร้าว ปีที่ 2 ผลผลิตมะพร้าวลดลง 29 % และปีท่ี 3 ผลผลิตจะลดลงนอ้ ยกวา่ ปีที่ 2 เพียง 20 % การตัดทางมะพร้าวให้เหลือ 18 ทางทุก 45 วัน นานกว่า 3 ปี ใน ปที ่ี 1 - 3 ให้ผลผลิตท่เี หมาะสม หลังปีท่ี 3 จะท�ำให้จ�ำนวนผลและผลผลติ ลดลง 20 – 25 % แต่ขนาดผลหรอื เน้อื มะพรา้ วตอ่ ผลจะมแี นวโนม้ สงู ขน้ึ 10 – 15 % การตัดทางมะพร้าวให้เหลือ 23 ทางทุก 45 วัน ไม่กระทบต่อผลผลิต ของมะพรา้ ว การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศตั รมู ะพรา้ ว 19

ศัตรูมะพรา้ วและการปอ้ งกันกำ� จดั โรคมะพรา้ วที่ส�ำคญั 1. โรคผลร่วง (Immature nut fall) เกดิ เชื้อรา Phytophthora palmivora ผลมะพร้าวจะร่วงก่อนก�ำหนด อายุของมะพร้าวที่ร่วงต้ังแต่ 3 - 9 เดือน ผลมะพร้าวท่ีเกบ็ เกี่ยวได้อายุ 12 เดอื น ดังนนั้ ผลมะพร้าวทีร่ ่วงจึงออ่ น เกนิ กวา่ ทจี่ ะน�ำมาใชป้ ระโยชน์ เป็นมากกับมะพร้าวพนั ธมุ์ ลายสู ีเหลอื งต้นเตี้ย การปอ้ งกนั กำ� จดั สภาพท่ีจะเกิดโรคผลร่วงระบาด คือ มะพร้าวมีผลดกมาก และ ฝนตกชุกติดต่อกันเป็นเวลาหลายวัน ให้หมั่นตรวจเช็คผลมะพร้าว โดยวิธีการ สุ่มขึ้นไปดูบนต้น ถ้าพบมะพร้าวท่ีเป็นโรคให้ตัดออก และน�ำผลไปเผาท้ิง นอกแปลงมะพรา้ วทันที 2. โรคใบจุด (helminthosporium leaf spot) เกิดจาก เช้ือรา Heiminthosporium sp. ท�ำความเสียหายให้แก่มะพร้าวใน ระยะต้นกล้ามากและลุกลามอย่าง รวดเร็ว การปอ้ งกนั กำ� จดั พ่นด้วยสารป้องกันก�ำจัด โรคพืช เช่น thiram อัตรา 50 กรัม ต่อน�้ำ 2 ลิตร ผสมสารจับใบลงไป 15 ซีซี. พ่นทุก 10 – 14 วัน นอกจากน้ียังมีโรคอื่นๆ เช่น โรคตาเน่า โรคโคนผุ โรคใบจุดสีเทา โรคก้านทางแตก โรครากเน่า โรคเรื้อนดิน เป็นต้น โรคดังกล่าวน้ีแม้ว่าจะพบในแหล่งปลูกมะพร้าว แต่ไม่ท�ำความเสียหายให้กับ มะพรา้ วมาก 20 การปลกู มะพรา้ วและการควบคมุ ศัตรมู ะพรา้ ว

3. โรคยอดเนา่ (heart leaf rot) เกิดจากเชือ้ รา Pythium sp. มักเกิดกับมะพร้าวพันธุ์ที่น�ำเข้ามาจากต่างประเทศ เช่น พันธุ์มลายูสีเหลืองต้นเตี้ย โรคนมี้ กั พบในระยะต้นกลา้ ในสภาพทมี่ ฝี นตกชุก และอากาศมีความชื้นสงู การปอ้ งกันกำ� จดั ในการย้ายต้นกล้าพยายามอย่าให้หน่อช้�ำ เพราะโรคอาจจะเข้า ท�ำลายได้ง่าย หากพบอาการของโรคในระยะแรกให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออก แล้วพ่นด้วยสารป้องกนั และกำ� จัดเชอื้ ราทมี่ สี ารประกอบทองแดง ซง่ึ ส่วนตน้ กลา้ หรอื สว่ นท่ีถูกโรคทำ� ลายใหเ้ ผาท�ำลายใหห้ มดเพ่ือป้องกันกนั แพร่ระบาดต่อไป 4. โรคเอือนกิน เป็นโรคท่ีเกิดกับผลมะพร้าวซ่ึงยังไม่ทราบสาเหตุ ท่ีแน่นอน ลักษณะของผลภายนอกปกติ แต่เนื้อมะพร้าวจะมีลักษณะฟ่าม หนาประมาณ 2 เซนติเมตร ยุบงา่ ยเน้อื มะพร้าวหนาไม่เทา่ กนั บางแหง่ ไม่มีเนอื้ มีแต่กะลา ผิวของเนื้อขรุขระ สันนิษฐานว่า อาจเกิดจากสภาพแวดล้อม ไม่เหมาะสม ในขณะที่มะพร้าวเร่ิมสร้างเนื้อ เช่น กระทบแล้ง เนื่องจากยัง ไม่ทราบสาเหตทุ ่ีแน่นอน จึงไม่มีวธิ ีการท่จี ะปอ้ งกันกำ� จดั ทไ่ี ดผ้ ล การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศัตรูมะพรา้ ว 21

แมลงศัตรมู ะพรา้ วท่สี ำ� คญั 1. ด้วงแรด (rhinoceros beetle) ชื่อวิทยาศาสตร์ Oryctes rhinoceros Linnaeus เป็นศัตรูที่ส�ำคัญร้ายแรงส�ำหรับมะพร้าวมาก ด้วงแรด มี 2 ชนิด คือ ชนดิ เลก็ และชนิดใหญ่ ตัวเตม็ วยั ด้วงแรด อาการทีถ่ กู ท�ำลาย การปอ้ งกนั กำ� จดั 1. ท�ำความสะอาดบริเวณสวนมะพร้าว ก�ำจัดแหล่งขยายพันธุ์ เช่น กองปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก กองขยะ กองข้ีเลื่อย แกลบ หรือต้องคอยหมั่นกลับ เพือ่ ตรวจดหู นอนทดี่ ้วงวางไข่ไว้ ตรวจพบใหจ้ บั ท�ำลายหรอื เผากองขยะนั้นเสีย 2. ใช้เช้ือราเขียวเมตาไรเซียม (Metarrhizium anisopliae) ใส่ไว้ตามกองขยะ กองปุ๋ยคอก หรือ ทอ่ นมะพรา้ วทห่ี นอนดว้ งแรดอาศยั อยู่ เช้ือราจะแพร่กระจายและสามารถ ทำ� ลายดว้ งแรดได้ หนอนด้วงแรดถูกเช้อื ราเขยี ว เมตาไรเซยี มทำ� ลาย 22 การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศตั รูมะพรา้ ว

