Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พืชปลูกตามนิสัยผัก

พืชปลูกตามนิสัยผัก

Published by ppet881233, 2020-05-21 04:47:38

Description: พืชปลูกตามนิสัยผัก

Search

Read the Text Version

ปนลิสตกูัยาผพมักืช ToโทshะชioิโอKะijคimิจิมaะ เขียน นิพดา เขียวอุไร แปล

木嶋利男 野菜の性格アイデア栽培 ปลูกพชื ตามนสิ ยั ผกั Toshio Kijima  เขียน นพิ ดา เขียวอไุ ร  แปล กรณิศ รตั นามหัทธนะ  บรรณาธิการต้นฉบบั พมิ พ์ครง้ั ที่ 1 กนั ยายน 2562 ราคา 225 บาท FTirhstaipturbaOlniKssrihlijagiemtidinoaanilnTsToJri©siatghlpe hiaTA:otnso木llYsa2h嶋rair0sigro1利aah8inKt男sgnbijeoyir野mdeSGs菜aweea/irのGikkvtkahae性ekkdnuG格k. eaアPInkdlukイeesaデnCSアPaoli.栽u,bsaL培itCdo.,.,TLotkdy.o © ลิขสิทธิ์ภาษาไทย 2562: บริษัท นานมีบุ๊คส์ จำ�กัด สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แห่งชาติ คิจิมะ, โทะชิโอะ. ปลกู พชื ตามนสิ ัยผัก. -- กรุงเทพฯ: อนิ สปายร์, 2562. 184 หน้า. 1. ผกั  -- การปลกู . I. นิพดา เขียวอไุ ร, ผู้แปล. II. ช่อื เร่อื ง. 635 ISBN 978-616-04-4593-6 ประธานเจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ าร คิม จงสถิตย์วัฒนา ● กรรมการผู้จัดการ สมชัย ถาวรรุ่งโรจน์ ● ผู้จัดการสำ�นักพิมพ์ สุชาดา งามวัฒนจินดา ● บรรณาธกิ ารทป่ี รกึ ษา เอื้อยจิตร  บุนนาค   ● บรรณาธิการบริหาร สุวพันธ์ ชัยปัจชา   ● บรรณาธิการเล่ม ภาวิตา ใจดี ● พิสูจน์อักษร กันต์ฤทัย สืบสายเพ็ชร  ตรีโรจน์ ไพบูลย์พงษ์  นันทรัตน์  หรกิ ารบญั ชร ● ศลิ ปกรรม สภุ าวด ี แพวขนุ ทด ● กราฟกิ  จติ ตมิ า ศรตี นทพิ ย ์ ● หวั หนา้ ประสานงานการผลติ  จรสั ศร ี พรหมเทพ ● ประสานงานการผลติ  พรทพิ ย ์ ทองบตุ ร เพลตที ่ พี.พ.ี เพลท แอนด์ ฟิล์ม โทร. 0-2274-7988  พิมพ์ที ่ พงษ์วรนิ การพมิ พ์ โทร. 0-2399-4525-31 จัดพิมพ์โดย สำ�นักพิมพ์อินสปายร์ ในเครือ บริษัท นานมีบุ๊คส์ จำ�กัด จัดจำ�หน่ายโดย บริษัท นานมีบุ๊คส์ จ�ำ กัด เลขที่ 11 ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี) ถนนสขุ ุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรงุ เทพฯ 10110 โทร. 0-2670-9800, 0-2662-3000 โทรสาร 0-2662-0919 e-mail: [email protected] ● www.nanmeebooks.com ● www.facebook.com/nanmeebooksfan หนังสือเล่มนี้ใช้กระดาษปลอดสารพิษ ไม่ระคายเคืองผิวหนัง ช่วยถนอมสายตา และใช้หมึกธรรมชาติจากนํ้ามันถั่วเหลือง จึงปลอดภัยต่อมนุษย์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน สำ�นักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนเล่มใหม่ให้ โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ทั้งสิ้น โปรดส่งไปเปลี่ยนตามที่อยู่บริษัท หรือติดต่อ Nanmeebooks Call Center โทร. 0-2662-3000 กด 1

คำ� น�ำสำ� นักพิมพ์ ยิ่งร้จู ักนิสยั  ย่งิ เอาใจได้ดี สิ่งน้ีเป็นจริงทั้งกับคนและผัก จะดีกว่าไหมถ้าเรารู้ว่าผักแต่ละชนิดชอบอะไรเป็นพิเศษ ชอบภมู ิอากาศแบบใด ชอบนำ้� เยอะหรือนอ้ ย ชอบสภาพดนิ และปุ๋ยแบบไหน ดร.โทะชโิ อะ คจิ มิ ะ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการเกษตรแนวธรรมชาต ิ ทำ� งานตา่ งๆ ทงั้ เขยี นหนงั สอื และบรรยายเพื่อชี้ชวนให้เห็นข้อดีของการปลูกผักแบบไม่ใช้สารเคมีใดๆ มายาวนานจนเป็นที่ ยอมรับในประเทศญี่ป่นุ   วิธขี องเขาเรียกวา่  “วธิ ีเพาะปลกู แบบคจิ มิ ะ” ดร.โทะชิโอะเช่ือว่าผักแต่ละชนิดมี “นิสัย” หรือ “ความชอบ” แตกต่างกัน เพราะพวกมันมี ถิ่นกำ� เนดิ ไมเ่ หมอื นกนั   แต่เดิมก่อนที่เกษตรกรจะปลูกผักหลายชนิดกันอย่างเป็นล�่ำเป็นสันเพ่ือตอบสนองความ ต้องการอันมหาศาลของผู้บริโภค  ผักแต่ละชนิดเคยเป็น “ผักพ้ืนเมือง” ของหลายประเทศและมี ถน่ิ กำ� เนิดหลายบริเวณในโลกทม่ี ีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน ผักชนิดใดงอกได้เองท่ีไหนแสดงว่า “ถูกใจ” สภาพแวดล้อมของท่ีแห่งนั้น เพราะไม่ต่าง จากคน ผักก็อยากอย่ใู นที่ทีต่ ัวเองสบายใจ ทุกอยา่ งลงตวั รู้ไหมว่าจะปลูกบร็อกโคลีให้งามควรปลูกชิดติดกัน เพราะมันมีถิ่นก�ำเนิดบนหน้าผาสูงชัน มนี สิ ยั เออื้ เฟอ้ื พชื อน่ื ๆ แตผ่ กั กาดขาวปลที เี่ ปน็ ผกั ในวงศผ์ กั กาดเหมอื นกนั กลบั ตอ้ งปลกู หา่ งๆ กนั จึงจะงาม เพราะผักกาดขาวปลีมีนิสัยรักสันโดษ ระหว่างเจริญเติบโตมันจะก�ำจัดพืชชนิดอื่นไป นเี่ ปน็  “นิสัย” ทผี่ กั กาดขาวปลมี ีต้ังแตก่ ำ� เนิดบนแถบชายฝง่ั ทะเลเมดเิ ตอร์เรเนยี น หนังสือ ปลูกพืชตามนิสัยผัก เล่มนี้จะท�ำให้ผู้รักการปลูกผักสวนครัว “รู้จักผัก” ดีขึ้น ผักชนิดใดเอาใจยากและควรท�ำอย่างไรให้ได้ผลผลิตงาม  ผักชนิดใดปลูกง่ายและเก้ือกูลเพ่ือนๆ ผกั ชนิดอ่ืนจนปลกู ดว้ ยกนั ไดผ้ ลผลิต 2 ชนิดพรอ้ มกนั ค�ำตอบจากผู้เชีย่ วชาญอยใู่ นหนังสือเลม่ นีแ้ ล้ว ดว้ ยความปรารถนาดี สำ� นกั พมิ พอ์ ินสปายร์

บทนำ� ถ้าเรารู้จักนิสัยและพ้ืนเพถ่ินก�ำเนิดของผัก จะมองเห็นเคล็ดลับใน การเพาะปลกู ผักแต่ละชนิดมีถิ่นก�ำเนิดแตกต่างกัน ผักท่ีปลูกในญี่ปุ่นทุกวันนี้ส่วน ใหญ่มาจากตา่ งประเทศ ผักพน้ื เมืองมีจำ� นวนนอ้ ย มแี คพ่ วกผกั ที่ขึ้นเองตาม ภเู ขาเท่าน้นั   แน่นอนอยู่แล้วว่าญ่ีปุ่นกับถ่ินก�ำเนิดของพืชผักในต่างประเทศนั้นมี เง่ือนไขสภาพแวดล้อมแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นสภาพดินหรือภูมิอากาศ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงจ�ำเป็นต้องพยายามปรับปรุงเง่ือนไขเชิงสภาพแวดล้อม การเพาะปลูกให้เหมือนสภาพแวดล้อมในถิ่นก�ำเนิดของพืชผักชนิดนั้นให้ มากท่สี ุด ตัวอย่างเช่น มะเขือเทศและมะเขือม่วง แม้จะเป็นพืชในวงศ์มะเขือ เหมือนกัน และนิยมเพาะปลูกตามสวนครัวช่วงหน้าร้อนเหมือนกัน แต่ มะเขือเทศมีถิ่นก�ำเนิดแถบเทือกเขาแอนดีสในทวีปอเมริกาใต้ซึ่งเป็นพื้นที่ แหง้ แลง้  ขณะทถี่ น่ิ กำ� เนดิ ของมะเขอื มว่ งคอื เขตรอ้ นชน้ื ในเอเชยี ใต ้ (ดหู นา้  10)  แถบเทือกเขาแอนดีสมีฝนตกน้อยแต่มีหมอก มะเขือเทศจึงมีขนข้ึน ดกท่ีใบเพื่อให้ดักจับน้�ำในอากาศได้  ประเทศญ่ีปุ่นมีฝนตกชุก เวลาเพาะ ปลกู ในฤดูร้อนใบจะดดู ซึมนำ้� เขา้ ไปจ�ำนวนมากจนท�ำให้เจรญิ งอกงามเกินไป จึงจ�ำเป็นต้องปลูกโดยเล่ียงฝน  ในทางกลับกัน ถิ่นก�ำเนิดของมะเขือม่วงคือ พ้ืนท่ีใกล้แม่น�้ำท่ีมีทั้งความช้ืนและอุณหภูมิสูง มะเขือม่วงจึงชอบน�้ำ  แม้แต่ ในไร่สวน รากของมันจะหย่ังลึกลงดินเพื่อให้ดูดซึมน�้ำได้ดี  จึงควรปลูกโดย ยกแปลงข้ึนสงู ไว้ นอกจากน้ี บร็อกโคลีและผักกาดขาวปลีซ่ึงเป็นผักในวงศ์ผักกาด เหมอื นกนั  แตบ่ รอ็ กโคลมี ถี น่ิ กำ� เนดิ บนหนา้ ผาสงู ชนั ในแถบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ขณะท่ีผักกาดขาวปลีมีต้นก�ำเนิดจากแถบชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถงึ ท่งุ กว้างในตอนกลางของทวปี เอเชยี

นอกจากบร็อกโคลีจะชอบขึ้นเกาะกลุ่มกันแล้ว ยังชอบเอ้ือเฟื้อกลุ่มพืชชนิดอ่ืนๆ ด้วย การขยายรากแทรกไปตามร่องหิน จึงเป็นผักท่ีชอบการอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย  ในทาง ตรงข้าม ผักกาดขาวปลีเป็นผกั รกั สนั โดษ จะเจริญเตบิ โตโดยกำ� จดั พืชชนิดอน่ื ออกไป  ดงั นน้ั จงึ ควรปลกู บรอ็ กโคลชี ดิ ตดิ กนั  ขณะทค่ี วรปลกู ผกั กาดขาวปลโี ดยเวน้ ระยะระหวา่ งตน้ ใหห้ า่ งไว้ ในหนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปรยี บเทยี บผกั  2 ชนดิ ซง่ึ มคี วามเหมอื นทแ่ี ตกตา่ ง เชน่  มะเขอื มว่ ง กบั มะเขือเทศ หรือบรอ็ กโคลีกับผกั กาดขาวปลี โดยจะแนะน�ำวธิ เี พาะปลูกผกั แตล่ ะชนิดไว้ ด้วยการเปรียบเทียบผักที่มีความเหมือนแต่แตกต่างน้ี ท�ำให้เห็นสภาพแวดล้อมของ ถิ่นก�ำเนิด ลักษณะทางกายภาพ และระบบนิเวศของผัก รวมท้ังนิสัยของมันได้ชัดเจนยิ่งข้ึน การเข้าใจวิธีเพาะปลูกท่ีถ่องแท้มากข้ึนจะช่วยให้ปลูกผักได้ผลดี คุณจะรู้ว่าควรดูแลผักชนิด นั้นๆ อยา่ งไร และเขา้ ใจเคลด็ ลับการเพาะปลกู แตล่ ะอยา่ งว่า \"ทำ� ไมจงึ เป็นเชน่ นน้ั ” เพราะฉะนั้น การเพาะปลูกในพื้นท่ีเกษตรกรรมของประเทศญ่ีปุ่นจึงต้องอาศัยเทคนิค ต่างๆ ท้ังเร่ืองการรดน�้ำหรือการเล่ียงฝน การควบคุมอุณหภูมิหรือการรับมือกับความเย็น การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้พลาสติกคลุมดินหรือการคลุมด้วยฟาง การให้โดนแสงหรือการป้องกัน ไม่ให้ถูกแดด รวมท้ังการใช้ยาก�ำจัดแมลง ฯลฯ มาเป็นตัวช่วยจึงจะเพาะปลูกได้ผลดีหรือ ทำ� ใหม้ ผี ลผลิตได้ไมจ่ ำ� กดั ฤด ู เพ่ือต้งั เปา้ เพิม่ ผลผลิตใหม้ ปี ริมาณมากข้ึนไดอ้ ีกด้วย  บรรดาหนังสือเกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวมักแนะน�ำวิธีเพาะปลูกโดยใช้เทคนิค ต่างๆ คล้ายๆ กัน แต่ถ้าพึ่งพาเทคนิคเหล่าน้ีอย่างเดียวจนยึดถือเป็นต�ำราไปแล้ว อาจกลาย เป็นการเพาะปลูกท่ีผดิ วธิ ีจนนำ� มาซ่ึงความผดิ พลาดโดยไม่รตู้ วั การรู้จักสภาพของถ่ินกำ� เนิดเป็นเรื่องส�ำคัญ  ผักที่ได้รับการดูแลโดยผู้ปลูกที่ไม่สนใจ ลักษณะทางกายภาพและระบบนิเวศของมันคงไม่อาจพูดได้ว่าเป็นผักท่ีกินแล้วจะมีประโยชน์ ต่อร่างกาย  จุดมุ่งหมายของหนังสือเล่มน้ีคือการเปรียบเทียบผักท่ีมีความเหมือนแต่ แตกต่างเพื่อเปลี่ยนมุมมองต่อวิธีการเพาะปลูก ท�ำให้เราได้ผักที่แข็งแรงและมีคุณภาพดี หนังสือเล่มนี้ยังแนะน�ำไอเดียการเพาะปลูกหลากหลายท่ีได้จากความรู้พื้นฐานของการเพาะ ปลูกผักในพ้ืนท่ีถ่ินก�ำเนิดของมัน จึงขอให้ทุกท่านลองน�ำไปทดลองกับการปลูกผักสวนครัว ทบี่ ้านดนู ะครับ ผมจะมีความสุขมากถ้าหนังสือเล่มนี้เป็นตัวช่วยในการเพาะปลูกของทุกท่านที่ ช่นื ชอบการปลกู ผักสวนครวั โทะชโิ อะ คิจมิ ะ ฤดรู ้อน ค.ศ. 2018

สารบญั รูน้ สิ ัยผกั สรา้ งไอเดียเพาะปลกู โดย โทะชิโอะ คิจมิ ะ ถ่นิ ก�ำเนดิ ของพชื ผกั กบั ก�ำหนดเวลาการเพาะปลูก........................................................8 มะเขือเทศ คบคนยาก กับ มะเขือม่วง ชอบเข้าสงั คม 10 ปลกู กบั โครงทีด่ ัดโค้ง 14   ปลกู แนวต้งั เป็นรูปตัว V บนแปลงยกสงู 18 มะเขือมว่ ง ดแู ลตน้ กล้าแบบเอาอกเอาใจ กบั พริกหวาน ดแู ลตน้ กล้าแบบเคร่งครดั 20 ปลูกแนวตัง้ 3 ตน้ โดยตัดและคลรี่ ากออก 24   ปลูกแนวตงั้ เป็นรูปตวั V โดยไม่ต้องทลายดนิ ห้มุ ราก 28 แตงกวา ชอบปนี ปา่ ยต้นไมอ้ ื่น กับ ฟักทอง ชอบเล้ือยไปตามพน้ื ดิน 30 ปลูก 2 แนวท้งั แนวต้งั และแนวราบ 34   ปลกู รว่ มกับข้าวโอต๊ ช่วงนอกฤดกู าล 38 40 มะระ เจริญอาหาร กบั แตงโม กินน้อยมากจนนา่ ตกใจ 44 48 ปลกู รว่ มกบั พชื วงศ์ผักกาดและกลยทุ ธ์การรับมือพายุไตฝ้ นุ่ 50   ปลอ่ ยใหเ้ หลอื เถารุ่นลูกเถาเดยี วให้เล้อื ยเทยี่ วเลน่ ไปตามใจชอบ 54 58 ขา้ วโพด รากต้นื และกินของไมด่ ี กบั กระเจี๊ยบเขียว รากลึกและชอบกินของดี 60 64 ปลกู รว่ มกบั ถ่วั แขก   หว่านเมล็ดจำ� นวนมากและปล่อยให้คอ่ ย ๆ เจรญิ เติบโต เผอื ก ต้องการนำ้� มาก กบั มนั เทศ ต้องการน�้ำนอ้ ย 68 ปลูกในหลุมจะชว่ ยให้งอกเร็วขึ้น 70   ปลูกพชื ชนิดอนื่ ร่วมดว้ ย โดยควบคมุ น้�ำและธาตุอาหาร 74 78 ถัว่ แขก กินทั้งฝัก กับ ถัว่ แระญ่ปี นุ่ กนิ เฉพาะเมล็ด 80 84 ปลูกร็อกเกตหรือเทอรน์ ปิ ไปพรอ้ มกัน 88   ปลกู พร้อมกบั ขา้ วโพดทจี่ ะเก็บเกีย่ วในฤดฝู น 90 94 ถ่วั ลันเตา ดอกบานตลอดทง้ั ปี กบั ถัว่ ปากอา้ ดอกบานปีละครั้ง 98 100 ปลกู ให้ชดิ กนั โดยใชเ้ สาค้�ำทำ� จากไมไ้ ผ ่ 104   ปลกู ถัว่ ปากอ้าคน่ั ระหว่างตน้ บรอ็ กโคลขี า้ มฤดูหนาว 108 มนั ฝร่ัง ชอบโผลห่ น้าเหนอื ดนิ กับ มันภเู ขาญ่ีปุ่น ชอบมุดลงดิน 110 114 นำ� ดินกลบที่กลางต้น 118   ปลกู กับเสาค�้ำเต้ียและคอยตดั ปลายยอด ชิโซะ ปล่อยทง้ิ ไว้ก็โตได้เอง กับ ผักชี ตอ้ งการการดแู ลอย่างใกลช้ ดิ ชิโซะแดงชว่ ยป้องกันอาการงามแตเ่ ถาของมันเทศ   เพาะปลูกแบบหวา่ นเมลด็ เหลื่อมเวลากัน จะไดช้ ื่นชมผกั ชีตลอดทง้ั ป ี ผกั กาดขาวปลี ต้องปลูกเดย่ี ว กบั บรอ็ กโคลี ตอ้ งปลกู กบั พชื อนื่ ปลกู แบบไร้แบบแผนบรเิ วณพ้ืนที่ว่างในสวน   ปลกู แบบ 2 ขั้นตอนดว้ ยการ \"ปลกู ชดิ แนน่ \" ➡ “ถอนแยก”

