Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ

โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ

Published by ooa9 Dee, 2022-07-31 07:11:06

Description: โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ

Search

Read the Text Version

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผ้สู งู อายุ ก ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ก คำนำ รายงานผลการดำเนินงาน โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทาง กาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ฉบับน้ี จัดข้ึนวันท่ี 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ณ หอประชุม กศน. อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุ ได้เรียนรู้เก่ียวกับการพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ คือ มติ ิสขุ ภาพ มติ ิสงั คม มิติเศรษฐกิจ และมติ สิ ภาพแวดล้อม สรุปผลการดำเนินงานและผลประเมินโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคง พัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ ใคร่ขอขอบคุณ ผู้ที่มีส่วนร่วมในการจดั ทำโครงการครั้งนี้ทกุ ทา่ น ที่ได้ให้ความร่วมมือเปน็ อย่างดี กศน.อำเภอหนองพอก กรกฎาคม ๒๕๖5 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผ้สู ูงอายุ ข สารบัญ หนา้ ก เรอื่ ง ข คำนำ ค สารบญั 1 สารบญั ตาราง 3 บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร 3 บทที่ 1 บทนำ 3 3 หลกั การและเหตุผล 4 วัตถุประสงค์ 4 เป้าหมาย 5 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง 7 สังคมผูส้ ูงวยั (Aging Society) ในประเทศไทย 8 การวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคใน 4 มิติ สำหรับสงั คมผู้สงู วัย 8 การใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพื่อรองรบั สังคมผสู้ งู วยั ในปัจจุบัน 10 ความสำคัญของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุ 10 นโยบายและกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 11 องค์ประกอบของการจัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายุ 12 แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวิตผสู้ งู อายใุ น 4 มิติ 13 รปู แบบการจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ ผสู้ ูงอายุใน 4 มติ ิ 13 จุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตผสู้ ูงอายุใน 4 มิติ ๑5 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินโครงการ ๑6 วิธีดำเนนิ การ 17 การวเิ คราะห์ข้อมลู 17 การแปลผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล 21 บทท่ี 4 ผลการดำเนินการ 21 ผลการประเมิน 22 บทท่ี 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 22 สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะสำหรบั นำผลการประเมนิ ไปใช้ ภาคผนวก - โครงการ - คำสั่ง - ภาพการจดั กิจกรรม - คณะผู้จัดทำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ ค สารบัญตาราง หน้า เร่ือง ตารางที่ 1 แสดงจำนวนและรอ้ ยละผเู้ ขา้ รับการอบรม จำแนกตามเพศ 17 ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนและรอ้ ยละผูเ้ ขา้ รับการอบรม จำแนกตามสถานภาพ 17 ตารางที่ ๓ แสดงจำนวนและร้อยละผู้เข้ารับการอบรม จำแนกตามอายุ 18 ตารางที่ 4 แสดงจำนวนและร้อยละผูเ้ ข้ารับการอบรม จำแนกตามวุฒกิ ารศกึ ษา 18 ตารางที่ 5 แสดงจำนวนและร้อยละผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ จำแนกตามรายการประเมนิ 19 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ ๑ บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร ชือ่ เร่ือง โครงการจดั และสง่ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตเพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก วนั และสถานที่ วนั ที่ 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 หอประชุม กศน.อำเภอหนองพอก งบประมาณ 2,100 บาท วัตถปุ ระสงคข์ องการดำเนนิ การ เพอื่ สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุ ได้เรียนรู้ เกยี่ วกบั การพัฒนาทกั ษะชีวิตใน 4 มติ ิ คอื มติ ิสุขภาพ มติ สิ ังคม มติ เิ ศรษฐกิจ และมติ สิ ภาพแวดล้อม วิธีดำเนินการประเมิน การประเมินโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และ สมองของผู้สูงอายุ ดำเนินการประเมิน วันท่ี 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมิน โครงการ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ เพ่ือประเมินโครงการ โดยเก็บ แบบสอบถามความพึงพอใจ รอ้ ยละ 100 ของกลุ่มผ้ใู หข้ ้อมลู จำนวน 30 คน จากทั้งหมด 3๐ คน ผลการประเมนิ ผลการประเมินโครงการมดี ังนี้ จากตารางสรุปความถ่ี และร้อยละของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามที่แสดงถงึ ระดับความพึงพอใจ การประเมนิ แบ่งออกเปน็ 6 ด้าน พบวา่ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโดยภาพรวมอย่ใู นระดับ มาก ดา้ นท่ี 1 ดา้ นสถานทจี่ ัดกิจกรรม 1. สถานทท่ี จี่ ดั กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉล่ีย = 4.27 2. สถานท่ีมีความเหมาะสมใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งคุม้ คา่ มีความพงึ พอใจในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.17 ดา้ นท่ี 2 ดา้ นครู / บคุ ลากร 1. ครู / บุคลากร มกี ระบวนการทำงานเป็นทีม มีความพึงพอใจในระดับ มาก คา่ เฉล่ีย = 4.37 2. ครู / บคุ ลากร วิทยากร มีการให้คำแนะนำแก่ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม มีความพงึ พอใจในระดับ มาก คา่ เฉลี่ย = 4.30 3. ครู / บคุ ลากร วทิ ยากร มีความเอาใจใส่เปน็ กันเองกับผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม มีความพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.40 ดา้ นที่ 3 ดา้ นการจัดกิจกรรมใหค้ วามรู/้ วทิ ยากร 1. มกี ารจดั กจิ กรรมทม่ี าให้ความรทู้ หี่ ลากหลาย มีความพึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉล่ีย = 4.43 2. วทิ ยากรใหค้ ำแนะนำในการจัดกิจกรรม มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย = 4.47 3. ไดร้ ับความรู้ และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ มีความพึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย = 4.30 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ ๒ ดา้ นท่ี 4 ดา้ นสอื่ วสั ดุ อุปกรณแ์ ละเอกสาร 1. มีการนำสือ่ เทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั กจิ กรรม มีความพงึ พอใจในระดับ มาก คา่ เฉลี่ย = 4.30 2. มีสือ่ เอกสารวัสดุฝึกในการจดั กิจกรรมให้แกผ่ เู้ ข้าร่วมกจิ กรรมอยา่ งเพยี งพอ มคี วามพงึ พอใจในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย = 4.27 ดา้ นท่ี 5 ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 1. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม มีความพงึ พอใจในระดบั มาก คา่ เฉล่ีย = 4.47 ดา้ นท่ี 6 ผลท่ีคาดว่าจะได้รับในการรว่ มกิจกรรม 1. มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเนื้อหาท่ไี ด้รับ มคี วามพงึ พอใจในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.47 2. ความรู้ทีไ่ ดร้ ับสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ มีความพึงพอใจในระดับ มาก คา่ เฉลี่ย = 4.43 3. สามารถนำความรทู้ ่ีได้รับไปขยายผลในชมุ ชนได้ มีความพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.40 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ ๓ บทท่ี ๑ บทนำ ๑. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันสงั คมไทยเข้าสสู่ ังคมผ้สู ูงอายุ หรือภาวะ “ประชากรสูงวัย” (Old Population) เน่ืองจากการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร อันเนื่องมาจากการลดลงภาวะเจรญิ พันธ์ุ และในเวลาเดียวกนั คนไทยก็มีอายุ ยืนยาวข้ึนเรื่อย ๆ โดยประชากรวัยสูงอายุจะเพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ ๒๓.๕ หรือประมาณ ๑ ใน ๔ ของประชากร ท้ังประเทศ ภายในปี ๒๕๗๓ สังคมผู้สูงอายุจะมีผลกระทบสำคัญต่อเศรษฐกิจมหภาคหลายประการ เช่น ประชากรวัยแรงงานลดลง การออมลดลง และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง ส่ิงที่ตามมาจากการ เปลี่ยนแปลงน้ีคอื อัตราสว่ นพง่ึ พิงในวัยสูงอายุเพมิ่ มากข้ึน ทาให้เกิดปัญหาตา่ งๆ เพม่ิ ขน้ึ ตามไป ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก ได้เล็งเห็นความสำคัญในการ เตรียมความพร้อมประชาชนกลุ่มเป้าหมายในการเตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการจัดและส่งเสริม การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตเพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ เพอ่ื เป็นแนวทางการปฏิบัตทิ ี่ เหมาะสมรองรับโครงสร้าง ของสังคมผู้สูงอายุที่กำลังจะเกิดขึ้นจนถึงปัจจุบัน และ เพื่อเป็นรากฐานก้าวสู่วัย ผู้สูงอายุอยา่ งมคี ุณภาพ และมีความพร้อมในการดำรงชวี ิตบน้ั ปลายอย่างมคี วามสขุ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ได้เรียนรเู้ ก่ยี วกับการพัฒนาทักษะชวี ิตใน 4 มิติ คือ มติ สิ ุขภาพ มติ สิ งั คม มติ ิเศรษฐกิจ และมติ สิ ภาพแวดลอ้ ม ๓. เปา้ หมาย 3.1 กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนผสู้ ูงอายุ จำนวน 30 คน ประกอบด้วย - ตำบลหนองพอก จำนวน 10 คน - ตำบลรอบเมอื ง จำนวน 10 คน - ตำบลทา่ สีดา จำนวน 10 คน 3.2 เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนผู้สูงอายุได้เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ คือ มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติ เศรษฐกจิ และมิติสภาพแวดล้อม รอ้ ยละ ๘๐ 3.3 เชงิ คุณภาพ ประชาชนผ้สู ูงอายุ มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทดี่ ีทัง้ ด้านร่างกายและจติ ใจ สามารถปรับตัว เข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ก้าวสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมี คณุ ภาพ และมีความพรอ้ มในการดำรงชวี ติ บ้ันปลายอย่างมีความสุข ๔. ระยะเวลาดำเนนิ งานและสถานท่ี 4.1 ดำเนนิ การในวันท่ี 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 4.2 สถานที่ดำเนนิ การ หอประชมุ กศน.อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ งู อายุ ๔ บทท่ี ๒ เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง สงั คมผสู้ ูงวัย (Aging Society) ในประเทศไทย ปัจจุบันโลกกำลังเผชญิ กับสังคมสงู วยั (Aging Society) และคาดวา่ ภายในปี พ.ศ. 2583 จะ เปลีย่ นเป็นสงั คมสงู วัยอยา่ งสมบรู ณ์ (Completely Aged Society) ซึ่งถือเป็น Mega Trend ที่นำมา ซง่ึ ผลกระทบต่อบรบิ ททางเศรษฐกิจและสังคมโลกอย่างรุนแรง โดยยโุ รปและอเมรกิ าเหนอื น้นั แซงหนา้ กลายเป็น สงั คมสูงวัยโดยสมบูรณ์แลว้ ตามมาดว้ ยเอเชียนำโดย ญ่ปี ุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปรแ์ ละไทย ซง่ึ จากการศึกษาของ หน่วยงานต่าง ๆ พบวา่ เหตผุ ลหลักทท่ี ำให้โลกเข้าสสู่ งั คมสูงวัยอย่างรวดเรว็ เน่ืองจาก อัตราการเกิดทีต่ ำ่ และ ประชากรอายยุ นื ยาว การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรดังกลา่ ว สง่ ผลกระทบ ด้านลบต่อการขาดแคลน แรงงาน เพราะสดั ส่วนประชากรวยั แรงงานลดลง ขณะที่อตั ราการพงึ่ พิงมีแนวโน้ม เพิ่มสูงข้ึน ทำให้ผลติ ภาพ ลดลง ทำให้งบประมาณของรัฐบาลก็จะเพ่ิมสงู ขึ้นดว้ ย และสง่ ผลกระทบต่อการ ขยายตัวของเศรษฐกิจ (GDP) ในท่ีสุด ดงั นั้นประเทศที่มีสดั สว่ นประชากรผสู้ งู อายอุ ยู่ในระดบั สงู จำเปน็ ต้องมี นโยบายและการวางแผน รองรับปัญหาต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้น จากการรวบรวม วิเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ในทุกระดับท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นนโยบายรองรับ สังคมสูงวัย พบว่า จำเป็นอย่างย่ิงที่ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาชนจะต้องตระหนัก ถึง ผลกระทบและให้ความร่วมมือในการเตรียมความพร้อมท่ีจะรับมือกับสังคมสูงวัย โดยเฉพาะพัฒนาการ ของ กลไกและกระบวนการพัฒนาและขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะเพ่ือรองรับสังคมสูงวัย จากหน่วยงาน องค์กร และภาคส่วนที่เกย่ี วข้อง ท้ังภาครัฐ การเมือง ภาควิชาการ วชิ าชีพ และภาคประชาสังคม เอกชน ท่ีมีนโยบาย ความสามารถ และแนวทางการดำเนนิ งานตามพนั ธกิจที่แตกตา่ งกัน สำหรับประเทศไทยในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมอย่างมาก เนื่องจากผลกระทบของการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรและเศรษฐกิจ ประเทศไทยเผชิญกับการเพิ่ม จำนวนของผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว จากการสำรวจจำนวนผู้สุงอายุหรือประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปีข้ึนไป ทง้ั ชายและหญิง โดยสำนักงานสถติ ิแห่งชาติ พบวา่ ประเทศไทยเริม่ เข้าสูส่ งั คมสูงอายตุ ัง้ แต่ปี พ.ศ. 2545 ซึ่งมี จำนวนประชากรสูงเกือบถึงร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ในขณะท่ีวัยเด็กและวัยแรงงาน ลดน้อยลง และคาดการณ์ว่าปี พ.ศ. 2567 – 2568 ประเทศไทยจะก้าวเขา้ ส่สู ังคมสงู อายโุ ดยสมบูรณ์ และ จะก้าวเขา้ สู่ สงั คมสูงอายุอยา่ งเต็มที่ (Super-aged Society) ในปี พ.ศ. 2568 จากการเปลี่ยนผ่านสังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุท่ีประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดน้อยลง การ เตรียมความพร้อมของสังคมไทยเพ่ือรองรับสังคมสูงอายุในทุกด้านจึงมีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ สร้างหลักประกันว่าผู้สูงอายุจะได้รับการส่งเสริม สนับสนุนในทุกด้าน ท้ังระบบประกันสุขภาพ หลักประกัน ทางสังคม เศรษฐกิจด้วยการส่งเสริมการออม การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุเพื่อลดการพ่ึงพา ทางเศรษฐกิจ การ เพ่ิมกำลังแรงงาน ด้วยการจ้างงานผู้สูงอายุ สนับสนุนสวัสดิการสังคม และการส่งเสริมการศึกษาในด้านต่าง ๆ การ Upskill และ Reskill เพือ่ ผสู้ งู อายจุ ะได้รับการพัฒนาและมคี ุณภาพชีวิตที่ดี การจัดการศึกษาสำหรับผู้สูงอายุ ซ่ึงถือเป็นกุญแจสำคัญของการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต หากผู้สูงอายุซ่ึงต่อไปถือว่าเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศมีคุณภาพ จะกลายเป็นตัวแปรสำคัญที่ช่วย พัฒนาประเทศ เป็นกำลังสำคัญของการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ และพัฒนาเทคโนโลยี ท้ังน้ี การจัดการศึกษา สำหรับผู้สูงอายุ เข้ามาเรียนเพื่อปรับวุฒิการศึกษา หรือดำเนินการในรูปแบบการศึกษานอกระบบสำหรับ ผู้สูงอายุเรียนในโรงเรียนผู้สูงอายุ หรือการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีเรียนในลักษณะการฝึกอบรมระยะสั้น ผ่าน หลักสตู รต่าง ๆ เช่น การฝกึ อาชพี เปน็ ตน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ ๕ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมอื การบรู ณาการความร่วมมือการพฒั นาคน ตลอดชว่ งชวี ิต รว่ มกบั กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ และกระทรวง สาธารณสุข เม่อื วันที่ 30 มีนาคม 2560 โดยกำหนดใหก้ ระทรวงศึกษาธกิ ารมบี ทบาทหนา้ ทใ่ี นการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวิต เพ่ือคงภาวะตดิ สังคมใหแ้ กผ่ ูส้ งู อายุกลมุ่ ติดสงั คม ในชมุ ชน ดว้ ย หลกั สตู รและรูปแบบที่หลากหลาย และผลติ ผดู้ ูแลผสู้ ูงอายุร่วมกบั กระทรวงสาธารณสขุ เพ่ือดูแลผูส้ งู อายุ ภาวะพง่ึ พิงในครอบครวั ในชุมชน และเพื่อการมีงานทำของประชากรวยั แรงงาน การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เป็นอีกวธิ กี ารหนงึ่ ท่จี ะชว่ ยคงภาวะตดิ สังคมให้แก่ผสู้ งู อายุกลุ่มนี้ รปู แบบ ของการศึกษาตลอดชีวติ ดงั กล่าว ไดแ้ ก่ การออกแบบกจิ กรรมที่ให้ความรู้ในเรื่องทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับคุณภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุ ท่ีเปิดโอกาสใหผ้ สู้ ูงอายุ กลุ่มตดิ สงั คมได้ออกมาทำกิจกรรมรว่ มกันอย่างสมำ่ เสมอ ซง่ึ ลกั ษณะของกิจกรรมกลุ่มนี้ก็เพ่ือป้องกันไม่ให้ ผ้สู งู อายกุ ลุม่ ติดสังคมมีพัฒนาการไปเป็นผู้สงู อายภุ าวะพ่ึงพิง (ตดิ บา้ นและตดิ เตียง) ตราบเท่าท่ีผสู้ ูงอายยุ ัง สามารถคงสมรรถนะทางกาย จิตและสมองไว้ไดย้ นื ยาวขึ้นหรือตลอดชวี ติ ย่อมสรา้ งประโยชนใ์ หแ้ กค่ รอบครวั ชุมชนและสังคมได้ อีกทัง้ ยังช่วยลดภาระคา่ ใช้จ่ายในการดูแลรกั ษาของภาครฐั ได้จำนวนมาก ปัจจัยสำคญั ของ การทีจ่ ะคงภาวะติดสงั คมในผู้สูงอายไุ วใ้ หน้ านทีส่ ดุ ขึ้นอยู่กับการทผี่ ู้สงู อายุมโี อกาสเข้าร่วมกจิ กรรมที่ เหมาะสมและอย่างสมำ่ เสมอ สำนักงาน กศน. จงึ ดำเนินการจดั ทำแนวทางการดำเนนิ งานและรปู แบบการจัดกิจกรรมพฒั นาทักษะ ชีวติ ใน 4 มติ ิ ได้แก่ มิตดิ ้านสุขภาพ ดา้ นสังคม ดา้ นเศรษฐกจิ และด้านสภาพแวดลอ้ ม เพอื่ ส่งเสริมการเตรยี ม ความพร้อมในทกุ มิตใิ หผ้ สู้ งู อายมุ ีโอกาสในการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตตอยา่ งต่อเนื่องผ่านหลกั สูตร/ กจิ กรรม ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย เพอื่ ผู้สูงอายุจะไดร้ บั การพฒั นาและมคี ุณภาพชีวิตท่ดี แี ละดำรงชวี ติ อยใู่ น สงั คมได้อยา่ งมีคุณภาพและมีความสุข การวเิ คราะหป์ ัญหาและอุปสรรคใน 4 มิติ สำหรบั สงั คมผู้สงู วัย การวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค 4 มิติ (มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสภาพแวดล้อม) จากการเพ่ิมข้ึนของประชากรสูงวัยอย่างต่อเนื่อง ในขณะท่ีประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ส่งผลให้ สดั ส่วนของคนวยั ทำงานต่อผู้สงู อายุจะทยอยลดลงเร่ือย ๆ จากคนวัยแรงงาน 6.4 คน ตอ่ ผู้สูงอายุ 1 คน ในปี พ.ศ. 2548 จะลดลงเหลือวัยแรงงาน 5.4 คนต่อผู้สูงอายุ 1 คน ในปี พ.ศ. 2563 และวัยแรงงานลดลง เหลือเพียง 1.9 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คน ในปี พ.ศ. 2578 ทำให้ฐานภาษีของประเทศแคบลง ส่งผลต่อการ จัดเก็บรายได้จากภาษีเงินได้ของภาครัฐที่จะนำมาใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศลดลงตามไปด้วย ในขณะท่ี ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุเพิ่มข้ึน อาทิ เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุหรือค่ารักษาพยาบาล ซึ่งอาจนำไปสู่ การขาดดุลงบประมาณ และการสะสมหนี้สาธารณะเพ่ิมขึ้นได้ในอนาคต และจากกำลังแรงงานท่เี ป็นปจั จัยการ ผลิตลดลง ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประชากรวัยสูงอายุท่ีต้องเกษียณอายุ การทำงานมีจำนวนมากขึ้น ดังนั้น จะทำอย่างไรทจี่ ะยงั คงประชากรวัยสูงอายุท่ีมีคณุ ค่าและ มีศักยภาพเหล่านี้ ให้อยู่ในระบบการทำงานให้นานท่ีสุด สามารถทำคุณประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้ ดังน้ัน สิ่งท่ีควรจะคำนึงถึง คือ ประชากรวัยทำงานซึ่งมีอายุที่ยืนยาวมากข้ึน ซ่ึงเป็นทุนมนุษย์ ท่ีจะประคับ ประคองเศรษฐกจิ ในอนาคต ประเด็นสำคัญลำดับแรก คือ จะทำอย่างไรให้ประชากรวัยทำงานมีความพร้อม ทั้งการมีสุขภาพท่ีดี มีทักษะการทำงานท่ีหลากหลาย มีเงินออมไว้ใช้หลังเกษียณอย่างเพียงพอจนส้ินอายุขัย มีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางสังคม และมีสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและปลอดภัยต่อการใช้ชีวิตยามสูงวัย เพ่ือรองรับผู้สูงอายุทั้งใน ปัจจุบันและอนาคตให้มีคุณภาพชีวิตทดี่ ี แต่เน่ืองจากปจั จุบันระบบสวัสดกิ ารภาครัฐที่สร้างหลักประกันรายได้ ให้กับผู้สูงวัยมีอยู่หลากหลายระบบ และต่างหน่วยงานต่างมีผู้รับผิดชอบที่แตกต่างกัน ขาดการบูรณาการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ ๖ ร่วมกัน เกิดความไม่เป็นเอกภาพ อาทิ เง่ือนไขการเกิดสิทธิ การสมทบจากรัฐ และระดับสิทธิประโยชน์ ที่แตกต่างกันและยังส่งผลให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา อาทิ ความไม่เพียงพอของเงินเพื่อการยังชีพ ความไม่ ย่ังยืนของกองทุน เมื่อโครงสร้างประชากรเปล่ียนแปลงไป ความไม่ครอบคลุมประชากรวัยแรงงานทุกคน โดยเฉพาะแรงงานนอกระบบเป็นจำนวนมากที่ยังตกหล่น ไม่อยู่ในระบบประกันรายได้ใด ๆ ทั้งส้ิน หรือความ ซ้ำซ้อนของผู้รับสิทธิประโยชน์อันเน่ืองมาจากต่างระบบ ต่างก็มีระบบฐานข้อมูลที่แตกต่างกัน ยิ่งไปกว่าน้ัน สมาชิกไม่สามารถย้ายกองทุนเมื่อมีการเปล่ียนงาน ทำให้การส่งเงินสมทบไม่ต่อเน่ือง และยังส่งผลให้ขาด คุณสมบตั ใิ นการรับเงนิ บำนาญหรือรบั ไดไ้ มเ่ ตม็ จำนวน ในปี พ.ศ.2564 ประเทศไทยก็จะกลายเป็นสังคมสูงอายุระดับสมบูรณ์ (Aged Society) ในขณะท่ี บ้านของผู้สูงอายุมีสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและปลอดภัย เพียงแค่ร้อยละ 7.3 เท่าน้ัน ย่ิงไปกว่านั้น พื้นท่ี สาธารณะ อาทิ ตลาดสด ศูนย์บริการสาธารณสุข สวนสาธารณะ สถานีขนส่ง ศาสนสถานต่าง ๆ เป็นจำนวน มาก ยังคงไม่มีส่ิงอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ทางลาด ราวจับบันไดทางเดิน ห้องน้ำ ฯลฯ ในขณะท่ีกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการกำหนดส่ิงอำนวยความสะดวกในอาคาร สถานท่ี หรือบริการสาธารณะ สำหรับ คนพิการและผู้สูงอายุท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน จำนวน 3 ฉบับ (พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2555, และ พ.ศ. 2556) ยังไม่ได้ มีการบังคับอาคารทุกประเภท ไม่บังคับย้อนหลังกับอาคารท่ีส ร้างก่อนการบัญญัติ กฎกระทรวง ตลอดจนไม่มีการกำหนดบทลงโทษ หากไม่ปฏิบัติตาม จึงเป็นเหตุให้สภาพแวดล้อมในท่ีอยู่อาศัย และสถานท่ีสาธารณะ เป็นจำนวนมากยังคงไม่เหมาะสมและไม่ปลอดภัยต่อผู้สูงอายุ จากสถิติผู้สูงอายุที่ บาดเจ็บด้วยสาเหตุการ พลัดตกหกล้ม ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของกระดูกสะโพกหัก จากข้อมูลระหว่างปีพ.ศ. 2559–2562 พบว่า มีจำนวน 141,895 ราย ซึ่งเพ่ิมมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 29.5 จากปี พ.ศ. 2559 นำไปสู่ความพิการและ ทุพพลภาพ เป็นภาระของครอบครัว ชุมชน และรัฐต้องให้การดูแล และหาก เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการดูแล รกั ษาพยาบาลผู้สูงอายุท่ีหกล้ม กระดูกสะโพกหัก ศีรษะแตก จะเป็นจำนวน เงิน 100,000 บาทต่อคน ซึ่งสูงกว่าต้นทุนการปรับสภาพบ้านให้มีความเหมาะสม และร้อยละ 50 ของ ผู้สูงอายุท่ีรับการรักษาจากการหกล้ม คร่ึงหนึ่งจะเสียชีวิตภายในระยะเวลา 1 ปี ดังนั้น ประเด็น สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม จึงเป็นอีกหน่ึงประเด็นเร่งด่วนท่ีสำคัญมากท่ีควรได้รับการแก้ไข และด้วยอายุท่ี เพมิ่ มากขึน้ สภาพร่างกายก็เร่ิมทรุดโทรมและเจบ็ ป่วยเป็นโรคต่าง ๆ เพม่ิ ขึ้นตามไปดว้ ย โดยประมาณคร่ึงหน่ึง ของผู้สูงอายุ มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยผลกระทบด้านสุขภาพของ ผู้สูงอายุ จะก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา อาทิ ภาระค่าใช้จ่ายด้านการจัดสวัสดิการเพ่ิมข้ึน และจากการ คาดการณ์ค่าใช้จ่ายสุขภาพสำหรบั ผ้สู งู อายุเพ่ิมขึ้นจาก 60,000 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2553 เป็น 220,000 ลา้ นบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.8 ของ GDP ในปี พ.ศ. 2565 ซ่ึงรวมถึงกองทุนระบบการดูแลระยะยาวด้าน สาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มภี าวะพึ่งพิง (Long – term Care : LTC) ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คิดเป็นปีละประมาณ 1 พันล้านบาท ในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ และจัดหา ผดู้ แู ลด้านสุขภาพแบบไม่เตม็ เวลา (part time care giver) สังคมสูงวัยมิใช่เป็นเรื่องของผู้สูงอายุเพียงวัยเดียว แต่เป็นเร่ืองของคนทุกวัยและทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจท่ีทำคุณประโยชน์เพ่ือสังคม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา ครอบครัว อาสาสมัคร และชุมชน ที่จะต้องตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมไปด้วยกัน เพื่อเข้าสู่ สงั คมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ จากโจทยป์ ระเด็นทา้ ทายต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ภาครัฐจงึ มีความจำเป็นอยา่ งยิ่ง ท่ี จะต้องเร่งปฏิรูประบบต่าง ๆ ในทุกมิติในวันน้ี เพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับสังคมสูงวัยคนไทยอายุยืน ใน อนาคตอีก 15 ปี ที่จะมาถงึ ในไมช่ า้ น้ี เพ่อื สร้างหลกั ประกนั การดำรงชีวติ ท่ีดใี ห้แกป่ ระชาชนทุกคน อย่างเสมอ ภาค เท่าเทียม และท่ัวถึง สร้างความเป็นธรรม ลดความเหล่ือมล้ำระหว่างบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม บรรลุ วิสยั ทัศน์ท่ีกำหนดไว้ในยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ท่ีว่า “ประเทศไทยมีความมนั่ คง ม่งั คั่ง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ ๗ ย่ังยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จากปัญหาและ อุปสรรคท่ีกล่าวมาข้างต้น มาตรการดำเนินการที่ดีท่ีสุด คือ การส่งเสริมให้คนไทย มีสุขภาพดีให้นานที่สุด ลดช่วงเวลาท่ีเจบ็ ป่วยและภาวะพ่ึงพิงผู้อื่นให้นอ้ ยลง พึ่งพาตนเองเปน็ หลักให้มากท่ีสุด โดยการส่งเสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกันโรคตั้งแต่วัยเยาว์ตามหลักการ “สร้างนำซ่อม” ซ่ึงปจั จุบัน หลายกระทรวง ได้เขา้ ไปส่งเสริม สนบั สนุน ใหม้ ีศูนย์ต่าง ๆ ประจำตำบลภายใต้ชือ่ ต่าง ๆ ตวั อย่างเช่น ศูนย์พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์) ศูนย์อยู่ดี (กระทรวงมหาดไทย) ศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ (กระทรวงสาธารณสุข) ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการจัด กิจกรรมของผู้สูงอายุและคนทุกวัยในชุมชนตามความต้องการ ซ่ึงศูนย์เหล่านี้ควรบูรณาการเป็นศูนย์เดียวกัน (Operation Unit) ภายใต้การกำกับดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น น้ัน ๆ โดยได้รับการสนับสนุน ทรัพยากรดำเนินงานจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในส่วนท่ีเกินขีดความสามารถ เพ่ือการบริหารจัดการที่มี เอกภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดความคุ้มค่าของการใช้จ่ายงบประมาณ ลดความซ้ำซ้อน สร้างความ เจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ทำให้มกี ารพัฒนานวตั กรรมที่เออ้ื ประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ติ ของผู้สูงอายุ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือรองรบั สังคมผ้สู ูงวัยในปจั จบุ ัน ปจั จุบันเทคโนโลยี และนวัตกรรมมสี ว่ นสำคญั ต่อการดำรงชวี ติ ของประชากรไทย และมีส่วนสำคญั ใน การสง่ เสรมิ สนับสนุนการพฒั นาคุณภาพชีวติ คนทุกช่วงวัย ดงั นนั้ ในสถานการณ์สงั คมสูงวัยของประเทศไทย จงึ มีความจำเป็นทีต่ ้องใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม เพ่ือสนบั สนนุ การขับเคล่ือนมาตรการรองรบั สังคมสงู วยั คน ไทยอายยุ นื ในทุกมิติ แต่ปัจจุบนั การนำเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาปรับใช้กบั การทำงานด้านการพัฒนา คุณภาพชวี ิตประชากร เพื่อรองรบั สงั คมสงู วัยคนไทยอายยุ ืน ยงั มปี ญั หาในหลากหลายประเดน็ ดังต่อไปนี้ 1. ผ้สู งู อายสุ ่วนใหญ่ ขาดความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี ประกอบกับความวติ ก กังวล ในเร่ืองความเป็นสว่ นตวั และความปลอดภยั ทำให้ผสู้ งู อายไุ ม่ยอมรบั เทคโนโลยีใหม่ ๆ 2. ปญั หาการถกู มิจฉาชีพหลอกลวงจากสงั คมบนโลกออนไลน์ และการได้รับข้อมูลข่าวสาร ท่ี คลาดเคลือ่ น บดิ เบือน ไม่เปน็ ความจริง (Fake News) 3. นวัตกรรมบางอยา่ งท่ผี ลิตข้ึน ยังไม่รองรบั และสอดคล้องกบั การเชื่อมต่อ/สญั ญาณในประเทศไทย รวมถงึ การขอใบอนญุ าตจากภาครฐั ทีม่ ีขั้นตอนท่ียุง่ ยาก ซับซอ้ น ไม่เอ้ือต่อการดำเนินงาน 4. การทดลองนวัตกรรมและเทคโนโลยที ี่นำเข้าจากต่างประเทศ มขี ั้นตอนและระยะเวลาในการ ทดลองใชน้ วัตกรรมประมาณ 6 เดอื น และหากมีการนำเข้าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมชน้ิ ใหม่ ตอ้ งใชร้ ะยะเวลา ในขั้นตอนการขอใบอนุญาตนำเข้าแตล่ ะกรณี จึงทำให้การพัฒนาเทคโนโลย/ี นวัตกรรมเปน็ ไปอยา่ งล่าชา้ ขาด ความต่อเน่ือง 5. ตน้ ทุนการผลิตนวัตกรรมสูง ทำใหป้ ระชาชนทม่ี ีฐานะยากจนไม่สามารถเข้าถงึ นวตั กรรมดังกลา่ วได้ 6. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ยงั ไม่รองรับให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ สามารถเบิกจ่าย งบประมาณด้านดิจิทัล เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายดุ ว้ ยงบประมาณของตนเองได้ ทำให้องค์กรปกครอง สว่ นท้องถน่ิ บางแห่งถูกสำนกั งานตรวจเงินแผ่นดินท้วงติง การดำเนนิ ภารกจิ ดังกล่าวไม่สามารถเบิกจา่ ยได้ เพราะเป็นภารกิจทีซ่ ำ้ ซอ้ นกบั กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ๘ ความสำคัญของการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตผูส้ งู อายุ ปัจจุบันผู้สูงอายุต้องใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ในช่วงสุดท้ายของชีวิต ในการเรียนรู้ตลอดเวลาเช่นเดียวกบั คน ในวัยอ่ืน ๆ เพราะที่ผ่านมาเรามักเข้าใจว่า ผู้สูงอายุนั้นผ่านประสบการณ์มามากและควรจะอยู่ในฐานะผู้สอน ผู้ถ่ายทอดประสบการณ์มากกว่าบุคคลทั่วไป แต่หากเราพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วจะพบว่า ส่ิงท่ีเราเรียนรู้ จากผู้สูงอายุ เหล่านั้น คือ เรื่องราวความรู้และประสบการณ์ในอดีตที่เป็นรากเหง้าพ้ื นฐานของปัจจุบัน ผู้สูงอายุเหล่านั้นจะมีความภาคภูมิใจกับอดีตและยินดีถ่ายทอดได้อย่างเต็มความสามารถ แต่เน่ืองจาก สภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก และแตกต่างไปจากความรเู้ ดิมและ ประสบการณ์เดิมของผู้สูงอายุ ซ่ึงผู้สูงอายุจำเป็นต้องดำรงชีวิตท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงแปลกใหม่เหล่านี้ จงึ มคี วามจำเป็นอยา่ งยิ่งท่ีผู้สูงอายตุ ้องเรยี นรสู้ ิง่ ใหม่ ๆ อกี มากมาย อาทิ 1. ผู้สงู อายตุ ้องเรยี นรู้ทจี่ ะตอ้ งดแู ลสขุ ภาพตนเอง รจู้ กั ป้องกันโรค รจู้ กั การออกกำลงั กายที่เหมาะสม รจู้ ักการกนิ และการอยู่ 2. ผู้สูงอายุต้องเรียนรู้ที่จะมีสุขภาพจิตที่ดี เพ่ือท่ีจะได้ใช้ชีวิตในท่ามกลางการเปล่ียนแปลงไปได้ เรยี นร้ทู ีจ่ ะเข้าใจคนอืน่ และไมห่ งุดหงิดหรือเครยี ดอยู่ตลอดเวลา เพราะสภาพทางสังคมเปลี่ยนไปผสู้ ูงอายุ ตอ้ ง เรียนร้ทู ี่จะฟื้นฟูสมรรถภาพทส่ี ูญเสยี เส่อื มโทรมไปทั้งกายและใจ 3. ผู้สูงอายุต้องเรียนรู้ท่ีจะใช้บริการต่าง ๆ ของรัฐ อาทิ โรงพยาบาล สถานที่ราชการ การเดินทาง และการบริการอื่น ๆ แม้จะเป็นการใช้บริการซ้ำ ๆ จากสถานที่เดิม ๆ ที่มีความคุ้นเคย แต่ก็มีความจำเป็น ที่ผู้สูงอายุต้องเรียนรูท้ ่จี ะใชบ้ รกิ ารใหม่ ๆ เพิม่ มากข้นึ 4. ผู้สูงอายุต้องเรียนรู้เก่ียวกับกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง อาทิ บำเหน็จ บำนาญ พินัยกรรม ตลอดจน นิติกรรมสัญญาต่าง ๆ เพราะอย่างน้อยยงั มีสิทธใิ์ นฐานะประชาชนคนหนึ่งท่ีต้องใช้กฎหมายเป็นส่วนหนงึ่ ของ การดำรงชีวิต 5. ผู้สูงอายุต้องเรียนรู้ท่ีจะต้องมีอาชีพเสริม ถึงแม้ว่าจะเกษียณอายุจากงานท่ีเคยทำแล้วก็ตาม แต่ หลายคนก็ยังมีงานทำต่อไปเร่ือย ๆ ในงานท่ีเหมาะกับตนเอง เพราะตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่รายได้ก็เป็นส่ิงที่ จำเป็นยง่ิ ถ้าต้องอยู่อยา่ งลำพัง การมรี ายได้พอจุนเจอื ตนเองบ้าง ก็จะทำให้ชีวติ อยไู่ ด้โดยไม่เดอื ดร้อนหรอื เป็น ภาระใคร 6. ผู้สูงอายุต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนและต้องเรียนรู้ท่ีจะอยู่คนเดียว ผู้สูงอายุต้องเรียนรู้ท่ีจะอยู่ รว่ มกับผู้อ่ืนทต่ี ่างวัย ต่างทัศนคติ และอาจจะตอ้ งเรียนรู้ที่จะอยู่คนเดียว และในที่สุดผู้สูงอายกุ ต็ ้องเรียนรู้ ทจี่ ะ ตายจากไปอย่างสงบ ด้วยใจท่งี ดงามไม่เปน็ ทกุ ข ด้วยเหตุผลน้ี การจัดการศึกษาสำหรับผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญและมีความจำเป็นย่ิง และจะอำนวย ประโยชน์ต่อผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก ท้ังนี้ เป็นการศึกษาเพื่อช่วยให้การเตรียมตัวสำหรับผู้สูงอายุให้สามารถ จัดการชีวิตในบั้นปลายของตนเองได้อย่างมีความสุข สงบ ช่วยกระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความทันสมัย อยู่เสมอ สามารถรับทราบข้อมูลต่าง ๆ จากสังคมปัจจุบัน ซ่ึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการปรับตัว เพื่อให้ สามารถดำเนินชวี ติ ไดอ้ ย่างสมดลุ มีความสุข และเปน็ ผูส้ งู อายุทีม่ คี ณุ ค่าและมคี ณุ ภาพ นโยบายและกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกให้คนใน สังคม ตระหนักถึงผู้สูงอายุในฐานะบุคคลที่มีประโยชน์ต่อสังคม ให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของการ เตรียมการ เข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ ให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอย่างมีศักด์ิศรี มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และ สามารถพ่ึงพาตนเองได้ รวมถึงมหี ลกั ประกนั ให้ครอบครวั ชุมชน รวมถงึ องคก์ รภาครฐั และเอกชนมีส่วนร่วมใน ภารกิจ ดา้ นผู้สงู อายุ มีกรอบและแนวทางปฏิบัติสำหรบั ส่วนตา่ ง ๆ ในสงั คม ท้ังภาคประชาชน ชุมชน องคก์ ร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผ้สู ูงอายุ ๙ ภาครัฐและเอกชนทีป่ ฏิบัตงิ านเกยี่ วกบั ผสู้ งู อายุไดป้ ฏิบัติงานอยา่ งประสานและสอดคล้องกัน นอกจากนี้ แผน ผสู้ งู อายุแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 ไดแ้ บ่งยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านผสู้ งู อายุ ออกเป็น 5 ยทุ ธศาสตร์ ดังต่อไปน้ี 1. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการเตรยี มความพร้อมของประชากรเพอ่ื วัยสูงอายทุ ่ีมคี ุณภาพ 2. ยุทธศาสตรด์ า้ นการส่งเสริมและพฒั นาผ้สู งู อายุ 3. ยทุ ธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ 4. ยทุ ธศาสตร์ด้านการบริหารจดั การ เพื่อการพัฒนางานด้านผสู้ งู อายุระดบั ชาติและการพฒั นา บุคลากรด้านผสู้ งู อายุ 5. ยุทธศาสตร์ดา้ นการประมวลและพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นผ้สู ูงอายุ และการติดตาม ประเมินผล การดำเนินการ สำหรับพระราชบัญญัตผิ สู้ ูงอายุ พ.ศ. 2546 บญั ญตั ิใหผ้ ู้สูงอายุมีสทิ ธิไดร้ ับการค้มุ ครอง ส่งเสริม สนบั สนุนตามกฎหมาย ตามมาตรา 11 ดังต่อไปนี้ 1. ได้รับการบริการทางการแพทย์ และการสาธารณสขุ ทจี่ ัดไว้ โดยใหค้ วามสะดวกและรวดเร็ว แก่ ผู้สูงอายุเปน็ กรณีพเิ ศษ 2. ไดร้ บั การศกึ ษา การศาสนา และข้อมลู ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ 3. ไดร้ บั การส่งเสริมการประกอบอาชีพ หรอื ฝึกอาชีพที่เหมาะสม 4. ได้รับการพฒั นาตนเองและการมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสงั คม การรวมกล่มุ ในลกั ษณะเครือข่าย หรอื ชุมชน 5. ได้รับการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแกผ่ สู้ งู อายุในอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะ หรือการบริการสาธารณะอืน่ 6. ได้รับการช่วยเหลือดา้ นคา่ โดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม 7. ไดร้ บั การยกเว้นค่าเข้าชมสถานทข่ี องรัฐ 8. ไดร้ ับการช่วยเหลอื ในกรณีท่ีไดร้ บั อันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์ โดยมชิ อบด้วยกฎหมายหรือถูกทอดท้ิง 9. ได้รับการใหค้ ำแนะนำ ปรึกษา หรอื การดำเนินการอ่นื ท่ีเกี่ยวขอ้ งในทางคดี ในการแก้ไขปัญหา 10. ได้รบั การจัดท่พี ักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งหม่ ตามความจำเป็นอย่างทว่ั ถงึ 11. ได้รบั การสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจำเปน็ อย่างท่ัวถงึ และเป็นธรรม 12. ได้รบั การสงเคราะหใ์ นการจดั การศพตามประเพณี 13. ไดร้ ับบริการอนื่ ๆ ตามที่กรรมการผ้สู ูงอายุแหง่ ชาติประกาศกำหนด นอกจากน้ยี งั ได้บัญญตั ใิ หผ้ ู้ ที่เกี่ยวข้องกับผสู้ งู อายุ ได้รบั สิทธิทางภาษี ตามมาตรา 16 และ 17 14. ผทู้ ีบ่ รจิ าคเงินหรือทรัพย์สนิ ให้แก่กองทนุ ผู้สูงอายุแห่งชาติ มีสิทธินำไปลดหย่อนในการคำนวณ ภาษีเงินได้ หรือได้รบั การยกเวน้ ภาษสี ำหรบั ทรพั ยส์ ินทบี่ ริจาค แลว้ แต่กรณี 15. ผ้ทู อ่ี ุปการะเลี้ยงดูบุพการี ซ่ึงเปน็ ผ้สู ูงอายทุ ่ีไม่มรี ายได้เพยี งพอแกก่ ารยังชีพ มีสิทธไิ ด้รบั การ ลดหย่อนภาษี ตามหลกั เกณฑ์และเงื่อนไขทก่ี ำหนดในประมวลรษั ฎากรพระราชบัญญัตผิ ู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มีความมงุ่ หมายทจ่ี ะคมุ้ ครองและเอื้อประโยชนแ์ ก่ผูส้ ูงอายุที่มีอายุต้งั แต่ 60 ปีขึน้ ไป และมสี ญั ชาติไทย เช่น การได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสขุ การช่วยเหลือผสู้ ูงอายุท่ีถกู แสวงหาประโยชนอ์ นั เปน็ การ กระทำท่ีขดั ต่อหลักสิทธิมนุษยชน หรือถูกทอดทิ้ง ถูกทารุณกรรม ฯลฯ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ ๑๐ องค์ประกอบของการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตผ้สู งู อายุ ไดม้ ผี ศู้ ึกษาวิจยั เกีย่ วกบั การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุ และไดก้ ำหนดองคป์ ระกอบของ การจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรบั ผ้สู ูงอายุไว้ ดังน้ี 1. ด้านเป้าหมายการจัดการศึกษาหรือปรัชญาการศึกษา ประกอบไปด้วยการกำหนดเป้าหมาย เชิงพฤติกรรมด้านคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การกำหนดการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน การกำหนด เป้าหมายใช้กระบวนการคิดเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ และการกำหนดวิธี การวัด พฤตกิ รรมตามความเหมาะสมกับเน้อื หา 2. ด้านเนื้อหาสาระของการจัดการศึกษา ประกอบไปด้วย การกำหนดเน้ือหาให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงคุณภาพชีวิตด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม สติปัญญา การกำหนดเนื้อหา ที่เก่ียวกับการดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ การกำหนดเน้ือหาท่ีเหมาะสมกับความเป็นชุมชนและท้องถ่ิน ที่ผ้สู งู อายมุ ีส่วนร่วมในการกำหนด 3. ด้านผู้สอนหรือผู้ถ่ายทอดการจัดการศึกษา ประกอบด้วย การกำหนดวิธีสอนให้สอดคล้อง เหมาะสมกับผ้สู งู อายุ และแนวทางการสอนเอือ้ และยดึ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4. ด้านวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้/วิธีการเรียนการสอนของการจัดการศึกษา ประกอบด้วย ผู้สอน หรือผู้ถ่ายทอด มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาสาระที่กำหนด ครูผู้สอนหรือผู้ถ่ายทอด ได้รับการพัฒนา สนับสนุนการจดั การของผู้สงู อายุ การสรรหาครูผสู้ อน หรือผู้ถ่ายทอด 5. ด้านการเลือกสรรทรัพยากร สื่อ และอุปกรณ์ ประกอบด้วย มีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือการจัด การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต มีการระดมทรัพยากรของชุมชนทางการศึกษา มีการใช้ท รัพยากร ท่ีเหมาะสมคมุ้ คา่ ทีม่ กี ารใช้สอื่ และอปุ กรณใ์ นชุมชนและท้องถิ่นทีห่ ลากหลาย 6. ด้านสถานท่ีและสภาพแวดล้อมของการจัดการศึกษา ประกอบด้วย สถานที่มีความเหมาะสม สะดวกในการเดินทางของผู้สูงอายุ สถานท่ีมีบรรยากาศสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมเนื้อหาโดยรวม สถานท่ีมีส่ิงอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมตามเนื้อหา สาระ 7. ด้านกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้สูงอายุได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้สูงอายุได้มีโอกาส เรียนรู้ แลกเปล่ยี นรว่ มกัน ผู้สูงอายุได้แสดงความคดิ เห็น ตดั สนิ ใจ อย่างมเี หตุผล 8. ด้านการวัดและประเมินผล ประกอบด้วย การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์ ทก่ี ำหนด และมีวิธีวดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกับบริบทของกลุม่ เป้าหมายและชมุ ชน แนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ ผูส้ ูงอายใุ น 4 มิติ หลกั การดำเนินงาน สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. กศน.อำเภอ/เขต และ กศน.ตำบล/แขวง สามารถจัดการศึกษา เพื่อ พัฒนาทักษะชีวิตของผู้สูงอายุใน 4 มิติ (มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสภาพแวดล้อม) โดยมี หลกั การดำเนินงานและบทบาทหนา้ ทีด่ งั ตอ่ ไปนี้ 1. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุเป็นสำคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้อง กับ บริบท ศักยภาพและความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังความหลากหลายตามความแตกต่าง ของ กลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังบูรณาการหลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ตามความ เหมาะสม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผ้สู งู อายุ ๑๑ 2. พัฒนารูปแบบกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม โดยยึดหลักความสอดคล้องกับสภาพความต้องการ และความจำเป็นของกลมุ่ เป้าหมาย และใหเ้ ป็นไปตามบริบทของชุมชน สังคม รวมถึงนโยบายของทางราชการ 3. มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้พ้ืนฐาน ทักษะ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใน 4 มิติ (มิติสุขภาพ มิตสิ ังคม มิติเศรษฐกิจ และมติ ิสภาพแวดลอ้ ม) ตามสภาพและความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย 4. ยึดหลักการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ข่าย ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น หรือปราชญ์ชาวบา้ นในการดำเนนิ งาน วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสรมิ ให้กล่มุ เปา้ หมายผ้สู งู อายุ ไดเ้ รยี นรเู้ กีย่ วกับการพฒั นาทกั ษะชวี ิตของตนใน 4 มิติ ดังนี้ 1. มติ ิสขุ ภาพ ให้ผู้สงู อายมุ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะในการชะลอความเสอื่ มภายในรา่ งกาย ของ ตน การคงสมรรถนะทางด้านความจำ การมีสุขภาพจิตที่ดี ห่างไกลจากภาวะซึมเศร้า เพื่อการมีสุขภาวะและ คุณภาพชวี ติ ทีด่ ีขน้ึ 2. มิติสังคม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของตน การเข้าถึงบริการ ภาครัฐ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับผู้สูงอายุ การสร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับคนในครอบครัวและสังคม รวมถึง การสรา้ งเครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ การถ่ายทอดภมู ปิ ัญญา และการเปน็ จิตอาสา 3. มิติเศรษฐกิจ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการวางแผนทางการเงิน การออม ในรูปแบบต่าง ๆ การจ้างงานสำหรับผู้สูงอายุ และเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ หรือต่อยอดอาชีพเดิม เพิม่ รายได้ 4. มิติสภาพแวดล้อม เพ่ือให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจถงึ การจัดสภาพแวดล้อมภายในท่ีพักอาศัย และการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดลอ้ มภายนอกที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีมีผล ตอ่ ผู้สงู อายุ รวมถงึ รู้เท่าทันและสามารถใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม และปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนท่ัวไป ท่มี ีอายุ 60 ปขี น้ึ ไป รูปแบบการจดั กจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิตผู้สูงอายใุ น 4 มิติ รปู แบบการจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ ผู้สูงอายใุ น 4 มิติ มี 4 รปู แบบ ดังนี้ 1. การเรียนรู้รายบคุ คล เป็นการเรียนรู้ของผู้สงู อายบุ คุ คลใดบคุ คลหน่งึ ที่ตอ้ งการจะเรียนรใู้ น เนอ้ื หา ใดเน้ือหาหน่ึงเป็นการเฉพาะ ซ่ึงเป็นความสนใจเฉพาะตัว ตามกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ ของ สถานศึกษา โดยมกี ารวางแผนและออกแบบการเรยี นรู้ ท่ตี อบสนองความตอ้ งการของผเู้ รียนแต่ละบคุ คล 2. การเรียนร้เู ป็นกลุ่ม เปน็ การจดั การเรยี นรูใ้ หผ้ ู้เรยี นตัง้ แต่ 2 คนขน้ึ ไป โดยมกี ารรวมกนั ทำกจิ กรรม ที่สนใจและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ 3. การเรียนรู้จากฐานการเรียนรู้ เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความ ต้องการ ความสนใจ ตามฐานการเรียนรู้ที่จัดให้ โดยมีวิทยากรให้ความรใู้ นแต่ละฐานการเรียนรู้ 4. การเรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรู้ เป็นการเรยี นรู้จากสภาพจริง จากบุคคล สถานที่ ธรรมชาติ หน่วยงาน องค์กร สถานประกอบการ ชุมชน และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ซึ่งผู้เรียน ผู้สอน สามารถศึกษาค้นคว้า หาความรู้ หรอื เรอื่ งท่ีสนใจได้จากแหลง่ เรยี นร้ทู ง้ั ทเ่ี ปน็ ธรรมชาติ และท่ีมนุษยส์ รา้ งข้นึ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ ๑๒ จดุ มุง่ หมายของการจัดกิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวติ ผสู้ ูงอายุใน 4 มิติ การจดั กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ติ ผูส้ ูงอายุใน 4 มติ ิ มีจดุ มงุ่ หมาย ดงั ต่อไปน้ี มติ สิ ขุ ภาพ เปน็ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่มี ีจดุ มงุ่ หมาย เพื่อเตรียมความพร้อมด้านสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ ดีให้กับผู้สูงอายุ ให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ และอุบัติภัยต่าง ๆ ลดภาวะซึมเศร้า คงสมรรถนะทางกาย จิต และสมอง ยอมรับและเห็นคุณค่าในตนเอง รู้กินรู้อยู่ รู้จักป้องกันโรค รู้จักออกกำลังกายท่ีเหมาะสม เพ่ือสุข ภาวะ และคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีข้นึ ของผู้สงู อายุ มติ สิ งั คม เปน็ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่มีจุดมงุ่ หมาย เพือ่ เตรียมความพร้อมให้ผสู้ งู อายสุ ามารถอยใู่ นสงั คมได้ อย่างสมดุลและปกติสุข เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนและอยู่คนเดียว รับรู้เก่ียวกับสิทธิประโยชน์ของตน เรียนรู้ กฎหมายที่เก่ียวข้อง ตลอดจนนิติกรรมสัญญาต่างๆ ตลอดจนสามารถเขา้ ถึงบริการของภาครัฐได้อย่างถูกต้อง รวดเรว็ และมีคุณภาพ มติ เิ ศรษฐกิจ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุ อาทิ การวางแผนทางการเงิน การออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ การจัดการทรัพย์สิน การมองเห็นช่องทางในการ เข้าสู่อาชีพเพื่อสร้างรายได้เสริม รวมถึงการจ้างงานตามศักยภาพของผู้สูงอายุ โดยพิจารณา ถึงบริบทและ ความตอ้ งการของผเู้ รยี นแต่ละบุคคล มติ ิสภาพแวดลอ้ ม เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการ เตรยี มความพร้อมด้านท่ีอยู่อาศัย สิ่งอำนวยความสะดวก และสภาพแวดล้อมท่ีเป็นมิตร และปลอดภัยสำหรับ ตนเอง รวมถึงสามารถเข้าถึงบริการทางสังคมไดอ้ ย่างรวดเร็วและมีคุณภาพ ตลอดจนรู้เท่าทันและสามารถ ใช้ เทคโนโลยใี นชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ ๑๓ บทที่ ๓ วธิ ีการดำเนินโครงการ ๑. วธิ ีดำเนนิ การ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ ดำเนนิ การ ประมาณ ๑. ประชุมวางแผน - เพื่อสร้างความเข้าใจ ชแี้ จงการดำเนินการ ในการดำเนินงาน ครู กศน. 4 คน กศน.อำเภอ 23 - จดั โครงการฯ โครงการ อำเภอ หนองพอก หนองพอก มิถุนายน ๒๕๖5 ๒. เสนอขออนุมัติ - เพื่อขออนุมตั ิโครงการ ผู้อำนวยการ 1 คน กศน.อำเภอ 23 - กศน.อำเภอ หนองพอก มิถนุ ายน 2,100 โครงการฯ และลงนามคำส่งั แต่งต้ัง หนองพอก ๒๕๖5 ประชาชน ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ผ้สู ูงอายุ 30 คน ตำบลหนอง 28 พอก มิถุนายน ๓. ประชาสมั พันธ์ - เพื่อประชาสมั พันธใ์ ห้ ประชาชน ตำบลรอบ ๒๕๖5 ผสู้ งู อายุ เมอื ง โครงการและประสาน กล่มุ เป้าหมายเข้าร่วม ตำบลท่าสดี า คณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย โครงการ - ตำบล หอประชุม 1 หนองพอก กศน.อำเภอ กรกฎาคม ๔. ดำเนนิ การจดั เพ่อื สง่ เสริมการจดั 10 คน หนองพอก 2565 - ตำบลรอบ โครงการจัดและ การศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือ เมอื ง 10 คน สง่ เสรมิ การจัด คงพฒั นาการทางกาย - ตำบลท่าสี ดา 10 คน การศกึ ษาตลอดชีวติ จติ และสมองของ ๒ เลม่ กศน.อำเภอ 1 เพ่อื คงพฒั นาการทาง ผสู้ งู อายุ ได้เรยี นรู้ หนองพอก กรกฎาคม 2565 กาย จติ และสมอง เกย่ี วกับการพฒั นา ของผ้สู งู อายุ ทักษะชีวิตใน 4 มติ ิ คือ มิติสุขภาพ มิตสิ งั คม มติ ิเศรษฐกจิ และมิติ สภาพแวดล้อม ๕. ประเมนิ ผลและ เพอื่ สรปุ ผลการจัด สรปุ ผลการดำเนนิ งาน โครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวัดร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ ๑๔ ๒. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ จากเงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจำปี พ.ศ. ๒๕๖5 แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์พัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผ้สู งู อายุ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิตผสู้ ูงอายุ งบรายจา่ ยอ่นื ค่าใช้จา่ ยโครงการ การจดั และส่งเสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ รหสั งบประมาณ 200023๑00๓๙00๕๐๐๐00๒ แหลง่ ของเงนิ 6511๕๐0 จำนวน ๒,๑00 บาท (สองพันหน่งึ รอ้ ยบาทถ้วน) รายละเอยี ดงบประมาณการ ดังนี้ คา่ วสั ดุ เป็นเงิน ๒,๑00 บาท รวมเปน็ เงนิ ทัง้ ส้ิน ๒,๑00 บาท (สองพนั หน่งึ รอ้ ยบาทถ้วน) * หมายเหตุ - ทกุ รายการถัวจา่ ยเทา่ ที่จ่ายจริง ๓. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๖4 ม.ค.-มี.ค. ๒๕65 เม.ย.-ม.ิ ย. ๒๕65 ก.ค.-ก.ย. ๒๕65 ๑. ร่างโครงการ/ขออนุมตั ิโครงการ ๒. ประชมุ ชีแ้ จง /วางแผนดำเนนิ โครงการ ๓. ประสานเครอื ขา่ ย 2,100 ๔. ดำเนนิ การจัดอบรม โครงการ จัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษา ตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทาง กาย จิต และสมองของผูส้ งู อายุ ๕. สรุป/รายงานผลการดำเนนิ งาน ๔. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางวารณุ ี ไชยกฉุ นิ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 5. เครือข่าย ๑. โรงพยาบาลอำเภอหนองพอก 2. สาธารณสขุ อำเภอหนองพอก 6. ผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชนผู้สูงอายุได้เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี ท้ังด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสภาพสังคม ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป ก้าวสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมคี ุณภาพ และมีความพรอ้ มในการดำรงชวี ติ บ้ันปลายอย่างมคี วามสุข 7. เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการประเมิน - ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ - การสงั เกตผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผูส้ งู อายุ ๑๕ 8. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ประเมินได้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมโดยวธิ กี ารใช้แบบสอบถามความพงึ พอใจ ซ่งึ มขี ัน้ ตอนการ ดำเนนิ งาน ดงั นี้ 1. ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยวิธแี จกแบบสอบถามการประเมนิ ความพึงพอใจให้กับผูเ้ ข้ารว่ ม ในโครงการจดั และส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิตเพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ จำนวน 30 คน และเก็บรวบรวมข้อมลู กลบั ดว้ ยตนเอง การจดั ทำข้อมูล 1. ได้รับการตอบแบบสอบถามออนไลน์กลับคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามมีความ สมบรู ณ์ จำนวน 30 ฉบบั คดิ เป็นร้อยละ 100 2. นำแบบสอบถามมาตรวจใหค้ ะแนนตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) (บุญชม ศรีสะอาด ,2541, หนา้ 113) ดังน้ี มีสภาพการปฏิบัตมิ ากทสี่ ดุ ให้ 5 คะแนน มสี ภาพการปฏิบัตมิ าก ให้ 4 คะแนน มสี ภาพการปฏิบตั ปิ านกลาง ให้ 3 คะแนน มสี ภาพการปฏิบัติน้อย ให้ 2 คะแนน มสี ภาพการปฏิบัติน้อยท่ีสดุ ให้ 1 คะแนน 3. นำคะแนนทไี่ ดห้ าค่าทางสถติ ิด้วยเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถิติ 9. การวเิ คราะหข์ ้อมลู การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูลการการประเมินความพึงพอในโครงการจัดและส่งเสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวิตเพอ่ื คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน ไดน้ ำเสนอ การวิเคราะห์ขอ้ มลู และการแปลผลขอ้ มูลตามลำดับดงั นี้ 1. สัญลกั ษณ์ท่ีใชน้ ำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 2. ข้ันตอนนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล การวิเคราะหข์ ้อมูลการศกึ ษาครั้งนี้ วเิ คราะหโ์ ดยใช้สถิตบิ รรยาย ดังน้ี 1. ค่าร้อยละ (Percentage) เพ่ือวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมไดจ้ ากแบบสอบถามตอนท่ี 1 f P= N 100 เมอื่ P คือ ร้อยละ f คือ ความถที่ ีต่ ้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N คอื จำนวนประชากรทง้ั หมด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ ๑๖ ขน้ั ตอนนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ตอนท่ี 1 เป็นผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกับสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถามได้แก่ เพศ สถานะภาพ อายุ วุฒกิ ารศึกษา โดยใช้ ความถี่และคา่ ร้อยละ เสนอในรูปแบบตาราง ตอนท่ี 2 เปน็ ผลการวเิ คราะห์เกี่ยวกับการประเมนิ ความพึงพอในโครงการจัดและสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวิตเพือ่ คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ โดย การหาค่าเฉลีย่ , สว่ นเบย่ี งเบน มาตรฐานเปน็ โดยรวมและรายดา้ น เสนอในรูปแบบตาราง 10. การแปลผลจากการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. วเิ คราะหส์ ภาพทว่ั ไป ของผูต้ อบแบบสอบถาม จำแนกตาม เพศ สถานภาพ อายุ วุฒิ โดยใช้ ความถ่แี ละคา่ ร้อยละ 2. วิเคราะห์การประเมนิ ความพงึ พอในโครงการจัดและสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ เพ่ือคง พฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน 3. โดยการหาค่าเฉลยี่ และสว่ นเบย่ี งแบนมาตรฐาน เป็นรายด้านและโดยรวม เสนอในรูปแบบตาราง 4. นำผลการวเิ คราะห์ทางสถิตมิ าแปลผล ดังน้ี (รวีวรรณ ชินะตระกลู , 2542, หนา้ 182) ค่าเฉล่ีย 4.50 – 5.00 แปลความหมายวา่ มสี ภาพการปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลยี่ 3.50 – 4.49 แปลความหมายว่า มีสภาพการปฏบิ ตั ิอย่ใู นระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 2.50 – 3.49 แปลความหมายว่า มสี ภาพการปฏบิ ตั ิอยูใ่ นระดับ ปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 แปลความหมายวา่ มสี ภาพการปฏบิ ตั ิอย่ใู นระดบั น้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 แปลความหมายว่า มีสภาพการปฏบิ ตั ิอยูใ่ นระดบั น้อยทีส่ ดุ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผ้สู ูงอายุ ๑๗ บทที่ ๔ ผลการดำเนนิ การ วเิ คราะห์และสรปุ ผล โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ ไดจ้ ัดทำแบบสอบถามทั้งหมด 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 เปน็ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เกย่ี วกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามได้แก่ เพศ สถานภาพ อายุ วุฒกิ ารศกึ ษา โดยใช้ ความถแ่ี ละคา่ รอ้ ยละ เสนอในรูปแบบตาราง ตอนที่ 2 เปน็ ผลการวเิ คราะหเ์ กีย่ วกบั ระดบั ความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ โดย การหาค่าเฉล่ีย, สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน เปน็ โดยรวมและรายดา้ น เสนอในรูปแบบตาราง ตอนท่ี 3 ขอ้ คดิ เห็น และข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการประเมนิ จากแบบสอบถาม 30 ชดุ เม่ือนำมาวิเคราะห์ข้อมูล ปรากฏผลดงั ตอ่ ไปน้ี ตอนที่ 1 เป็นผลการวเิ คราะห์เกีย่ วกบั สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตาม เพศ สถานภาพ อายุ วุฒิการศึกษา แสดงไว้ในตารางที่ 1 – 4 ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนและรอ้ ยละผู้เข้ารับการอบรม จำแนกตามเพศ เพศ จำนวน ร้อยละ เพศหญงิ 27 90 เพศชาย 3 10 รวม 30 100 จากตารางที่ 1 พบว่าผทู้ ต่ี อบแบบสอบถามจำนวน 30 คน เพศหญงิ จำนวน 27 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 เพศชาย จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10 ตารางที่ 2 แสดงจำนวนและร้อยละผ้เู ขา้ รบั การอบรม จำแนกตามสถานภาพ สถานภาพ จำนวน รอ้ ยละ โสด - - สมรส 25 83 5 17 หม้าย/หย่าร้าง 30 รวม 100 จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผู้ที่ตอบแบบสอบถามจำนวน 30 คน โสด จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ - สมรส จำนวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 83 หมา้ ย/หย่าร้าง จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 17 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผ้สู งู อายุ ๑๘ ตารางที่ 3 แสดงจำนวนและร้อยละผ้เู ขา้ รับการอบรม จำแนกตามอายุ อายุ จำนวน ร้อยละ ตำ่ กว่า 15 ปี 0 0 15 - 25 ปี 0 0 29 - 39 ปี 0 0 40 - 59 ปี 0 0 60 ปีขนึ้ ไป 30 100 30 ๑๐๐ รวม จากตารางที่ 3 พบว่าผทู้ ี่ตอบแบบสอบถามจำนวน 30 คน ต่ำกวา่ 15 ปี จำนวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0 15 - 25 ปี จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 29 - 39 ปี จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 40 - 59 ปี จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 60 ปีขึน้ ไป จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ 4 แสดงจำนวนและรอ้ ยละผ้เู ขา้ รับการอบรม จำแนกตามวฒุ ิการศึกษา วุฒิการศกึ ษา จำนวน รอ้ ยละ ป.4 6 20 ประถมศกึ ษา 12 40 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 4 13 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 8 27 ปริญญาตรี - - 30 100 รวม จากตารางที่ 4 พบว่าผทู้ ่ตี อบแบบสอบถามจำนวน 30 คน ระดับ ป.4 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 คิดเปน็ รอ้ ยละ 40 ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 13 คิดเปน็ ร้อยละ 27 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ - ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 8 คน ระดับปรญิ ญาตรี จำนวน - คน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ๑๙ ตอนท่ี 2 ระดับความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ตารางท่ี 5 แสดงจำนวนและรอ้ ยละผู้เขา้ รว่ มโครงการ จำแนกตามรายการประเมิน รายการประเมิน / คน 5 ระดบั ความพงึ พอใจ 1 N Mean SD. เกณฑ์ 4 32 ประชากร คา่ เฉลยี่ การ ด้านท่ี 1 ด้านสถานทีจ่ ดั กจิ กรรม 1. สถานทท่ี ี่จดั กจิ กรรมมีความเหมาะสม มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ( คน )  ประเมิน 2. สถานท่ีมีความเหมาะสมใช้ประโยชน์ได้อยา่ ง ท่สี ดุ กลาง ที่สดุ คมุ้ คา่ 8 22 0 30 4.27 0.44 มาก ด้านที่ 2 ด้านครู / บคุ ลากร 7 21 2 30 4.17 0.52 มาก 1. ครู / บุคลากร มีกระบวนการทำงานเปน็ ทมี 2. ครู / บุคลากร วิทยากร มกี ารให้คำแนะนำแก่ 4.22 0.48 มาก ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม 3. ครู / บคุ ลากร วทิ ยากร มีความเอาใจใส่เป็น 11 19 0 30 4.37 0.48 มาก กนั เองกบั ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 9 21 0 30 4.30 0.46 มาก ด้านที่ 3 ดา้ นการจัดกจิ กรรมให้ความร้/ู วิทยากร 12 18 0 30 4.40 0.49 มาก 1. มีการจัดกิจกรรมทม่ี าใหค้ วามรู้ทหี่ ลากหลาย 4.36 0.48 มาก 2. วิทยากรให้คำแนะนำในการจดั กจิ กรรม 3. ไดร้ บั ความรู้ และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการ 13 17 0 30 4.43 0.50 มาก เรียนรู้ 14 16 30 4.47 0.50 มาก ด้านที่ 4 ดา้ นสื่อ วัสดุ อปุ กรณ์และเอกสาร 9 21 30 4.30 0.46 มาก 1. มกี ารนำสอ่ื เทคโนโลยมี าใช้ในการจัดกจิ กรรม 2. มสี อื่ เอกสารวสั ดฝุ ึกในการจดั กจิ กรรมใหแ้ ก่ 4.40 0.48 มาก ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมอยา่ งเพยี งพอ 12 15 3 30 4.30 0.64 มาก ดา้ นท่ี 5 ดา้ นระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม 8 22 0 30 4.27 0.44 มาก 1. ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 4.28 0.54 มาก 14 16 30 4.47 0.50 มาก 4.47 0.50 มาก ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ งู อายุ ๒๐ รายการประเมนิ / คน 5 ระดับความพงึ พอใจ 1 N Mean SD. เกณฑ์ 4 32 ประชากร ค่าเฉลยี่ การ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ( คน )  ประเมิน ที่สุด กลาง ที่สุด ด้านท่ี 6 ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับในการร่วมกิจกรรม 1. มคี วามรู้ความเข้าใจในเนอื้ หาทไี่ ดร้ ับ 14 16 30 4.47 0.50 มาก 2. ความรูท้ ไ่ี ดร้ ับสามารถนำไปปรบั ใชใ้ น 13 17 30 4.43 0.50 มาก ชีวติ ประจำวันได้ 30 4.40 0.49 มาก 3. สามารถนำความรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปขยายผลในชมุ ชนได้ 12 18 4.43 0.49 มาก ผลรวม 156 259 5 420 4.36 0.50 มาก จากตารางที่ 5 พบว่า การประเมินความพงึ พอในโครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิต เพือ่ คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ เมื่อพจิ ารณาโดยภาพรวม อยู่ในระดบั มาก (μ = 4.36) และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ อยู่ในระดบั มากสุด โดยหวั ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสดุ คือ ดา้ นระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม (μ = 4.47) รองลงมา คือ ดา้ นผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั ในการร่วมกจิ กรรม (μ =4.43 ) ด้านการจัดกิจกรรมให้ความร/ู้ วิทยากร (μ = 4.40) ด้านสอ่ื วัสดุ อุปกรณ์ และเอกสาร (μ =4.28) ค่าเฉลย่ี น้อยทสี่ ดุ ด้านสถานท่ีจัดกจิ กรรม (μ =4.22) ตอนท่ี 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม - ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ๒๑ บทท่ี ๕ สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการประเมินโครงการ จากการประเมนิ โดยแจกแบบสอบถาม พบผลการประเมนิ ดังน้ี การประเมนิ แบ่งออกเปน็ 6 ดา้ น พบวา่ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ด้านที่ 1 ด้านสถานท่ีจัดกจิ กรรม 1. สถานที่ท่จี ัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม มีความพงึ พอใจในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย = 4.27 2. สถานทม่ี ีความเหมาะสมใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างคุม้ ค่า มีความพึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉล่ีย = 4.17 ดา้ นท่ี 2 ดา้ นครู / บุคลากร 1. ครู / บุคลากร มกี ระบวนการทำงานเป็นทีม มีความพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย = 4.37 2. ครู / บุคลากร วทิ ยากร มีการใหค้ ำแนะนำแก่ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม มีความพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย = 4.30 3. ครู / บคุ ลากร วทิ ยากร มีความเอาใจใส่เป็นกนั เองกบั ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มคี วามพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.40 ดา้ นท่ี 3 ด้านการจัดกจิ กรรมใหค้ วามร/ู้ วิทยากร 1. มกี ารจัดกิจกรรมทีม่ าให้ความรูท้ ่ีหลากหลาย มีความพึงพอใจในระดับ มาก คา่ เฉลี่ย = 4.43 2. วทิ ยากรให้คำแนะนำในการจดั กิจกรรม มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย = 4.47 3. ไดร้ ับความรู้ และมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ มีความพงึ พอใจในระดบั มาก ค่าเฉล่ีย = 4.30 ดา้ นท่ี 4 ด้านสื่อ วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละเอกสาร 1. มีการนำสื่อเทคโนโลยมี าใช้ในการจดั กิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับ มาก คา่ เฉล่ีย = 4.30 2. มีสอื่ เอกสารวสั ดุฝกึ ในการจัดกจิ กรรมให้แก่ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมอยา่ งเพยี งพอ มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก คา่ เฉล่ีย = 4.27 ดา้ นที่ 5 ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 1. ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.47 ด้านที่ 6 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับในการร่วมกจิ กรรม 1. มคี วามร้คู วามเข้าใจในเน้ือหาทีไ่ ด้รับ มคี วามพึงพอใจในระดับ มาก คา่ เฉลี่ย = 4.47 2. ความรู้ที่ไดร้ ับสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ มีความพึงพอใจในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย = 4.43 3. สามารถนำความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปขยายผลในชุมชนได้ มีความพึงพอใจในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย = 4.40 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ ๒๒ อภปิ รายผล การจัดโครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมอง ของผู้สูงอายุ วันที่ 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ณ หอประชุม กศน.อำเภอหนองพอก โดยเก็บ แบบสอบถามความพึงพอใจ ร้อยละ 100 ของรวมกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 30 คน จากทั้งหมด 3๐ คน จากการประเมินโดยแจกแบบสอบถาม พบผลการประเมิน ดังน้ี การประเมินโครงการแบ่งออกเป็น 6 ด้าน พบว่า ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโดยภาพรวม อย่ใู นระดับ มาก การประเมินโครงการคร้ังนี้ได้ดำเนินการประเมินทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ผลการประเมินมีความ เชื่อม่ันเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกำหนด คือ การดำเนินงานมีการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงาน การศึกษาความต้องการของผู้เข้าร่วมโครงการ วางแผนและจัดทำโครงการพัฒนาให้ตรงตามสภาพท่ีแท้จริง มากที่สุด ทำใหก้ ารดำเนินงานโครงการเปน็ ไปตามข้ันตอนที่กำหนดอยา่ งมีประสิทธิภาพ ขอ้ เสนอแนะสำหรบั นำผลการประเมินไปใช้ มีดังนี้ คอื ผลการประเมินทีไ่ ดจ้ ากการประเมินตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ และการดำเนินงาน สามารถนำ ไปใชใ้ นการวางแผนในการจดั กิจกรรมในคร้งั ต่อไป ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ ๒๓ ภาคผนวก ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ ๒๔ โครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ๒๕ ๑. ชอ่ื โครงการ โครงการจัดและส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตเพ่อื คงพฒั นาการทางกาย จติ และสมอง ของผู้สูงอายุ ๒. สอดคล้องกบั นโยบาย นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะท่ีจำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัยและ การจดั การศึกษาและการเรียนร้ทู ่ีเหมาะสมกบั แต่ละกลุ่มเปา้ หมายและบรบิ ทพ้นื ท่ี 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพ่ือให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวติ ทเี่ หมาะกับช่วงวัย ๓. หลกั การและเหตผุ ล ปจั จุบันสงั คมไทยเขา้ สู่สังคมผสู้ ูงอายุ หรอื ภาวะ “ประชากรสูงวัย” (Old Population) เน่ืองจากการ เปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งประชากร อันเน่ืองมาจากการลดลงภาวะเจริญพนั ธ์ุ และในเวลาเดยี วกนั คนไทยกม็ ีอายุ ยืนยาวข้ึนเร่ือย ๆ โดยประชากรวัยสูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๒๓.๕ หรือประมาณ ๑ ใน ๔ ของประชากร ท้ังประเทศ ภายในปี ๒๕๗๓ สังคมผู้สูงอายุจะมีผลกระทบสำคัญต่อเศรษฐกิจมหภาคหลายประการ เช่น ประชากรวัยแรงงานลดลง การออมลดลง และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง ส่ิงที่ตามมาจากการ เปลย่ี นแปลงนคี้ ือ อัตราสว่ นพง่ึ พิงในวัยสูงอายเุ พ่มิ มากข้นึ ทาให้เกดิ ปัญหาตา่ งๆ เพ่ิมขนึ้ ตามไป ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก ได้เล็งเห็นความสำคัญในการ เตรียมความพร้อมประชาชนกลุ่มเป้าหมายในการเตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการจัดและส่งเสริม การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ เพอื่ เปน็ แนวทางการปฏิบัติท่ี เหมาะสมรองรับโครงสร้าง ของสังคมผู้สูงอายุที่กำลังจะเกิดข้ึนจนถึงปัจจุบัน และ เพ่ือเป็นรากฐานก้าวสู่วัย ผู้สูงอายุอย่างมคี ุณภาพ และมคี วามพร้อมในการดำรงชีวติ บ้ันปลายอยา่ งมคี วามสขุ ๔. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ได้เรยี นรู้เกี่ยวกบั การพฒั นาทักษะชวี ติ ใน 4 มิติ คือ มิติสุขภาพ มิติสังคม มติ ิเศรษฐกจิ และมติ สิ ภาพแวดล้อม ๕. เปา้ หมายและกล่มุ เปา้ หมาย ๕.๑ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนผู้สงู อายุ จำนวน 30 คน ประกอบด้วย - ตำบลหนองพอก จำนวน 10 คน - ตำบลรอบเมอื ง จำนวน 10 คน - ตำบลท่าสดี า จำนวน 10 คน ๕.๒ เชงิ ปริมาณ ประชาชนผู้สูงอายุได้เรียนรู้เก่ียวกับการพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ คือ มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติ เศรษฐกจิ และมติ ิสภาพแวดล้อม ร้อยละ ๘๐ ๕.๓ เชิงคุณภาพ ประชาชนผู้สูงอายุ มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวเข้าสู่วัย ผู้สูงอายุ และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ก้าวสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ และมคี วามพร้อมในการดำรงชวี ิตบัน้ ปลายอย่างมีความสุข ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ ๒๖ ๖. วธิ ีดำเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบ 4 คน ดำเนินการ ประมาณ ครู กศน. ๑. ประชมุ วางแผน - เพื่อสรา้ งความเข้าใจ อำเภอ กศน.อำเภอ 23 - หนองพอก หนองพอก ชแี้ จงการดำเนินการ ในการดำเนนิ งาน มถิ ุนายน จัดโครงการฯ โครงการ ๒๕๖5 ๒. เสนอขออนุมัติ - เพ่อื ขออนุมัติโครงการ ผู้อำนวยการ 1 คน กศน.อำเภอ 23 - โครงการฯ และลงนามคำสั่งแตง่ ต้ัง กศน.อำเภอ 30 คน หนองพอก มิถนุ ายน ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ หนองพอก ๒๕๖5 ๓. ประชาสัมพนั ธ์ - เพ่อื ประชาสัมพนั ธใ์ ห้ ประชาชน ผสู้ งู อายุ ตำบลหนองพอก 28 โครงการและ กล่มุ เปา้ หมายเขา้ ร่วม ตำบลรอบเมือง มิถุนายน ตำบลท่าสดี า ๒๕๖5 ประสาน โครงการ กลุ่มเปา้ หมาย ๔. ดำเนินการจัด เพ่อื สง่ เสริมการจัด ประชาชน - ตำบล หอประชุม 1 2,100 ผ้สู งู อายุ หนองพอก กศน.อำเภอ กรกฎาคม โครงการจัดและ การศกึ ษาตลอดชีวติ 10 คน หนองพอก 2565 - ตำบล ส่งเสรมิ การจัด เพื่อคงพัฒนาการทาง รอบเมือง 10 คน การศกึ ษาตลอดชวี ติ กาย จิต และสมองของ - ตำบล ท่าสดี า เพอ่ื คงพัฒนาการ ผูส้ งู อายุ ได้เรียนรู้ 10 คน ทางกาย จิต และ เกยี่ วกบั การพฒั นา สมองของผู้สูงอายุ ทกั ษะชีวติ ใน 4 มติ ิ คอื มิตสิ ขุ ภาพ มิตสิ ังคม มติ เิ ศรษฐกิจ และมิติ สภาพแวดล้อม ๕. ประเมนิ ผล เพือ่ สรปุ ผลการจดั คณะทำงาน ๒ เลม่ กศน.อำเภอ 1 หนองพอก กรกฎาคม และสรปุ ผลการ โครงการ 2565 ดำเนินงาน ๗. วงเงนิ งบประมาณ จากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. ๒๕๖5 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอื่น ค่าใช้จ่าย โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ รหัสงบประมาณ 200023๑00๓๙00๕๐๐๐00๒ แหล่งของเงิน 6511๕๐0 จำนวน ๒,๑00 บาท (สองพนั หน่ึงร้อยบาทถ้วน) รายละเอียดงบประมาณการ ดังน้ี คา่ วัสดุ เปน็ เงิน ๒,๑00 บาท รวมเป็นเงนิ ท้ังสิ้น ๒,๑00 บาท (สองพันหนึ่งรอ้ ยบาทถ้วน) * หมายเหตุ - ทุกรายการถัวจา่ ยเท่าท่ีจา่ ยจริง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวัดร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ ๒๗ ๘. แผนการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาสท่ี ๑ ไตรมาสท่ี ๒ ไตรมาสท่ี ๓ ไตรมาสท่ี ๔ (ต.ค.-ธ.ค.๖4) (ม.ค.-มี.ค.๖5) (เม.ย.-มิ.ย.๖5) (ก.ค.-ก.ย.๖5) - โครงการจดั และส่งเสรมิ การจดั การศึกษา ตลอดชวี ิตเพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จิต - - 2,100 - และสมองของผ้สู ูงอายุ 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางวารุณี ไชยกุฉิน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๑๐. เครอื ขา่ ย ๑๐.๑ โรงพยาบาลอำเภอหนองพอก 1๐.2 สาธารณสขุ อำเภอหนองพอก ๑๑. โครงการทเ่ี กย่ี วข้อง ๑๑.๑ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน ๑๑.๒ โครงการสง่ เสรมิ การดำเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชนผสู้ งู อายุไดเ้ รียนร้เู กยี่ วกับการพัฒนาทักษะชีวติ ใน 4 มติ ิ มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ที ้ัง ด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสภาพสังคมท่ี เปล่ียนแปลงไป กา้ วสู่วยั ผ้สู ูงอายอุ ย่างมีคุณภาพ และมีความพร้อมในการดำรงชีวติ บั้นปลายอยา่ งมีความสุข ๑๓. ดชั นีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ (Output) ๑๓.๑ ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) ประชาชนผสู้ งู อายุไดเ้ รียนรูเ้ ก่ียวกับการพัฒนาทกั ษะชวี ติ ใน 4 มติ ิ คอื มติ สิ ุขภาพ มติ สิ ังคม มิติเศรษฐกจิ และมติ สิ ภาพแวดลอ้ ม ร้อยละ ๘๐ ๑๓.๑ ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชนผู้สูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ในสภาพสังคมท่ี เปลี่ยนแปลงไป กา้ วสู่วยั ผสู้ งู อายุอย่างมคี ณุ ภาพ และมคี วามพรอ้ มในการดำรงชวี ติ บ้นั ปลายอยา่ งมีความสขุ ๑๔. การติดตามและประเมินผลโครงการ ๑) แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ๒) แบบทดสอบก่อนและหลงั อบรม ลงชื่อ ผเู้ สนอโครงการ (นางวารุณี ไชยกุฉิน) ครูอาสาสมัครฯ ลงชอ่ื ผู้เหน็ ชอบโครงการ (นางสาวธนพร สิทธิคณุ ) ครูชำนาญการ ลงชอ่ื ผอู้ นมุ ัตโิ ครงการ (นางปทั มา เวยี งอนิ ทร์) ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอหนองพอก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ ๒๘ กำหนดโครงการจัดและส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผ้สู งู อายุ วันที่ 1 เดือน กรกฎาคม 2565 ณ หอประชุม กศน.อำเภอหนองพอก เวลา กจิ กรม ผูร้ ับผิดชอบ 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบยี นผูร้ ่วมกจิ กรรม นางสาวกัลญาพร หัวโนนม่วง 08.30 – 09.00 น. และคณะ 09.05 – 09.10 น. ชมการถา่ ยทอด พธิ ีเปดิ ตวั งาน “สูงวัย ใจสมาร์ท” รบั ชม คณะครู กศน.อำเภอหนองพอก 09.10 – 10.30 น. ภาพยนตร์ส้ัน “สูงวยั ใจสมารท์ รบั ชมพิธงี าน “สงู วยั ใจสมาร์ท” นางสาวฐติ ิยา รดั อัน และคณะ 10.03 - 11.00 - นายประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี 11.00 – 12.00 น. (ประธานพธิ ีเปดิ งาน) โดย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรนี ุช เทียนทอง) รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (คณุ หญิงกัลยา โสภณพนชิ และนางกนกวรรณ วลิ าวัลย)์ ให้การตอ้ นรับ นางปัทมา เวียงอินทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ หนองพอก กลา่ วพบปะกบั คณะผ้สู งู อายุทีเ่ ข้าร่วมโครงการ “สงู วยั ใจสมารท์ ” - กจิ กรรมนันทนาการ - กจิ กรรมให้ความรู้การพัฒนาทกั ษะชวี ิตของผู้สูงอายุ ใน 4 มติ ิ 1. มติ ิสขุ ภาพ 2. มิตสิ งั คม 3. มติ เิ ศรษฐกิจ 4. มติ ิสภาพแวดลอ้ ม หมายเหตุ 1. ผรู้ ว่ มโครงการจำนวน 30 คน ประกอบด้วย 1.1 กศน.ตำบลหนองพอก จำนวน 10 คน 1.2 กศน.ตำบลรอบเมือง จำนวน 10 คน 1.3 กศน.ตำบลทา่ สดี า จำนวน 10 คน 2. การแต่งกายผู้รว่ มโครงการชดุ สุภาพ คณะบุคลากร เสอ้ื ม่วง (หอโหวด) กางเกงสแลค ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ ๒๙ คำสั่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผ้สู ูงอายุ ๓๐ ภาพการจดั กิจกรรม โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สงู อายุ วันที่ 1 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ณ หอประชุม กศน.อำเภอหนองพอก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวัดร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ๓๑ โครงการจัดและส่งเสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิต เพอ่ื คงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ วันที่ 1 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ณ หอประชมุ กศน.อำเภอหนองพอก จงั หวัดรอ้ ยเอด็ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผูส้ งู อายุ ๓๒ ชมการถ่ายทอด พธิ ีเปดิ ตวั งาน “สงู วยั ใจสมาร์ท” รบั ชมภาพยนตรส์ ้ัน “สูงวัย ใจสมารท์ รับชมพิธีเปดิ งาน “สงู วยั ใจสมาร์ท” นายประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี (ประธานพธิ เี ปิด) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ ๓๓ นางปัทมา เวยี งอนิ ทร์ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอหนองพอก กล่าวพบปะกับคณะผูส้ งู อายุทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ “สูงวยั ใจสมารท์ ” ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผูส้ ูงอายุ ๓๔ นางปัทมา เวยี งอนิ ทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองพอก ให้ความรู้กับผูส้ ูงอายุ ท่าบริหารสมองป้องกนั ภาวะสมองเส่ือม ทา่ จีบแอล มอื ขวาทำมือรูปจบี มือซา้ ยทำมอื เป็นรปู แอล เม่อื ทำไดใ้ ห้ สลับมอื เปล่ียนเปน็ มอื ขวาทำมือรูปตวั แอล มอื ซา้ ยทำเปน็ รูปจีบ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวดั รอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ ๓๕ นางสาวคัททิยาพร พนั ปอบิด ครู กศน.ตำบล ให้ความรู้กับผู้สงู อายุ ทา่ บรหิ ารสมองปอ้ งกนั ภาวะสมองเส่อื ม ทา่ จบี แอล มือขวาทำมือรปู จีบ มอื ซา้ ยทำมอื เป็นรปู แอล เมื่อทำได้ให้สลับมอื เปล่ียนเปน็ มอื ขวาทำมอื รูปตัวแอล มือซ้ายทำเปน็ รปู จีบ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ งู อายุ ๓๖ ผู้สงู อายุ ทำกิจกรรมทา่ บริหารสมองปอ้ งกันภาวะสมองเสือ่ ม ท่าจีบแอล ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ งู อายุ ๓๗ นางพรรณี พระสวา่ ง ครู กศน.ตำบล ใหค้ วามรูก้ ารพัฒนาทักษะชีวติ ของผสู้ งู อายุใน 4 มติ ิ 1. มิติสุขภาพ 2. มติ สิ งั คม 3. มิตเิ ศรษฐกิจ 4. มิติสภาพแวดล้อม ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ๓๘ โครงการจัดและส่งเสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชวี ิต เพือ่ คงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผสู้ ูงอายุ วันที่ 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ณ หอประชุม กศน.อำเภอหนองพอก จังหวดั ร้อยเอด็ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

โครงการจัดและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ ๓๙ คณะผู้จัดทำ ทีป่ รกึ ษา ๑. นางปทั มา เวยี งอินทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองพอก ๒. นางสาวธนพร สทิ ธิคุณ ครชู ำนาญการ ๓. นางสาวฐิติยา รัดอัน ครูผู้ชว่ ย คณะทำงาน ครอู าสาสมัครฯ ครูอาสาสมัครฯ ๑. นางวารณุ ี ไชยกุฉนิ ครูอาสาสมัครฯ ๒. นางรัชณภี รณ์ โชติสวุ รรณ์ ๓. นางพรทิพย์ พลม่ัน ๔. ครู กศน.ตำบลทุกคน ๕. ครู ศรช.ทกุ คน ๖. ครูผู้สอนคนพิการทุกคน ๗. บรรณารกั ษ์จ้างเหมา ผเู้ รียบเรียงตน้ ฉบับ / จดั รูปเลม่ ครอู าสาสมคั รฯ นางวารุณี ไชยกุฉิน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผ้สู งู อายุ ๔๐ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหนองพอก จงั หวดั ร้อยเอ็ด