2. ด้วงงวงมะพร้าว มี ตวั เตม็ วยั ดว้ งงวงมะพร้าว 2 ชนิด คือ ชนิดเล็ก และชนิดใหญ่ ด้วงงวงชนิดเล็กพบแพร่ระบาดอยู่ ทั่วไปทุกภาคของประเทศ ส่วนชนิด ใหญ่พบในแหล่งปลูกมะพร้าวทาง ภาคใต้ วงจรชีวิตจากไข่จนเป็นตัว เต็มวัยใชเ้ วลา 2 - 4 เดอื น การป้องกันกำ� จดั 1. หมั่นตรวจดูในแปลง มะพร้าว หากเริ่มมีการเข้าทำ� ลายของ ด้วงงวงเป็นจุดแรกและต้นมะพร้าว อยู่ในลักษณะทรุดโทรมมาก ตรวจดู และท�ำลายแหล่งที่อยู่อาศัยรวมท้ัง จับด้วงงวงท่ีพบท�ำลายให้หมดส้ินไป อาการท่ถี กู ท�ำลาย จากสวนมะพรา้ ว ก่อนท่จี ะมกี ารแพร่ลกู หลานต่อไป 2. การเกิดบาดแผลกับต้นมะพร้าว จะเป็นส่ิงชักจูงให้ด้วงงวง เข้ามาท�ำลายต้นมะพร้าว ซึ่งบาดแผลต่างๆ อาจเกิดจากการเข้าท�ำลายของ ด้วงแรด หรือเกิดจากรอยแผลทท่ี ำ� ขึน้ โดยไมต่ ง้ั ใจ ซง่ึ จะเปน็ ท่ีอาศัยและขยายพนั ธ์ุ ของด้วงงวงต่อไป 3. เม่ือพบว่ามีการระบาดและต้นมะพร้าวถูกท�ำลายมากควรใช้ สารเคมกี ำ� จดั แมลงประเภทดูดซมึ เช่น คลอร์ไพรฟี อส ฉดี เข้าล�ำตน้ มะพรา้ วโดย ใช้สว่านเจาะเป็นรูบริเวณโคนต้นให้ลึกประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร แล้วจึง ใช้เข้มฉีดยาที่มีสารเคมีก�ำจัดแมลงเข้มข้นปริมาณ 10 – 20 ซีซี ฉีดสารเคมี ก�ำจัดแมลงเข้าไปในล�ำต้น หลังจากน้ันใช้ไม้อุดรูท่ีเจาะนั้นเพ่ือป้องกันการ เข้าท�ำลายของด้วงงวงและแมลงชนิดอื่นหลังจากหมดฤทธ์ิของสารเคมีก�ำจัด แมลงแล้ว (ปรับปริมาณการใช้สารเคมีก�ำจัดแมลงจะมากน้อยแตกต่างกัน ตามขนาดของตน้ มะพร้าวแต่ไมค่ วรเกิน 30 ซซี )ี การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรมู ะพร้าว 23

3. แมลงด�ำหนามมะพร้าว เป็นด้วงชนิดหน่ึงล�ำตัวแบนสีด�ำ มี 2 ชนิด คือ Plesispa reichei Chapuis พบในแปลงเพาะช�ำ และ Brontispa longissima Gastro ท�ำลายมะพร้าวในแปลงปลูก แมลง ด�ำหนามมะพร้าวเป็นศัตรูพืชต่างถ่ิน มีถิ่นก�ำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย ตัวเต็มวัยแมลงดำ� หนามมะพร้าว และปาปัวนิวกินี แพร่กระจายเข้ามา ในประเทศไทยโดยพบระบาดรุนแรงใน ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี ชุมพร และนครศรีธรรมราช ต้ังแต่ปี 2547 เน่ืองจากมะพร้าวส่วนใหญ่มีล�ำต้นสูง แมลงด�ำหนามมะพร้าวท�ำลายมะพร้าว โดยท้ังตัวเต็มวัยและตัวอ่อนอาศัยอยู่ ในใบอ่อนท่ียังไม่คลี่ของมะพร้าวและแทะกินผิวใบ แมลงด�ำหนามเพศเมีย เม่ือได้รับการผสมพันธุ์แล้วจะวางไข่เป็นฟองเดี่ยว หรือเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2 - 5 ฟอง ระยะไข่ 2 - 6 วัน เมือ่ เล้ียงด้วยใบอ่อนมะพรา้ ว ระยะหนอน 23 - 34 วนั มีการลอกคราบ 4 - 5 คร้ัง ระยะดักแด้ 2 - 7 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียมีอายุ 13 - 134 วัน เพศผู้มอี ายุ 21 - 110 วนั 24 การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรมู ะพร้าว

การป้องกันกำ� จัด การพ่นสารเคมีก�ำจัด แมลง เพื่อควบคุมแมลงด�ำหนาม มะพร้าวท�ำได้ยากและไม่ปลอดภัย ต่อเกษตรกรและสภาพแวดล้อม กรมวิชาการเกษตรจึงน�ำเข้าแตน เบยี นหนอนแมลงดำ� หนามมะพร้าว ชอ่ื Asecodes hispinarum จากเวียดนาม เข้ามาใช้ควบคุมโดยชีววิธี โดยความช่วยเหลือ จากองค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ และมหาวิทยาลัย ลงนามในประเทศเวยี ดนาม ใบมะพรา้ ว ที่ถูกท�ำลายเม่ือใบคลี่กางออกจะมีสี นำ้� ตาลออ่ น หากใบมะพรา้ วถกู ทำ� ลาย ติดต่อกันเป็นเวลานานจะท�ำให้ยอด มะพร้าวมีสีน้�ำตาล เมื่อมองไกลๆ อาการมะพร้าวหัวหงอก จะเห็นเป็นสีขาวโพลน ชาวบ้าน เรียกว่า “มะพร้าวหัวหงอก” นอกจากน้ัน ยังมีแตนเบียนที่เบียนดักแด้ของ แมลงด�ำหนาม ชื่อ Tetratichus brontispae ในช่วงฤดูร้อนได้ดี ซ่ึงเป็น แตนเบียนทีพ่ บในประเทศไทย แตนเบียนหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวเป็นแตนเบียนขนาดเล็ก จัดอยู่ในวงศ์ Eulophidae ล�ำตัวยาว 0.5 - 0.7 มิลลิเมตร มีปีกใส 2 คู่ การท�ำลายเกิดจากการใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปวางไข่ในล�ำตัวหนอน แมลงด�ำหนาม ไข่ฟักเป็นตัวหนอน ตัวหนอนจะดูดกินของเหลวภายใน ลำ� ตวั หนอนแมลงดำ� หนาม ท�ำให้แมลงด�ำหนามมะพร้าวเคลอื่ นไหวช้า กนิ อาหาร น้อยลงและตายในท่ีสุด จึงต้องเพาะเล้ียงแตนเบียนเป็นปริมาณมากและน�ำ ปล่อยในสวนมะพรา้ ว การปลกู มะพรา้ วและการควบคุมศตั รูมะพร้าว 25

การเพาะเล้ียงแตนเบยี นหนอน Asecodes hispinarum แบง่ เป็น 2 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ • 1. การเพาะเล้ยี งหนอน Asecodes hispinarum เลี้ยงหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวในกล่องพลาสติกขนาด •15 x 10 x 6 เซนติเมตร ไม่ตอ้ งมฝี าปดิ เล้ียงตัวเต็มวัยแมลงด�ำหนามมะพร้าวในกล่องพลาสติกพร้อมฝา ปิดสนิทขนาด 30 x 22 x 9 เซนติเมตร ท่ฝี าเจาะเปน็ ชอ่ งบดุ ว้ ยผา้ ตาข่าย ปอ้ งกนั •แมลงออกจากกลอ่ ง ตดั ใบมะพร้าวแกเ่ ปน็ ชนิ้ ยาว 10 x 12 เซนติเมตร 25 - 30 ช้นิ •นำ� มาเรียงซอ้ น มดั รวมกนั ดว้ ยหนังยาง เก็บแมลงด�ำหนามมะพร้าวจากต้นที่ถูกท�ำลาย มาคัดแยก ตัวเต็มวัยและหนอน โดยแยกเล้ียงในกล่องท่ีเตรียมไว้ ส�ำหรับดักแด้เก็บใน •กล่องเลยี้ งหนอนรอให้ออกเป็นตัวเต็มวัยแล้วจงึ เลย้ี งตอ่ ไป เก็บไข่แมลงด�ำหนามมะพร้าวออกจากล่องเล้ียงตัวเต็มวัยทุก 2 - 3 วัน น�ำไข่มาโรยใส่ระหว่างใบมะพร้าวที่ซ้อนมัดไว้ รอให้หนอนฟักออก •จากไข่ 3 - 4 วนั เม่ือหนอนฟัก เข่ียหนอนประมาณ 300 ตัว ใส่ในกล่องท่ีมี ใบมะพรา้ วมดั ซอ้ นไว้ เกบ็ บนช้ันเลยี้ งแมลง เปลี่ยนใบมะพรา้ วทกุ 5 - 7 วัน หรอื •เม่อื ใบเปน็ สีน�ำ้ ตาล เลีย้ งหนอนประมาณ 15 - 17 วัน จะ ไดห้ นอนวัย 4 ขนาดยาวประมาณ 1 เซนตเิ มตร เหมาะส�ำหรับน�ำไปเลี้ยงแตนเบียนหนอน แมลงด�ำหนามมะพร้าว 26 การปลูกมะพรา้ วและการควบคุมศตั รมู ะพร้าว

• 2. การเพาะเลยี้ งแตนเบยี นหนอน Asecodes hispinarum คัดแยกมัมมี่ที่แตนเบียนเจาะออกมาแล้วทิ้งไว้ 2 – 3 ชั่วโมง •ส�ำหรับใช้เบียนรุ่นใหม่ คัดเลือกหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าววัย 4 จ�ำนวน 80 ตัว นำ� ใสก่ ล่องท่มี ใี บมะพร้าว 3 - 4 ชิ้น ด้านขา้ งกลอ่ งแปะกระดาษชบุ นำ้� ผง้ึ เข้มข้น •20 % ไวเ้ พอ่ื เปน็ อาหารของแตนเบียน จากนัน้ ปลอ่ ยพ่อแม่พนั ธ์ุลงในกล่อง แตนเบียนจะลงท�ำลายหนอนทันทีที่ปล่อยลงในกล่อง น�ำกล่อง •วางบนชั้นเลีย้ งแมลง 3 - 4 วัน ย้ายหนอนแมลงด�ำหนามมะพร้าวที่ถูกเบียนแล้ว 4 - 5 กล่อง มาเล้ียงรวมกันในกล่องใหม่ใส่ใบมะพร้าวที่เรียงซ้อนและมัดรวมกันไว้ เพ่ือ เป็นอาหารของหนอนท่ีถูกเบียนแล้วแต่ยังไม่ตาย หนอนที่ถูกเบียนจะเร่ิมตาย •และกลายเป็นมมั ม่ีภายใน 7 - 10 วัน หลังจากถูกเบียน คดั แยกหนอนทก่ี ลายเปน็ มมั มแ่ี ลว้ ออกจากกลอ่ งทกุ วนั จดบนั ทกึ •วนั ทเี่ กบ็ มัมมี่ แบ่งมัมมี่เป็น 2 ส่วน ส่วนท่ี 1 ประมาณ 10 % น�ำไปใช้เป็น พ่อแม่พันธุ์ โดยแยกเก็บมัมมี่ในหลอดพลาสติกมีฝาปิดสนิท หลอดละ 2 มัมมี่ ส่วนท่ีเหลือ 90 % นำ� ไปปล่อยเพ่อื ควบคมุ แมลงด�ำหนามมะพรา้ วในสวนมะพรา้ ว การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศตั รูมะพร้าว 27

การปลอ่ ยแตนเบยี นหนอนแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว • อุปกรณ์การปล่อยแตนเบียน: มีความส�ำคัญมากการออกแบบ ควรยึดหลักป้องกันฝนได้ ป้องกันส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ ท่ีจะมากินหรือท�ำลายมัมม่ี เชน่ มด ราคาถูกและหาง่าย • แขวนอุปกรณ์การปล่อยแตนเบียน: ให้แขวนอุปกรณ์ปล่อย แมลงด�ำหนามกับต้นมะพร้าวที่ถูกท�ำลาย หากต้นมะพร้าวมีขนาดสูงหรือ แขวนไว้กับต้นมะพร้าวต้นเล็กท่ีอยู่ใกล้เคียง หรือชายคาบ้านท่ีอยู่ภายใน หรือ •ใกลส้ วนมะพรา้ ว เก็บมัมมี่อายุ 7 – 9 วัน จ�ำนวน 5 มัมม่ี ใส่ในหลอดพลาสติก มฝี าปิดปอ้ งกันมดหรือสตั วอ์ ่ืนทำ� ลายมัมม่ี ดา้ นข้างหลอดเจาะ 3 - 4 รู ดา้ นลา่ ง •เจาะ 1 รู เพื่อระบายนำ้� ที่ฝาเจาะ 1 รู เพ่ือรอ้ ยเชอื กส�ำหรับแขวน นำ� ไปแขวนให้ใกลย้ อดมะพร้าวมากทีส่ ดุ ปล่อยไรล่ ะ 5 – 10 มัมมี่ ปลอ่ ย 3 - 5 คร้งั ห่างกนั 7 - 10 วัน หากสามารถเพาะเลย้ี งและปลอ่ ยไดม้ าก •จะเห็นผลการควบคุมได้เร็วยิง่ ขึ้น เมื่อสามารถควบคุมแมลงด�ำหนามมะพร้าวได้แล้ว ให้ปล่อยเพ่ิมเติม เป็นระยะๆ 5 - 6 คร้งั เพ่อื ปอ้ งกันการกลบั มาระบาดใหม่ 28 การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศตั รมู ะพรา้ ว

แตนเบยี นดักแด้ Tetrastichus brontispae แตนเบียนดกั แดแ้ มลงด�ำหนามมะพร้าว มชี ื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetrastichus brontispae จัดเป็นแตนเบียนท้องถิ่นทางภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย มีบทบาทที่ส�ำคัญมากในพ้ืนที่จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง สามารถส�ำรวจพบแตนเบียน ชนิดน้ีได้ทั่วไปในสวนมะพร้าวท่ีมีแมลงด�ำหนามมะพร้าวเข้าท�ำลาย โดยแตนเบียน ชนดิ น้ชี ว่ ยในการควบคุมการระบาดของแมลงดำ� หนามมะพร้าวไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตวั เต็มวัย เปน็ แตนสดี ำ� ขนาดเล็ก ขนาดลำ� ตวั ยาว 1.00 - 1.24 มลิ ลิเมตร และความยาวปกี 0.79 - 0.90 มลิ ลิเมตร เพศเมียจะมขี นาดใหญ่กว่าเพศผู้ ไข่ มีสีขาวเปลือกใส ภายในเป็นสีขาวขุ่น ลักษณะคล้ายทรงกระบอก แตค่ วามกวา้ งไมเ่ ท่ากนั หนอน มีลักษณะคล้ายทรงกระบอก ส่วนปลายท้องค่อนข้างแหลม กว่าสว่ นหัว หนอนมีสีขาวใส ภายในล�ำตวั เห็นเป็นสีเหลืองออ่ น และจะมสี เี หลือง เขม้ ขนึ้ เมอื่ มอี ายมุ ากขึ้น หนอนจะหดตัวสนั้ ลงเม่อื จะเขา้ ดกั แด้ ดกั แด้ ลักษณะลำ� ตวั สีขาวเมอื่ เรม่ิ แรกและพัฒนาเปน็ สีดำ� ในทีส่ ุด แตนเบียนดักแด้ Tetrastichus brontispae มีระยะไข่ 1 - 2 วนั ระยะ หนอน 6 - 8 วนั และระยะดักแด้ 10 - 13 วัน รวมวงจรชวี ติ 18 - 22 วัน เพศเมีย 1 ตัว สามารถเข้าท�ำลายแมลงด�ำหนามมะพร้าวได้ 1 - 4 ตัว และสามารถผลิต แตนเบียนได้ 11 – 57 ตัว เพศเมียที่ผสมพันธุ์แล้วจะใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไป วางไข่ในล�ำตัวของแมลงด�ำหนามมะพร้าวในระยะหนอนวัย 4 ก่อนเข้าดักแด้ หรือดกั แด้ ซง่ึ จะชอบเบยี นระยะดกั แดม้ ากทส่ี ดุ หนอนของแตนเบียนฟกั ออกจาก ไข่ ดูดกินของเหลว เจริญเติบโตอยู่ภายในล�ำตัวแมลงด�ำหนามมะพร้าว ภายหลัง จากถูกเบียนประมาณ 8 วัน แมลงด�ำหนามมะพร้าวจะมีลักษณะล�ำตัวแข็งกลาย เป็นสนี ้ำ� ตาลและจะเข้มมากขนึ้ เรียกวา่ “มัมมี”่ เมื่อแตนเบียนเจริญเปน็ ตวั เต็มวัย จะใช้ปากกัดผนังมัมม่ีออกมาภายนอก สามารถจับคู่ผสมพันธุ์ได้ทันทีภายหลัง ผสมพนั ธุแ์ ตนเบียนเพศเมยี สามารถเขา้ เบียนแมลงด�ำหนามมะพรา้ วไดท้ นั ที การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศัตรูมะพร้าว 29

การเพาะเล้ยี งแตนเบียนดกั แด้ Tetrastichus brontispae 1. การเพาะเลี้ยงดักแด้ แมลงด�ำหนามมะพร้าว ใช้วิธีการ เช่นเดียวกับการเลี้ยงหนอนแมลงด�ำหนาม มะพร้าว แต่เลี้ยงจนถึงระยะดักแด้ และเก็บรวบรวมดักแด้แมลงด�ำหนาม มะพร้าว นำ� ไปเลี้ยงแตนเบยี น 2. การเพาะเลี้ยงแตน เ บี ย น ดั ก แ ด ้ แ ม ล ง ด� ำ ห น า ม สามารถท�ำได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 1. เตรยี ม “มมั ม”ี่ พอ่ แม่ พันธุ์แตนเบียนดักแด้ Tetrastichus brontispae ใส่ในกล่องพลาสติก เป็นปริมาณมากหรือเท่าท่ีมีปล่อยให้ แตนเบียนออกเป็นตัวเต็มวัยทิ้งไว้ ให้ผสมพันธุ์ 1 วนั 2. เตรียม “กล่องเบยี น” โดยใช้กล่องพลาสติกสี่เหลี่ยมขนาด 9.5 x 14 x 6 เซนติเมตร ที่มีฝา ปิดสนิทบนฝาตัดเป็นช่องส่ีเหล่ียมขนาดประมาณ 4 x 8 เซนติเมตร บุช่องเปิดด้วยผ้าขาวเน้ือละเอียดเพ่ือให้อากาศภายในกล่องถ่ายเทได้ให้น้�ำผึ้ง 20 % เปน็ อาหารส�ำหรบั แตนเบียนตวั เตม็ วัย โดยใชพ้ กู่ นั ชุบน�ำ้ ผงึ้ ทาบนกระดาษ ทิชชูชนิดหนาตัดเป็นแผ่นส่ีเหลี่ยมขนาด 2 x 6 เซนติเมตร กดให้กระดาษทิชชู ตดิ กบั กลอ่ งด้านขา้ ง 30 การปลกู มะพรา้ วและการควบคุมศัตรูมะพร้าว

วิธที ี่ 2 1. เตรียมมัมมี่พ่อแม่พันธุ์แตนเบียนใส่ใน “ถ้วยเบียน” โดยใช้ ถ้วยพลาสตกิ ขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 4.5 เซนตเิ มตร สงู 4 เซนตเิ มตร จ�ำนวน 4 - 8 มัมม่ี ปล่อยให้แตนเบียนออกเปน็ ตวั เตม็ วัยทิ้งไว้ใหผ้ สมพันธุ์ 1 วนั 2. เลือกดักแด้แมลงด�ำหนามมะพร้าวจ�ำนวน 100 ตัว ใส่ลงใน “ถ้วยเบียน” ที่เตรียมพ่อแม่พันธุ์แตนเบียนไว้เรียบร้อยแล้วใส่ใบมะพรา้ ว ตัดให้มี ขนาดยาวประมาณ 3 เซนตเิ มตร จำ� นวน 1 - 2 ชิ้น ปดิ ฝา 3. ปล่อยท้งิ ไวป้ ระมาณ 10 วนั เพือ่ ให้แตนเบียนเข้าเบยี นดกั แด้ 4. ดักแด้ถูกเบียนจะทยอยตายและกลายเป็นมัมม่ีหลังจากให้เบียน แล้ว 10 วัน คัดแยกดักแด้ที่ตายและแห้งแข็งเป็นมัมม่ีสีด�ำหรือน�้ำตาลออกจาก แต่ละกล่อง และน�ำไปเก็บรวมไว้ในกล่องพลาสติกส่ีเหลี่ยมมีฝาปิดสนิท รองพื้น กล่องด้วยกระดาษทิชชู หากพบดักแด้ท่ีตายจากเชื้อราหรือเน่าตายให้รีบเก็บ แยกออกจากกลอ่ งทนั ที เพ่อื ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ดกั แด้ท่เี หลอื ตดิ โรคตาย 5. นำ� “มมั ม”ี่ อายปุ ระมาณ 17 วัน ชุบสารละลาย Clorox 10 % และผึ่งให้แห้งสนิทก่อนน�ำใส่ลงในถ้วยพลาสติกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร ท่ีมีฝาปิดพร้อมท่ีจะน�ำไปปล่อยหรือทิ้งไว้ แตนเบยี นก็จะเรม่ิ เจาะออกจาก “มมั ม”ี่ หลงั จากถกู เบียนประมาณ18 - 21 วัน ขนึ้ กบั สภาพอุณหภมู ิ 6. แตนเบียนเพศผู้จะเจาะออกจากมัมม่ีก่อนแตนเบียนเพศเมีย และจะเข้าผสมพันธุ์ทันทีที่เพศเมียเจาะออกจาก “มัมม่ี” น�ำแตนเบียนท่ีเจาะ ออกจากมมั มไี่ ปขยายพนั ธตุ์ ่อไป โดยกระบวนการต้ังแต่ข้อ 1 – 6 จะสามารถเพาะเลี้ยงแตนเบียน T. brontispae ได้มากเพียงพอที่จะน�ำออกปล่อยในภาคสนามเพ่ือช่วยเพ่ิม การควบคุมแมลงดำ� หนามมะพร้าวโดยชวี วิธหี รอื ใช้ร่วมกบั วิธีการอนื่ ๆ การปลกู มะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว 31

การปล่อยแตนเบยี น น�ำมมั มี่อายุ 17 วนั หลงั จากเบียน จำ� นวน 5 - 10 มัมมี่ ใสห่ ลอดพลาสติก ท่ีเจาะรูด้านข้างส�ำหรับให้แตนออก และท่ีฝาปิดเจาะรูด้านบนร้อยด้วยเชือก หรือลวดเพื่อน�ำไปแขวนที่บริเวณสวนมะพร้าวท่ีมีการท�ำลายของแมลงด�ำหนาม มะพรา้ ว ทาจารบีท่ีเชอื กเพือ่ ป้องกนั มด ถา้ หากว่ายังไมส่ ามารถน�ำออกปล่อยได้ ให้น�ำมัมมี่อายุ 17 วัน หลังจากเบียน ห่อด้วยกระดาษทิชชูใส่ในกล่องพลาสติก เก็บเข้าตู้ควบคุมอุณหภูมิท่ี 10 – 13 ํC จะช่วยชะลอการออกเป็นตัวเต็มวัยได้ 10 - 14 วัน การประเมนิ ระดบั การทำ� ลาย 1. ระดบั การทำ� ลายนอ้ ย หมายถงึ ตน้ มะพรา้ ว มที างใบยอดทถ่ี กู ทำ� ลาย 1 - 5 ทาง 2. ระดับการท�ำลายปานกลาง หมายถึง ต้นมะพร้าวมีทางใบยอดที่ถูก ท�ำลาย 6 - 10 ทาง 3. ระดบั การทำ� ลายรนุ แรง หมายถงึ ตน้ มะพรา้ วมที างใบยอดทถี่ กู ทำ� ลาย ต้งั แต่ 11 ทางขึน้ ไป 4. ถ้าใบถูกท�ำลายจนเหลือทางใบเขียวท่ีสมบูรณ์ 3 ทางอาจท�ำให้ต้น ตายได้ 5. ถา้ ทางใบใหมท่ ค่ี ลีอ่ อกมาไม่ถูกท�ำลายให้ถือวา่ ไมม่ กี ารระบาดแล้ว 32 การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศตั รูมะพรา้ ว

หนอนหวั ดำ� มะพร้าว ชื่อวิทยาศาสตร์ Opisina arenosella Walker (Lepidoptera: Oecophoridae) มีชื่อ สามัญภาษาอังกฤษว่า coconut black-headed caterpillar ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือกลางคืน ขนาดล�ำตัว วัดจากหัวถึงปลายท้องยาวประมาณ 1 - 1.2 เซนติเมตร ล�ำตัวแบน ชอบเกาะนิ่งแนบตัว ติดผิวพื้นท่ีเกาะ เวลากลางวัน จะเกาะน่ิงหลบอยู่ ใต้ใบมะพรา้ ว หรอื ในทรี่ ม่ เริ่มวางไข่ 3 วัน หลงั ออก จากดักแด้ และวางไขท่ กุ วัน ตดิ ต่อกันไป 4 - 6 วัน จะวางไขต่ วั ละ 157 - 490 ฟอง ระยะไข่ 5 - 6 วัน ระยะหนอน 32 - 48 วัน มีการลอกคราบ 6 - 10 คร้งั ระยะดักแด้ 9 - 11 วัน ตัวเต็มวัยผีเสื้อมีอายุ 5 - 14 วัน ตัวหนอนเม่ือฟักออกจากไข่ใหม่ จะอยู่ รวมกันเป็นกลุ่ม 1 - 2 วัน ก่อนจะย้ายไปกัดกิน ใบมะพร้าว มักจะพบหนอนหลายขนาดกัดกินอยู่ใน ใบมะพร้าวใบเดียวกัน ตัวหนอนจะสรา้ งใย ผสมกับ มูลท�ำเป็นอุโมงค์ยาวคล้ายทางเดินของปลวก คลุมเส้นทางท่ีหนอนแทะกินผิวใบ ยาวตามทาง ใบมะพร้าว และอาศัยอยู่ภายในอุโมงค์ที่สร้างข้ึน การท�ำลายส่วนใหญ่พบบนใบแก่ ใบท่ีถูกท�ำลาย จะมีลักษณะแห้งเป็นสีน�้ำตาล ตัวหนอนจะสร้างใย ดึงใบย่อยให้ติดกนั เปน็ แพ การปลูกมะพรา้ วและการควบคุมศัตรูมะพร้าว 33

การป้องกนั กำ� จดั 1. ตัดและเผาใบท่ีถูกท�ำลาย เพื่อท�ำลายหนอนหัวด�ำในระยะไข่ ระยะ ตัวหนอน และระยะดักแด้ โดยเกษตรกรต้องหม่ันเข้าไปส�ำรวจทางใบมะพร้าว ถา้ พบมกี ารทำ� ลายของหนอนหัวดำ� ใหต้ ดั ทางใบน้นั มาเผาท�ำลายทันที สว่ นในกรณี ท่ีมีการระบาดรุนแรง ในต้นมะพร้าวต้นเดียวกันจะมีทางใบท่ีถูกท�ำลายจนเป็น สีน้�ำตาลท้ังทางใบและทางใบท่ีถูกท�ำลายเป็นบางส่วน ควรตัดทางใบท่ีถูกท�ำลาย ทัง้ หมดมาเผา เกษตรกรบางรายจะไม่ยอมตัดทางใบมะพรา้ วมาเผาท�ำลายเนื่องจาก กลัวว่าต้นมะพร้าวจะตาย ข้อมูลทางวิชาการพบว่าถ้าต้นมะพร้าวยังมีทางใบเขียว ท่ีสมบูรณ์อยู่บนต้น ตั้งแต่ 13 ทางใบข้ึนไปจะไม่กระทบต่อผลผลิตของมะพร้าว แต่ถ้ามที างใบเขยี วที่สมบูรณ์เหลอื อยู่บนต้น 3 ใบ อาจทำ� ใหต้ ้นมะพรา้ วตายได้ 2. พ่นด้วยเชื้อ Bacillus thruringiensis (Bt) หลังจากตัดทางใบที่ถูก ท�ำลายมาเผาแล้ว ตัวเต็มวัยของหนอนหัวด�ำซ่ึงเป็นผีเสื้อจะมาวางไข่ใหม่บนทางใบ สีเขียวที่เหลืออยู่ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องใช้เชื้อ Bt พ่นหนอนที่ฟักออกมาจากไข่ใหม่ จ�ำนวน 3 ครง้ั แต่ละครัง้ หา่ งกนั 7 – 10 วัน โดยใช้เช้อื Bt อัตรา 80 - 100 ซซี ี ต่อน�้ำ 20 ลิตร ผสมด้วยสารจับใบตามอัตราแนะน�ำในฉลาก ไม่ควรพ่นในขณะท่ี มีแสงแดดจัดเพราะจะท�ำให้เช้ือ Bt อ่อนแอ ควรพ่นก่อนเวลา 10.00 น. และ หลัง 16.00 น. และต้องใช้เชอ้ื Bt ทข่ี ึน้ ทะเบยี นกบั กรมวิชาการเกษตรแล้วเทา่ นั้น 3. ปล่อยแตนเบียนไข่ Trichogramma sp. เพื่อควบคุมระยะไข่ ของหนอนหัวด�ำ อัตราไร่ละ 10 แผ่น แผ่นละ 2,000 ฟอง โดยปล่อย 12 คร้ัง แต่ละครั้งห่างกัน 2 สัปดาห์ โดยน�ำแผ่นแตนเบียนไข่ไปแขวนไว้กับต้นมะพร้าว หรือพืชอื่นๆ ภายในสวนมะพร้าวให้กระจายท่ัวท้ังแปลง ควรใช้วัสดุหรือสาร ป้องกันมดไม่ให้มาท�ำลายแผ่นแตนเบียนและวัสดุกันแดด ฝน ก่อนที่แตนเบียน จะฟกั เป็นตัวเตม็ วัย 4. ปล่อยแตนเบียนหนอน Bracon hebetor เพ่ือควบคุมระยะหนอน ของหนอนหัวด�ำ อัตราไร่ละ 200 ตัว กระจายทั่วทั้งแปลง โดยปล่อย 12 คร้ัง แต่ละคร้ังห่างกนั 2 สปั ดาห์ 34 การปลูกมะพรา้ วและการควบคุมศัตรูมะพรา้ ว

•การเพาะเล้ยี งแตนเบียนหนอน Bracon hebetor ใช้หนอนผีเสื้อข้าวสารที่มีอายุประมาณ 30 – 45 วัน โดยย้ายหนอน จากกล่องเล้ียงใส่ในภาชนะที่มีพื้นที่กว้าง เพื่อสะดวกในการคัดเลือกหนอน เช่น •ถาด กะละมัง คัดเลือกหนอน โดยล้างมือให้สะอาด และควรใช้แอลกอฮอล์ 70 % ท�ำความสะอาด เพื่อป้องกันหนอนติดเชื้อ แยกหนอนท่ีปะปนอยู่กับส่วนผสมอาหาร ซึ่งหนอนทใี่ ช้เบียน คือ หนอนวัย 4 – 5 ลำ� ตวั ยาวประมาณ 1.2 – 1.5 เซนติเมตร การใช้หนอนขนาดเล็ก มีโอกาสได้แตนเบียนจ�ำนวนน้อย และได้แตนเบียนเพศผู้ •มากกวา่ เพศเมีย ใสห่ นอนในกล่องเบยี น จำ� นวน 20 ตวั ตอ่ กล่อง โดยไม่ใหม้ เี ศษอาหารติดไป •กับตวั หนอน การจับหนอนตอ้ งใชค้ วามระมัดระวงั อย่าให้หนอนบอบช�ำ้ หรอื เปน็ แผล ใช้น้�ำผ้ึงความเข้มข้น 50 % เป็นอาหารของแตนเบียน โดยใช้ส�ำลีหรือ คอตตอนบัดจุ่มในน�้ำผ้ึง อย่าให้แฉะจนเกินไป แปะติดบริเวณข้างกล่องด้านใน ตรง •กลาง หรือดา้ นบน ควรผสมนำ�้ ผงึ้ ในปริมาณทีใ่ ช้หมดแตล่ ะคร้งั ดูดพ่อแม่พันธุ์แตนเบียนหนอนบราคอน (ผสมพันธุ์แล้วประมาณ 1 วัน) •เพศเมยี 4 ตวั เพศผู้ 1 - 2 ตัว ใส่ในกล่องเบียน แลว้ ปิดฝากล่องเบียนใหส้ นิท วางเลี้ยงบนช้นั เลย้ี งแมลง ทีป่ อ้ งกันมด และแมลงอน่ื ๆ รบกวน ในสภาพอุณหภูมิห้อง และอากาศถ่ายเท หรือ ห้องปรับอากาศ ปล่อยให้แตนเบียน •วางไข่บนตัวหนอน หลังจากที่แตนเบียนหนอนบราคอนวางไข่บนตัวหนอนผีเส้ือข้าวสาร ไข่แตนเบียนพัฒนาเป็นหนอนเกาะบริเวณข้างๆ หนอนผีเส้ือข้าวสาร ซ่ึงระยะหนอน •ใชเ้ วลาประมาณ 3 – 4 วัน ท้ิงไว้ประมาณ 3 – 4 วัน หนอนของแตนเบียนบราคอนเร่ิมเข้าดักแด้ •โดยมีลักษณะเปน็ ใยสขี าวหุ้ม หลังจากเขา้ ดกั แด้ประมาณ 4 - 5 วัน ตวั เตม็ วัยแตนเบยี นจะฟกั ออกมา โดยปกติหนอน 1 ตัว จะได้แตนเบียน 5 - 8 ตัว ปล่อยให้แตนเบียนที่ฟักออกมา ผสมพันธุ์ประมาณ 1 วัน แล้วน�ำไปปล่อยเพ่ือควบคุมหนอนหัวด�ำ อัตราอย่างน้อย 200 ตวั ตอ่ ไร่ การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศตั รมู ะพรา้ ว 35

การเพาะเล้ียงแตนเบยี นหนอน Bracon hebetor วัสดอุ ปุ กรณ์ หนอนผีเสื้อขา้ วสาร พอ่ แมพ่ ันธุแ์ ตนเบียนหนอนบราคอน น้�ำผึง้ พกู่ ัน ปากคบี กล่องเบยี น ท่ดี ูดแมลง (aspirator) แบบตา่ งๆ ช้ันเลีย้ งแมลง 36 การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศัตรูมะพรา้ ว

วธิ กี าร การคัดเลอื กหนอนผเี สอ้ื ขา้ วสาร การวางสำ� ลชี ุบนำ�้ ผ้ึงด้านข้าง และตรงกลางกลอ่ ง การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศตั รูมะพร้าว 37

ดูดพอ่ แม่พนั ธแ์ุ ตนเบียนใสใ่ นกล่องเบียน และวางเรียงบนช้ัน หนอนแตนเบียนบราคอน 5. ใชส้ ารเคมี emamectin benzoate 1.92 % EC ฉดี เข้าลำ� ต้น อตั รา 30 มิลลิลิตร ต่อต้น โดยการเจาะล�ำต้นมะพร้าวสูงจากพื้นดินประมาณ 1 เมตร จำ� นวน 2 รู ให้รอู ยูต่ รงกันขา้ มกนั ขนาดกว้าง 4 หุน ลึก 10 เซนติเมตร ใส่สารเคมี รูละ 15 มิลลิลิตร แล้วใชด้ นิ นำ้� มนั อดุ รทู ันที การตรวจสอบพิษตกค้างไมพ่ บพิษตกค้าง ในเนื้อและน้ำ� มะพร้าวทั้งในผลอ่อนและผลแก่ แนะน�ำให้ฉีดเข้าล�ำตน้ เฉพาะมะพรา้ ว ทม่ี คี วามสูงมากกวา่ 12 เมตร ขึ้นไป หา้ มใช้กบั มะพรา้ วนำ�้ หอมและมะพรา้ วกะทิ 38 การปลกู มะพร้าวและการควบคมุ ศตั รมู ะพรา้ ว

การประเมินระดบั การทำ� ลาย 1. ระดับการท�ำลายน้อย หมายถึง ต้นมะพร้าวมีทางใบเขียวท่ีสมบูรณ์ ไมม่ รี อ่ งรอยการทำ� ลายตง้ั แต่ 13 ทางขนึ้ ไป 2. ระดับการท�ำลายปานกลาง หมายถึง ต้นมะพร้าวมีทางใบเขียว ทีส่ มบูรณไ์ ม่มรี ่องรอยการท�ำลาย 6 - 12 ทาง 3. ระดบั การทำ� ลายรนุ แรง หมายถงึ ตน้ มะพร้าวมที างใบเขยี วทสี่ มบรู ณ์ ไมม่ รี ่องรอยการทำ� ลาย 0 - 5 ทาง 4. ถ้าใบถูกท�ำลายจนเหลือทางใบเขียวที่สมบูรณ์ 3 ทางอาจท�ำให้ ต้นตายได้ การปลูกมะพร้าวและการควบคมุ ศัตรูมะพร้าว 39

สตั วฟ์ นั แทะศัตรมู ะพร้าว สัตว์ฟันแทะศัตรูมะพร้าวท่ีส�ำคัญ ได้แก่ หนู และกระรอก (rats and squirrels) พบทั่วทุกภาคของประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงพื้นท่ีสวนที่มีสภาพรก ติดกับป่า ภูเขา จะถูกท�ำลายมาก ยิ่งถ้าเป็นช่วงฤดูร้อนอากาศแห้งแล้ง ผลมะพรา้ วจะถูกกดั กินเพิ่มขน้ึ เน่อื งจากช่วงฤดูร้อนมีผลไมอ้ นื่ ๆ นอ้ ย ชนิดของหนูและกระรอกทพ่ี บท�ำลายมะพรา้ วได้แก่ หนูท้องขาวบ้าน (หนูท้องขาวสวน) เป็นหนูชนิดเดียวท่ีเป็นศัตรู มะพร้าวทส่ี ำ� คญั ลกั ษณะรูปรา่ ง หนูชนิดนี้มีความหลากหลายในสีขน ข้ึนอยู่กับภูมิประเทศที่พบ ปกติ สีขนด้านหลังมีสีน�้ำตาลและกลางหลังมีขนแข็งสีด�ำแทรกอยู่ ขนด้านท้อง สีขาวครีมบางคร้ังมีแถบขนสีน้�ำตาลเข้มยาวจากส่วนคอถึงกลางอก ขนบริเวณ ตีนหลังส่วนใหญ่ยาวและมีขนสีด�ำแทรกปะปนบ้าง หางด�ำตลอดและมีเกล็ด ละเอียดเล็กๆ และยาวมากกว่าความยาวหัวและล�ำตัวรวมกัน น้�ำหนักประมาณ 76 – 209 กรัม จมูกแหลมท�ำให้หน้า ค่อนข้างแหลม หูใหญ่ ตาโต เพศเมีย มีเต้านม 2 คู่ที่อก และ 3 คู่ท่ีท้อง (ในบางแห่งเพศเมียมเี ต้านม 3 คทู่ ี่อก แตค่ ทู่ ี่ 3 อยู่ชดิ กบั คทู่ ่ี 2 หรอื หา่ งกัน นอ้ ยกว่า 1 เซนตเิ มตร) 40 การปลกู มะพรา้ วและการควบคมุ ศตั รมู ะพรา้ ว

ที่อย่อู าศยั พบได้ทั่วประเทศ ป่ายปีนเก่งมาก ชอบอาศัยอยู่ตามบ้านเรือน ยุ้งฉาง นาขา้ ว ในสวนผลไม้ มะพร้าว ปาล์มน�้ำมนั เปน็ ตน้ การระบาดและการกัดท�ำลายผลมะพร้าว หนูใช้ฟันแทะคู่หน้า (incisors) กัดแทะผลมะพร้าว กัดท�ำลาย ต้ังแต่ผลอ่อนขนาดเล็กยังไม่มีเน้ือจนถึงผลค่อนข้างแก่มีเนื้อแข็งเป็นมะพร้าว ท�ำขนม จะกัดท�ำลายบริเวณส่วนหัวท่ีติดกับข้ัวของผลเป็นส่วนท่ีเปลือกมะพรา้ ว ยงั ออ่ นนมุ่ จะเจาะเปน็ รูกลมจนทะรเุ ข้าไปกินท้งั น�้ำและเนอื้ มะพร้าวหนูจะกัดกิน เวลากลางคนื บางคร้ังอาจพบเหน็ เวลากลางวันบา้ ง ถา้ บริเวณผลที่กดั กนิ อย่ใู นท่ี คอ่ นข้างปกปิดพรางตวั จากศัตรธู รรมชาตทิ ี่ท�ำร้ายมนั เช่น นกเหยีย่ ว นกเคา้ แมว เป็นต้น ดงั น้ันหนูจึงระบาดกัดกินไดต้ ลอดจนกว่าจะไม่มีผลผลิตให้กิน จะระบาด มากในชว่ งฤดแู ลง้ การปลกู มะพรา้ วและการควบคมุ ศตั รูมะพร้าว 41

กระรอก (Squirrel) กระรอก ที่พบเป็นศัตรูมะพร้าว ได้แก่ พญากระรอกด�ำ และกระรอก ท้องแดง) กระรอกทั้ง 2 ชนิด อาศัยในป่า ตามภูเขาท่ีมี ต้นไม้สูงแถบภาคใต้ข้ึนมาทาง ภาคตะวันตกถึงภาคเหนือของประเทศ จงึ อาจกดั ทำ� ลายมะพรา้ วบา้ งถา้ มกี ารปลกู ในบริเวณทม่ี ันอาศยั อยู่ เปน็ ตน้ กระรอกท่ีเป็นศัตรูท่ีส�ำคัญพบระบาดทั่วไปในสวนมะพร้าว คือกระรอก หลากสี มสี หี ลากหลาย อาจมสี ขี าวทัง้ ตวั สดี �ำทง้ั ตัว หรอื แดงท้ังตัวเปน็ ตน้ ลักษณะรปู รา่ ง มีขนาดกลางความยาวหวั รวมลำ� ตวั 212 – 218 มิลลิเมตร ความยาวหาง 225 – 240 มิลลิเมตร ความยาวตีนหลัง 46 – 49 มิลลิเมตร ความยาวหู 19 – 23 มิลลิเมตร มีสีหลากหลายบางชนิดมีสีขาวท้ังตัว สีด�ำท้ังตัว หรือ แดงท้ังตัว บางชนิดมีสีหลายสีปนกันหลายสี ซึ่งจะแบ่งเป็นชนิดย่อยลงไป จะอาศยั ปะปนกันไป ท่ีอยอู่ าศัย อาศัยอยู่ท่ัวทุกภาคของประเทศ จะอยู่ตาป่าที่มีต้นไม้ใหญ่ ป่าดงดิบ สวนมะพร้าว สวนไม้ผลต่างๆ โดยจะอาศัยอยู่บนต้นไม้ตลอดชีวิตไม่ลงพ้ืนดิน จะใช้ก่งิ ไมม้ าทำ� รังอยตู่ ามยอดไมส้ งู เพศเมยี จะออกลกู ครั้งละ 2 ตวั การระบาดและการกัดทำ� ลายผลมะพรา้ ว กระรอกใช้ฟันแทะคู่หน้ากัดแทะผลมะพร้าว โดยจะกัดท�ำลายต้ังแต่ ผลอ่อนขนาดเล็กยังไม่มีเน้ือจนถึงผลแก่มีเน้ือแข็งจนเปลือกมะพรา้ วแห้ง จะกัด ท�ำลายบริเวณทุกส่วนของผลมะพร้าวต้ังแต่ส่วนหัวท่ีติดกับข้ัวของผล เป็นส่วน ที่เปลือกมะพรา้ วยงั ออ่ นนุ่มแต่ชอบกดั ท�ำลายบรเิ วณกลางผลและก้นผล 42 การปลูกมะพรา้ วและการควบคุมศตั รูมะพรา้ ว