กะหลำ่� ปลี ไม่เกบ็ แบคทีเรียทรี่ าก กบั ผกั กาดหอม เปน็ มติ รกับแบคทเี รยี ท่ีราก 120 124 ปลกู ตน้ กล้าพรอ้ มกนั 2 ต้นเพอื่ สร้างพื้นทข่ี องดินรอบรากให้มขี นาดเพยี งพอ 128   ปลกู กะหลำ่� ปลีร่วมดว้ ยแบบไร้แบบแผน ช่วยป้องกนั ศตั รูพชื 130 134 ปวยเลง้ ชอบอยโู่ ดดเดีย่ ว กบั ตัง้ โอ๋ ชอบอยเู่ ปน็ กลุ่มกอ้ น 138 140 ปลูกตน้ หอมพร้อมปวยเล้งทหี่ ว่านเมล็ดในฤดูรอ้ น 144   ปลกู ต้ังโอท๋ ่หี วา่ นเมลด็ ในฤดูรอ้ นรว่ มกบั เทอรน์ ิป 148 150 มซิ นุ ะ ชอบน้�ำมาก กบั โคะมะสนึ ะ ชอบธาตุอาหารเยอะ 154 158 ปลกู ในฤดูหนาวโดยไมต่ อ้ งไถพรวนดินในพื้นท่ที ี่เคยใช้ปลกู หวั ไช้เทา้ 160   ปลกู ในฤดูหนาวโดยไมต่ ้องไถพรวนดนิ ในพนื้ ท่ที ี่เคยใช้ปลูกปวยเล้ง 164 168 หวั ไชเ้ ท้า งอกอย่างรวดเรว็ กับ แครอต งอกอย่างเชื่องชา้ 170 174 ปลูกหวั ไชเ้ ทา้ ที่โคนตน้ เผือก 178   ปลกู หัวไช้เทา้ กบั แครอตคน่ั สลบั แถวอยา่ งตอ่ เนื่อง กระเทียม ปลูกทีละกลีบ กบั รกั เกียว ปลกู พรอ้ มกนั 3 กลบี เกบ็ เกย่ี วกระเทยี มกนิ ใบกบั กระเทียมกินหวั เปน็ 2 ขนั้ ตอน   เก็บเก่ยี วเปน็ หอมแดงได้ตอ่ เนื่องยาวนาน หอมหัวใหญ่ รากแทงลงลา่ ง กบั ตน้ หอม รากแทงขึน้ บน ปลกู คริมสนั โคลเวอร์รว่ มดว้ ยและตามด้วยปลกู ฟกั ทอง   ปลกู แตงโมในแปลงเพาะตน้ ออ่ นของต้นหอม โครงสรา้ ง หนังสือเล่มนี้จะจับคู่ผักท่ีมีคุณลักษณะคล้ายคลึงกัน เพื่ออธิบายโดยเปรียบเทียบเรื่องถ่ินก�ำเนิด หนงั สือ ลกั ษณะทางกายภาพ ระบบนิเวศ และวธิ ีการเพาะปลูก ตลอดจนแนะน�ำไอเดียการเพาะปลกู ตา่ งๆ 1 มะเขือเทศ คบคนยาก มะเขอื เทศ ถิ่นก�ำเนดิ : ทร่ี ำบสูงบรเิ วณเทอื กเขำแอนดีส การเขา้ มาและ หน้านี้จะแนะน�ำถิ่นก�ำเนิดและสภาพแวดล้อมของผักชนิดน้ัน มะเขอื มว่ ง ชอบเข้าสงั คม ในทวีปอเมรกิ ำใต้ แพร่ขยายสญู่ ป่ี นุ่ ตลอดจนก�ำเนดิ สายพนั ธุด์ ัง้ เดิม รู้จัก ถนิ่ กำ� เนดิ รจู้ ักสภาพถน่ิ ก�าเนิด มะเขือเทศเป็นพืชอายุหลายปี กำาเนิดในบริเวณที่ มะเขือเทศเดินทางจากเทือกเขา อย่างไรก็ตาม ผักมีทฤษฎีเรื่องถ่ินก�ำเนิดที่หลากหลาย บางชนิด แห้งแล้งและมีแดดจัด ลำาต้นเลื้อยไปตามโขดหิน มีกิ่งและ แอนดีส ข้�มทวีปยุโรป ม�ยังเมือง ไม่มีถิ่นก�ำเนิดที่ชัดเจน  ถ่ินก�ำเนิดท่ีน�ำเสนอไว้ในที่นี้ ผมได้ด�ำเนินการ มะเขอื เทศมถี ่ินกำ� เนิดในพ้นื ท่ีภเู ขำหนิ ซึ่งขำดธำตอุ ำหำร รากพิเศษแตกออกมาโดยตลอดและทอดยาวไมห่ ยุด น�ง�ซ�กิ ประเทศญ่ีปุ่นช่วงศตวรรษท่ี  ส�ำรวจในพนื้ ท่จี ริงโดยอาศยั ทฤษฎที มี่ นี �้ำหนักท่สี ดุ เป็นพน้ื ฐาน มะเขือมว่ งมำจำกผนื ป่ำอันอดุ มสมบรู ณ์ มะเขอื มว่ ง ถิ่นก�ำเนดิ : ผืนป่ำทำงตะวนั ออกของอนิ เดีย 17  ต้ังแต่อดีตจนถึงสมัยเอโดะยังนิยม ถน่ิ ก�ำ เนดิ ของมะเขอื เทศอยแู่ ถบทร่ี �บสงู บรเิ วณเทอื กเข�แอนดสี ในทวปี อเมรกิ �ใต ้ เปน็ พน้ื ทฝ่ี นตก ปลูกมะเขือเทศเพื่อคว�มสวยง�มเป็น นอ้ ยและแหง้ แลง้  ข�ดคว�มอดุ มสมบรู ณ ์ มแี สงแดดรอ้ นระอสุ �ดสอ่ งลงม�อย�่ งตอ่ เนอ่ื งร�วกบั ถนนสแี ดง ถ่ินกำ�เนิดด้ังเดิมของมะเขือม่วงคือผืนป่�ดิบช้ืน  หลัก  มะเขือเทศพันธ์ุที่ปลูกสำ�หรับนำ� มะเขือเทศส�ยพันธ์ุดั้งเดิมจะขย�ยพันธุ์โดยแผ่ก่ิงก้�นเล้ือยไปต�มพื้นที่ที่เต็มไปด้วยกรวดหิน มักเกิดบริเวณริมลำาธาร เป็นพืชอายุหลายปี ในบริเวณ ม�กินสดเพิ่งเริ่มปลูกกันเมื่อสมัยโชวะ  ขรุขระ เน่ืองจ�กมะเขือเทศมีร�กต้ืน  ดังนั้น ช่วงกล�งคืนท่ีอุณหภูมิลดต่ำ�ลง ขนเล็กๆ ที่ข้ึนต�มใบและ ถ่นิ กำ�เนิดนน้ั อ�จพบตน้ ทมี่ ีคว�มสูงถงึ  3 เมตร ถ้�จำ�กัดก�รให้นำ้�จะได้ผลมะเขือเทศ ก�้ นจะพย�ย�มดกั จับน้�ำ ค้�งตอนกล�งคนื ม�ประทงั ชวี ิต คุณภ�พสูง เกษตรกรส่วนใหญ่จึงนิยม มะเขือเทศขย�ยพันธุ์ภ�ยใต้สภ�วะแวดล้อมท่ีลำ�บ�กเช่นน้ี จึงต้องกำ�จัดพืชชนิดอ่ืนเพื่อให้ เพ�ะปลูกกันในพื้นท่ีปิดล้อม เช่น เรือน เจรญิ เตบิ โตได ้ ก�รปลอ่ ยส�รพษิ รนุ แรงเพอ่ื ท�ำ ล�ยพชื อน่ื  (allelopathy) เปน็ คณุ สมบตั เิ ฉพ�ะของมะเขอื เทศ กระจก ก�รที่มะเขือเทศดำ�เนินชีวิตอย่�งโดดเดี่ยวท่�มกล�งสภ�พแวดล้อมที่แร้นแค้นจึงมีภ�พลักษณ์ของ  “คนรกั สันโดษ” แตถ่ �้ มองอีกมมุ หน่งึ อ�จเปน็ นิสยั ไมช่ อบคบค�้ สม�คมกบั พชื อ่ืน ส่วนมะเขือม่วงเดินท�งจ�กเอเชีย ในท�งตรงข้�ม มะเขือม่วงมีพื้นเพม�จ�กบริเวณเอเชียใต้ท่ีท้ังอุณหภูมิและคว�มชื้นสูง ส�ยพันธุ์ ให้เข้�สู่เอเชียตะวันออกและแพร่ไปยัง ด้ังเดิมข้ึนเองต�มธรรมช�ติในผืนป่�แถบตะวันออกของอินเดียปัจจุบัน ซ่ึงเป็นพื้นที่โล่งเป็นช่วงๆ มี ประเทศญ่ีปุ่น โดยพบว่�ในสมัยนะระมี แสงสว่�งส่องถึง และมีท�งออกสู่แหล่งน้ำ�หรือริมลำ�ธ�ร  เมล็ดของมันจะตกลงบนพ้ืนดินทร�ยร่วนซุย ก�รเพ�ะปลูกมะเขือม่วงกันอยู่แล้ว แต่ จ�กใบไมท้ รี่ ่วงหล่นทับถม ร�กหยง่ั ลึกลงไปเพอื่ เส�ะห�แหล่งน้�ำ ใตด้ นิ ขยายไปยังพื้นที่ต่างๆ ท่ัวญ่ีปุ่นในสมัย ด้วยอุณหภูมิท่ีอบอุ่นพร้อมนำ้�และธ�ตุอ�ห�รที่อุดมสมบูรณ์ ส่งผลให้สภ�พแวดล้อมมีพันธ์ุพืช เอโดะ ด้วยคว�มที่ปลูกง่�ย เข้�กับ อ�ศยั อยมู่ �กม�ย มะเขอื มว่ งจงึ อยรู่ ว่ มกบั พชื ชนดิ อน่ื ไดห้ ล�กหล�ย  อ�จพดู ไดว้ �่ มะเขอื มว่ งมภี �พลกั ษณ์ วัฒนธรรมก�รกินของพ้ืนท่ีต่�งๆ ได้ จึง ของ \"คนชอบเข�้ สงั คม\" ท่ใี ชช้ ีวิตอย�่ งร่ืนเรงิ สนุกสน�น มี พั น ธ์ุ พ้ื น เ มื อ ง เ กิ ด ขึ้ น จำ � น ว น ม � ก  แมจ้ ะเป็นพชื ในวงศ์มะเขอื เหมือนกัน แต่ต้นก�ำ เนิดและก�รใช้ชวี ิตช่�งแตกต�่ งกันเสียจรงิ ๆ มะเขือม่วงชอบนำ้�และธ�ตุอ�ห�ร ผลท่ี 10 มีรสช�ติอร่อยจึงมักงอกง�มในบริเวณ ริมแม่นำ้�ที่อุดมสมบูรณ์  พันธ์ุที่มีชื่อ เสียงคือ พันธุ์เซ็นชูซุยของโอซ�ก�และ พันธุ์คะโมะของเกียวโต  พื้นที่อบอุ่น ท�งตะวันตกเฉียงใต้ (เมืองเซ็นนัง) มี ระยะเวล�เพ�ะปลูกย�วน�นจึงได้ผลที่ มีรูปร่�งย�วหรือขน�ดใหญ่ ขณะที่ท�ง ตอนเหนือมีแนวโน้มจะได้ผลผลิตเป็น ผลกลมหรือขน�ดเลก็ 11 เคล็ดลบั การปลูกมะเขือเทศ 2 ท�าไมต้องปลกู ต้นเดี่ยว 3 ปลูกเด่ียวเพือ่ ใหก้ ิง่ กา้ น การควบคุมปรมิ าณนา้ำ และธาตอุ าหาร สำาหรับมะเขือเทศ ญ่ปี ่นุ มีแสงแดด แผข่ ยายได้ 1 ระบายนา้� ให้ดีและจ�ากัด การปลูกแบบต้นเด่ียวขอให้ปลูก ความสูงของแปลงเพาะปลูก: แปลงที่ การใสป่ ๋ยุ ไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับถ่ินกำาเนิดของ เป็นดินทรายหรือดินทรายปนดินร่วนให้ 2 เนื่องจากถ่ินกำาเนิดของมะเขือเทศ มัน  ในอดีตมะเขือเทศเป็นพืชไม้เลื้อย ชิดกันเพราะเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพ  ทำาแปลงปลูกแบบราบ  ถ้าเป็นดินเหนียว เป็นพ้ืนท่ีแห้งแล้งและขาดธาตุอาหาร ที่แผ่กิ่งก้านไปตามพ้ืนดิน แต่ปัจจุบัน ทำ า ใ ห้ เ ก็ บ ผ ล ผ ลิ ต จำ า น ว น ม า ก ไ ด้ ใ น ให้เตรียมแปลงเพาะปลูกสูงประมาณ  การเพาะปลูกในพื้นที่ซ่ึงเป็นดินทรายที่มี มะเขือเทศที่ปลูกในสวนเจริญเติบโตขึ้น ร ะ ย ะ สั้ น  แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ กำ า ห น ด ร ะ ย ะ ห่ า ง 20 เซนติเมตร ธาตุอาหารน้อยและระบายน้ำาได้ดีจึง ด้านบน เป็นหลักฐานสำาคัญท่ีแสดงให้ ระหว่างต้นว่าจะต้องเป็นเท่าไร จะปลูก ปุ๋ยรองพ้ืน: ไม่ต้องการปุ๋ยรองพื้น เม่ือ เหมาะสมที่สุด ถ้าแปลงเพาะปลูกของ เห็นว่ามันพยายามแสวงหาแสงแดด  ห่างกัน 1 เมตร หรือถ้าจะทำาแบบสุดโต่ง  ทำาความสะอาดแปลงเพาะปลูกท่ีมีการ ดั ง นั้ น  ค ว ร พ ย า ย า ม ป ลู ก ใ น พ้ื น ที่ ซ่ึ ง ปลูกมะเขือเทศต้นเดียวไว้กลางสวนก็ได้  ใช้งานมาก่อนหน้านี้แล้ว ให้พรวนดิน ข้อควรค�ำนงึ คุณเป็นดินทราย ไม่จำาเป็นต้องใส่ใจทำา แสงแดดส่องถงึ ได้ดี จากน้ันปล่อยให้เติบโตโดยไม่ต้องดูแล  เตรยี มแปลงไว้ สำ� หรบั หนา้ นผ้ี มจะแนะน�ำการเตรยี มดนิ และวิธีเพาะปลกู อะไรกับมัน มะเขอื เทศก็เจรญิ เติบโตได้ดี รากจะแผ่ขยายและก่ิงก้านจะแตกออกไป ปุ๋ยเสริม: ไม่จำาเป็น ปลูกให้ห่างกันไว้  สำาหรับพ้ืนที่ที่เป็นดินทรายปน วิ ธี ปั ก ชำ า กิ่ ง ที่ แ ต กใ ห ม่ เ พี ย ง ท่วั สวน  รากจะแผ่ขยายและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ดินร่วนที่มีลักษณะเหนียวเล็กน้อย ก่อน ก่ิงเดียวเป็นวิธีเพาะปลูกปกติท่ัวไป ซ่ึง ต่อเน่อื ง เกี่ยวกับวธิ ี เริ่มปลูกเพียงไถพรวน มะเขือเทศก็เจริญ ทำาให้ใบได้รับแสงแดดเพียงพอ ไม่ว่า ที่ผ่านมามะเขือเทศเป็นพืชท่ีเลื้อย เพาะปลกู เติบโตได้โดยไม่มีปัญหา  ไม่ว่าใช้ดิน จะปลูกชิดกันแค่ไหน แถมอากาศถ่ายเท ไปตามพื้นดินไม่มีท่ีส้ินสุด  การปลูกแบบ พชื พนั ธมติ ร ช นิ ด ใ ด ก็ ไ ม่ จำ า เ ป็ น ต้ อ ง ใ ส่ ปุ๋ ย ร อ ง พื้ น  ได้ดีช่วยลดความช้ืนในอากาศ สภาพ แนวตั้ง ถ้าปลูกโดยเว้นระยะห่างระหว่าง ควรทาำ แปลงแนวราบ แวดล้อมเช่นน้ีเหมาะกับมะเขือเทศซึ่ง ต้นไว้กว้างสักหน่อยเพื่อให้ก่ิงก้านได้ มะเขอื เทศจอมทาำ ลายล้าง ชอบความแห้งแล้ง  แ ผ่ ข ย า ย  ทำ า ใ ห้ เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต ไ ด้ พืชที่ปลูกร่วมกันได้น่าจะมีเพียง สำ า ห รั บ แ ป ล ง ท่ี เ ป็ น ดิ น เ ห นี ย ว อยา่ งต่อเนอื่ ง อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นมีฝนตกชุก กุยช่ายกับโหระพาเท่านั้น  การปลูก จำาเป็นต้องปรับพื้นท่ีก่อน โดยทำาคันดิน ในหน้าร้อนจึงไม่เหมาะกับมะเขือเทศ  ผมขอแนะนำาวิธีปลูกแบบใหม่ กุยช่ายร่วมกับต้นกล้าของมะเขือเทศ สูงประมาณ 20 เซนติเมตรเพื่อให้การ การปลูกมะเขือเทศให้มีคุณภาพดีต้อง ท่จี ะช่วยให้ก่งิ ก้านของมะเขือเทศแผ่ขยาย ช่ ว ย ป้ อ ง กั น โ ร ค พื ช ท่ี ม า กั บ ดิ น ไ ด้   ระบายน้ำาดีข้ึน ให้ขุดดินในจุดที่จะต้ัง เลยี่ งฝน ได้อย่างรวดเร็วไว้ในหน้า 14 น่ันคือ การ มะเขือเทศจะปล่อยสารทำาลายต้นไม้ แปลงลึกลงไปประมาณ 30 เซนติเมตร  ปลูกกับโครงท่ดี ัดโค้งหรืออุโมงค์พลาสติก รอบข้างรุนแรง จึงอาจปลูกพืชหัว เพื่อกันฝน ซึ่งจะช่วยให้คุณได้ช่ืนชม หรือพืชในวงศ์ผักกาดท่ีทนทานต่อ แล้วใส่ใบไม้แห้งหรือหญ้าแห้งลงไปก่อน ผลผลิตทม่ี ีคุณภาพ รสชาตอิ ร่อย สารนน้ั ได ้ เชน่  ถว่ั ลนั เตา หอมหวั ใหญ่ ถ่ัวปากอ้า กะหล่ำาปลี บร็อกโคลี แต่ ยำ่าอัดให้แน่น จะช่วยเรื่องการระบายน้ำา  ถ้าปลกู ผกั กาดขาวปลี มันจะไม่เจริญ เตบิ โต ไมจ่ ำาเปน็ ตอ้ งใสป่ ยุ๋ รองพืน้ 13 12 ไอเดียปลกู มะเขอื เทศ ชว่ งเวลาเพาะปลกู : นา� ต้นกล้าลงปลกู ตน้ เดอื นพฤษภาคม ไอเดยี ปลูกมะเขือม่วง ➀ ชว่ งเวลาเพาะปลูก: นา� ตน้ กลา้ ลงปลูกตน้ เดอื นพฤษภาคม Point 1 ใชพ้ ้นื ท่นี อ้ ยแต่ให้ผลผลติ ยัง่ ยนื อันดับแรก เน่ืองจากมะเขือเทศมีราก ใหก้ ิง่ แขนงตดิ ผลกงิ่ ละ 1 ผล เพอื่ ใหเ้ กบ็ เกยี่ วผลผลติ ไดต้ อ่ เนื่อง ปกั ชำาเปน็ รูปตัว V ช่วงท้ายผมจะน�ำเสนอวิธีการ ต้ืน เราจึงต้องเตรียมแปลงเพาะปลูกแบบราบ เมอ่ื กิ่งยาวจนถงึ ปลายกง่ิ เพาะปลูกผักสวนครัวให้มีรสชาติ ปลูกกับโครงทดี่ ัดโค้ง จากน้ันต้ังโครงดัดโค้ง แล้วโน้มกิ่งมะเขือเทศ ปลกู แนวตั้งเป็นรูปตวั V บนแปลงยกสูง ใหต้ ัดปลายก่งิ ออก อร่อยและเก็บเก่ียวได้จ�ำนวนมาก พันม้วนไปตามแนวโครง ปกั ช�ำ 2 ต้น ปล่อยให้ก่งิ แขนงตดิ ผลเพียงกงิ่ ละ 1 ผล โดยคำ� นงึ ถงึ ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โต ดดั ก่งิ และพนั มว้ น แม้ว่ามะเขือม่วงจะมีรากดิ่งลึกลงไปใต้ดิน แต่หากปักช�า 3 ต้น ส่วนท่ีอยู่เหนือดินก็จะแผ่ ตง้ั โครงสงู ประมาณ ในถิ่นก�ำเนิดและนิสยั ของผักน้นั ๆ การปลูกกับโครงท่ีดัดโค้งเป็นการปลูก ประเด็นส�าคัญคือเวลาโน้มก่ิงให้เอาน้ิว Point 2 3 บี้แรงๆ และบิดท่ีด้านนอกของจุดท่ีงอเพื่อ ขยายออกไปด้านข้างส่งผลให้รากตื้นอยู่ดี จึงขอแนะน�าให้ต้ังเสาค�้า 2 ต้นเป็นมุมแหลมรูปตัว V การเก็บผลตดิ กง่ิ แขนงน้นั 180 เซนติเมตร แตใ่ ห้ วิธีหน่ึงที่ใช้จ�านวนต้นน้อย โดยรากจะงอก ดัดก่ิง การท�าเช่นน้ีช่วยให้ดัดกิ่งได้ง่ายขึ้น ใหต้ ดั พร้อมกงิ่ ไอเดีย ยาวและกิ่งก้านแตกออกไป ท�าให้ทยอยเก็บ Point 1 เพราะจะท�าให้ “ท่อล�าเลียงอาหาร” ซึ่งอยู่ โดยมรี ะยะห่างประมาณ 50 เซนตเิ มตร ตัดปลายกงิ่ เพอ่ื หยุดการ การปลกู ผลมะเขือเทศได้อย่างย่ังยืน แม้ต้องใส่ใจดูแล ภายในแตก ส่งผลให้น�้าตาลท่ีได้จากการ เพราะจะชว่ ยให้ สักหน่อย แต่จะเก็บเกี่ยวมะเขือเทศท่ีมี เวลาโน้มกง่ิ ใหบ้ ิดไปดว้ ย สังเคราะห์ด้วยแสงของใบหยุดอยู่ตรงจุดนั้น ไม่ว่าดินจะมีคุณสมบัติอย่างไร ให้ยกแปลงเพาะปลูกสูงข้ึนและใส่ปุ๋ยรองพ้ืนด้วย สิ่ง เติบโตเมอ่ื ลา� ตน้ สูงถงึ รสชาติดไี ดจ้ นถงึ ชว่ งฤดูฝนเลยทเี ดียว ตอนโน้มกงิ่ ใหเ้ อานิว้ บิดแรงๆ แล้วถูกส่งไปเล้ียงส่วนผลได้ดีข้ึน การดัดกิ่ง ยอดท่ีแตกออกมา จะไม่ท�าให้ท่อล�าเลียงน�้า (ทางเดินของน�้าท่ี จุดท่ียน่ื มือเกบ็ ถงึ จะช่วยให้งอกง่ิ ไดง้ ่ายขึ้น ระวังอย่าใหห้ ักเปา๊ ะ รากดูดซึมข้ึนมา ซ่ึงอยู่ลึกเข้าไปด้านในของ ด้านล่างเจริญเตบิ โตขึน้ ท่อล�าเลียงอาหารอีกที) แตกไปด้วย จะบิด สา� คญั ทต่ี อ้ งคา� นงึ ถงึ คอื การกลบฝงั ใบไมแ้ หง้ ลกึ ลงไปในดนิ ซง่ึ ชว่ ยใหร้ ากแทงลกึ จากนน้ั นา� กง่ิ หลกั แรงสกั หนอ่ ยกไ็ ม่เปน็ ไร จนตดิ ผลให้เกบ็ เก่ียว 2 กิ่งพันไปตามแนวเสาค�้าที่ต้ังไว้ เม่ือกิ่งเติบโตไปจนถึงปลายเสาค�้าให้ตัดแต่งก่ิง แล้วปล่อยให้ เมื่อใบโดนฝนจะดูดซึมน�้า อาจท�าให้ ตอ่ ไป การท�าซ�้าเชน่ น้ี ตัวผลฉ�่าน�้ามากเกินไป เพื่อป้องกันปัญหานี้ ตดิ ผลเพยี ง 1 ผลตอ่ 1 กง่ิ แขนงเทา่ นน้ั เพอ่ื ใหเ้ กบ็ เกย่ี วไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (ดภู าพดา้ นลา่ งประกอบ) ให้คลุมหลังคากันฝนหรือเพาะปลูกในเรือน ไปเรื่อยๆ จะทา� ใหไ้ ด้ เพาะช�าทมี่ ีหลังคาจะดกี ว่า เมื่อเริ่มเก็บเกี่ยวได้แล้วต้องให้ปุ๋ยเสริม โดยโรยกากพืชน�้ามันหรือวางเป็นก้อนขนาด ผลผลิตท่ยี ั่งยนื ประมาณครึ่งหนึ่งของข้าวป้ัน วางเป็นจุดๆ ห่างจากโคนต้นประมาณ 30 เซนติเมตร 1-2 สัปดาห์ ตอ่ ครง้ั เพื่อให้รากดูดสารอาหารและน�้าได้เพียงพอ ควรรดน�้าเยอะๆ รอบต้นในรัศมีประมาณ 30 เซนตเิ มตร และรดอยา่ งสมา�่ เสมอ หากตดิ ผลเพยี ง 1 ผลตอ่ 1 กง่ิ แขนงไดต้ ลอด กง่ิ จะแขง็ แรง ใหผ้ ลผลิตอย่างตอ่ เน่ือง ใบแตกใหม่ 1 ก่ิงต่อ 1 ผล ชว่ ยให้เก็บเกีย่ วได้ต่อเนื่อง กงิ่ หลกั 1 ก่งิ หลักทั้ง 2 กิง่ จะมีก่ิงแขนงแตกออกมาเรือ่ ยๆ เมือ่ ดอกบานแลว้ ให้ตรวจสอบจาำ นวนใบ ท่ีอยูด่ ้านบนของดอก จากนัน้ ตดั ใบด้านบนทิง้ จนเหลอื เพียง 2 ใบโดยให้เกบ็ ใบใต้ดอกไว้ Point 2 Point 3 ปลกู ใตห้ ลังคาเพอ่ื ปอ้ งกันฝน ปลอ่ ยใหใ้ บที่ กงิ่ แขนง Point 4 Point 3 แตกใหมเ่ จรญิ เตบิ โต ใช้แปลงเพาะปลกู แบบราบที่ระบายนา�้ ได้ดี การคลุมหลังคากันฝนชว่ ยควบคุมปรมิ าณนา�้ ยกแปลงสงู 30-40 เซนตเิ มตร และฝังใบที่ร่วงให้ลกึ ปลกู แถวเดียวให้ต้นห่างกนั ประมาณ 50 เซนตเิ มตร เพื่อให้รากแผ่ขยายได้กว้าง และใช้ เพอื่ ให้รากแทงลึกลงไปใตด้ นิ ให้ฝงั ใบทีร่ ่วง ประเดน็ ส�าคัญคือปลกู ใหช้ ิดกันพอสมควร ท�าให้ได้ผลผลิตทีม่ รี สชาตหิ วาน แนะน�าใหป้ ลูก พลาสตกิ หรือฟางคลมุ ดินเพื่อปกปอ้ งราก จากตน้ ลึกประมาณ 30 เซนตเิ มตร โดยไมต่ ้องใช้พลาสตกิ คลุมดนิ เพื่อให้รากหย่ังลกึ ในเรอื นเพาะช�าทมี่ หี ลังคา 14 15 หลงั จากดอกกลายเปน็ ผลและโตจนได้ขนาดพอเหมาะแลว้ ให้ตดั พรอ้ มกบั กง่ิ จากนั้นกง่ิ แตกใหม่ 19 2 ทีเ่ หลอื จะเจริญเตบิ โตและติดดอกตอ่ ไป ขอให้เกบ็ ผลเหมอื นเดิม การทำาแบบนต้ี ่อไปเรอ่ื ยๆ นอกจากจะทำาให้ก่ิงติดผลเพียงก่งิ แขนงละ 1 ผลและชว่ ยใหก้ ่งิ ไม่เหน่ือยล้าแล้ว ยังเกบ็ เกย่ี วไดต้ ่อเนือ่ ง 18

ถนิ่ กำ� เนดิ ของพชื ผกั กบั กำ� หนดเวลาการเพาะปลกู   ผักที่เราเพาะปลูกในสวนครัวมักมีถ่ินก�ำเนิดมาจากต่างประเทศ ควรต้องปรับช่วงเวลา เพาะปลูกให้เข้ากับภูมิอากาศของประเทศไทย จะขอแนะน�ำถ่ินก�ำเนิดของผักแต่ละชนิดควบคู่กับ ชว่ งเวลาเพาะปลูกท่ีเหมาะสม 60 มันเทศ (วงศ์ผกั บงุ้ )  110 บร็อกโคลี (วงศ์ผกั กาด)  ยา้ ยตน้ กลา้ มาปลกู : หลงั ชว่ งกลางเดอื นพฤษภาคม ยา้ ยต้นกล้ามาปลกู : ต้นถงึ กลางเดอื นกันยายน เก็บเก่ยี ว: เดอื นตุลาคม เกบ็ เกี่ยว: เดือนพฤศจกิ ายน-กุมภาพนั ธ์ 30 ฟกั ทอง (วงศ์แตง)  120 กะหลำ่� ปลี (วงศผ์ กั กาด)  ยา้ ยตน้ กล้ามาปลกู : ตน้ เดอื นพฤษภาคม ย้ายตน้ กล้ามาปลกู : ต้นถงึ กลางเดอื นกันยายน เกบ็ เก่ยี ว: เดือนสิงหาคม-กนั ยายน เกบ็ เกีย่ ว: เดือนพฤศจิกายน-ธนั วาคม หว่านเมล็ด: เดอื นกรกฎาคม-สิงหาคม เก็บเกย่ี ว: เดือนตลุ าคม-ธันวาคม 140 โคะมะสึนะ (วงศผ์ ักกาด)  20 พริกหวาน (วงศ์มะเขือ)  หว่านเมลด็ : ปลายเดือนมนี าคม เกบ็ เกี่ยว: เดอื นมถิ นุ ายน  ย้ายต้นกลา้ มาปลกู : ต้นเดอื นพฤษภาคม หว่านเมล็ด: เดอื นกันยายน-ตุลาคม เก็บเกย่ี ว: เดอื นกรกฎาคม-ตุลาคม เกบ็ เกีย่ ว: เดอื นพฤศจิกายน-มกราคม 50 ข้าวโพด (วงศ์หญ้า)  70 ถั่วแขก (วงศถ์ ว่ั )  หวา่ นเมล็ด: ต้นเดือนพฤษภาคม หว่านเมล็ด: ปลายเดือนมถิ นุ ายน เกบ็ เกีย่ ว: เดือนสงิ หาคม เก็บเกี่ยว: เดือนสงิ หาคม-ตุลาคม 10 มะเขือเทศ (วงศ์มะเขือ)  40 แตงโม (วงศ์แตง)  ย้ายตน้ กลา้ มาปลูก: ต้นเดอื นพฤษภาคม ยา้ ยตน้ กลา้ มาปลูก: กลางเดอื น เกบ็ เกย่ี ว: เดอื นกรกฎาคม-ตุลาคม พฤษภาคม เกบ็ เกย่ี ว: เดอื นสิงหาคม 90 มันฝรัง่ (วงศม์ ะเขือ)  50 กระเจยี๊ บเขยี ว (วงศช์ บา)  ปกั ช�ำหวั พนั ธุ:์ กลางเดือนมนี าคม เกบ็ เกีย่ ว: เดอื นมถิ ุนายน หวา่ นเมล็ด: กลางเดอื นพฤษภาคม ปกั ช�ำหัวพนั ธุ:์ เดือนสงิ หาคม เกบ็ เกย่ี ว: เดอื นกรกฎาคม-ตุลาคม เกบ็ เกยี่ ว: เดอื นพฤศจิกายน 150 แครอต (วงศผ์ ักช)ี   หวา่ นเมลด็ : กลางเดือนกรกฎาคม-กลางเดือนสงิ หาคม เก็บเก่ยี ว: เดอื นพฤศจิกายน-ธันวาคม 170 หอมหัวใหญ่ (วงศ์พลับพลงึ )  ยา้ ยตน้ กล้ามาปลูก: เดอื นพฤศจิกายน-ธันวาคม เก็บเกย่ี ว: เดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายน

130 ต้งั โอ๋ (วงศ์ทานตะวัน)  130 ปวยเล้ง (วงศบ์ านไม่รูโ้ รย)  100 ชิโซะ (วงศ์กะเพรา)  หวา่ นเมลด็ : ปลายเดือนมนี าคม หวา่ นเมลด็ : ปลายเดอื นมนี าคม หวา่ นเมล็ด: เดือนพฤษภาคม- เกบ็ เกี่ยว: เดือนมถิ ุนายน  เกบ็ เก่ยี ว: เดอื นมิถนุ ายน  ตน้ เดือนกรกฎาคม หว่านเมล็ด: เดอื นกันยายน-ตุลาคม หว่านเมล็ด: เดอื นกนั ยายน-ตุลาคม เกบ็ เก่ียว: เดอื นมิถุนายน-กนั ยายน เกบ็ เกย่ี ว: เดือนพฤศจกิ ายน-มกราคม เกบ็ เกย่ี ว: เดือนพฤศจกิ ายน-มกราคม 150 หวั ไชเ้ ทา้ (วงศ์ผักกาด)  140 มซิ ุนะ (วงศผ์ กั กาด)  80 ถั่วลันเตา (วงศ์ถัว่ )  หว่านเมล็ด: ปลายเดอื นสงิ หาคม- หวา่ นเมล็ด: ปลายเดอื นมีนาคม หวา่ นเมลด็ : เดอื นพฤศจกิ ายน ปลายเดือนกนั ยายน เกบ็ เกี่ยว: เดอื นมถิ นุ ายน  เก็บเก่ยี ว: เดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน เก็บเก่ียว: เดอื นธันวาคม หวา่ นเมลด็ : เดอื นกันยายน-ตุลาคม เก็บเกี่ยว: เดอื นพฤศจกิ ายน-มกราคม 80 ถั่วปากอ้า (วงศ์ถั่ว)  70 ถั่วแระ (วงศถ์ ่ัว)  110 ผกั กาดขาวปลี (วงศผ์ ักกาด)  หว่านเมล็ด: เดือนพฤศจกิ ายน หว่านเมลด็ : ตน้ เดอื นพฤษภาคม เกบ็ เกีย่ ว: เดอื นพฤษภาคม เก็บเกยี่ ว: เดอื นกรกฎาคม หว่านเมล็ด: กลางเดือนสิงหาคม หว่านเมล็ด: ปลายเดอื นมิถนุ ายน เก็บเกี่ยว: เดือนพฤศจกิ ายน-มกราคม 160 กระเทยี ม (วงศพ์ ลับพลงึ )  เก็บเก่ียว: เดอื นตลุ าคม ย้ายตน้ กลา้ มาปลกู : เดือนกนั ยายน เกบ็ เกี่ยว: เดอื นพฤศจกิ ายน-มกราคม นำ� กลีบลงปลกู : ปลายเดือนกนั ยายน เกบ็ เกยี่ ว: เดอื นมิถนุ ายน 100 ผักชี (วงศ์ผักชี)  หวา่ นเมล็ด: เดือนเมษายน-กรกฎาคม เกบ็ เกย่ี ว: เดอื นพฤษภาคม-ตลุ าคม หว่านเมลด็ : ปลายเดอื นสงิ หาคม เก็บเกี่ยว: เดือนตลุ าคม-ธนั วาคม หวา่ นเมล็ด: เดอื นตลุ าคม เกบ็ เก่ียว: เดอื นเมษายน-ตุลาคม 120 ผกั กาดหอม (วงศท์ านตะวัน)  90 มนั ภเู ขาญ่ปี ุน่ (วงศก์ ลอย)  ยา้ ยต้นกลา้ มาปลกู : เดือนตลุ าคม ปกั ช�ำหวั พนั ธุ์: กลางเดือนมีนาคม เก็บเกี่ยว: เดือนพฤศจกิ ายน-ธันวาคม เก็บเกี่ยว: ต้นเดือนธนั วาคม 10 20 มะเขือม่วง (วงศม์ ะเขอื )  60 เผือก (วงศบ์ อน)  ยา้ ยต้นกลา้ มาปลูก: ต้นเดือนพฤษภาคม ปักช�ำหวั พนั ธ:ุ์ ตน้ เดือนพฤษภาคม เกบ็ เกีย่ ว: เดือนกรกฎาคม-ตุลาคม เกบ็ เกย่ี ว: ต้นเดอื นพฤศจกิ ายน 40 มะระ (วงศ์แตง)  160 รักเกียว (วงศ์พลบั พลงึ )  ยา้ ยต้นกล้ามาปลกู : กลางเดอื นพฤษภาคม น�ำกลีบลงปลกู : ปลายเดอื นกนั ยายน เกบ็ เกี่ยว: เดือนสิงหาคม-กนั ยายน เกบ็ เกยี่ ว: เดอื นมิถนุ ายน 30 แตงกวา (วงศแ์ ตง)  170 ต้นหอม (วงศ์พลับพลงึ )  ยา้ ยต้นกล้ามาปลูก: ต้นเดอื นพฤษภาคม ย้ายต้นกลา้ มาปลูก: ปลายเดือนมนี าคม เกบ็ เกีย่ ว: เดือนกรกฎาคม-สงิ หาคม เกบ็ เกย่ี ว: เดือนตลุ าคมเปน็ ต้นไป หวา่ นเมลด็ : เดือนมถิ ุนายน-สิงหาคม เกบ็ เก่ยี ว: เดือนสงิ หาคม-พฤศจกิ ายน ผกั มีทฤษฎเี รื่องถ่นิ ก�ำเนดิ อยหู่ ลากหลาย บางชนิดกไ็ มม่ ถี ิ่นก�ำเนดิ ท่ชี ัดเจน ถิ่นก�ำเนดิ ท่ีน�ำเสนอไว้ในทน่ี ี้ ผมได้สำ� รวจในพ้นื ทจ่ี ริงโดยอาศัยทฤษฎีที่มนี ้�ำหนกั ที่สุดเป็นพื้นฐาน

มะเขอื เทศ คบคนยาก มะเขอื มว่ ง ชอบเข้าสงั คม รู้จกั สภาพถิน่ กำ� เนดิ มะเขือเทศมีถิน่ กำ�เนิดในพนื้ ท่ภี ูเขาหินซ่งึ ขาดธาตอุ าหาร มะเขอื มว่ งมาจากผนื ปา่ อนั อุดมสมบรู ณ์ ถน่ิ กำ�เนดิ ของมะเขอื เทศอยแู่ ถบทร่ี าบสงู บรเิ วณเทอื กเขาแอนดสี ในทวปี อเมรกิ าใต ้ เปน็ พน้ื ทฝ่ี นตก นอ้ ยและแหง้ แลง้  ขาดความอดุ มสมบรู ณ ์ มแี สงแดดรอ้ นระอสุ าดสอ่ งลงมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งราวกบั ถนนสแี ดง มะเขือเทศสายพันธ์ุดั้งเดิมจะขยายพันธุ์โดยแผ่กิ่งก้านเล้ือยไปตามพื้นท่ีที่เต็มไปด้วยกรวดหิน ขรุขระ เนื่องจากมะเขือเทศมีรากตื้น  ดังน้ัน ช่วงกลางคืนท่ีอุณหภูมิลดตำ่ �ลง ขนเล็กๆ ที่ข้ึนตามใบและ กา้ นจะพยายามดกั จบั นำ้ �ค้างตอนกลางคืนมาประทงั ชีวิต มะเขือเทศขยายพันธุ์ภายใต้สภาวะแวดล้อมท่ีลำ�บากเช่นน้ี จึงต้องกำ�จัดพืชชนิดอ่ืนเพื่อให้ เจรญิ เตบิ โตได ้ การปลอ่ ยสารพษิ รนุ แรงเพอ่ื ทำ�ลายพชื อน่ื  (allelopathy) เปน็ คณุ สมบตั เิ ฉพาะของมะเขอื เทศ การที่มะเขือเทศดำ�เนินชีวิตอย่างโดดเด่ียวท่ามกลางสภาพแวดล้อมท่ีแร้นแค้นจึงมีภาพลักษณ์ของ “คนรกั สันโดษ” แต่ถ้ามองอีกมมุ หนึ่งอาจเปน็ นสิ ยั ไมช่ อบคบคา้ สมาคมกบั พืชอ่นื ในทางตรงข้าม มะเขือม่วงมีพ้ืนเพมาจากบริเวณเอเชียใต้ที่ท้ังอุณหภูมิและความช้ืนสูง สายพันธ์ุ ด้ังเดิมข้ึนเองตามธรรมชาติในผืนป่าแถบตะวันออกของอินเดียปัจจุบัน ซึ่งเป็นพื้นท่ีโล่งเป็นช่วงๆ มี แสงสว่างส่องถึง และมีทางออกสู่แหล่งน้ำ�หรือริมลำ�ธาร  เมล็ดของมันจะตกลงบนพ้ืนดินทรายร่วนซุย จากใบไม้ทรี่ ่วงหล่นทบั ถม รากหย่งั ลกึ ลงไปเพอ่ื เสาะหาแหล่งนำ้ �ใต้ดิน ด้วยอุณหภูมิท่ีอบอุ่นพร้อมนำ้ �และธาตุอาหารที่อุดมสมบูรณ์ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมมีพันธุ์พืช อาศยั อยมู่ ากมาย มะเขอื มว่ งจงึ อยรู่ ว่ มกบั พชื ชนดิ อน่ื ไดห้ ลากหลาย  อาจพดู ไดว้ า่ มะเขอื มว่ งมภี าพลกั ษณ์ ของ \"คนชอบเข้าสงั คม\" ท่ีใช้ชวี ิตอยา่ งร่ืนเริงสนกุ สนาน แมจ้ ะเปน็ พชื ในวงศ์มะเขอื เหมือนกัน แตต่ น้ กำ�เนิดและการใช้ชีวติ ช่างแตกตา่ งกนั เสียจริงๆ 10

 มะเขอื เทศ ถ่นิ ก�ำเนดิ : ทร่ี าบสูงบริเวณเทือกเขาแอนดสี การเขา้ มาและ แพร่ขยายสญู่ ี่ปนุ่ ในทวีปอเมริกาใต้ มะเขือเทศเดินทางจากเทือกเขา มะเขือเทศเป็นพืชอายุหลายปี กำ�เนิดในบริเวณที่ แอนดีส ข้ามทวีปยุโรป มายังเมือง แห้งแล้งและมีแดดจัด  ลำ�ต้นเล้ือยไปตามโขดหิน มีก่ิงและ นางาซากิ ประเทศญ่ีปุ่นช่วงศตวรรษท่ี  รากพเิ ศษแตกออกมาโดยตลอดและทอดยาวไม่หยุด 17  ต้ังแต่อดีตจนถึงสมัยเอโดะยังนิยม ปลูกมะเขือเทศเพ่ือความสวยงามเป็น  มะเขือมว่ ง ถนิ่ กำ� เนดิ : ผนื ป่าทางตะวนั ออกของอินเดีย หลัก  มะเขือเทศพันธ์ุที่ปลูกสำ�หรับนำ� มากินสดเพ่ิงเร่ิมปลูกกันเมื่อสมัยโชวะ  ถิ่นกำ�เนิดด้ังเดิมของมะเขือม่วงคือผืนป่าดิบชื้น  ถ้าจำ�กัดการให้น้ำ�จะได้ผลมะเขือเทศ มักเกิดบริเวณริมลำ�ธาร เป็นพืชอายุหลายปี  ในบริเวณ คุณภาพสูง เกษตรกรส่วนใหญ่จึงนิยม ถ่ินกำ�เนิดน้ันอาจพบต้นท่ีมคี วามสงู ถึง 3 เมตร เพาะปลูกกันในพ้ืนท่ีปิดล้อม เช่น เรือน กระจก  ส่วนมะเขือม่วงเดินทางจากเอเชีย ให้เข้าสู่เอเชียตะวันออกและแพร่ไปยัง ประเทศญ่ีปุ่น โดยพบว่าในสมัยนะระมี การเพาะปลูกมะเขือม่วงกันอยู่แล้ว แต่ ขยายไปยังพ้ืนที่ต่างๆ ท่ัวญ่ีปุ่นในสมัย เอโดะ ด้วยความท่ีปลูกง่าย เข้ากับ วัฒนธรรมการกินของพื้นท่ีต่างๆ ได้ จึง มี พั น ธ์ุ พื้ น เ มื อ ง เ กิ ด ข้ึ น จำ� น ว น ม า ก  มะเขือม่วงชอบน้ำ�และธาตุอาหาร ผลท่ี มีรสชาติอร่อยจึงมักงอกงามในบริเวณ ริมแม่น้ำ�ท่ีอุดมสมบูรณ์  พันธุ์ที่มีช่ือ เสียงคือ พันธ์ุเซ็นชูซุยของโอซากาและ พันธ์ุคะโมะของเกียวโต  พ้ืนท่ีอบอุ่น ทางตะวันตกเฉียงใต้ (เมืองเซ็นนัง) มี ระยะเวลาเพาะปลูกยาวนานจึงได้ผลท่ี มีรูปร่างยาวหรือขนาดใหญ่ ขณะที่ทาง ตอนเหนือมีแนวโน้มจะได้ผลผลิตเป็น ผลกลมหรือขนาดเล็ก 11

เคล็ดลบั การปลูกมะเขือเทศ 2 ท�ำไมตอ้ งปลกู ตน้ เดีย่ ว 1 ระบายน้�ำให้ดีและจำ� กดั สำ�หรับมะเขือเทศ ญ่ปี ่นุ มีแสงแดด การใสป่ ยุ๋ ไม่เพียงพอเม่ือเทียบกับถิ่นกำ�เนิดของ มัน  ในอดีตมะเขือเทศเป็นพืชไม้เลื้อย เนื่องจากถิ่นกำ�เนิดของมะเขือเทศ ท่ีแผ่กิ่งก้านไปตามพ้ืนดิน แต่ปัจจุบัน เป็นพ้ืนท่ีแห้งแล้งและขาดธาตุอาหาร  มะเขือเทศที่ปลูกในสวนเจริญเติบโตขึ้น การเพาะปลูกในพ้ืนที่ซึ่งเป็นดินทรายที่มี ด้านบน เป็นหลักฐานสำ�คัญท่ีแสดงให้ ธาตุอาหารน้อยและระบายน้ำ�ได้ดีจึง เห็นว่ามันพยายามแสวงหาแสงแดด  เหมาะสมที่สุด  ถ้าแปลงเพาะปลูกของ ดั ง น้ั น  ค ว ร พ ย า ย า ม ป ลู ก ใ น พื้ น ที่ ซึ่ ง คุณเป็นดินทราย ไม่จำ�เป็นต้องใส่ใจทำ� แสงแดดส่องถึงได้ดี อะไรกบั มนั  มะเขอื เทศกเ็ จรญิ เติบโตได้ดี วิ ธี ปั ก ชำ� ก่ิ ง ที่ แ ต กใ ห ม่ เ พี ย ง สำ�หรับพื้นท่ีที่เป็นดินทรายปน ก่ิงเดียวเป็นวิธีเพาะปลูกปกติท่ัวไป ซึ่ง ดินร่วนท่ีมีลักษณะเหนียวเล็กน้อย ก่อน ทำ�ให้ใบได้รับแสงแดดเพียงพอ ไม่ว่า เร่ิมปลูกเพียงไถพรวน มะเขือเทศก็เจริญ จะปลูกชิดกันแค่ไหน แถมอากาศถ่ายเท เติบโตได้โดยไม่มีปัญหา  ไม่ว่าใช้ดิน ได้ดีช่วยลดความช้ืนในอากาศ สภาพ ช นิ ด ใ ด ก็ ไ ม่ จำ� เ ป็ น ต้ อ ง ใ ส่ ปุ๋ ย ร อ ง พื้ น  แวดล้อมเช่นนี้เหมาะกับมะเขือเทศซึ่ง ควรทำ�แปลงแนวราบ ชอบความแหง้ แลง้   สำ� ห รั บ แ ป ล ง ท่ี เ ป็ น ดิ น เ ห นี ย ว อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นมีฝนตกชุก จำ�เป็นต้องปรับพื้นที่ก่อน โดยทำ�คันดิน ในหน้าร้อนจึงไม่เหมาะกับมะเขือเทศ  สูงประมาณ 20 เซนติเมตรเพื่อให้การ การปลูกมะเขือเทศให้มีคุณภาพดีต้อง ระบายนำ้ �ดีข้ึน  ให้ขุดดินในจุดที่จะตั้ง เลยี่ งฝน แปลงลึกลงไปประมาณ 30 เซนติเมตร  แล้วใส่ใบไม้แห้งหรือหญ้าแห้งลงไปก่อน ย่ำ�อัดให้แน่น จะช่วยเรื่องการระบายนำ้ �  ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งใส่ปุ๋ยรองพ้นื 12

3 ปลูกเดย่ี วเพ่อื ให้กง่ิ กา้ น การควบคุมปรมิ าณนำ้ �และธาตอุ าหาร แผข่ ยายได้ ความสูงของแปลงเพาะปลูก: แปลงที่ การปลูกแบบต้นเด่ียวขอให้ปลูก ชิดกันเพราะเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ  เป็นดินทรายหรือดินทรายปนดินร่วนให้ ทำ� ใ ห้ เ ก็ บ ผ ล ผ ลิ ต จำ� น ว น ม า ก ไ ด้ ใ น ทำ�แปลงปลูกแบบราบ  ถ้าเป็นดินเหนียว  ร ะ ย ะ ส้ั น  แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ กำ� ห น ด ร ะ ย ะ ห่ า ง ให้เตรียมแปลงเพาะปลูกสูงประมาณ  ระหว่างต้นว่าจะต้องเป็นเท่าไร จะปลูก 20 เซนตเิ มตร ห่างกัน 1 เมตร หรือถ้าจะทำ�แบบสุดโต่ง  ปลูกมะเขือเทศต้นเดียวไว้กลางสวนก็ได้  ปุ๋ยรองพื้น: ไม่ต้องการปุ๋ยรองพ้ืน เม่ือ จากน้ันปล่อยให้เติบโตโดยไม่ต้องดูแล  รากจะแผ่ขยายและก่ิงก้านจะแตกออกไป ทำ�ความสะอาดแปลงเพาะปลูกที่มีการ ทวั่ สวน  ใช้งานมาก่อนหน้าน้ีแล้ว ให้พรวนดิน เตรียมแปลงไว้ ที่ผ่านมามะเขือเทศเป็นพืชท่ีเล้ือย ไปตามพื้นดินไม่มีท่ีสิ้นสุด  การปลูกแบบ ปุ๋ยเสริม: ไม่จำ�เป็น ปลูกให้ห่างกันไว้  แนวตั้ง ถ้าปลูกโดยเว้นระยะห่างระหว่าง ต้นไว้กว้างสักหน่อยเพื่อให้ก่ิงก้านได้ รากจะแผ่ขยายและเก็บเก่ียวผลผลิตได้ แ ผ่ ข ย า ย  ทำ� ใ ห้ เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต ไ ด้ ตอ่ เน่อื ง อยา่ งต่อเน่ือง พืชพันธมติ ร ผมขอแนะนำ�วิธีปลูกแบบใหม่ ท่จี ะช่วยให้ก่งิ ก้านของมะเขือเทศแผ่ขยาย มะเขือเทศจอมทำ�ลายลา้ ง ได้อย่างรวดเร็วไว้ในหน้า 14 นั่นคือ การ ปลูกกับโครงท่ดี ัดโค้งหรืออุโมงค์พลาสติก พืชที่ปลูกร่วมกันได้น่าจะมีเพียง เพื่อกันฝน ซ่ึงจะช่วยให้คุณได้ช่ืนชม กุยช่ายกับโหระพาเท่าน้ัน  การปลูก ผลผลติ ทม่ี คี ุณภาพ รสชาติอร่อย กุยช่ายร่วมกับต้นกล้าของมะเขือเทศ ช่ ว ย ป้ อ ง กั น โ ร ค พื ช ท่ี ม า กั บ ดิ น ไ ด้   มะเขือเทศจะปล่อยสารทำ�ลายต้นไม้ รอบข้างรุนแรง จึงอาจปลูกพืชหัว หรือพืชในวงศ์ผักกาดท่ีทนทานต่อ สารนน้ั ได ้ เชน่  ถว่ั ลนั เตา หอมหวั ใหญ ่ ถ่ัวปากอ้า กะหล่ำ�ปลี บร็อกโคลี แต่ ถ้าปลูกผกั กาดขาวปล ี มนั จะไม่เจริญ เตบิ โต 13

ไอเดยี ปลกู มะเขอื เทศ ช่วงเวลาเพาะปลกู : น�ำต้นกลา้ ลงปลกู ตน้ เดือนพฤษภาคม ใชพ้ นื้ ทนี่ อ้ ยแต่ใหผ้ ลผลิตยง่ั ยนื ปลกู กบั โครงที่ดดั โค้ง ดดั กง่ิ และพนั มว้ น การปลูกกับโครงท่ีดัดโค้งเป็นการปลูก วิธีหนึ่งที่ใช้จำ�นวนต้นน้อย โดยรากจะงอก ยาวและก่ิงก้านแตกออกไป ทำ�ให้ทยอยเก็บ ผลมะเขือเทศได้อย่างย่ังยืน  แม้ต้องใส่ใจดูแล สั ก ห น่ อ ย  แ ต่ จ ะ เ ก็ บ เ ก่ี ย ว ม ะ เ ขื อ เ ท ศ ที่ มี รสชาตดิ ไี ดจ้ นถงึ ชว่ งฤดูฝนเลยทีเดียว 14

Point 1 อันดับแรก เน่ืองจากมะเขือเทศมีราก ต้ืน เราจึงต้องเตรียมแปลงเพาะปลูกแบบราบ  เวลาโนม้ กิ่งใหบ้ ิดไปดว้ ย จากน้ันตั้งโครงดัดโค้ง แล้วโน้มกิ่งมะเขือเทศ พนั ม้วนไปตามแนวโครง   ตอนโนม้ กิ่งให้เอาน้วิ บิดแรงๆ ประเด็นสำ�คัญคือเวลาโน้มก่ิงให้เอาน้ิว จะช่วยใหง้ อก่งิ ได้ง่ายขนึ้ ระวงั อยา่ ใหห้ ักเป๊าะ บี้แรงๆ และบิดที่ด้านนอกของจุดท่ีงอเพื่อ ดัดกิ่ง  การทำ�เช่นน้ีช่วยให้ดัดกิ่งได้ง่ายข้ึน  เพราะจะทำ�ให้ “ท่อลำ�เลียงอาหาร” ซ่ึงอยู่ ภายในแตก ส่งผลให้นำ้ �ตาลที่ได้จากการ สังเคราะห์ด้วยแสงของใบหยุดอยู่ตรงจุดน้ัน  แล้วถูกส่งไปเล้ียงส่วนผลได้ดีข้ึน  การดัดก่ิง จะไม่ทำ�ให้ท่อลำ�เลียงนำ้ � (ทางเดินของนำ้ �ที่ รากดูดซึมข้ึนมา ซ่ึงอยู่ลึกเข้าไปด้านในของ ท่อลำ�เลียงอาหารอีกที) แตกไปด้วย จะบิด แรงสกั หนอ่ ยก็ไม่เปน็ ไร เมื่อใบโดนฝนจะดูดซึมนำ้ � อาจทำ�ให้ ตัวผลฉำ่ �น้ำ�มากเกินไป เพื่อป้องกันปัญหาน้ี ให้คลุมหลังคากันฝนหรือเพาะปลูกในเรือน เพาะชำ�ทีม่ ีหลังคาจะดกี ว่า Point 3 Point 2 ใชแ้ ปลงเพาะปลูกแบบราบทีร่ ะบายน�้ำได้ดี ปลกู ใต้หลงั คาเพอื่ ปอ้ งกนั ฝน เพอื่ ใหร้ ากแผ่ขยายได้กว้าง และใช้ การคลุมหลังคากนั ฝนชว่ ยควบคมุ ปรมิ าณน้ำ� พลาสตกิ หรือฟางคลมุ ดนิ เพ่อื ปกป้องราก ทำ�ใหไ้ ด้ผลผลติ ทม่ี รี สชาติหวาน  แนะนำ�ให้ปลูก ในเรือนเพาะชำ�ทมี่ ีหลังคา 15

เคล็ดลับการปลกู มะเขอื ม่วง 2 ท�ำไมต้องตดั แต่งกง่ิ ใน ฤดูร้อน 1 ตอ้ งเก็บกกั น�้ำให้ดี และใส่ปุ๋ยเพยี งพอ แม้ว่ามะเขือม่วงจะชอบแสงแดด  แต่ต้องการแดดเพียงร้อยละ 60 ของ หากวิเคราะห์จากสภาพถ่นิ กำ�เนิด  มะเขอื เทศ เนอ่ื งจากมะเขอื มว่ งมถี น่ิ กำ�เนดิ เราก็จะรู้ได้ว่ามะเขือม่วงต้องการนำ้ �และ ในเขตป่าจงึ เติบโตในบรเิ วณท่ีมรี ่มเงาไดด้  ี ธาตอุ าหารมาก  ดงั นน้ั  ตอ้ งโรยปยุ๋ รองพน้ื การโดนแดดจัดอาจทำ�ให้ใบไหม้และเฉา ให้กระจายท่ัวแปลงปลูก โดยมีอัตราส่วน ตายได้ ของกากพืชนำ้ �มันประมาณ 300 กรัม  (สำ�หรับพ้ืนที่ท่ีเป็นดินเหนียว) ถึง 500  วิธีปลูกโดยท่ัวไปคือการปักชำ�  กรัม (สำ�หรับพื้นท่ีท่ีเป็นดินทราย) ต่อ 3 กิ่งโดยเว้นระยะห่างระหว่างต้นไว้กว้าง พื้นที่ 1 ตารางเมตร  รากมะเขือม่วงจะ สักหน่อย  แม้ว่าเป็นวิธีท่ีดูแลง่ายและติด ยาวลึกลงไปมาก จึงควรเตรียมแปลงสูง ผลดก แตเ่ มอ่ื รากเรม่ิ แก ่ ไมว่ า่ จะพยายาม ประมาณ 20 เซนตเิ มตร ดูแลอย่างไรก็ติดผลไม่ดี  การปกั ชำ� 3 กง่ิ จะทำ�ให้ก่ิงแตกออกไปด้านข้าง ส่งผลให้ สำ�หรับสวนที่เป็นดินทรายต้อง รากแผ่ขยายออกด้านข้างไปด้วย  ดังน้ัน  ปรับปรุงดินให้เก็บกักน้ำ�ได้ดีขึ้น  ดังนั้น  การตัดกิ่งให้ส้ันควบคู่กับการใช้ช้อนปลูก ก่อนลงมือปลูกไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์  สับรากออกจะช่วยคืนความอ่อนเยาว์แก่ ให้ใส่ปุ๋ยคอกท่ีหมักระยะปานกลาง (อาจ ต้นมะเขือม่วงให้พร้อมเก็บเก่ียวผลผลิต เป็นปุ๋ยมูลวัวหนืดๆ หน่อยก็ได้) น้ำ�หนัก ในฤดูฝน ประมาณ 2 กิโลกรัมต่อพ้ืนที่ 1 ตาราง- เมตร ใส่ลงไปผสมกับดินลึกประมาณ  3 ปลูกชิดกันเพราะต้องการ 15 เซนตเิ มตร ให้รากขยายลงแนวดง่ิ สำ�หรับสวนท่ีเป็นดินร่วนอยู่แล้ว  ถ้าพิจารณาวิธีเจริญเติบโตในถิ่น เพียงแค่พรวนดินให้เป็นก้อนหยาบๆ ก็ กำ�เนิดแล้ว จะเห็นว่ามะเขือม่วงต้องการ ใช้ได้  ดินท่ีมีความเหนียวและอุ้มนำ้ �ดี ทั้งน้ำ�และธาตุอาหารจำ�นวนมากจึงหยั่ง เหมาะแก่การปลูกมะเขือม่วงมากท่ีสุด  รากลึก ในสวนก็เช่นกัน การท่ีรากของ และควรใสใ่ บไมแ้ หง้ หรอื ปยุ๋ หมกั เปลอื กไม้ มะเขือม่วงแทงลึกลงไปในดินจะช่วยให้ ลงไปในดินลึกประมาณ 30 เซนติเมตร  มนั เติบโตอย่างแขง็ แรง เพื่อช่วยเรอ่ื งการระบายน้ำ� 16

การทำ�ให้มะเขือม่วงแทงรากลง ปุ๋ยเสริม: เมื่อเริ่มเก็บผลผลิตได้ ให้โรย ในแนวด่ิงโดยไม่แผ่ออกไปด้านข้าง จะ ต้องเตรียมแปลงให้สูงและปลูกให้ต้น กากพืชน้ำ�มันเพ่ิม โดยกระจายรอบๆ ต้น  ชิดกัน ทั้งต้องหมั่นพรวนดินเพ่ือให้ใบ 1 ครั้งตอ่  1-2 สัปดาห์ ที่ร่วงลงมาฝังลึกลงไปใต้ดินด้วย  ควร กลบฝังใบที่ร่วงจนแห้งให้ลึกประมาณ  พืชพนั ธมิตร 30 เซนติเมตร ส่วนที่อยู่เหนือดินก็ต้อง พยายามโน้มกิ่งให้ตั้งตรง ไม่ปล่อยให้ มะเขือม่วงชอบมีเพ่อื นเยอะ ขยายออกด้านข้าง  ถ้ารากหย่ังลึกลงดิน แบบนแี้ ลว้  กจ็ ะดดู ซึมนำ้ �ไดเ้ พยี งพอ  มะเขือม่วงเป็นพืชท่ีกำ�เนิดและ เจริญเติบโตท่ามกลางต้นไม้อ่ืนอยู่ นอกจากน ้ี เพอ่ื ใหเ้ กบ็ เกย่ี วผลผลติ แล้ว จึงไม่ต้องเลือกพืชที่จะมาปลูก ได้อย่างต่อเนื่อง ผมได้แนะนำ� \"วิธีปลูก ด้วยกัน  ถ้าปลูกต้นหอมกับต้นกล้า แนวต้ังเป็นรูปตัว V บนแปลงยกสูง\" โดย ของมะเขือม่วงจะช่วยป้องกันโรค ไม่จำ�เปน็ ต้องตัดแต่งก่ิงไว้ในหน้า 18 จากเชื้อราท่ีมากับดินได้  นอกจากนี้  หากจะรอเก็บผลผลิตจนช่วงสุดท้าย  การควบคมุ ปริมาณน้ำ�และธาตุอาหาร ประมาณปลายฤดูฝน  อาจปลูกขิง  พาร์สลีย์ หรือผักชนิดอ่ืนระหว่างต้น ความสูงของแปลงเพาะปลูก: เตรียม มะเขือม่วงได้ด้วย โดยการปลูกพืช รอบที่ 2 มีข้อจำ�กัดด้านเวลา ถ้าเป็น แปลงสูงประมาณ 20 เซนติเมตร แต่ถ้า ไปได้แนะนำ�ให้ปลูกพวกถั่วลันเตา เป็นดินเหนียวให้ยกแปลงข้ึนสูงกว่า  กับถั่วปากอ้าแทน 20 เซนติเมตรเพื่อใหร้ ะบายน้ำ�ดีขึ้น ปุ๋ยรองพื้น: ถ้าเป็นดินร่วนให้เติมกาก พืชนำ้ �มันประมาณ 400 กรัมต่อพ้ืนท่ี  1 ตารางเมตร  ถ้าเป็นดินทรายให้ใส่เพ่ิม อีกประมาณรอ้ ยละ 20  ถา้ เป็นดินเหนียว ให้ลดลงรอ้ ยละ 20 17

ไอเดียปลูกมะเขอื มว่ ง ➀ ช่วงเวลาเพาะปลกู : นำ� ตน้ กลา้ ลงปลกู ต้นเดอื นพฤษภาคม ให้ก่งิ แขนงติดผลกง่ิ ละ 1 ผล เพื่อให้เก็บเก่ยี วผลผลิตได้ตอ่ เนื่อง ปลูกแนวตง้ั เป็นรปู ตวั V บนแปลงยกสงู ปักชำ�  2 ต้น ปล่อยใหก้ ิ่งแขนงตดิ ผลเพียงกิ่งละ 1 ผล แม้ว่ามะเขือม่วงจะมีรากด่ิงลึกลงไปใต้ดิน แต่หากปักชำ� 3 ต้น ส่วนที่อยู่เหนือดินก็จะแผ่ ขยายออกไปด้านข้างส่งผลให้รากต้ืนอยู่ดี จึงขอแนะนำ�ให้ต้ังเสาคำ้ � 2 ต้นเป็นมุมแหลมรูปตัว V โดยมีระยะหา่ งประมาณ 50 เซนติเมตร ไม่ว่าดินจะมีคุณสมบัติอย่างไร ให้ยกแปลงเพาะปลูกสูงขึ้นและใส่ปุ๋ยรองพื้นด้วย  ส่ิง สำ�คญั ทต่ี อ้ งคำ�นงึ ถงึ คอื การกลบฝงั ใบไมแ้ หง้ ลกึ ลงไปในดนิ ซง่ึ ชว่ ยใหร้ ากแทงลกึ   จากนน้ั นำ�กง่ิ หลกั   2 ก่ิงพันไปตามแนวเสาคำ้ �ท่ีต้ังไว้  เมื่อกิ่งเติบโตไปจนถึงปลายเสาคำ้ �ให้ตัดแต่งกิ่ง แล้วปล่อยให้ ตดิ ผลเพยี ง 1 ผลตอ่  1 กง่ิ แขนงเทา่ นน้ั เพอ่ื ใหเ้ กบ็ เกย่ี วไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (ดภู าพดา้ นลา่ งประกอบ) เม่ือเริ่มเก็บเกี่ยวได้แล้วต้องให้ปุ๋ยเสริม โดยโรยกากพืชนำ้ �มันหรือวางเป็นก้อนขนาด ประมาณคร่ึงหนึ่งของข้าวป้ัน วางเป็นจุดๆ ห่างจากโคนต้นประมาณ 30 เซนติเมตร 1-2 สัปดาห์ ต่อครงั้ เพ่ือให้รากดูดสารอาหารและนำ้ �ได้เพียงพอ ควรรดนำ้ �เยอะๆ รอบต้นในรัศมีประมาณ  30 เซนตเิ มตร และรดอยา่ งสมำ่ �เสมอ  หากตดิ ผลเพยี ง 1 ผลตอ่  1 กง่ิ แขนงไดต้ ลอด กง่ิ จะแขง็ แรง ให้ผลผลิตอยา่ งต่อเน่อื ง ใบแตกใหม่ 1 ก่ิงต่อ 1 ผล ชว่ ยให้เก็บเกีย่ วไดต้ ่อเนื่อง กงิ่ หลัก 1 ก่ิงหลกั ทัง้ 2 กงิ่ จะมีก่งิ แขนงแตกออกมาเรอ่ื ย ๆ เมอ่ื ดอกบานแล้วให้ตรวจสอบจำ�นวนใบ ทอี่ ยดู่ ้านบนของดอก จากน้นั ตัดใบด้านบนทง้ิ จนเหลอื เพียง 2 ใบโดยใหเ้ กบ็ ใบใต้ดอกไว้ ปล่อยให้ใบท่ี กิง่ แขนง แตกใหม่เจรญิ เติบโต หลังจากดอกกลายเปน็ ผลและโตจนไดข้ นาดพอเหมาะแลว้ ใหต้ ดั พร้อมกบั ก่ิง จากนนั้ กง่ิ แตกใหม่ 2 ที่เหลือจะเจริญเตบิ โตและติดดอกตอ่ ไป ขอใหเ้ ก็บผลเหมือนเดมิ การทำ�แบบน้ตี อ่ ไปเรื่อย ๆ นอกจากจะทำ�ให้ก่งิ ตดิ ผลเพยี งกิง่ แขนงละ 1 ผลและช่วยใหก้ ง่ิ ไมเ่ หนอ่ื ยลา้ แล้ว ยงั เกบ็ เกย่ี วไดต้ ่อเน่ือง 18

Point 2 Point 1 การเก็บผลตดิ ก่งิ แขนงนั้น ปักชำ�เป็นรูปตวั V ให้ตัดพรอ้ มกง่ิ เมื่อกงิ่ ยาวจนถึงปลายก่งิ ให้ตดั ปลายก่งิ ออก เพราะจะชว่ ยให้ ต้งั โครงสูงประมาณ ยอดทีแ่ ตกออกมา 180 เซนตเิ มตร แตใ่ ห้ ดา้ นล่างเจริญเติบโตข้ึน ตดั ปลายกง่ิ เพอ่ื หยดุ การ จนติดผลใหเ้ ก็บเกีย่ ว เติบโตเม่ือลำ�ต้นสงู ถึง ตอ่ ไป  การทำ�ซำ้ �เชน่ นี้ จดุ ทยี่ ่นื มือเกบ็ ถึง ไปเร่อื ยๆ จะทำ�ให้ได้ ผลผลิตท่ียง่ั ยืน Point 4 Point 3 ยกแปลงสูง 30-40 เซนติเมตร และฝังใบท่ีรว่ งให้ลกึ ปลกู แถวเดยี วใหต้ ้นหา่ งกันประมาณ 50 เซนติเมตร เพอ่ื ใหร้ ากแทงลึกลงไปใตด้ นิ ใหฝ้ ังใบที่รว่ ง ประเด็นสำ�คัญคือปลูกใหช้ ิดกนั พอสมควร จากต้นลกึ ประมาณ 30 เซนติเมตร โดยไม่ตอ้ งใชพ้ ลาสตกิ คลมุ ดนิ เพ่อื ใหร้ ากหยัง่ ลึก 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook