Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by เบญจพร สมน้อย, 2021-02-16 05:37:44

Description: บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

ความรู้พื้นฐานเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความหมายของของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง อปุ กรณ์ชนดิ หนึง่ ท่ที างานดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สามารถจา ขอ้ มูลและคาส่ังได้ ทาให้สามารถทางานไปไดโ้ ดยอัตโนมตั ิดว้ ยอัตราความเร็วทีส่ งู มาก ใช้ ประโยชนใ์ นการคานวณหรือการทางานตา่ งๆได้เกอื บทกุ ชนิด คอมพิวเตอร์เปน็ เครื่องมือท่ชี ่วย ในการคานวณและประมวลผลข้อมูล ซึง่ ประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิ 3 ประการ คือ ความเรว็ (Speed) เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ างานด้วยความเรว็ สูงมาก หน่วยความเร็วของการทางานของคอมพิวเตอร์วดั เปน็ - มิลลเิ ซกัน (Millisacond) ซ่ึงเทยี บความเรว็ เทา่ กบั 1/1,000 วินาที - ไมโครเซกนั (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000 วนิ าที - นาโนเซกนั (Nanosacond) ซงึ่ เทียบความเร็วเท่ากบั 1/1,000,000,000 วนิ าที - มิลลเิ ซกนั (Millisacond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000 วินาที - ไมโครเซกนั (Microsecond) ซึง่ เทียบความเรว็ เทา่ กับ 1/1,000,000 วินาที - นาโนเซกัน (Nanosacond) ซง่ึ เทียบความเร็วเทา่ กบั 1/1,000,000,000 วนิ าที หน่วยความจา (Memory) เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ประกอบไปดว้ ยหนว่ ยความจา สามารถใช้บนั ทึกและเก็บข้อมลู ได้ คราวละมากๆ สามารถเก็บคาส่งั ต่อๆ กันที่เราเรียกวา่ โปรแกรม และนามาประมวลในคราวเดยี วกนั ซ่งึ เป็นปัจจัยทาให้ คอมพวิ เตอรส์ ามารถทางานเกบ็ ข้อมูลได้คราวละมากๆ และสามารถประมวลผล ได้เร็วและถูกตอ้ ง

ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical) เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยหน่วยคานวณและตรรกะ นอกจากจะมี ความสามารถในการคานวณแลว้ ยงั มีความสามารถในการเปรียบเทียบ ความสามารถนี้เองท่ีทาใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ ตา่ งกบั เคร่ืองคิดเลข และคุณสมบตั นิ ้ีที่ทาให้นักคอมพวิ เตอรส์ ร้างโปรแกรมอัตโนมตั ิขน้ึ ใช้อย่างกวา้ งขวาง คอมพิวเตอร์ ยังมคี วามแมน่ ยาในการคานวณ มคี วามเที่ยงตรงแม้จะทางานเหมอื นเดมิ ซ้ากนั หลายรอบ และสามารถติดต่อส่ือสารกับ คอมพวิ เตอร์เครอ่ื งอื่น ๆ อีกด้วย ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ การใชป้ ระโยชนจ์ ากคอมพวิ เตอร์กระจายไปอย่ใู นทกุ วงการ - ดา้ นธุรกจิ ได้แก่การนาคอมพิวเตอรม์ าประมวลงานด้านธุรกิจ - ด้านการธนาคาร ปัจจุบันทุกธนาคารจะนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้งานในองคก์ รของตนเพ่อื ให้บรกิ ารลูกคา้ - ดา้ นตลาดหลักทรพั ย์ ตลาดหลักทรพั ยเ์ ป็นศูนย์กลางการซ้ือขายหลักทรพั ย์ จะมีขอ้ มูลจานวนมากและต้องการ ความรวดเรว็ ในการปฏบิ ัติงาน - ธรุ กจิ โรงแรม ระบบคอมพวิ เตอรส์ ามารถใชใ้ นการบรหิ ารโรงแรม การจองหอ้ งพกั การติดตั้งระบบ Online ตามแผนกต่างๆ - การแพทย์ มีการนาระบบคอมพิวเตอรม์ าใช้อยา่ งกวา้ งขวาง เชน่ ทะเบียนประวตั คิ นไข้,ระบบข้อมลู การให้ ภูมิคุ้มกันโรค,สถติ ิด้านการแพทย์,ด้านการบัญชี - วงการศกึ ษา การนาคอมพวิ เตอรม์ าใช้กับสถาบันการศกึ ษาจะมี ระบบงานที่เกี่ยวกับ การเรียนการสอน การวจิ ยั

การบริหาร - ด้านอุตสาหกรรมทัว่ ไป - ดา้ นธรุ กจิ สายการบิน สายการบนิ ตา่ งๆท่ัวโลกได้นาเอาคอมพิวเตอรม์ าใชง้ านอยา่ งแพรห่ ลายโดยเฉพาะงาน การสารองทนี่ ั่งและเทย่ี วบิน - ดา้ นการบนั เทิง เชน่ วงการภาพยนตร์ การดนตรี เตน้ ราความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาจากคาภาษาอังกฤษวา่ Information Technology และมผี ูน้ ิยมเรียกทับ ศัพทย์ ่อวา่ IT สชุ าดา กีระนันท์ (2541) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถงึ เทคโนโลยที กุ ด้านท่เี ขา้ ร่วมกนั ในกระบวนการจัดเก็บสรา้ ง และสื่อสารสนเทศ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2539) กลา่ ววา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยเทคโนโลยีท่ีสาคัญสองสาขาคือ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม โดยทวั่ ไปแลว้ เทคโนโลยีสารสนเทศจะครอบคลุมถึงเทคโนโลยีตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับการบันทึก จัดเก็บ ประมวลผลสืบค้น สง่ และรบั ขอ้ มูลในรูปของส่อื อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงรวมถึงเครือ่ งมือและอุปกรณต์ ่างๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ อุปกรณ์จัดเก็บ บันทึกและคน้ คืน เครือข่ายส่ือสาร ข้อมลู อปุ กรณส์ ื่อสารและโทรคมนาคม รวมทง้ั ระบบที่ควบคมุ การทางานของอปุ กรณเ์ หล่านี้ ครรชติ มาลยั วงศ์ (2541) กลา่ วว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญ ดังนี้ 1. สามารถจดั เก็บขอ้ มลู จากจุดเกิดได้อยา่ งรวดเร็ว 2. สามารถบันทึกขอ้ มูลจานวนมากๆไวใ้ ชง้ านหรือไวอ้ า้ งอิงการดาเนินงานหรือการตัดสินใจใดๆ 3. สามารถคานวณผลลัพธต์ า่ งๆได้รวดเรว็ 4. สามารถสรา้ งผลลัพธ์ได้หลากหลายรูปแบบ 5. สามารถส่งสารสนเทศ ข้อมูล หรือผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากทหี่ น่ึงไปยังอีกทหี่ นงึ่ ได้อย่างรวดเร็ว ชนิดของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจบุ ันสามารถแบง่ เปน็ ประเภทต่างๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเรว็ ในการ ประมวลผล รวมทงั้ ราคาเป็นหลกั ซ่ึงแบ่งได้เปน็ ดงั นี้ คือ 1.ซเู ปอร์คอมพวิ เตอร์ (Super Computer) เคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ นปจั จบุ ันสามารถแบ่งเป็นประเภทตา่ งๆ โดยใชค้ วามแตกตา่ งจากขนาดของเคร่ืองความเร็ว ในการประมวลผล รวมท้ังราคาเป็นหลัก ซงึ่ แบ่งไดเ้ ปน็ ดงั นี้ คือหมายถงึ คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองใหญ่ทมี่ สี มรรถนะสูง มี ความเร็วในการทางาน และประสิทธภิ าพสูงสดุ เมื่อเปรียบเทียบกบั คอมพวิ เตอร์ชนิดอ่ืนๆ มีราคาแพงมาก มีขนาด ใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ไดห้ ลายแสนลา้ นคร้งั ต่อวินาที และได้รับการออกแบบเพอ่ื ให้ใช้แก้ปญั หา ขนาดใหญ่มากได้อยา่ งรวดเรว็ เช่น การพยากรณอ์ ากาศล่วงหนา้ เปน็ เวลาหลายวนั งานควบคมุ ขีปนาวธุ งาน

ควบคมุ ทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานด้านวิทยาศาสตร์เคมี งานทาแบบจาลองโมเลกลุ ของ สารเคมี งานด้านวิศวกรรมการออกแบบ งานวเิ คราะห์โครงสร้างอาคารทีซ่ ับซ้อน ซ่งึ หากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอ่นื ๆ แกไ้ ขปญั หาประเภทน้ี อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกวา่ จะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ สามารถแกไ้ ขปญั หาได้ภายในเวลาไม่กีช่ ่ัวโมงเทา่ นั้น ซเู ปอร์คอมพวิ เตอร์จึงมีหนว่ ยความจาท่ีใหญ่มากๆ สามารถทางานหลายอยา่ งได้พร้อมๆ กนั โดยที่งานเหล่านัน้ อาจจะเป็นงานทีแ่ ตกต่างกัน อาจจะเปน็ งานใหญ่ท่ีถกู แบ่งยอ่ ยไปให้หนว่ ยประมวลผล แตล่ ะตวั ทางานก็ได้ และยงั ใชโ้ ครงสรา้ งการคานวณแบบขนานที่เรยี กวา่ เอม็ พีพี (Massively Parallel Processing : MPP) ซึ่งเปน็ การคานวณที่กระทากับข้อมูลหลายๆ ตัวหรือหลายๆ งานในเวลาเดียวกันไดพ้ รอ้ มๆ กนั เป็นจานวนมาก ทาให้มีความสามารถในการทางานแบบ มลั ติโปรเซสซิง (Multiprocessing) หรอื ความสามารถในการทางานหลายงานพร้อมๆกนั ได้ ดงั นัน้ จงึ มีผู้เรยี กอีกชื่อหน่ึงว่า คอมพิวเตอรส์ มรรถนะสูง (High Performance Computer) ความเรว็ ในการคานวณของซเู ปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วยเป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรอื เศษหน่ึง ส่วนพันลา้ นวนิ าที และ กิกะฟลอป (gigaflop) หรอื การคานวณหนง่ึ พันลา้ นคร้ังในหน่งึ วินาที ปัจจุบันประเทศไทย มี เครื่องซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ Cray YMP ใชใ้ นงานวจิ ัย อยู่ท่หี ้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสูง (HPCC) ศนู ย์ เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ ผูใ้ ชเ้ ปน็ นักวจิ ัยด้านวิศวกรรม และวทิ ยาศาสตร์ท่วั ประเทศ 2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ทมี่ สี มรรถะสูง แต่ยงั ต่ากว่าซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ มีความเร็วสูงมาก มี หนว่ ยความจาขนาดมหมึ า เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์สามารถให้บริการผู้ใชจ้ านวนหลายร้อยคน ท่ใี ช้โปรแกรมทแ่ี ตกต่างกัน นับร้อยพรอ้ มๆ กันได้ เหมาะกบั การใช้งานทัง้ ในด้านวิศวกรรม วทิ ยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับ ขอ้ มลู จานวนมากๆ

เครื่องเมนเฟรมไดร้ ับการพัฒนาให้มีหนว่ ยประมวลผลหลายหนว่ ยพรอ้ มๆ กันเชน่ เดียวกบั ซเู ปอร์คอมพิวเตอร์ แตจ่ ะมี จานวนหน่วยประมวลที่นอ้ ยกวา่ และเครื่องเมนเฟรมจะวัดความเร็วอยใู่ นหน่วยของ เมกะฟลอป(Megaflop) หรอื การคานวณหนง่ึ ลา้ นครงั้ ในหนึ่งวินาที ขอ้ เดน่ ของการใชเ้ มนเฟรมจงึ อยทู่ ีง่ านทต่ี ้องการให้มีระบบศูนยก์ ลาง และกระจายการใช้งานไปเป็นจานวนมากเชน่ ระบบเอทเี อม็ ซึ่งเช่ือมต่อกับฐาน เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผใู้ ช้เหลา่ นน้ั ไว้ในหน่วยความจาหลัก และมีการ สับเปลีย่ นหรอื สวิทช์การทางานระหว่างโปรแกรมต่างๆ เหลา่ นัน้ อย่างรวดเรว็ โดยท่ผี ้ใู ชจ้ ะไม่รสู้ กึ เลยว่าเคร่ืองเมนเฟรมท่ี ใช้ มกี ารสับเปล่ยี นการทางานไปทางานของผู้ใชค้ นอืน่ ๆ อยู่ตลอดเวลา หลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทางานหลาย โปรแกรมพร้อมๆ กนั น้นั เรียกวา่ มัลติโปรแกรม-มงิ (Multiprogramming) 3. มนิ คิ อมพวิ เตอร์ หมายถงึ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ขนาดกลาง มสี มรรถนะต่ากว่าเครื่องเมนเฟรม แตส่ ูงกวา่ เวริ ์คสเตชัน จดุ เดน่ ที่สาคัญ คอื ราคาย่อมเยากวา่ เมนเฟรม และการใช้งานใช้บคุ ลากรไมม่ ากนกั มินคิ อมพวิ เตอร์เรมิ่ พฒั นาขน้ึ ใน ค.ศ. 1960 ต่อมาบริษัท Digital Equipment Corporation หรอื DEC ได้ ประกาศตัวมนิ ิ คอมพิวเตอร์ DEC PDP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ.1965 ซงึ่ ไดร้ ับความนยิ มจาก บริษัทหรือองคก์ รที่มขี นาดกลาง เพราะมรี าคาถูกกวา่ เครื่องเมนเฟรมมากเครื่องมินิ คอมพวิ เตอรใ์ ช้หลกั การของมัลติ โปรแกรมมิงเชน่ เดียวกบั เคร่ืองเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรบั ผู้ใชไ้ ด้นบั ร้อยคนพรอ้ มๆกนั แตเ่ ครื่องมนิ ิคอมพิวเตอร์จะ ทางานได้ชา้ กว่า การควบคมุ ผ้ใู ชง้ านตา่ งๆ ทาน้อยกว่า ส่ือทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู มีความจไุ ม่สงู เทา่ เมนเฟรม

การทางานบนเครอื่ งเมนเฟรมหรอื มินคิ อมพิวเตอร์ ผ้ใู ช้จะสามารถควบคมุ การรับข้อมลู และดกู ารแสดงผลบนจอภาพได้ เทา่ น้ัน ไมส่ ามารถควบคมุ อุปกรณร์ อบข้างอ่นื ๆ ได้ แตก่ ารใชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ ชนิดที่มีผู้ใช้คนเดียวนน้ั ผใู้ ช้สามารถ ควบคมุ อุปกรณ์รอบข้างต่างๆ ไดท้ ้ังหมด ไม่ว่าจะเป็นหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วย แสดงผล ตลอดจนหน่วยเกบ็ ข้อมูลสารอง สามารถเลอื กใช้โปรแกรมได้ โดยไม่ต้องกังวลวา่ จะตอ้ งไปแยง่ เวลาการเรียกใช้ข้อมูลกับผู้ใช้อ่ืน 4. เวิร์คสเตช่ัน และไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์สาหรับผู้ใช้คนเดียว สามารถแบ่งออกเปน็ สองรนุ่ คือ เวริ ์คสเตชัน หมายถงึ คอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ ที่ ถูกออกแบบมาให้เปน็ คอมพิวเตอร์แบบตง้ั โต๊ะ สามารถทางานพรอ้ มกนั ได้หลายงาน และประมวลผลเร็วมาก มี ความสามารถในการคานวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอน่ื ๆ ที่เน้นการแสดงผลดา้ นกราฟกิ เช่น นามาช่วย ในโรงงานอุตสาหกรรมเพอื่ ออกแบบช้ินส่วน เป็นต้น ซึ่งจากการทีต่ ้องทางานกราฟกิ ท่ีมีความละเอียดสงู ทาใหเ้ วิร์คสเต ชันใช้หนว่ ยประมวลผลท่ีมีประสทิ ธภิ าพมาก รวมทงั้ มหี น่วยเกบ็ ข้อมลู สารองจานวนมากด้วย เวริ ์คสเตชนั สว่ นมากใชช้ ิป ประเภท RISC (Reduce instruction set computer) ซงึ่ เปน็ ชิปทีล่ ดจานวนคาสั่งท่สี ามารถใช้ส่ังงานให้ เหลือเฉพาะท่ีจาเปน็ เพ่อื ให้สามารถทางานได้ด้วยความเรว็ สูง ไมโครคอมพวิ เตอร์ หมายถึง คอมพวิ เตอรข์ นาดเล็ก และใช้งานคนเดียว เรยี กอีกชอื่ หนึง่ วา่ คอมพิวเตอรส์ ่วน บคุ คล (Personal Computer) จัดวา่ เป็นเครื่องคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ ทงั้ ระบบใช้งานครง้ั ละคนเดยี ว หรอื ใช้ งานในลกั ษณะเครอื ข่าย แบ่งได้หลายลกั ษณะตามขนาด เชน่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลแบบตั้งโต๊ะ (Personal Computer) หรือแบบพกพา (Portable Computer)

การทางานของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ท่มี นษุ ยส์ ร้างข้นึ เพือ่ ชว่ ยใหท้ างานได้เร็ว สะดวก และแม่นยามากข้ึน การใช้ คอมพวิ เตอร์เพอื่ ใหท้ างานอย่างไดม้ ปี ระสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเขา้ ใจ ส่วนประกอบ วธิ ีการทางานของ คอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสาคญั คือ ขัน้ ตอนที่ 1 การรบั ข้อมูลและคาสง่ั คอมพวิ เตอรร์ ับข้อมูลและคาสง่ั ผา่ นอปุ กรณน์ าเขา้ ข้อมูล คือ เมาส์ คยี ์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขนั้ ตอนท่ี 2 การประมวลผลหรอื คิดคานวณ ข้อมลู ที่คอมพวิ เตอร์รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทางานของ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคาสั่งของโปรแกรม หรอื ซอฟตแ์ วร์ การ ประมวลผลข้อมูล เช่น นาข้อมลู มาบวก ลบ คณู หาร ทาการเรียงลาดับข้อมลู นาข้อมูลมาจัดกลมุ่ นาข้อมลู มาหาผลรวม เป็นตน้ ขนั้ ตอนท่ี 3 การแสดงผลลพั ธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของข้อมลู ที่ป้อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เครอื่ งพิมพ์ (Printer) หรอื ลาโพง ข้นั ตอนที่ 4 การเกบ็ ข้อมลู คอมพิวเตอรจ์ ะทาการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไวใ้ นหนว่ ยเก็บข้อมลู เช่น ฮารด์ ดสิ ก์ แผ่นบันทึกข้อมูล (Floppy disk) ซีดีรอม เพ่ือให้สามารถนามาใชใ้ หม่ไดใ้ นอนาคต 1. จอภาพ (Monitor) อาจเรยี กทบั ศัพทว์ ่า มอนิเตอร์ (Monitor), สกรีน (Screen), ดิสเพลย์ (Display) เปน็ อปุ กรณ์ท่ี ใชแ้ สดงผลทง้ั ข้อความ ภาพน่งิ และภาพเคลือ่ นไหว จอภาพในปจั จบุ ันส่วนมากใชจ้ อแบบหลอดภาพ (CRT หรอื Cathode Ray Tube) เหมือนจอภาพของเครื่องรับโทรทัศน์ และจอแบบผลกึ เหลว (LCD หรอื Liquid Crystal Display) มีลักษณะเปน็ จอแบน

2. ตัวเคร่ือง (Computer Case) เปน็ ส่วนท่ีเก็บอปุ กรณ์หลกั ของคอมพวิ เตอร์ เชน่ CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ 3. คยี ์บอร์ด (Keyboard) หรือแป้นพมิ พ์ เปน็ อุปกรณ์ที่ใชพ้ มิ พค์ าสั่ง หรอื ป้อนข้อมลู เขา้ สู่คอมพิวเตอร์ คียบ์ อร์ดมลี ักษณะคล้าย แปน้ พมิ พ์ดดี แตจ่ ะมีป่มุ พิมพ์มากกว่า 4. เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการช้ีตาแหน่งต่างๆบนจอภาพ ซ่ึงจะเปน็ การสั่งให้คอมพวิ เตอร์ทางาน เชน่ เดียวกับ การป้อนคาสั่งทางคียบ์ อร์ด เม่ือเลื่อนเมาสไ์ ปมาจะทาให้เครอ่ื งหมายช้ตี าแหนง่ บนจอภาพ (Cusor)เลื่อนไปในทิศทาง เดียวกันกับทีเ่ ล่อื นเมาส์นน้ั

5. เคร่ืองพิมพ์ (Printer) เปน็ อุปกรณท์ ่ีใช้แสดงผลข้อมลู ออกมาทางกระดาษ เครื่องพิมพ์มหี ลายแบบ เช่น เคร่ืองพิมพ์จดุ (Dot Matrix Printer) เครอ่ื งพมิ พเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) และเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมกึ (Inkjet Printer) เปน็ ต้น 6. สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมลู โดยเอารูปภาพหรือขอ้ ความมาสแกน แล้วจัดเก็บไวเ้ ปน็ ไฟลภ์ าพ เพ่อื นาไปใช้งาน ตอ่ ไป เคร่ืองสแกนมีทง้ั ชนิด อา่ นไดเ้ ฉพาะภาพขาวดา และชนิดอ่านภาพสไี ด้ นอกจากน้ยี ังมชี นิดมอื ถือ

7. โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์ท่ที าหน้าทแ่ี ปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใ์ หส้ ามารถส่งไปตามสายโทรศพั ทไ์ ด้ และแปลงขอ้ มลู จากสายโทรศพั ท์ใหเ้ ปน็ สัญญาณทค่ี อมพิวเตอรส์ ามารถรับร้ไู ด้ ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ หมายถงึ ตัวเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณร์ อบข้างที่เก่ียวขอ้ งต่างๆ ซึง่ ประกอบดว้ ยส่วนที่ สาคญั คอื หนว่ ยประมวลผลกลาง หนว่ ยความจาหลัก หน่วยรับขอ้ มลู หน่วยแสดงผล และหนว่ ยเก็บข้อมูลสารอง 1. หนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit – CPU) หรอื อาจเรยี กวา่ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) หรือชิป (Chip) เปน็ หวั ใจของคอมพิวเตอร์ ทาหน้าทีใ่ นการคิดคานวณ ประมวลผล และ ควบคุมการทางานของอุปกรณอ์ น่ื ในระบบ ลักษณะของซพี ยี ูจะเปน็ ช้นิ ส่วนขนาดเล็กมาก ภายในประกอบดว้ ย ทรานซสิ เตอร์ประกอบกนั เป็นวงจรหลายล้านตัว ตัวอย่างเชน่ ซีพยี ูรนุ่ เพนเทียมจะมที รานซิสเตอร์เลก็ ๆจานวนมาก ถงึ 3.1 ลา้ นตัว

ซพี ียูมหี นว่ ยทใ่ี ช้ในการบอกขนาดเรียกว่า บิต (Bit) ถา้ จานวนบิตมากจะสามารถทางานไดเ้ รว็ มากความเรว็ ของซพี ียู (Speed) มหี น่วยวดั เปน็ เมกะเฮรติ ซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้าค่าตวั เลขยิ่งสูงแสดงวา่ ยง่ิ มีความเร็วมาก ปจั จบุ ันความเรว็ ของซีพยี สู ามารถทางานได้ถงึ ระดับกกิ ะเฮรติ ซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีความเรว็ ระหว่าง 2-3 GHz ในการเลือกใช้ซพี ียู ผู้จาหน่ายจะบอกไว้วา่ เครื่องรุ่นนมี้ ีความเร็วเท่าใด เชน่ Pentium IV 2.8 GHz หมายความว่า CPU รุ่นเพนเทยี ม IV มีความเร็ว 2.8 กิกะเฮริ ตซ์ องค์ประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง หนว่ ยประมวลผลกลาง \"ไมโครโปรเซสเซอร์\" (Microprocessor) ประกอบดว้ ยหน่วยสาคัญสองหน่วย คือ หน่วย ควบคุม (Control Unit) ทาหนา้ ทคี่ วบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทั้งระบบ เปรยี บเสมือนเป็นศนู ย์กลาง ระบบประสาท ที่ทาหนา้ ทีค่ วบคุมการทางานของส่วนประกอบตา่ งๆ ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ จะรับรู้คาส่งั ต่างๆ ในรูปของ คาส่งั ภาษาเครื่องเทา่ นั้น หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) หรือทเี่ รียกสั้นๆว่า เอแอลยู (ALU)ทาหน้าที่ ประมวลผลการคานวณทางคณติ ศาสตร์ ตลอดจนการเปรียบเทยี บทางตรรกะทั้งหมด การทางานในซพี ียมู ี รีจิสเตอร์ (Register) คอยทาหน้าท่เี ก็บและถา่ ยทอดข้อมูลหรอื คาสงั่ ทถ่ี กู นาเขา้ มา ปฏบิ ตั ิการภายในซีพยี ู รวมท้ังมี บสั (Bus) เปน็ เสน้ ทางในการสง่ ผ่านสัญญาณไฟฟ้าของหนว่ ยตา่ งๆภายในระบบ อปุ กรณ์นาเข้า (Input devices) ทาหนา้ ท่ีรับขอ้ มลู จากผู้ใชเ้ ข้าสหู่ นว่ ยความจาหลกั ทพี่ บเห็นอยทู่ ัว่ ไปได้แก่ 1. อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) แปน้ พิมพ์ (Keyboard) เปน็ หน่วยรับข้อมลู ที่นิยมใช้กันมากท่สี ดุ เพราะเปน็ อุปกรณม์ าตรฐานในการปอ้ นขอ้ มูล สาหรบั เทอรม์ ินลั และไมโครคอมพวิ เตอร์ โดยทั่วไปจะมีลักษณะคลา้ ยแป้นของเคร่อื งพมิ พ์ดดี แต่มีจานวนแป้นมากกว่า

และถูกแบง่ ออกเปน็ 4 กลมุ่ ด้วยกันคือ - แปน้ อกั ขระ (Character Keys) มีลกั ษณะการจัดวางตัวอักษรเหมือนแปน้ บนเครื่องพิมพด์ ีด - แปน้ ควบคมุ (Control Keys) เป็นแป้นท่ีมหี นา้ ทีส่ ั่งการบางอย่างโดยใชง้ านรว่ มกบั แป้นอ่ืน - แป้นฟงั ก์ชัน (Function Keys) คือ แป้นท่อี ย่แู ถวบนสุด มีสัญลักษณ์เปน็ F1,...F12 ซอฟต์แวร์แตล่ ะ ชนิดอาจกาหนดแป้นเหลา่ นี้ให้มีหน้าท่เี ฉพาะอยา่ งแตกต่างกันไป - แปน้ ตัวเลข (Numeric Keys) เปน็ แป้นที่แยกจากแป้นอกั ขระมาอยทู่ างดา้ นขวา มลี ักษณะคล้ายเครอ่ื ง คดิ เลข ชว่ ยอานวยความสะดวกในการบันทึกตวั เลขเข้าสูเ่ คร่อื งคอมพวิ เตอร์ นอกจากน้ี ยงั มแี ป้นพมิ พ์บางประเภททอี่ อกแบบมาให้ใช้กบั งานเฉพาะด้าน เชน่ แปน้ พิมพท์ ่ีใชใ้ นรา้ นอาหารแบบ เร่งด่วน (fast food restaurant) จะใช้พมิ พ์เฉพาะชอื่ อาหาร เชน่ ถา้ ต้องการ french fries กก็ ดท่แี ป้นคา วา่ “French fries” ตามด้วยราคาเท่านนั้ หรือแป้นพมิ พท์ ีใ่ ชเ้ ครื่องฝาก-ถอนอัตโนมตั ิ (Automatic Teller Machine) เป็นตน้ 2. อุปกรณ์ช้ีตาแหนง่ Pointing Devices เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณส์ าหรับใชเ้ ลื่อนตัวชตี้ าแหนง่ (Cursor) บนจอภาพ มีหลายขนาดและมี รูปรา่ ง ตา่ งกันไป แตท่ ี่นิยมใชจ้ ะมีขนาดเทา่ ฝ่ามือ มีลูกกลมกล้งิ อย่ดู ้านลา่ ง หรือเปน็ ระบบแสง สว่ นด้านบนจะมปี ุ่มใหก้ ด จานวนสอง สาม หรือสปี่ ่มุ แตท่ น่ี ยิ มใช้กันมากคือ สองปุ่ม ใช้สง่ ขอ้ มูลเข้าสหู่ น่วยความจาหลกั โดยการเล่อื นเมาส์ใหล้ กู กลมดา้ นล่างหมนุ เพอื่ เป็นการเลอื่ นตัวชีต้ าแหนง่ บนจอภาพไปยังตาแหน่งท่ีต้องการทาให้การโต้ตอบระหว่างผ้ใู ชก้ ับ เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ าไดร้ วดเรว็ กว่าแปน้ พิมพ์ ผูใ้ ช้อาจใช้เมาสว์ าดรูป เลือกทาง เลือกจากเมนู และเปลี่ยนแปลงหรือย้าย ข้อความ ปัจจุบนั เมาสไ์ ด้มีการพัฒนาเปน็ แบบเมาส์ไร้สาย อย่างไรกด็ ี เมาสย์ งั ไมส่ ามารถใช้ในการป้อนตวั อักษรได้ จงึ ยงั คงต้องใช้คกู่ ับแป้นพมิ พใ์ นกรณีทมี่ กี ารพิมพ์ ตัวอักษร แตส่ าหรับผทู้ ่เี ร่มิ ต้นใช้คอมพวิ เตอร์ การใชเ้ มาสเ์ พยี งอย่าง เดียวจะทาให้เกิดความผดิ พลาดน้อยกวา่ การใชแ้ ปน้ พิมพ์ ลกู กลมควบคมุ (Trackball) เป็นอปุ กรณช์ ้ีตาแหนง่ โดยจะเป็นลูกบอลเลก็ ๆซ่งึ อาจวางอยู่หน้าจอภาพในเน้อื ทีข่ อง แปน้ พมิ พ์ หรอื เป็นอุปกรณ์ต่างหากเชน่ เดียวกับเมาส์ เม่ือผ้ใู ช้หมนุ ลูกบอลก็จะเป็นการเลื่อนตาแหน่งของตัวช้ีตาแหนง่ บนจอภาพ มีหลักการทางานเชน่ เดียวกับเมาส์ แทง่ ชค้ี วบคมุ (Track Point) เปน็ อุปกรณช์ ี้ตาแหน่งขนาดเล็ก นยิ มใช้กบั เครื่องคอมพิวเตอรแ์ บบพกพาจะเป็นแทง่ พลาสติกเล็กๆ อยู่ตรงกลางแป้นพมิ พ์ บังคับโดยใช้น้วิ หัวแมม่ อื เพอ่ื เลอื่ นตาแหน่งของตวั ช้ีตาแหนง่ บนจอภาพ เชน่ เดียวกับเมาสแ์ ผน่ รองสัมผสั จะเปน็ แผ่นสเ่ี หลี่ยมท่ีวางอยหู่ นา้ แป้นพมิ พ์ สามารถใชน้ ้วิ วาดเพอ่ื เลอ่ื นตาแหน่งของตวั ชต้ี าแหน่งบนจอภาพเชน่ เดียวกับเมาส์ จอยสติก (Joy stick) จะเป็นกา้ นสาหรับใชโ้ ยกขน้ึ ลง/ซ้ายขวา เพือ่ ย้าย ตาแหนง่ ของตัวช้ีตาแหนง่ บนจอภาพ มหี ลักการทางานเช่นเดียวกบั เมาส์ แต่จะมีแป้นกดเพิ่มเตมิ มาจานวนหนึ่งสาหรับ สงั่ งานพเิ ศษ นิยมใช้กบั การเล่นเกมส์คอมพวิ เตอรห์ รือควบคมุ หุ่นยนต์

3. จอภาพระบบไวต่อการสัมผัส จอภาพระบบสัมผสั (Touch screen) เปน็ จอภาพแบบพิเศษซ่งึ ผูใ้ ช้เพยี งแตะปลายนวิ้ ลงบนจอภาพใน ตาแหน่งท่ีกาหนดไว้ เพ่อื เลือกการทางานท่ีต้องการ นิยมใช้กบั เครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์ เพ่อื ช่วยให้ผู้ทใ่ี ช้เครื่อง คอมพวิ เตอรไ์ มค่ ล่องนกั สามารถเลอื กขอ้ มูลท่ีตอ้ งการได้อย่างสะดวกรวดเรว็ จะพบการใช้งานมากในรา้ นอาหารแบบ เรง่ ดว่ น หรือใช้แสดงขอ้ มลู การทอ่ งเท่ยี ว เป็นต้น 4. ระบบปากกา (Pen-Based System) ปากกาแสง (Light Pen) เปน็ อุปกรณท์ ี่ใช้สัมผัสกบั จอภาพเพ่อื ชี้ตาแหน่งและวาดข้อมูล โดยใช้เซลล์ แบบ photoelectric ซง่ึ มีความไวต่อแสงเปน็ ตวั กาหนดตาแหนง่ บนจอภาพ รวมทง้ั สามารถใช้วาดลักษณะหรือ รูปแบบของข้อมูลให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งานทาไดโ้ ดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตาแหนง่ ที่ตอ้ งการ นิยมใชก้ ับงานคอมพวิ เตอร์ช่วยการออกแบบ (CAD หรอื Computer Aided Design) รวมทงั้ นยิ มใชเ้ ป็น อุปกรณ์ป้อนข้อมูลโดยการเขียนด้วยมอื ในคอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ เชน่ PDA เป็นตน้ 5. อุปกรณก์ วาดข้อมลู (Data Scanning Devices) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ ระบบการวิเคราะห์แสง (Optical recognition Systems) ชว่ ยให้มกี ารพิมพข์ อ้ มูลเขา้ น้อยท่สี ุด โดยจะอ่านข้อมูลเข้าสเู่ คร่ืองคอมพิวเตอร์ดว้ ยการใช้ลาแสงกวาดผ่านขอ้ ความ หรือสญั ลักษณ์ต่างๆที่พิมพ์ไว้

เพ่อื นาไปแยกแยะรูปแบบต่อไป ในปจั จุบันมีการประยกุ ต์ใชใ้ นงานตา่ งๆกนั มาก โดยมีอปุ กรณ์ท่ีไดร้ ับความนิยม คอื เคร่ืองอ่านรหัสบาร์โคด (Bar Code Reader) เปน็ อุปกรณ์ทมี่ ีลกั ษณะคล้ายปากกาแสง ใช้ฉายแสงลงไปท่ี รหัสแท่งท่ีต้องการอา่ น ซงึ่ รหัสสนิ ค้าต่างๆจะอยู่ในรปู ของแถบสีดาและขาวต่อเนือ่ งกันไป เรียกว่ารหัสบารโ์ คด เครื่อง อ่านรหสั บาร์โคดจะอ่านข้อมูลบนแถบบาร์โคด เพ่ือเรยี กข้อมลู จากรายการสินค้านน้ั เชน่ ราคาสินค้า จานวนทเี่ หลืออยใู่ น คลังสินคา้ เปน็ ต้น ออกมาจากฐานข้อมลู แลว้ จงึ ทาการประมวลผลขอ้ มลู รายการน้ัน ในปจั จุบัน บารโ์ คคไดร้ บั ความ นิยมอย่างมาก เนื่องจากไมต่ ้องทาการพิมพข์ ้อมลู เข้าด้วยแป้นพมิ พ์ จึงลดความผดิ พลาดของขอ้ มลู และประหยัดเวลา ได้มาก ระบบบารโ์ คดเปน็ ส่งิ ท่ีผใู้ ชจ้ ะพบเหน็ ในชีวิตประจาวันได้บ่อยทส่ี ุด เช่น ในห้างสรรพสินคา้ ร้านขายหนังสอื และ ห้องสมุด เป็นต้น สแกนเนอร์ (Scanner) เปน็ อุปกรณท์ ่ีใช้อ่านหรือสแกน (Scan) ขอ้ มูลบนเอกสารเข้าสเู่ คร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยใช้วธิ ี สอ่ งแสงไปยงั วัตถุที่ต้องการ แสงทส่ี ่องไปยังวัตถแุ ลว้ สะท้อนกลับมาจะถูกสง่ ผ่านไปท่ี เซลลไ์ วแสง (Charge- Coupled Device หรอื CCD) ซ่ึงจะทาการตรวจจับความเข้มของแสงทีส่ ะท้อนออกมาจากวัตถแุ ละแปลงให้อยู่ ในรูปของขอ้ มูลทางดจิ ิตอล เอกสารท่ีอ่านอาจจะประกอบด้วยข้อความหรือรปู ภาพกราฟกิ ก็ได้ กล้องถ่ายภาพดจิ ิตอล (Digital camera) เปน็ อปุ กรณท์ ีใ่ ชส้ าหรับถ่ายภาพแบบไม่ต้องใช้ฟลิ ม์ โดยเก็บภาพ ทถ่ี ่ายไว้ในลักษณะดจิ ติ อลด้วยอุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) ภาพท่ีได้จะประกอบดว้ ยจุดเล็กๆ จานวนมาก และสามารถนาเข้าเครื่องคอมพิวเตอรเ์ พ่อื ใช้งานได้โดยไม่ต้องใช้อปุ กรณ์สแกนเนอร์อกี เป็นอุปกรณ์ท่ีเริ่ม ไดร้ บั ความนิยมเพ่ิมข้นึ เร่ือยๆ เนอื่ งจากไม่ตอ้ งใช้ฟิลม์ ในการถา่ ยภาพและสามารถดผู ลลัพธ์ไดจ้ ากจอที่ติดอยกู่ ับกลอ้ ง ไดใ้ นทันที กล้องถ่ายทอดวีดโี อดจิ ิตอล (Digital Video) เป็นอุปกรณท์ ใ่ี ชส้ าหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหว และเก็บเป็น ขอ้ มลู แบบดิจิตอล นิยมใชใ้ นการประชมุ ทางไกลผา่ นวิดีโอ (Video conference) ซึ่งเปน็ การประชุมแบบกลุม่ ผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชน่ ผ่านอินเทอร์เน็ต เปน็ ต้น อยา่ งไรก็ดีกล้องถ่ายทอดวีดีโอแบบดิจติ อลยังอยู่

อปุ กรณแ์ สดงผล (Output devices) หมายถึง การแสดงผลออกมาให้ผ้ใู ช้ไดร้ ับทราบในขณะนั้น แตเ่ ม่ือเลิกการทางานหรอื เลิกใชแ้ ล้วผลน้นั กจ็ ะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุใหเ้ กบ็ ได้ แต่ถ้าต้องการเก็บผลลพั ธน์ ้นั ก็สามารถสง่ ถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมลู ในหนว่ ยเก็บข้อมลู สารอง เพอื่ ให้สามารถใชง้ านในภายหลัง หน่วยแสดงผลท่จี ัดอยูใ่ นกล่มุ น้ี คือ 1. หนว่ ยแสดงผลช่วั คราว หมายถงึ การแสดงผลออกมาให้ผู้ใชไ้ ด้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลกิ การทางานหรอื เลกิ ใช้แล้วผลนัน้ กจ็ ะหายไป ไม่ เหลอื เป็นวตั ถุให้เก็บได้ แต่ถ้าต้องการเก็บผลลพั ธ์นน้ั กส็ ามารถส่งถา่ ยไปเกบ็ ในรูปของข้อมลู ในหน่วยเก็บขอ้ มูลสารอง เพ่ือให้สามารถใชง้ านในภายหลงั หนว่ ยแสดงผลทีจ่ ดั อยู่ในกลุม่ นี้ คอื จอภาพ (Monitor) ใช้แสดงข้อมลู หรือผลลพั ธใ์ ห้ผูใ้ ช้เหน็ ได้ทันที มีรูปร่างคลา้ ยจอภาพของโทรทศั นบ์ นจอภาพ ประกอบด้วยจุดจานวนมากมาย เรียกจุดเหล่าน้ันวา่ จดุ ภาพ (pixel) ถ้ามีจุดภาพจานวนมากกจ็ ะทาให้ ผู้ใช้มองเหน็ ภาพบนจอไดช้ ัดเจนมากข้ึน จอภาพที่ใช้ในปจั จุบันแบ่งได้เป็นสองประเภท คอื - จอซอี ารท์ ี (Cathode Ray Tube) นิยมใชก้ ับเคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอรส์ ่วนมากในปัจจบุ ันใช้หลกั การ ยงิ แสงผ่านหลอดภาพคล้ายกบั โทรทศั น์ - จอภาพแอลซดี ี (Liquid Crystal Display) เปน็ จอภาพทม่ี ีลกั ษณะบาง น้าหนักเบาและกินไฟน้อย แต่มีราคาสูง เทคโนโลยีจอแอลซดี ีในปัจจุบนั จะมีสองแบบคือ Passive Matrix ซ่งึ มีราคาต่าแต่ขาดความคมชดั และอาจมองไมเ่ ห็นภาพเม่ือผใู้ ชม้ องจากบางมมุ ส่วน Active Matrix หรอื บางคร้งั อาจเรียกว่าThin Film Transistor (TFT) จะใหภ้ าพท่คี มชัดกวา่ แต่จะมีราคาสงู กวา่ มาก ในส่วนความละเอยี ดของจอภาพ ปัจจุบัน นยิ ม ใชจ้ อภาพชนิดสแี บบ Super Video Graphic Adapter หรือเรียกส้ันๆวา่ ซเู ปอร์วจี ีเอ (Super VGA) ซง่ึ มีความละเอียด 800x600 จดุ ภาพ สาหรบั จอภาพที่มคี วามละเอียดตา่ (low resolution) ส่วนจอภาพท่ีมี ความละเอียดสงู จะนิยมใช้ความละเอียดท่ี 1024x768, 1280x1024 หรอื 1600x1200 จดุ ภาพ (pixel) ซ่ึงจะใหค้ วามคมชัดทีส่ ูงมาก

ปัจจยั หนงึ่ ที่ทาให้ภาพดคู มชัดมากขึน้ ถงึ แมว้ ่าจะมีจานวนจดุ ภาพเท่ากนั ก็คือ ระยะห่างระหว่างจุดภาพ(dot pitch) โดยระยะห่างระหว่างจดุ ภาพนอ้ ยกจ็ ะให้ความละเอยี ดได้มากกวา่ จอภาพทมี่ ีขายในท้องตลาดปจั จบุ ันมี ระยะห่างระหว่างจุดภาพอยู่ระหว่าง 0.25-0.28 หน่วย ซึ่งระยะห่างระหวา่ งจุดภาพนี้เปน็ สง่ิ ท่ีติดมากับเคร่ืองไม่ สามารถเปล่ียนแปลงได้ในส่วนของจานวนสีน้นั ณ ขณะใดขณะหนึ่งแต่ละจดุ ภาพจะแสดงสีได้เพียงสเี ดียวเท่านน้ั ซง่ึ สี ต่างๆ จะถกู แทนด้วยตัวเลข ดงั นัน้ ถ้าจอภาพแสดงได้ 16 สี เลขเหล่านัน้ ก็จะแทนดว้ ย 4 บิต ถา้ ตอ้ งการแสดงถึง 256 สี ก็ จะตอ้ งใช้ 8 บติ แทนรหัสสนี ้ันๆ การ์ดวิดีโอ (Video Card) การตอ่ จอภาพเข้ากับเครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอรน์ น้ั จะต้องมีแผงวงจรกราฟิก (Graphic Adapter Board) หรือเรียกอีกอย่างหน่งึ วา่ การด์ วีดีโอ (video card) ซง่ึ จอภาพแต่ละชนิด ตอ้ งการแผงวงจรท่ีต่างกนั แผงวงจรกราฟกิ จะถูกเสียบเข้ากบั ช่องขยายเพิ่มเติม (expansion slot) ใน คอมพวิ เตอรแ์ ผงวงจรกราฟิกมักจะมีหน่วยความจาเฉพาะท่ีเรียกว่า หนว่ ยความจาวีดีโอ (video memory) เพือ่ ให้ใชโ้ ปรแกรมด้านกราฟกิ ไดส้ วยงามและรวดเรว็ ซง่ึ หน่วยความจานอี้ าจใช้แรมธรรมดาหรือแรมแบบ พเิ ศษต่างๆ เพอ่ื ให้สามารถทางานได้เรว็ ขึ้น เช่น วีดโี อแรม (video RAM) ซึง่ บางครัง้ เรยี กว่า วแี รม (VRAM) ปจั จยั ประการหน่ึงที่ผูใ้ ชจ้ อภาพต้องคานงึ คือ อัตราการเปลยี่ นภาพ (refresh rate) ของการ์ดวีดโี อโดย ภาพท่ีแสดงบนจอภาพแตล่ ะภาพนัน้ จะถูกลบและแสดงภาพใหมเ่ ริ่มจากบนลงลา่ ง หากอัตราการเปลี่ยนภาพในแนวด่งิ (Vertical-refresh rate) เปน็ 60 ครัง้ ตอ่ วินาที หรือ 60 Hz จะเกิดการกระพริบทาใหผ้ ู้ใชป้ วดศรี ษะได้มี ผ้วู ิจยั พบวา่ อัตราเปลยี่ นภาพในแนวดิง่ ไมค่ วรต่ากว่า 70 Hz จึงจะไมเ่ กดิ การกระพรบิ และทาให้ผูใ้ ช้ดูจอภาพได้อย่าง สบายตา นอกจากนยี้ ังมีอุปกรณ์สาหรับถอดรหสั ภาพแบบ MPEG (Motion Picture Experts)ซึ่งอาจอยใู่ น รปู ของซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ติดอยูบ่ นการ์ดวีดีโอ อันจะทาใหส้ ามารถแสดงภาพเคล่ือนไหว เช่น ภาพยนตร์ต่างๆ บนจอคอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ย่างต่อเน่อื ง อปุ กรณเ์ สยี ง (Audio Output) คอมพวิ เตอรร์ นุ่ ใหม่ๆ มกั จะมีหน่วยแสดงเสยี ง ซึ่งประกอบดว้ ย ลาโพง (speaker) และ การ์ดเสียง (sound card) เพอ่ื ใหผ้ ้ใู ช้สามารถฟงั เพลงในขณะทางาน หรือใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ รายงานเป็นเสียงใหท้ ราบเม่ือเกดิ ปญั หาตา่ งๆ เชน่ ไม่มีกระดาษในเครื่องพมิ พ์ เป็นต้น รวมท้งั สามารถเล่นเกมส์ที่มเี สยี ง ประกอบได้อย่างสนกุ สนาน โดยลาโพงจะมหี น้าทใ่ี นการแปลงสญั ญาณจากคอมพิวเตอรใ์ ห้เปน็ เสียงเช่นเดยี วกับลาโพง วิทยุ ส่วนการ์ดเสียงจะเป็นแผงวงจรเพ่ิมเติมทนี่ ามาเสียงกับช่องเสียบขยายในเมนบอรด์ เพอื่ ช่วยให้คอมพิวเตอร์ สามารถสง่ สญั ญาณเสยี งผ่านลาโพง รวมทง้ั สามารถต่อไมโครโฟนเข้ามาท่ีการ์ดเพ่ือบันทึกเสียงเกบ็ ไว้ด้วย

หน่วยแสดงผลถาวร หมายถึง การแสดงผลทสี่ ามารถจับต้องและเคลอ่ื นย้ายได้ตามต้องการมักจะออกมาในรูปของกระดาษเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ทน่ี ิยมใช้กนั มาก มีให้เลือกหลายชนิดข้ึนอย่กู ับคณุ ภาพของตัวอกั ษร ความเรว็ ใน การพมิ พ์ และเทคโนโลยีทใี่ ช้งาน เครื่องพิมพส์ ามารถแบ่งตามวิธกี ารพิมพไ์ ด้ 2 ชนิด คือ เคร่ืองพมิ พ์แบบกระทบหรือตอก (Impact printer) เป็นการใช้หัวเข็มตอกให้คาร์บอนบนผา้ หมกึ ติดบน กระดาษตามรูปแบบที่ต้องการ สามารถพิมพ์ครง้ั ละหลายชุดโดยใช้กระดาษคาร์บอนวางระหว่างกระดาษแต่ละแผน่ ได้ ส่วนข้อเสียของเคร่ืองพมิ พ์ชนดิ นี้ คอื มเี สยี งดงั และคณุ ภาพงานพมิ พไ์ มด่ ีนกั เคร่ืองพมิ พแ์ บบไมก่ ระทบหรือไมต่ อก (Nonimpact printer) เป็นการพมิ พโ์ ดยใชห้ มกึ พ่นไปบนกระดาษ หรอื ใช้ความร้อนและความดันเพือ่ ละลายหมกึ ใหเ้ ป็นลักษณะของอักขระ เป็นการพมิ พท์ เ่ี ร็วและคมชัดกว่าแบบกระทบ และพมิ พ์ไดท้ ั้งตวั อกั ษรและภาพกราฟิก รวมทงั้ ไม่มีเสยี งขณะพิมพ์ แตม่ ขี ้อจากัดคอื ไม่สามารถพิมพก์ ระดาษแบบ สาเนา (copy) ได้ เครอื่ งพิมพ์เลเซอร์ (Laser printer) ทางานคล้ายกับเครื่องถา่ ยเอกสาร คือ มีแสงเลเซอร์สรา้ งประจุไฟฟา้ ซึ่ง จะมผี ลใหโ้ ทนเนอร์ (toner) สร้างภาพทต่ี อ้ งการและพิมพ์ภาพน้นั ลงบนกระดาษ เครื่องพมิ พเ์ ลเซอร์จะมรี ่นุ ต่างๆที่ แตกต่างกนั ในดา้ นความเรว็ และความละเอียดของงานพิมพ์ ในปจั จุบันสามารถพิมพไ์ ด้ละเอียดสงู สดุ ถึง 1200 จดุ ต่อ นวิ้ (dot per inch หรอื dpi)

เคร่ืองพมิ พพ์ ่นหมึก (Inkjet printer) นิยมใช้กับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ สว่ นมากจะพมิ พ์สีได้ ถงึ แม้จะไม่ คมชัดเท่าเคร่ืองพมิ พช์ นดิ เลเซอร์ แตก่ ็คมชัดกวา่ เครื่องพิมพ์ชนิดตอก และมีราคาถกู กวา่ เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์ นยิ ม นามาใชง้ านตามบา้ นอย่างมาก เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ใช้วาดหรือเขียนภาพสาหรับงานท่ีต้องการความละเอยี ดสงู ๆ นิยมใชก้ ับงาน ออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม มีใหเ้ ลือกหลายชนิดโดยจะแตกต่างกันในด้านความเรว็ ขนาดกระดาษ และ จานวนปากกาท่ีใชเ้ ขียนในแต่ละครงั้ มรี าคาแพงกวา่ เครื่องพมิ พ์ธรรมดา 3. หน่วยความจา Memory อุปกรณ์สว่ นทสี่ าคญั อยา่ งหนงึ่ ทค่ี อมพิวเตอร์จะขาดไมไ่ ด้คอื หนว่ ยความจา Memory ซึง่ มีหลายประเภท ตาม ลกั ษณะการทางาน ดังนี้ หนว่ ยความจารอม (ROM) และ (RAM) คาวา่ ROM ย่อมาจาก Read Only Memory เป็นหนว่ ยความจาที่เก็บขอ้ มูลแบบถาวร รอมทใี่ ช้บันทึก ข้อมลู ของอปุ กรณท์ ี่ติดตั้งบนเมนบอร์ด เชน่ ขนาดและประเภทของฮารด์ ดิสกท์ ่ีใช้ ขนาดของแรม หนว่ ยประมวลผลทใี่ ช้ การติดตั้งหนว่ ยขับแผน่ บันทึก (Floppy drive) เป็นตน้ ข้อมลู ทบี่ ันทึกในรอม จะยังคงอยู่แมจ้ ะปิดเครอื่ ง หน้าที่ของ รอมคือจะตรวจสอบวา่ มีอุปกรณ์ใดบ้าง ท่ีตดิ ตั้งใชง้ าน หากตรวจสอบไมอ่ ุปกรณท์ ีส่ าคัญๆ เช่น ไมพ่ บฮารด์ ดิสก์ ซีพยี ู หรือแรม รอมจะหยุดการทางาน คาวา่ RAM ยอ่ มาจาก Random Access Memory เป็น หน่วยเก็บขอ้ มูลหลักของคอมพิวเตอร์ แต่ ข้อมูลจะสูญหายทันที เมือ่ ปิดเครื่อง ในการใชง้ านจริง จึงตอ้ งบันทกึ ข้อมูลไวใ้ นฮาร์ดดิสก์ก่อนปดิ เคร่ือง หนว่ ยความจาแรม มหี นว่ ยวัดเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งถา้ เป็นเครือ่ งรุน่ เก่าจะนิยมใช้หนว่ ยความจาแรม 8 หรือ 16 เมกะไบต์ (Megabyte) แต่ถ้าเป็นเคร่ืองรนุ่ ใหม่ๆ จะใช้แรมขนาด 128 หรอื 256 MB ข้ึนไป ซึ่งจะทาให้ สามารถทางานกบั โปรแกรมรนุ่ ใหม่ หรือกบั แฟ้มข้อมูลท่ีมขี นาดใหญ่ๆ เช่น งานมลั ติมีเดยี หรืองานกราฟกิ ได้ DRAM (ดแี รม) และ SDRAM (เอสดแี รม) DRAM เปน็ หน่วยความจาหลักของเคร่ือง นยิ มใช้มากในสมัยก่อนเพราะราคาไม่แพง แตท่ างานได้ช้ามาก ปัจจุบนั มีการใช้ SDRAM (Synchronous DRAM) ซง่ึ เปน็ หนว่ ยความจาทีม่ ีประสิทธภิ าพสงู มาก ใน สมัยก่อนอาจจะมีราคาสงู แต่ปัจจบุ ันราคาได้ถูกลงมาก คนจึงนิยมใช้ SDRAM มากขึน้ SIMM (ซิม) เปน็ แผงวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ท่ใี ช้สาหรับติดตง้ั หน่วยความจา ติดตง้ั บนเมนบอร์ด เราสามารถเพิม่ จานวนแรมโดยเสียบแผงวงจรเขา้ กบั ซมิ น้ี เพยี งเท่านกี้ ส็ ามารถเพิม่ แรมไดอ้ ย่างง่ายๆสะดวก รวดเร็วและสามารถทาได้ ด้วยตนเอง ดังน้นั ข้อจากัดของการเพิม่ แรม คอื จานวนช่องของ SIMM และขนาดของแรมแตล่ ะแผงที่นามาเสียบลง บน SIMM หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory)

หมายถึง หน่วยความจาประเภทหนง่ึ ใชส้ าหรับแสดงผล เปน็ หนว่ ยความจาทถี่ ูกสร้างขึ้นมาในกรณีที่หน่วยความจา แรมไมพ่ อใช้ โดยระบบปฏบิ ัตกิ ารจะมกี ารนาเอาพ้ืนท่ใี นฮารด์ ดิสกบ์ างส่วนมาเป็นพน้ื ทีท่ างานช่ัวคราวในขณะเปิด แฟม้ ขอ้ มูล และจะลบท้งิ เม่ือปิดแฟม้ ข้อมลู เราจึงเรียกวา่ “หน่วยความจาเสมอื น” ขอ้ เสยี ของการใช้หน่วยความจา เสมอื นคือ ถ้าพ้ืนทวี่ ่างมีน้อยกวา่ ท่กี าหนดไว้ คอมพิวเตอร์จะทางานชา้ ลง การใชง้ านฮารด์ ดิสกจ์ งึ มกั จะให้มีเน้อื ท่ีที่ไม่ได้ ใช้งาน เหลือไว้ไมน่ อ้ ยกว่า 10 เปอรเ์ ซ็นต์ ในการใช้งานคอมพวิ เตอร์นั้น เราจะต้องเลือกขนาดของแรมท่เี หมาะสม โดยเฉพาะโปรแกรมปฏิบัติการ (OS) รนุ่ ใหมๆ่ เชน่ Windows 98, Windows XP เป็นระบบปฏิบัติการขนาด 32 บิต ต้องใชแ้ รม 64 MB ขึ้นไป หากใชแ้ รมน้อยกว่านีเ้ ครือ่ งอาจจะทางานชา้ มากหรืออาจหยุดชะงักได้ง่าย หนว่ ยความจาแคช (Memory Cache) และ บสั (Bus) หนว่ ยความจาแคชเปน็ หน่วยความจาทช่ี ่วยใหเ้ ครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ างานได้เรว็ ข้ึน เปน็ การเก็บขอ้ มลู ท่เี ราเคย เรียกใช้แลว้ เอาไว้ในกรณที ่ีเราตอ้ งการเรยี กใช้กม็ าเรยี กข้อมลู จากแคช ซึ่งจะดงึ ขอ้ มลู ไดเ้ ร็วกว่าหนว่ ยความจาดิสกม์ าก หน่วยความจาแคช มี 2 ประเภท คอื 1. แคชภายใน ติดต้งั อยู่ภายในซีพยี ู เวลาเครื่องประมวลผล ก็จะเรียกเก็บข้อมูลที่เกบ็ ไวท้ ีแ่ คชใกลๆ้ ซพี ยี ูมาใชไ้ ด้ อยา่ งรวดเรว็ 2. แคชภายนอก จะติดตัง้ อยู่บนเมนบอรด์ เหมือนแรม ถา้ เคร่ืองไม่พบแคชในซีพยี ูกจ็ ะมองหาแคชภายนอก ถา้ พบ ก็จะนามาใชง้ าน ซึ่งกจ็ ะทางานไดช้ ้ากว่าแคชภายในอยู่บ้างเป็นเส้นทางวง่ิ ระหว่างข้อมูลหรือคาสง่ั การวัดขนาดความ กว้างของ บัส เราเรียกว่า “บติ ” 8 บติ เทา่ กับ 1 ไบต์ หรือ 1 ตัวอักษร ส่วนความเร็วของ บัส วัดด้วยหน่วยเมกะเฮริ ตซ์ (Mhz) หรือหนง่ึ ลา้ นรอบต่อวนิ าที บัสที่นิยมใชใ้ นปจั จุบันคือ บสั แบบ PCI (Peripheral Component Interconnect) มคี วามกวา้ งของสญั ญาณท่ีใชร้ บั สง่ ขอ้ มูลถงึ 32 หรอื 64 บิต ความเรว็ มากกว่า 300 MHz ข้นึ ไป นอกจากน้ี PCI ยังสนบั สนุนคุณสมบัติPlug and Play ทใี่ ช้ในการติดต้งั โปรแกรมทใี่ ช้ควบคมุ อปุ กรณ์ใหมด่ ้วย 3.5 หนว่ ยข้อมลู สารอง คอมพิวเตอร์หรือซพี ยี ูจะเรียกใช้ข้อมลู จากหน่วยเก็บข้อมลู หลัก คือ แรมก่อน หากขอ้ มลู ที่ต้องการไมม่ ใี นแรม กจ็ ะ ทาการอ่านข้อมูลจากหนว่ ยเก็บข้อมลู สารองไปเก็บไว้ท่แี รม เพราะหนว่ ยเก็บข้อมูลสารองสามารถจะเก็บรักษาข้อมูลไว้ ได้ แมว้ า่ จะปิดเครอ่ื ง และเก็บขอ้ มลู ได้มากกว่าหน่วยเก็บขอ้ มูลหลกั หนว่ ยเกบ็ ข้อมูลสารองแบง่ ออกเปน็ แผน่ บนั ทึก (Floppy Disk) หรือท่นี ิยมเรยี กวา่ ดิสเก็ตต์ (diskette) มีลกั ษณะเป็นแผน่ แมเ่ หล็ก ทรงกลม มพี ลาสติกแขง็ เป็น กรอบสเี่ หลย่ี มครอบไว้ชน้ั นอก ขนาด 3.5 นว้ิ สามารถจุขอ้ มูลได้ 1.44 MB กอ่ นการใชง้ าน จะต้องทาการฟอร์แมตแผน่ กอ่ น ปจั จบุ ันแผ่นดสิ เก็ตตจ์ ะฟอรแ์ มตมาจากโรงงานผู้ผลิตแลว้ สามารถนามาใช้งานได้ทันที การใชง้ านจะเสียบใส่ในเครื่องขับแผ่นบันทกึ (Floppy Drive) ซ่งึ เปน็ อุปกรณ์อ่านและเขียนแผน่ ดิสก์ ติดตงั้ อยู่

ภายในตวั ถังของเครื่อง แผน่ บันทกึ (Floppy disk) เกบ็ ข้อมูลไดไ้ ม่มากนกั เหมาะสาหรับการพกพา เพราะมขี นาด เล็กสามารถนาขอ้ มูลไปใชง้ านกบั คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งอืน่ ๆ ไดส้ ะดวกจานบนั ทกึ แบบแข็ง (Hard Disk) เปน็ หน่วยเก็บ ข้อมูลขนาดใหญส่ ามารถเก็บขอ้ มูลได้มากกว่าฟลอปปด้ี ิสกห์ ลายลา้ นเทา่ ฮารด์ ดสิ ก์ตดิ ตัง้ ในตัวเครื่อง มขี นาด ประมาณ 3.5 นว้ิ แต่มีความหนากวา่ ฟลอปป้ีดิสก์ มีตัวอา่ นข้อมลู อยภู่ ายใน ในปัจจุบนั มีฮาร์ดดิสก์ ต้งั แต่ 40 กิกะไบต์ (GB) ขนึ้ ไป จงึ สามารถเกบ็ ข้อมลู ไดม้ าก รวมทงั้ โปรแกรมตา่ งๆ ในปจั จุบัน ที่ตอ้ งการพนื้ ทีใ่ นการ เกบ็ ข้อมลู มากขึ้น โดยเฉพาะโปรแกรมประเภทกราฟฟิกหรือมลั ติมีเดีย จาเปน็ ต้องใชพ้ ื้นท่ีเกบ็ ข้อมูลมากพอจงึ จะใช้งาน ได้ ซดี ี – รอม (CD-ROM) ย่อมาจากคาว่า Compact Disk Read – Only Memory เป็นหน่วยเกบ็ ข้อมูลที่ได้รับความนยิ มมากราคาไมแ่ พง มีอายกุ ารใช้หลายปี และมีขนาดเล็ก ซีดีรอมเปน็ แผน่ พลาสตกิ กลม เสน้ ผ่าน ศูนยก์ ลาง 4.75 นว้ิ ผิวหนา้ เคลอื บด้วยโลหะสะทอ้ นแสง เพอ่ื ปอ้ งกันขอ้ มลู ท่ีบันทึกไว้บนั ทึกและอา่ นข้อมลู ดว้ ยแสง เลเซอร์ ปกติซีดีรอมในปัจจบุ ันจะมีความจุประมาณ 700 MB หรือเท่ากบั หนังสือประมาณ700,000 หน้า หรอื เทา่ กับฟลอปปี้ดิสกข์ นาด 1.44 MB ถึง 700 แผน่ สามารถบันทกึ ข้อมลู ได้มาก โดยเฉพาะงานด้านมัลตมิ ีเดยี ทั้ง ภาพ แสง เสยี ง ในเวลาเดยี วกัน ทสี่ าคญั คือ เป็นระบบท่ีปลอดภยั จากไวรสั ดีวีดี – รอม (DVD-ROM) ยอ่ มาจาก Digital Video Disk Read – Only Memory เปน็ หนว่ ย เก็บขอ้ มลู รองชนิดหนึง่ ท่กี าลังได้รับความนยิ มมากลกั ษณะคล้ายซีดรี อมแต่สามารถเก็บข้อมลู ไดม้ ากกว่าซีดีรอมหลาย เท่าคือ ขนาดมาตรฐานเกบ็ ข้อมูลได้ 4.7 GB หรอื 7 เท่าของซีดีรอม และพัฒนาต่อเนื่องไปตลอดดีวดี แี ผ่นหนึง่ สามารถบรรจุภาพยนตร์ความยาวถงึ 133 นาทไี ดโ้ ดยใชล้ กั ษณะการบีบอัดขอ้ มูลแบบ MPEG-2 และระบบเสยี ง แบบดอลบี (Dolby AC-3) ปจั จุบนั ดีวีดีนิยมใช้ในการบนั ทึกภาพยนตรแ์ ละมลั ติมีเดยี ซอรฟ์ แวร์ Software คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ไดเ้ ลยหากปราศจาก ซอร์ฟแวร์ Software ทจ่ี ะคอยรบั คาส่ังในรปู แบบต่าง ๆ ไป ประมวลผล และแสดงผลออกมา ชนิดของ software ซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏิบัติการ (Operating System Software-OS) หมายถึง ซอฟต์แวรห์ รือโปรแกรมท่ี ควบคุมการทางานท้งั หมดของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยคอมพวิ เตอรท์ กุ เคร่ืองจะต้องมรี ะบบปฏิบัติการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เสมอ ระบบปฏิบัติการยอดนิยมในปัจจุบัน คือ Windows 95, Windows 98, Windows 2000,Windows Me, Windows XP, Linux, DOS เปน็ ตน้ ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถงึ โปรแกรมทเ่ี ขียนขึ้นมาเพอ่ื ส่ังให้เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ทางานเฉพาะด้าน เชน่ โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสาเร็จรปู ต่างๆ เช่น Microsoft Word, Excel, PowerPoint เป็นตน้

การใช้คอมพิวเตอร์ในการทางานดา้ นตา่ งๆ เม่อื หลายปกี ่อน คอมพวิ เตอรม์ ีอย่ไู มม่ ากนกั สว่ นใหญจ่ ะเป็นระบบเมนเฟรม ซงึ่ มีขนาดใหญแ่ ละราคาแพง ส่วนมากจะใชง้ านทางดา้ นวิทยาศาสตร์เท่าน้นั ซึ่งจะไมเ่ ก่ยี วข้องกับชวี ิตประจาวนั มากนัก แตใ่ นปจั จบุ ันคอมพิวเตอร์ได้ มขี นาดเล็กลง และ ราคาไม่แพงนัก คนท่ัวไปสามารถซ้อื หามาใช้ไดเ้ หมือนกับ เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป ในหน่วยงานทั้ง ภาครัฐบาลและเอกชนมีการนาคอมพิวเตอร์มาใชใ้ นหน่วยงานขึน้ และมีแนวโน้มทจี่ ะมกี ารใช้สูงข้ึน โดยปัจจบุ นั การใช้ คอมพวิ เตอร์มหี ลากหลายลักษณะ ได้แก่ 1. คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา 2. คอมพวิ เตอร์ในงานวิศวกรรม 3. คอมพิวเตอร์ในงานวทิ ยาศาสตร์ 4. คอมพวิ เตอร์ในงานธรุ กิจ 5. คอมพวิ เตอร์ในงานธนาคาร 6. คอมพิวเตอร์ในร้านคา้ ปลีก 7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ 8. คอมพวิ เตอร์ในการคมนาคม และการสื่อสาร 9. คอมพวิ เตอร์ในงานด้านอตุ สาหกรรม 10. คอมพิวเตอรใ์ นวงราชการ 1. คอมพวิ เตอร์ในสถานศึกษา ปจั จุบนั ตามสถานศกึ ษาตา่ งๆ ไดม้ ีการนาคอมพิวเตอรม์ าใช้ในการเรียนการสอนอยา่ งมากมาย รวมท้ังใช้ คอมพวิ เตอร์ในงานบริหารของโรงเรยี น เช่น การจัดทาประวัตนิ ักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัดคะแนนสอบ การจัดทา ตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ในงานหอ้ งสมดุ การจัดทาตารางสอน เป็นต้น ตัวอยา่ งในการประยกุ ต์ดา้ นการศกึ ษา เชน่ โปรแกรมรายงานการลงทะเบยี นเรยี น โปรแกรมตรวจข้อสอบ เปน็ ตน้ 2. คอมพิวเตอรใ์ นงานวศิ วกรรม คอมพิวเตอร์สามารถทางานในด้านวิศวกรรมได้ตัง้ แต่ขน้ั ตอนการลอกเขียนแบบ จนกระทงั่ ถงึ การออกแบบโครงสร้าง ของสถาปัตยกรรมต่างๆ ตลอดจนช่วยคานวณโครงสร้าง ช่วยในการวางแผนและควบคุมการสร้าง 3. คอมพวิ เตอร์ในงานวทิ ยาศาสตร์ คอมพวิ เตอรส์ ามารถทางานรว่ มกับเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตรต์ ่างๆ เช่น เครื่องมือวิเคราะห์สารเคมี เครื่องมอื การ ทดลองตา่ งๆ แมก้ ระทง่ั การเดนิ ทางของยานอวกาศตา่ งๆ การถ่ายพ้ืนผิวโลกบนดาวอังคาร เป็นตน้

4. คอมพวิ เตอร์ในงานธรุ กิจ คอมพวิ เตอร์สามารถจัดเก็บข้อมลู ได้มากมาย มีความรวดเรว็ และถกู ตอ้ ง ทาให้สามารถได้ข้อมลู ทช่ี ว่ ยให้สามารถ ตัดสนิ ใจในการดาเนินธุรกจิ ตลอดจนงานทางด้านเอกสารงานพิมพต์ า่ งๆ เป็นต้น 5. คอมพิวเตอรใ์ นงานธนาคาร ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพวิ เตอร์ได้เขา้ มามีบทบาทมากทส่ี ดุ เพราะธนาคารจะมีการนาข้อมลู Transaction) เป็นประจาทกุ วนั การหาอัตราดอกเบ้ียต่างๆ นอกจากน้กี ารใช้บริการ ATM ซงึ่ ลกู ค้าสามารถฝาก ถอนเงินได้จากเครื่องอัตโนมัติ ซง่ึ จะให้สะดวกแก่ผใู้ ช้บริการเปน็ อยา่ งย่ิง และเปน็ ทน่ี ิยมแพร่หลายในปัจจุบนั 6. คอมพิวเตอร์ในร้านคา้ ปลีก ปัจจุบนั เห็นได้วา่ ไดม้ ีธรุ กิจร้านค้าปลีกหรอื ท่เี รียกว่า \"เฟรนไซน์\" เปน็ จานวนมาก ได้มกี ารนาคอมพิวเตอร์เขา้ มาใช้ ในการ ให้บริการลูกคา้ เชน่ ให้บรกิ ารชาระ คา่ นา้ - ไฟฟา้ คา่ โทรศัพท์ เปน็ ตน้ จะเหน็ ได้วา่ มกี ารonline ระหวา่ ง รา้ นค้าเหล่านน้ั กับหน่วยงานนั้นๆ เพ่อื สามารถตัดยอดบัญชไี ด้ เปน็ ต้น 7. คอมพวิ เตอร์ในวงการแพทย์ คอมพิวเตอรไ์ ดถ้ ูกนามาใช้ในการเก็บประวัติของคนไข้ ควบคุมการรบั และจา่ ยยา ตลอดจนยังอยูใ่ นอุปกรณ์เครื่องมือ ทางการแพทย์ เช่น เครือ่ งมือผ่าตัด บนั ทกึ การเตน้ ของหัวใจ ตรวจคล่ืนสมอง และดา้ นการหาตาแหน่งของอวยั วะก่อน การผา่ ตดั เป็นตน้ 8. คอมพิวเตอรใ์ นการคมนาคม และการสอื่ สาร ในยคุ ปัจจุบัน เราเรียกว่าเปน็ ยุคท่เี ป็นการส่ือสารแบบไรพ้ รมแดน จะเหน็ ไดว้ ่า มกี ารสื่อสารในรปู แบบตา่ ง ๆใน เครือข่ายสาธารณะ ท่ีเรยี กว่า เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต ซง่ึ สามารถที่จะส่ือสาร กับทกุ คนได้ทว่ั มุมโลก โดยผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอรน์ ี้ และยังมีโปรแกรมท่ี สามารถจะใช้ในการพดู คุยกนั ได้ ไม่วา่ จะเป็นเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ดว้ ยกันใช้คุยกัน หรือจะเปน็ เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสาร กับเครอ่ื งโทรศัพท์ท่ีบา้ นหรือทท่ี างาน หรือแม้กระทง่ั การส่ง pager ในปจั จุบนั สามารถส่งทางเครือขา่ ยคอมพิวเตอรไ์ ปยงั เครื่องลูกได้ เปน็ ต้น สาหรับการใชค้ อมพิวเตอร์ ในทางโทรคมนาคมจะเหน็ ว่า ปัจจบุ ันการจองต๋วั เครื่องบิน จะมกี ารนาเอาคอมพิวเตอร์มาใชเ้ ปน็ จานวนมาก รวมถงึ การจองตั๋วผา่ น ทาง Internet ดว้ ยตนเอง เห็นไดว้ ่าเพมิ่ ความสะดวกสบาย ให้แก่ผ้ใู ช้บรกิ าร และนอกจากนี้ ยังมีเครอื ข่ายของสาย การบนิ ท่วั โลก ทาใหผ้ ใู้ ช้บริการสามารถเลือกจองได้ ตามสายการบินต่างๆ เป็นตน้ ตัวอย่าง การตรวจสอบราคาคา่ โดยสาร และเวลาของแต่ละเท่ยี วบินผ่านทาง internet 9. คอมพวิ เตอรใ์ นงานดา้ นอุตสาหกรรม ในวงการอุตสาหกรรมนับไดว้ ่า คอมพวิ เตอรไ์ ด้เขา้ มามีบทบาทเปน็ อย่างมาก ตง้ั แตก่ ารวางแผนการผลิต กาหนดเวลาการผลิต จนกระทง่ั ถึงการผลติ สินค้า ควบคมุ ระบบ การผลิตทัง้ หมด ในรายงานทางอุตสาหกรรม ไดม้ ีการ นาคอมพวิ เตอร์มาใช้ใน การควบคมุ การทางานของเคร่ืองจักร เช่น การเจาะ ตัด ไส กลงึ เปน็ ตน้ ตลอดจนโรงงานผลิต รถยนต์ กจ็ ะใช้ หุ่นยนตค์ อมพิวเตอร์ในการทาสี พน่ สี รวมถงึ การประกอบรถยนต์ เป็นต้น

10. คอมพิวเตอรใ์ นวงราชการ คอมพวิ เตอร์ถกู นามาใช้ในงานทะเบยี นราษฎร์ ชว่ ยในการนับคะแนนการเลือกต้ัง และการประกาศผลเลือกตั้ง การคิดภาษีอากร การเกบ็ ข้อมูลสถติ สิ มั มโนประชากร การเก็บเงินค่าไฟฟ้า น้าประปา ค่าใช้โทรศพั ท์ เปน็ ตน้ เทคโนโลยีสารสนเทศกบั สงั คม ในบทนจี้ ะเป็นเนื้อหาเก่ียวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของโลก ผลกระทบ การเปลีย่ นแปลงของโลก เมอ่ื เทคโนโลยพี ัฒนาไปสู่สงั คมขา่ วสาร ผลกระทบยอ่ มเกิดขน้ึ ทั้งทางบวกและทางลบ เราจะเตรียมพร้อมรับการ เผชญิ หนา้ กบั การเปลยี่ นแปลงเหลา่ น้ันได้อยา่ งไร ความหมายของสังคมสารสนเทศ สังคมสารสนเทศหรือสังคมข่าวสาร (The information society) เป็นสงั คมทม่ี ีการใชส้ าร สนเทศรูปแบบต่างๆ เพ่อื ประกอบการตัดสนิ ใจทงั้ เพอื่ ประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม ในสงั คมสารสนเทศจะทา ใหเ้ ราไดร้ บั สารสนเทศท่มี ีคุณภาพ ตรงกับความตอ้ งการและทนั เวลา ในสงั คมสารสนเทศ เราสามารถแบ่งกลมุ่ เทคโนโลยีต่างๆที่จัดอยใู่ นประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดงั น้ี คือ 1) เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ และ 2) เทคโนโลยี โทรคมนาคมหรือการส่ือสารขอ้ มลู คุณลักษณะของสังคมสารสนเทศ สงั คมสารสนเทศมลี ักษณะท่สี าคัญดงั น้ี 1. เปน็ สงั คมท่ีมีการใช้สารสนเทศท่ีบันทึกอยู่บนสือ่ ท่ีเป็นเอกสาร สงิ่ พมิ พ์ และไมต่ พี ิมพ์ สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ เสียงภาพ 2. เปน็ สังคมท่มี ีการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื IT เพื่อการได้มา จัดเก็บ ประมวลผล สืบค้นและเผยแพร่ สารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใชอ้ ย่างรวดเร็วถูกต้องและทันเวลา 3. เปน็ สงั คมท่มี ีการใชผ้ ลิตภัณฑห์ รอื อุปกรณ์ท่มี ีไมโครโพรเซสเซอร์เป็นตัวควบคุมการทางาน เคร่ืองอานวย ความสะดวกในบ้านและในสานักงาน ตวั อยา่ งเชน่ หมอ้ หุงขา้ วไฟฟา้ เตาไมโครเวฟ เครื่องซักผ้า เครอื่ งปรบั อากาศ อปุ กรณก์ นั ขโมย ระบบควบคุมไฟฟ้า เป็นต้น 4. เป็นสงั คมทผี่ ใู้ ชส้ ามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้ด้วยตนเองทัง้ โดยทางตรงและทางออ้ มอันนามาซึ่งการ เพ่มิ ผลผลติ และการเพม่ิ ประสิทธิภาพในการประกอบการด้านต่างๆ ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผลกระทบทางบวก 1. ช่วยสง่ เสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ 2. ชว่ ยทาใหก้ ารผลติ ในอุตสาหกรรมดขี ึ้น 3. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าวจิ ยั ส่ิงใหม่

4. ช่วยสง่ เสรมิ สขุ ภาพและความเป็นอย่ใู ห้ดขี ึ้น 5. ชว่ ยสง่ เสริมสตปิ ญั ญาของมนุษย์ 6. เทคโนโลยสี ารสนเทศชว่ ยให้เศรษฐกิจเจริญรุง่ เรือง 7. ชว่ ยให้เกิดความเขา้ ใจอันดีระหวา่ งกัน 8. ช่วยส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ผลกระทบทางลบ 1. ทาใหเ้ กิดอาชญากรรม 2. ทาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย 3. ทาให้เกิดความวติ กกังวล 4. ทาให้เกิดความเสี่ยงภยั ทางดา้ นธุรกจิ 5. ทาใหก้ ารพัฒนาอาวธุ มีอานาจทาลายสูงมากขึ้น 6. ทาให้เกิดการแพร่วัฒนธรรมและกระจายข่าวสารท่ไี ม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว ความปลอดภัยและความเป็นสว่ นตัว อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรเ์ กดิ ข้ึนได้หลายรูปแบบ ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดปญั หา ใหมๆ่ ขึน้ ตวั อย่างปญั หาอาชญากรรมบนเครือข่าย เช่น การขโมยข้อมูลหรือสารสนเทศในขณะทส่ี ่งผ่านไปบนระบบ เครอื ข่าย การแอบใชร้ หสั ผ่านของผูม้ อี านาจเพื่อเขา้ ถงึ และเรยี กใช้ข้อมูลที่เปน็ ความลับ การให้บริการสารสนเทศที่มีการ หลอกลวง รวมถงึ การบอ่ นทาลายข้อมลู ท่ีมอี ย่ใู นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ตา่ งๆในระบบเครือขา่ ย เชน่ ไวรัสเครอื ข่ายการแพร่ ข้อมลู ท่ีเปน็ เท็จ ก่อให้เกิดการหลอกลวง และมผี ลเสียติดตามมาลกั ษณะของอาชญากรรมทเ่ี กิดขึ้นจากฝีมือมนษุ ยท์ รี่ ู้จัก กันดี ไดแ้ ก่ แฮกเกอร์ (Hacker) และแครกเกอร์ (Cracker)แฮก-เกอร์ คือ ผู้ที่มคี วามรู้ความชานาญด้าน เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และเครอื ข่าย สามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลของหนว่ ยงานสาคัญๆ โดยเจาะผ่านระบบรกั ษาความ ปลอดภัย แตไ่ ม่ทาลายข้อมูล หรือหาประโยชน์จากการบุกรุกคอมพวิ เตอร์ของผอู้ น่ื แต่กถ็ ือไดว้ ่าเป็นอาชญากรรม ประเภทหนงึ่ ทไี่ ม่พึงประสงค์ ส่วนแครกเกอร์ คือ ผซู้ ่งึ กระทาการถอดรหัสผ่านข้อมลู ต่างๆ เพือ่ ใหส้ ามารถนาเอาโปรแกรม หรือข้อมูลตา่ งๆ มาใช้ใหมไ่ ด้ เป็นการกระทาละเมิดลขิ สทิ ธิ์ เปน็ การลักลอกหรือเป็นอาชญากรรมประเภทหนงึ่ การละเมิดสทิ ธิเสรภี าพสว่ นบุคคล ความเป็นสว่ นตวั ของข้อมลู และสารสนเทศ เปน็ สทิ ธทิ เี่ จา้ ของสามารถท่ีจะ ควบคุมข้อมูลของตนในการเปิดเผยใหก้ ับผู้อ่ืน การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งไมม่ ขี ดี จากัดย่อมสง่ ผลต่อการละเมดิ สิทธสิ ว่ นบุคคล การนาเอาข้อมลู บางอย่างทีเ่ ก่ียวกับบุคคลออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซงึ่ ข้อมลู บางอยา่ งอาจไม่เปน็ จรงิ หรอื ยังไม่ไดพ้ ิสูจน์ความถกู ต้องออกสู่สาธารณชน ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ บคุ คลโดยไมส่ ามารถป้องกันตนเองได้ การ ละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคลเช่นน้ีต้องมกี ฎหมายออกมาให้ความคุม้ ครองเพ่อื ใหน้ าขอ้ มลู ต่างๆ มาใชใ้ นทางท่ีถูกต้อง และเพอื่ เป็นการป้องกันการละเมดิ สทิ ธคิ วามเปน็ สว่ นบคุ คลของข้อมูลและ

สารสนเทศ จงึ ควรจะตอ้ งระวงั การใหข้ ้อมูลโดยเฉพาะการใช้อินเทอร์เน็ต และผู้ท่ีเกีย่ วข้องจะตอ้ งตระหนักถึงบทบาท และจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพของตนทเี่ ก่ียวข้องกบั ข้อมลู ส่วนบุคคลของผู้อ่ืน ทรัพยส์ ินทางปัญญา ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา เป็นผลผลติ ทีเ่ กดิ จากความคิดของบุคคลหรือกลมุ่ บุคคล ซง่ึ ทรัพย์สินเหลา่ นีจ้ ะได้รับการ คุ้มครองสทิ ธิตามกฎหมายความลบั ทางการค้า (Trade Secret) กฎหมายลิขสทิ ธิ์ (Copyright) และสิทธิบัตร (Patent) ตัวอย่างปัญหาเกย่ี วกับทรัพย์สินทางปัญญา เชน่ การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ หรือ ซอฟต์แวร์ เพราะเปน็ เรอ่ื งท่กี ระทาไดง้ า่ ยมาก ซงึ่ ในสงั คมเทคโนโลยีสารสนเทศ จะพบว่าบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์หลายบริษัทได้ สญู เสียเงนิ ในแตล่ ะปเี ปน็ จานวนมาก เน่อื งจากการละเมิดลขิ สทิ ธิ์ซอฟต์แวร์ เปน็ ต้น นางสาว เบญจพร สมนอ้ ย ปวส 1/2 เทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล