บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอั ง มีรายงานวา่ บางโรงเรียนพงึ พอใจ “สมรรถนะ” มากกว่าแนวทาง SBE ในมหาวิทยาลัย ทใ่ี ช้ CBE ผเู้ รยี นสามารถประยกุ ตใ์ ชช้ ดุ ของทกั ษะทซี่ บั ซอ้ น (Complex Sets of Skills) ในชวี ติ จรงิ ได้ ซง่ึ ตอ้ งมสี ติปัญญาดา้ นเขา้ ใจผอู้ ่นื และเขา้ ใจตนเองด้วย 11) การวัดและประเมินผลการจดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะ การวัดและประเมินผลสมรรถนะของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีจำ�เป็นในการพิจารณาว่าผู้เรียนเกิดคุณภาพ การเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงคส์ มรรถนะทตี่ งั้ ไวม้ ากนอ้ ยเพยี งใด ซง่ึ มรี ปู แบบและวตั ถปุ ระสงคแ์ ตกตา่ งกนั ไป โดยการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้เป็นกลวิธีในการวัดผล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ และมคี วามมนั่ ใจในการประเมนิ ตนเองและผเู้ รยี นอน่ื (Self-Assessment และ Peer-Assessment) เพื่อความเข้าใจในสมรรถนะของตนได้ลุ่มลึกย่ิงขึ้น อีกท้ังสามารถกำ�หนดแนวในการพัฒนาตนเอง ได้อย่างย่ังยืน การประเมินผลเพ่ือการเรียนรู้จึงไม่ใช่เพียงแต่การให้คุณค่าของผลสัมฤทธิ์เท่านั้น แต่เป็นขั้นตอนแรกในการนำ�ไปสู่การเกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ท่ีเข้มแข็งตามโมเดลการเรียนรู้ สว่ นบุคคล (Jones, 2005) สวุ มิ ล วอ่ งวาณชิ (2546) ไดก้ ลา่ วถงึ แนวโนม้ ของการประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ะอยบู่ นพน้ื ฐาน ของวิธกี ารตอ่ ไปนี้ 1. รายวชิ าเปน็ หนว่ ยของการวเิ คราะห์ ควรใชก้ ารประเมนิ ทใ่ี ช้ผลการปฏบิ ัตงิ านเป็นฐาน (Performance - Based Assessment) โดยเนน้ การใหผ้ ู้เรยี นประยกุ ตค์ วามรู้ ทกั ษะและบูรณาการ เขา้ กับการปฏบิ ตั ิงานท่ซี บั ซอ้ นในสภาพทเ่ี กิดขนึ้ ตามธรรมชาติ 2. การประเมินจะอิงข้อมูลเชิงคุณภาพ หลักฐานที่ใช้มีความหลากหลายและส่ิงที่ถูก ประเมินเป็นพหมุ ิติ เช่น ความรู้ ทักษะ ความคดิ สรา้ งสรรค์ คณุ ธรรม จิตสำ�นกึ ต่อสงั คม 3. การประเมนิ ต้องอิงกบั บริบทของทอ้ งถิ่น 4. การประเมนิ ตอ้ งวดั ผา่ นพฤตกิ รรม ผลงานทเี่ กดิ ขนึ้ จากการเรยี นวชิ าตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ดังนั้น การประเมินจึงต้องยึดหลัก การเปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้เรียนในแต่ละช่วงเวลา มุ่งเน้น การประเมนิ เชงิ คณุ ภาพทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั สภาพความเปน็ จรงิ ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมและพฒั นาการของ ผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ชดั เจน ตรวจสอบได้ อกี ท้งั สามารถนำ�ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสภาพความเปน็ จริงได้ ขจรศกั ด์ิ ศริ มิ ยั (2554) กลา่ วไวว้ า่ การวดั และประเมนิ Competency แบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ใหญ่ ๆ 3 กล่มุ คือ 1. Tests of Performance เป็นแบบทดสอบท่ีให้ผู้รบั การทดสอบทำ�งานบางอย่าง เชน่ การเขียนอธิบายคำ�ตอบ การเลือกตอบข้อที่ถูกท่ีสุด หรือการคิดว่าถ้ารูปทรงเรขาคณิตที่แสดงบน จอหมุนไปแล้วจะเป็นรูปใด แบบทดสอบประเภทน้ีออกแบบมาเพ่ือวัดความสามารถของบุคคล (Can Do) ภายใต้เงื่อนไขของการทดสอบ ตัวอย่างของแบบทดสอบประเภทน้ีได้แก่ แบบทดสอบ ความสามารถทางสมองโดยทว่ั ไป (General Mental Ability) แบบทดสอบทว่ี ดั ความสามารถเฉพาะ เช่น Spatial Ability หรือความเข้าใจดา้ นเคร่ืองยนต์กลไก และแบบทดสอบท่วี ัดทักษะหรอื ความ สามารถทางดา้ นร่างกาย 70รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วขัอง 2. Behavior Observations เป็นแบบทดสอบท่ีเก่ียวข้องกับการสังเกตพฤติกรรม ของผู้รับการทดสอบในบางสถานการณ์ แบบทดสอบประเภทนี้ต่างจากประเภทแรกตรงท่ีผู้เข้ารับ การทดสอบไม่ต้องพยายามทำ�งานอะไรบางอย่างที่ออกแบบมาเป็นอย่างดีแล้ว แต่จะวัดจาก การสังเกต และประเมินพฤติกรรมในบางสถานการณ์ เช่น การสังเกตพฤติกรรมการเข้าสังคม พฤติกรรมการท�ำ งาน การสัมภาษณก์ อ็ าจจัดอยู่ในกลุ่มนีด้ ้วย 3. Self Reports เป็นแบบทดสอบที่ให้ผู้ตอบรายงานเก่ียวกับตนเอง เช่น ความรู้สึก ทศั นคติ ความเชอ่ื ความสนใจ แบบทดสอบบคุ ลกิ ภาพ แบบสอบถาม แบบส�ำ รวจความคดิ เหน็ ตา่ ง ๆ การตอบคำ�ถามประเภทน้ีอาจไม่ได้เก่ียวข้องกับความรู้สึกท่ีแท้จริงของผู้ตอบก็ได้ การทดสอบ บางอย่าง เช่น การสัมภาษณ์อาจเป็นการผสมกันระหว่าง Behavior Observations และ Self Reports เพราะการถามคำ�ถามในการสัมภาษณ์อาจเกี่ยวขอ้ งกับความรสู้ ึก ความคดิ และทัศนคติ ของผถู้ ูกสัมภาษณแ์ ละในขณะเดยี วกนั ผสู้ มั ภาษณ์กส็ ังเกตพฤติกรรมของผู้ถกู สมั ภาษณ์ได้ เนื่องจากสมรรถนะเปน็ คณุ ลักษณะเชิงพฤติกรรม ดังนน้ั การวัดหรือประเมินทส่ี อดคลอ้ ง ที่สดุ คอื การสังเกตพฤติกรรม ในการสังเกตพฤตกิ รรมนั้นมีสมมุตฐิ าน 2 ประการ ทจ่ี ะท�ำ ให้การ สงั เกตพฤตกิ รรมมีความถูกตอ้ ง กลา่ วคอื (1) ผทู้ ีส่ ังเกตและประเมินต้องทำ�ดว้ ยความตรงไปตรงมา (2) ผทู้ ส่ี งั เกตและประเมนิ ตอ้ งใกลช้ ดิ เพยี งพอทจี่ ะสงั เกตพฤตกิ รรมของผทู้ ถี่ กู ประเมนิ ไดต้ ามรปู แบบ ทก่ี �ำ หนดไวน้ นั้ ผบู้ งั คบั บญั ชาจะเปน็ ผปู้ ระเมนิ สมรรถนะของขา้ ราชการ โดยผบู้ งั คบั บญั ชาจะท�ำ ความ เข้าใจกับความหมายและระดับของสมรรถนะท่ีจะประเมิน และประเมินว่าพฤติกรรมการทำ�งาน โดยรวม ๆ ของข้าราชการผู้น้ันสอดคล้องกับระดับสมรรถนะที่ระดับใด โดยผู้บังคับบัญชาจะต้อง หมน่ั สงั เกตและบันทึกพฤตกิ รรมการท�ำ งานของผทู้ ่ีถูกประเมนิ ไวเ้ ป็นระยะ ๆ เพื่อให้เปน็ หลกั ฐาน ยนื ยันในกรณีท่ผี ถู้ กู ประเมนิ ไม่เห็นดว้ ยกบั ระดบั สมรรถนะท่ีไดร้ ับการประเมิน การวัดสมรรถนะทำ�ได้ค่อนข้างลำ�บาก จึงอาศัยวิธีการหรือใช้เคร่ืองมือบางชนิดเพื่อวัด สมรรถนะของบคุ คล ดงั น้ี 1. ประวัติการท�ำ งานของบคุ คล วา่ ทำ�อะไรบา้ ง มีความรู้ ทกั ษะ หรอื ความสามารถอะไร เคยมีประสบการณอ์ ะไรมาบา้ ง จากประวัตกิ ารทำ�งานทำ�ใหไ้ ด้ข้อมลู ส่วนบคุ คล 2. ผลประเมินการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) ซึ่งจะเป็นข้อมูลเก่ียวกับ การปฏิบัติงานใน 2 ลักษณะ คือ 2.1) ผลการปฏิบัติท่ีเป็นเน้ืองาน (Task Performance) เปน็ การทำ�งานท่ีไดเ้ น้อื งานแท้ ๆ 2.2) ผลงานการปฏบิ ตั ทิ ีไ่ มใ่ ช่เน้ืองาน แตเ่ ป็นบริบทของเน้ืองาน (Contextual Performance) ไดแ้ ก่ ลกั ษณะพฤติกรรมของคนปฏบิ ตั งิ าน เช่น การมีนํ้าใจเสยี สละ ช่วยเหลือคนอน่ื เป็นต้น 3. ผลการสัมภาษณ์ (Interview) ได้แก่ ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ อาจจะเป็น การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง คือ กำ�หนดคำ�สัมภาษณ์ไว้แล้ว สัมภาษณ์ตามท่ีกำ�หนดประเด็นไว้ กบั การสมั ภาษณแ์ บบไมม่ โี ครงสรา้ ง คอื สอบถามตามสถานการณ์ คลา้ ยกบั เปน็ การพดู คยุ กนั ธรรมดา ๆ แต่ผู้สัมภาษณ์จะต้องเตรียมคำ�ถามไว้ในใจ โดยใช้กระบวนการสนทนาให้ผู้ถูกสัมภาษณ์สบายใจ ใหข้ อ้ มลู ทต่ี รงกบั สภาพจริงมากทสี่ ุด 71รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วขัอง 4. ศูนย์ประเมนิ (Assessment Center) เปน็ ศนู ย์รวมเทคนคิ การวัดทางจติ วทิ ยาหลาย ๆ อย่างเขา้ ดว้ ยกัน รวมทง้ั การสนทนากลุม่ แบบไม่มีหวั หนา้ กลมุ่ รวมอยใู่ นศูนย์น้ี 5. การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานแบบ 360 องศา (360 Degree Feedback) หมายถงึ การประเมินรอบด้าน ได้แก่ การประเมินจากเพ่ือนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา และลูกคา้ เพ่อื ตรวจสอบความรู้ ทักษะ และคณุ ลกั ษณะ โดยการตรวจสอบสมรรถนะจะตรวจสอบวา่ พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขนึ้ นนั้ เปน็ สมรรถนะทตี่ อ้ งการ หรือไม่ และมีขอ้ สงั เกตดังน้ี 1) เป็นพฤตกิ รรมที่สงั เกตได้ อธบิ ายได้ 2) สามารถลอกเลียนแบบได้ 3) มีผลกระทบตอ่ ความก้าวหน้าขององคก์ ร 4) เปน็ พฤติกรรมทสี่ ามารถน�ำ ไปใช้ไดห้ ลายสถานการณ์ 5) เปน็ พฤตกิ รรมที่ต้องเกดิ ขน้ึ บอ่ ย ๆ ทางเลอื กของการประเมนิ สมรรถนะหากไมป่ ระเมนิ สมรรถนะ ดว้ ยการสงั เกต จะสามารถ ประเมินด้วยวธิ ีใดไดบ้ ้าง ทางเลือกคอื การจ�ำ แนกพฤติกรรมในแต่ละระดับสมรรถนะ ออกเปน็ ข้อ ๆ แลว้ ใหผ้ ูบ้ ังคับบัญชาตอบวา่ ขา้ ราชการทถ่ี กู ประเมนิ มพี ฤตกิ รรมแบบนน้ั น้อย ปานกลาง หรือมาก ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารทท่ี �ำ ใหแ้ บบประเมนิ มคี วามยาวมากขน้ึ นอกจากนน้ั อาจมคี วามยงุ่ ยากในการวเิ คราะห์ คะแนน และมีค่าใช้จ่ายในการจ้างออกแบบเพิ่มข้ึน ท่ีสำ�คัญไม่ว่าจะประเมินแบบใด ถ้าผู้ประเมิน ไมไ่ ดป้ ระเมินอยา่ งตรงไปตรงมา ผลการประเมนิ กจ็ ะไมเ่ ท่ยี งตรงอยู่ดี ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (2556) กลา่ ววา่ การประเมนิ ผลแบบฐานสมรรถนะ ไมไ่ ดด้ ไี ปกวา่ หรอื แตกตา่ งไปจากวธิ กี ารประเมนิ แบบเดมิ (Traditional Assessment) หรอื แบบอน่ื ๆ เพียงแต่การเมินแบบฐานสมรรถนะใหค้ วามส�ำ คญั กับสมรรถนะทก่ี �ำ หนด ในการฝกึ อบรมหรอื ศกึ ษาทางวชิ าชพี การประเมนิ ผลทเ่ี นน้ การปฏบิ ตั ิ (Performance - Based Assessment) เน้นทกี่ ระบวนการเรยี นรแู้ ละการปฏบิ ตั ิ ซึ่งมักจะประเมินทกั ษะ 4 ด้าน คอื 1. ทักษะตามภาระงาน (Task Skills) ความสามารถในการปฏบิ ัติภาระงานแต่ละชิ้น 2. ทักษะการจัดการ (Task Management Skills) ความสามารถในการจัดการกับ ภาระงานและกิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ภิ ายใต้งานน้ัน ๆ 3. ทกั ษะในคาดการณอ์ ปุ สรรคปัญหาท่อี าจเกิดขึ้น (Contingency Skills) การประเมิน ทักษะใช้ไดด้ โี ดยก�ำ หนดสถานการณจ์ �ำ ลอง 4. ทกั ษะตามบทบาทและงานทรี่ บั ผดิ ชอบและสภาพแวดลอ้ ม (Job / Role Environment) รวมถึงการท�ำ งานร่วมกบั ผอู้ นื่ 72รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขัอง วธิ กี ารประเมินผลแบบฐานสมรรถนะ 1. เน้นกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) และมีการประเมินให้ความสำ�คัญกับ การประเมินแบบยอ่ ย (Formative Assessment) อยา่ ตอ่ เน่ือง เพื่อตดิ ตามดูความกา้ วหน้า วินจิ ฉัย จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย ของผเู้ รยี น ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั และเปน็ การประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ของผสู้ อนไปดว้ ย ในขณะเดยี วกนั ตอ้ งมกี ารสอบสรปุ (Summative Assessment) เพอื่ วดั และตดั สนิ กระบวนการเรยี นรู้ (The End of Learning Process) ตอนเรียนจบรายวิชา 2. ใช้การอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced) วัดความสำ�เร็จในการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นรายบคุ คลเพอ่ื ให้ ผเู้ รยี นได้รบั การพัฒนา ใชศ้ กั ยภาพตามความสามารถโดยไมต่ ้องเปรียบเทยี บ กบั ผอู้ ืน่ และตัดสินแบบอิงกลุม่ 3. ประเมินสมรรถนะท่ีสำ�คัญก่อน (Crucial Outcomes) เพราะผลการเรียนรู้/ การปฏบิ ตั ขิ องทกุ สมรรถนะ มคี วามส�ำ คญั ไมเ่ ทา่ กนั บางสมรรถนะอาจมคี วามส�ำ คญั กวา่ อกี สมรรถนะ หน่งึ ทีค่ รผู ้สู อนจ�ำ เปน็ ตอ้ งก�ำ หนดขอบเขตในการเรียนรูแ้ ละการประเมนิ ผล 4. บรู ณาการสมรรถนะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกนั ไม่ประเมินแยกตามหนว่ ยสมรรถนะ หรือ หน่วยสมรรถนะย่อยออกจากกัน แม้ว่ากรอบมาตรฐานสมรรถนะจะกำ�หนดแยกเป็น หนว่ ยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย และตัวบง่ ช้ี ไม่ได้หมายความว่าผูส้ อนจะตอ้ งสอนหรอื ประเมนิ ผล แยกแตล่ ะสมรรถนะ เพราะในการจดั เนอ้ื หาการสอนแตล่ ะหนว่ ยอาจตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั สมรรถนะตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามสมั พนั ธเ์ กี่ยวขอ้ งหรือต่อเนื่องกัน ในการวัดและประเมินหลักสูตรรายวิชาฐานสมรรถนะตามสภาพจริงจำ�เป็นจะต้องใช้เทคนิค/ วิธีการท่ีใช้ในการประเมินตามสภาพจริง เพ่ือสังเกตการกระทำ� รวมถึงการแสดงออกหลาย ๆ ด้านของนักเรียนตามสภาพความเป็นจริงท้ังในและนอกห้องเรียน ดังท่ีสำ�นักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหง่ ชาติ (2542) ได้กลา่ วถึงวธิ ีการประเมินโดยสงั เขปดงั น้ี 1. การสังเกต เป็นวิธีท่ีดีมากวิธีหนึ่งในการเก็บข้อมูลพฤติกรรมด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน โดยเฉพาะด้านอารมณ์ ความรู้สึก และลักษณะนิสัยสามารถทำ�ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี ทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน หรือในสถานการณ์อ่ืนนอกโรงเรียน เคร่ืองมืออ่ืน ๆ ท่ีใช้ประกอบการสังเกต ได้แก่ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบบันทึก ระเบียนสะสม เปน็ ต้น 2. การสัมภาษณ์ เป็นอีกวิธีหนึ่งท่ีใช้เก็บข้อมูลพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ได้ดี เช่น ความคดิ (สตปิ ญั ญา) ความรสู้ กึ กระบวนการขนั้ ตอนในการท�ำ งาน วธิ แี กป้ ญั หา ฯลฯ อาจใชป้ ระกอบ การสังเกตเพื่อให้ได้ขอ้ มูลท่ีม่ันใจมากยงิ่ ขน้ึ 3. การตรวจงานเป็นการวัดและประเมินผลที่เน้นการนำ�ผลการประเมินไปใช้ทันที ใน 2 ลักษณะ คือ เพ่ือการช่วยเหลือนกั เรยี นและเพื่อปรบั ปรุงการสอนของครู จงึ เป็นการประเมิน ทค่ี วรดำ�เนนิ การตลอดเวลา เชน่ การตรวจแบบฝึกหดั ผลงานภาคปฏิบัติ โครงการ/โครงงานต่าง ๆ เป็นต้น งานเหล่านี้ควรมีลักษณะท่ีครูสามารถประเมินพฤติกรรมระดับสูงของนักเรียนได้ เช่น 73รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขัอง แบบฝกึ หดั ทเ่ี นน้ การเขยี นตอบ เรยี บเรยี ง สรา้ งสรรค์ (ไมใ่ ชแ้ บบฝกึ หดั ทเ่ี ลยี นแบบขอ้ สอบเลอื กตอบ ซึง่ มกั ประเมนิ ได้เพียงความรคู้ วามจ�ำ ) งานโครงการ โครงงาน ทเี่ น้นความคดิ ข้นั สูงในการวางแผน จดั การด�ำ เนินการ และแก้ปญั หาสิง่ ทีค่ วรประเมนิ ควบคไู่ ปดว้ ยเสมอในการตรวจงาน (ทง้ั งานเขียน ตอบและปฏิบตั )ิ คือ ลกั ษณะนิสยั และคณุ ลักษณะทีด่ ีในการท�ำ งาน 4. การรายงานตนเอง เปน็ วธิ กี ารใหเ้ ขยี นบรรยายหรอื ตอบค�ำ ถามสน้ั ๆ หรอื ตอบแบบสอบถาม ทค่ี รสู รา้ งขน้ึ เพอ่ื สะทอ้ นถงึ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี นทงั้ ความรู้ ความเขา้ ใจ วธิ คี ดิ วธิ ที �ำ งาน ความพอใจ ในผลงาน ความตอ้ งการพฒั นาตนเองใหด้ ีย่งิ ขนึ้ 5. การใช้บันทึกจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับ ตวั นกั เรียน ผลงานนกั เรียน โดยเฉพาะความกา้ วหน้าในการเรยี นรขู้ องนกั เรียนจากแหล่งต่าง ๆ เชน่ จากเพ่ือนครูโดยประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูล จากเพ่ือนนักเรียนโดยจัดช่ัวโมงสนทนาวิพากษ์ผลงาน (นักเรียนตอ้ งได้รับคำ�แนะนำ�มาก่อนเกยี่ วกับหลกั การ วิธีวิจารณ์เพอื่ การสร้างสรรค์) จากผ้ปู กครอง โดยจดหมาย/สารสมั พนั ธท์ ี่ครู หรือโรงเรยี น กับผปู้ กครองมถี ึงกันโดยตลอดเวลา 6. การใช้ข้อสอบแบบเน้นการปฏิบัติจริง ในกรณีที่ครูต้องการใช้แบบทดสอบควรใช้ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ เี่ น้นการปฏิบัตจิ ริง ซ่งึ มีลักษณะดังต่อไปน้ี 6.1 ปัญหาต้องมีความหมายต่อผู้เรียน และมีความสำ�คัญเพียงพอที่จะแสดงถึง ภูมิความรขู้ องนกั เรยี นในระดบั ชน้ั นัน้ ๆ 6.2 เป็นปัญหาทีเ่ ลยี นแบบสภาพจริงในชีวิตของนกั เรียน 6.3 แบบสอบตอ้ งครอบคลุมท้ังความสามารถและเนือ้ หาตามหลกั สูตร 6.4 นักเรียนต้องใช้ความรู้ความสามารถ ความคิดหลาย ๆ ด้าน มาผสมผสานและ แสดงวธิ ีคดิ ได้เปน็ ขั้นตอนทชี่ ดั เจน 6.5 ควรมคี ำ�ตอบถูกได้หลายคำ�ตอบ และมวี ธิ กี ารหาค�ำ ตอบได้หลายวธิ ี 6.6 มีเกณฑก์ ารให้คะแนนตามความสมบูรณข์ องค�ำ ตอบอยา่ งชดั เจน 7. การประเมนิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมงาน แฟม้ สะสมงานหมายถงึ สงิ่ ทใ่ี ชส้ ะสมงานของนกั เรยี น อยา่ งมจี ดุ ประสงค์ ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถงึ ความพยายาม ความกา้ วหน้า และผลสมั ฤทธ์ิในเร่ืองน้ัน ๆ หรอื หลาย ๆ เรื่อง การสะสมนนั้ นกั เรียนมีส่วนรว่ มในการเลอื กเนอื้ หา เกณฑ์การเลือก เกณฑก์ ารตัดสิน ความสามารถ/คุณสมบตั ิ หลกั ฐานการสะท้อนตนเอง การใช้การประเมนิ ผลเพือ่ การเรยี นร้ใู นชน้ั เรียน รูปแบบของการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ในช้ันเรียนสามารถทำ�ได้ในรูปแบบของ การทำ�กจิ กรรมในลักษณะภาระงาน (Task) และการถามค�ำ ถามผเู้ รยี นอย่างเป็นธรรมชาติ ซึง่ ไมใ่ ช่ การทดสอบ อาจจัดในรูปแบบการพูดคุยกับผู้เรียน หรือการตัดสินใจบางอย่างเพ่ือสะท้อนข้อมูล เชิงคุณภาพเก่ียวกับสมรรถนะของผู้เรียนทำ�ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง เมื่อสิ้นสุดบทเรียนครูต้อง ประเมนิ วา่ ผเู้ รียนได้เรยี นรูอ้ ะไรเพ่มิ เตมิ โดยมีขนั้ ตอนดงั น้ี 74รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอั ง อธิบายวตั ถุประสงคข์ องการเรียนและประโยชน์ของการเรียน ตรวจสอบความเข้าใจวตั ถปุ ระสงคข์ องผ้เู รียน อธบิ ายสงิ่ ทผ่ี ู้เรียนตอ้ งท�ำ และจำ�เปน็ ต้องสง่ แนะนำ�เกณฑ์การประเมนิ และตรวจสอบความเข้าใจ ให้โอกาสผู้เรยี นไดใ้ ชเ้ กณฑก์ ารประเมิน เพื่อเขา้ ใจมาตรฐานและการใช้เกณฑ์ ใหค้ ำ�แนะนำ�และการสนับสนนุ การเรียนของแตล่ ะบคุ คล และใหค้ �ำ พดู แนะนำ� ให้โอกาสผู้เรยี นไดร้ บั การประเมินจากผู้เรียนอ่นื ใหโ้ อกาสผเู้ รียนได้ประเมนิ ตนเอง ครูเป็นผู้น�ำ ในการประเมินผลงานผเู้ รยี น ครใู ห้ข้อมูลย้อนกลบั แก่ผเู้ รียน ให้โอกาสผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาตนเองจากข้อมูลยอ้ นกลับ ภาพที่ 4 รปู แบบของการประเมนิ ผลเพื่อการเรยี นรู้ในชน้ั เรยี น 75รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอั ง การประเมินผลเป็นการรวบรวมหลกั ฐานผลการเรียนรู้ว่าผู้เรยี นมีความก้าวหนา้ ถึงเกณฑ์ หรอื ระดบั ทก่ี าํ หนดในมาตรฐาน หรอื ตามผลการเรยี นรทู้ ก่ี �ำ หนดในหนว่ ยสมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย และตวั ชว้ี ดั เพ่อื ตดั สนิ วา่ ผูเ้ รียนสาํ เรจ็ ตามสมรรถนะทีก่ ําหนดหรอื ไม่ การประเมินผลการจัดหลกั สูตรแบบฐาน สมรรถนะควรทําควบคูก่ ับการเรียนการสอน โดยวัดท้ังความรทู้ ักษะ และการนําไปประยกุ ต์ใช้ ดังน้ันการวัดและประเมินผลสมรรถนะของผเู้ รียนระดับประถมศกึ ษาตอนต้น สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี ระดับชัน้ ป.1 – 2 ไม่ประเมินผลตามตวั ชว้ี ดั แต่เน้นการประเมนิ เพ่อื การเรียนรู้ (Assessment for Learning : AfL) ทชี่ ว่ ยวนิ จิ ฉยั กระบวนการ วธิ กี ารเรยี นรู้ และใหข้ อ้ มลู เพอื่ ปรบั ปรงุ วธิ กี ารเรยี นรู้ และการทำ�งานของผ้เู รียน โดยการประเมนิ จะใหค้ วามส�ำ คัญกบั การประเมินแบบย่อย (Formative Assessment) อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ตดิ ตามดคู วามกา้ วหนา้ วนิ จิ ฉยั จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย ของผเู้ รยี น ใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับ และเปน็ การประเมินการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของผ้สู อนไปด้วย ผู้เรียนเป็นผู้จัดทำ�บันทึกการเรียนรู้ของตนเอง ผู้สอนเป็นผู้จัดทำ�สมุดรายงานผลการเรียนรู้ (สมุดพกเดิม) โดยจัดทำ�เป็นรายงานความก้าวหน้าของนักเรียนในการพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ผู้สอนทำ�การวิเคราะห์และบันทึกร่องรอยของการแสดงให้เห็นถึงการใช้สมรรถนะของผู้เรียนใน เหตกุ ารณ์ทถี่ ูกก�ำ หนดข้นึ หรือเป็นเหตกุ ารณ์จรงิ ท่เี กิดข้ึนตามธรรมชาติ เมอื่ จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มกี ารทดสอบระดบั ชาติ (National Test) จดั สอบโดยส�ำ นกั ทดสอบ ทางการศึกษา สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ ซงึ่ จะทดสอบใน 3 ด้าน คอื 1) ดา้ นการอา่ นออกเขียนได้ Literacy 2) ด้านคำ�นวณ Numeracy และ 3) ด้านเหตุผล Reasoning รวมถึงมีการประเมิน สมรรถนะต่าง ๆ แบบสรุปรวม (Summative Assessment) เพ่อื วัดและตดั สนิ กระบวนการเรยี นรู้ โดยอาจใชว้ ิธีการประเมนิ ทหี่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ การสงั เกต รายการประเมิน (Checklist) การสาธิต และตัง้ คาํ ถาม แบบทดสอบและข้อสอบอัตนัย (Pen and Paper Test and Essays) ซ่งึ ใช้ประเมิน ดา้ นความรู้ การสอบปากเปลา่ การทาํ โครงงาน สถานการณจ์ าํ ลอง แฟม้ สะสมผลงาน การประเมนิ ผล โดยการใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Assessment) เป็นเครือ่ งมือในการสร้างแบบทดสอบ และบนั ทกึ ผลได้ การประเมินสมรรถนะมีหลายวิธี ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับประเภทของสมรรถนะที่จะประเมิน โดยวิธี ประเมินจะประกอบด้วยตัวบ่งชี้และเกณฑ์ที่จะนำ�มาใช้ประเมิน 3 ด้าน คือ ความรู้ พฤติกรรม การทำ�งาน และทัศนคติ ทำ�ให้ผลของการประเมินสามารถบ่งช้ีให้เห็นถึงระดับสมรรถนะ ของแตล่ ะบคุ คลวา่ มสี มรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านในระดบั ใด จะตอ้ งผา่ นการประเมนิ ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ดงั ท่ี กติ ตพิ งษ์ เลศิ เลยี งชยั (2547) ไดก้ ลา่ ววา่ การประเมนิ สมรรถนะมหี ลายวธิ ที จี่ ะสามารถชใี้ หเ้ หน็ ไดว้ ่า บุคลากรนั้นมสี มรรถนะแตล่ ะเรือ่ งอยู่ในระดับใด หลักท่วั ไปจะใชว้ ธิ ีการดงั น้ี 76รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขัอง 1. ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาประเมนิ ความสามารถของตนเองกอ่ น จากนน้ั คอ่ ยประเมนิ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา แลว้ หาข้อสรุปร่วมกันว่าสมรรถนะของบคุ คลน้ันอยูใ่ นระดบั ใด 2. กรณีท่ีการประเมินมีความเหน็ แตกต่างกนั อาจจะต้องใชว้ ิธีการท่ีหลากหลาย เช่น - พจิ ารณาจากปัจจัยแวดลอ้ มทผ่ี า่ นมาประกอบการประเมิน - ใชว้ ธิ ีสอบเป็นตัววดั ผลการประเมินได้ เชน่ สมรรถนะในเร่ืองของความรู้ - พิจารณาจากพฤติกรรมและวิธีการทำ�งาน การแก้ไขปัญหาการสัมภาษณ์เชิงพฤติกรรม เพือ่ ใหผ้ ใู้ ต้บงั คับบญั ชาได้แสดงถึงพฤติกรรมและบทบาทของเขา ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี รยี กกนั วา่ STAR Technique คือ S = Situation ใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชากลา่ วถงึ การแกป้ ญั หาสถานการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ในแตล่ ะ เร่อื งที่ต้องการประเมนิ T = Task ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาด�ำ เนนิ การแก้ปญั หาดว้ ยวธิ ีการใดบา้ ง A = Action ผ้ใู ต้บังคับบัญชามกี ิจกรรมในการแกป้ ญั หาอย่างไรบ้าง R = Result ผลทเี่ กดิ ขนึ้ เปน็ อยา่ งไร ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชามคี วามรคู้ วามสามารถในเรอื่ งนนั้ จรงิ หรอื ไม่ 3. ผลการประเมนิ สมรรถนะจะเปน็ เรอ่ื ง ๆ ไป ไมส่ ามารถเฉลยี่ กนั ไดว้ า่ การมรี ะดบั ความสามารถ ในสมรรถนะเร่อื งน้ีมากสามารถทดแทนสมรรถนะในเรอื่ งที่ขาดไ่ ด้ ผลการประเมินสมรรถนะบ่งชี้ให้เห็นถึงการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลท่ีมีระดับ สมรรถนะทแ่ี ตกตา่ งกนั ดังท่ี ชนะ กสภิ าร์ (2546) เสนอแนวคดิ คณุ สมบตั ิของนกั เรยี นอาชีวศึกษา แนวใหม่ (Thai Vocational Qualifications: TVQ) 6 ระดับ โดยยึดสมรรถนะเป็นฐานและแบ่ง เป็น 6 ระดับ เป็นรูปแบบการพัฒนาตนที่เรียกว่า “การเรียนการฝึกอบรมระบบฐานสมรรถนะ” (Competency-Based Education and Training) มีรายละเอียดสมรรถนะแต่ละระดับ ดงั ตารางท่ี 4 77รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขัอง ตารางที่ 4 ระดบั สมรรถนะและคำ�บรรยายระดบั สมรรถนะ ระดับสมรรถนะ คำ�บรรยายระดบั สมรรถนะ ระดับ 1 ท�ำ งานประจ�ำ ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานการผลติ ของอตุ สาหกรรมและมาตรฐานท่ี ระดับ 2 วสิ าหกจิ ก�ำ หนด สามารถแสดงทกั ษะการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาปรบั ปรงุ ตนเอง งานทยี่ ากขนึ้ หรอื งานไมป่ ระจ�ำ ทตี่ อ้ งรบั ผดิ ชอบดว้ ยตนเองบา้ งหรอื มอี สิ ระ ระดับ 3 ในการท�ำ โดยปกตทิ �ำ เปน็ ทมี สามารถทจี่ ะแสดงทกั ษะการเรยี นรู้ การพฒั นา ปรับปรุงตนเอง และแสดงร่องรอยหลักฐานการศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีของ ระดับ 4 สถานประกอบการ ระดับ 5 งานที่ยากและงานไม่ประจำ�ท่ีต้องรับผิดชอบพอสมควรและมีอิสระใน การทำ� โดยมีคนอื่นควบคุมและแนะนำ�บ้าง สามารถแสดงทักษะ ระดบั 6 การเรยี นรู้ การพัฒนา ปรบั ปรงุ ตนเอง สามารถปฏบิ ตั งิ านในฐานะหวั หนา้ งานหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั ลา่ งและวธิ ปี รบั ปรงุ กระบวนการอย่างตอ่ เน่อื ง สามารถปฏบิ ตั งิ านในฐานะผบู้ รหิ ารระดบั กลาง ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั การจดั การคนอน่ื ในการวางแผนท่ีสร้างสรรค์การจัดการโครงการและการพัฒนาบุคลากร มีการบนั ทกึ การพัฒนาอาชพี อยา่ งตอ่ เน่ือง สามารถปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารระดับสูงซึ่งเก่ียวข้องกับการวางแผน ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏบิ ตั กิ าร การเงนิ ของธรุ กจิ การด�ำ เนนิ การเปลย่ี นแปลง การปฏบิ ัตงิ านมีการบนั ทึกการพฒั นาอาชพี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตารางท่ี 4 แสดงให้เห็นว่าระดับสมรรถนะเริ่มจากระดับ 1 ข้ันพ้ืนฐาน จนถึงระดับ 6 แต่ละระดับจะระบุความสามารถท่ีแตกต่างกันอย่างเด่นชัด โดยระดับ 6 เป็นระดับขั้นสูงสุด ที่ผู้บริหารระดับสูงตอ้ งใชค้ วามรคู้ วามสามารถในการบรหิ ารจดั การขัน้ สงู เทอ้ื น ทองแกว้ (2550) กลา่ ววา่ ระดบั สมรรถนะ หมายถงึ ระดบั ความรทู้ กั ษะและคณุ ลกั ษณะ ซง่ึ แตกตา่ งกัน แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ ก) แบบกำ�หนดเป็นสเกล (Scale) สมรรถนะแต่ละตัวจะกำ�หนดระดับความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะแตกต่างกันตามปัจจัยกำ�หนดเป็นตัวช้ีบ่งพฤติกรรม (Behavioral Indicator) ที่สะท้อนถึงความสามารถในแต่ละระดับ (Proficiency Scale) โดยกำ�หนดเกณฑ์การจัดระดับ ความสามารถไว้ 5 ระดับ คือ 1) ระดับเร่ิมต้น (Beginner) 2) ระดับมีความรู้บ้าง (Novice) 3) ระดับมีความรู้ปานกลาง (Intermediate) 4) ระดับมีความรู้สูง (Advance) และ 5) ระดบั เชีย่ วชาญ (Expert) 78รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขัอง ข) แบบไมก่ �ำ หนดเปน็ สเกล เปน็ สมรรถนะพฤตกิ รรมเชงิ ความรสู้ กึ หรอื เจตคตทิ ไี่ มต่ อ้ งใชส้ เกล เช่น ความซ่ือสัตย์ ความตรงต่อเวลา เป็นต้น อาภรณ์ ใจเท่ียง (2551) ไดก้ �ำ หนดระดบั ขน้ั ของสมรรถนะดังนี้ 1. ขน้ั ความรู้ (Knowledge) เป็นข้นั เรมิ่ ตน้ หรือเปน็ ข้นั พ้นื ฐาน (Basic Level) 2. ข้ันทกั ษะ (Skill) เป็นขั้นประสบการณ์ (Experience Level) 3. ขัน้ เช่ียวชาญ (Expert Level) ฐติ พิ ัฒน์ พิชญธาดาพงศ์ (2549) กลา่ วถึง ระดับของสมรรถนะวา่ เปน็ การกำ�หนดระดบั ทักษะ ความรคู้ วามสามารถของสมรรถนะ แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั ดังตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 ระดบั ความสามารถและค�ำ บรรยายระดับความสามารถ ระดับความสามารถ คำ�อธิบายระดบั ความสามารถ (Proficiency Level) (Proficiency Description) L1 มีความรู้และทักษะข้ันพื้นฐาน สามารถนำ�ไปใช้ปฏิบัติงานประจำ�วัน Beginner ตามหนา้ ทที่ ร่ี บั ผดิ ชอบ เปน็ งานทไ่ี มย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น สามารถรวบรวมขอ้ มลู ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการปฏิบัติงาน รวมท้ังสามารถให้คำ�แนะนำ� เบอื้ งต้นแก่ผเู้ กี่ยวขอ้ งได้ L2 มคี วามรู้และทกั ษะ สามารถน�ำ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านตา่ ง ๆ ได้ Well-trained อยา่ งเหมาะสม อธบิ าย/สอน สาธิตงานของตนให้ผอู้ ืน่ ไดร้ วมท้ังสามารถ แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า/เบือ้ งต้นได้ L3 มีความรู้และทักษะการปฏิบัติงานที่มีความซับซ้อน สามารถนำ�มาใช้ Experienced ปรบั ปรงุ การปฏบิ ัตงิ านเพ่อื สรา้ งเสริมผลการปฏบิ ตั ิงานทีด่ ขี ึ้น สามารถ วางแผน ควบคุม ติดตามงาน และให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�กับผู้เก่ียวข้อง ภายในองคก์ รได้ L4 มีความรู้และทักษะการปฏิบัติงานมีท่ีความซับซ้อนสูง สามารถนำ�มา Advanced ประยุกต์ใช้ในงานเชิงวิชาการ วางแผน ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ภายนอก องค์กรได้ อธิบายภาพรวมของหน่วยงานและสามารถกำ�หนด/ พฒั นารปู แบบวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านใหม่ ๆ รวบรวม/ ประยกุ ตใ์ ชก้ ระบวนการ ปฏบิ ตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ รวมทงั้ ถา่ ยทอดแผนงานเชงิ กลยทุ ธ์ ภายในองคก์ รได้ 79รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขัอง ระดับความสามารถ ค�ำ อธิบายระดับความสามารถ (Proficiency Level) (Proficiency Description) L5 มคี วามเชย่ี วชาญ ช�ำ นาญระดบั สงู สามารถคดิ ในเชงิ ยทุ ธศาสตรน์ โยบาย Expert ประเมนิ คาดการณ์แนวโน้ม การคดิ คน้ สร้างนวตั กรรม ถ่ายทอดกลยุทธ์ สู่การปฏิบัติ รวมทั้งเป็นท่ีปรึกษา/คณะกรรมการระดับองค์กรวิชาชีพ ท้งั ภายในประเทศและ/หรอื นานาชาติ จากตารางท่ี 5 แสดงระดับความสามารถและคำ�บรรยายระดับความสามารถ ตั้งแต่ข้ัน L1 ซึ่งมคี วามรู้และทักษะในขั้นพนื้ ฐาน ถึง L5 มคี วามเชีย่ วชาญ ช�ำ นาญระดบั สูง สรุปได้ว่า การวัดและการประเมินผลควรกำ�หนดระดับสมรรถนะ ซึ่งการกำ�หนดระดับ จะบง่ ชถี้ งึ ระดบั ความรคู้ วามสามารถและเจตคตใิ นการปฏบิ ตั งิ าน โดยระดบั ความสามารถของสมรรถนะ แต่ละระดับ จะแตกต่างกันตามลักษณะงานและความเหมาะสมที่แสดงถึงสมรรถนะในการปฏิบัติ งานของแตล่ ะบคุ คลท่แี ตกต่างกันตามลำ�ดับ มีลกั ษณะการประเมินทเี่ ป็นระบบสอดคลอ้ งกบั การจัด การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะโดยใชเ้ ครือ่ งมอื ท่ีหลากหลายและมกี ารประเมินอยา่ งต่อเน่อื ง ทั้งน้ี ผู้สอนจะตอ้ งนำ�เสนอจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูใ้ ห้ผเู้ รยี นทราบ มีเกณฑก์ ารประเมนิ ที่ชัดเจน วธิ ีการให้ คะแนนมคี วามยตุ ธิ รรม และผเู้ รยี นไดม้ สี ว่ นรว่ มในการประเมนิ เพอื่ ใหผ้ ลทไ่ี ดจ้ ากการวดั และประเมนิ ผลมีความถูกต้องและตรวจสอบได้ เพือ่ สะทอ้ นสมรรถนะของผ้เู รยี นได้อยา่ งแท้จรงิ 12) หลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศตา่ งๆ ในหลายประเทศเรม่ิ มกี ารน�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum) ซ่ึงเป็นหลักสูตรท่ีเน้นผลรวมของกระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่นำ�ไปใช้ โดยผู้เรียนมากกว่าที่จะมุ่งเน้นสนใจในสิ่งที่ผู้เรียนถูกคาดหวังให้เรียนรู้ในเน้ือหาสาระวิชาแบบเดิม ท่ีเคยปฏิบัติกันมา ตามหลักการหลักสูตรจะเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญและปรับไปตามความต้องการ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปของผู้เรียน ครู และสังคม อันมีนัยว่ากิจกรรมและสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ ถกู เลอื กน�ำ มาใชเ้ พอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ม่ี ตี อ่ สภาพการณต์ า่ ง ๆ ท่ีพบในชีวิตประจำ�วัน ตามปกติหลักสูตรฐานสมรรถนะถูกออกแบบครอบคลุมชุดสมรรถนะสำ�คัญ ทอี่ าจมลี กั ษณะขา้ มหลกั สตู รและ/หรอื ขา้ มวชิ าเขา้ มาใชใ้ นการพฒั นาการศกึ ษามากขน้ึ โดยในงานวจิ ยั น้ี จะกล่าวถึงตัวอย่างของการปฏิรูปหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum) จากประเทศตา่ ง ๆ ซงึ่ มปี ระเด็นเก่ียวขอ้ งทน่ี ่าสนใจ ตั้งแต่ ประเภทและองค์ประกอบของสมรรถนะ ขั้นตอนและกระบวนการ ประโยชน์และข้อจำ�กัด และการประเมินผล โดยสามารถนำ�เสนอ ตามรายละเอียดได้ดังนี้ 80รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขัอง 1) ประเภทและองคป์ ระกอบของสมรรถนะ ในประเทศฟนิ แลนดไ์ ดก้ ลา่ วถงึ การจ�ำ แนกสมรรถนะทวั่ ไป (Generic Competences) เปน็ 3 ประเภทคอื (1) สมรรถนะท่เี ป็นเครื่องมอื (Instrumental Competences) : ความสามารถ ทางปัญญา ความสามารถทางวิธีวิทยา ความสามารถทางเทคโนโลยี และความสามารถทางภาษา (2) สมรรถนะระหว่างบุคคล (Interpersonal Competences) : ความสามารถ ของปจั เจกบุคคล เช่น ทกั ษะทางสงั คม (ปฏิสมั พนั ธท์ างสังคมและการประสานงาน) (3) สมรรถนะเชิงระบบ (Systematic Competences) : ความสามารถและ ทกั ษะทเ่ี ก่ียวข้องกบั ทง้ั ระบบ (การผสานกนั ของความเขา้ ใจ ปฏภิ าณไหวพรบิ และความรู้ การไดม้ า ซง่ึ สมรรถนะทเ่ี ปน็ เครือ่ งมือและสมรรถนะระหวา่ งบคุ คล) ตวั อยา่ งสมรรถนะทวั่ ไป - การตดิ ต่อส่ือสาร - ความคดิ สรา้ งสรรค์ - การคิดอย่างมีวิจารณญาณ - การเหน็ คุณคา่ ทางวัฒนธรรม - ความฉลาดทางอารมณแ์ ละสขุ ภาวะทางจิต - ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ - ทัศนะทันโลก - สุขชีววถิ ี - ประสิทธิผลระหวา่ งบุคคล - ความเปน็ ผนู้ �ำ - การเรียนรตู้ ลอดชีวิต - การแกไ้ ขปญั หา - ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและต่อประเทศชาติ - การทำ�งานเปน็ หมคู่ ณะ โดยหนว่ ยพฒั นาการสอนของมหาวทิ ยาลยั อลู ู (the Teaching Development Unit of The University of Oulu (Karjalainen, 2003)) ได้กล่าวถึงการปฏิรูปหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ได้แก่ - รปู แบบบนฐานหน่วยการเรียนรู้ (The Study-Unit-Based Curriculum) - รปู แบบแบบโมดลู (The Module Model) - หลกั สตู รแกนฐานสมรรถนะ (The Competency-Based Core Curriculum) - หลักสตู รบนฐานโครงงาน (The Project-Based Curriculum) - หลักสูตรแบบบลอ็ ก (The Block Model) 81รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอั ง ส่วน Laurea University of Applied Sciences ซึ่งเป็นหน่ึงในมหาวิทยาลัยทางด้าน วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตแ์ รกทเ่ี รมิ่ ด�ำ เนนิ การปฏริ ปู หลกั สตู รในฟนิ แลนด์ เปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ ความเปน็ เลศิ ในการพฒั นาระดบั ภมู ภิ าคในชว่ งเวลาทส่ี องและสามในปี ค.ศ. 2003 - 2004 และค.ศ. 2006 – 2007 ปัจจัยท่เี ปน็ รากฐานของการปฏริ ูปหลักสูตรที่ด�ำ เนินการโดย Laurea University ในทศวรรษแรก ของศตวรรษที่ 21 คอื 1. พื้นฐานในการคดิ เชงิ ยทุ ธศาสตร์รวมของ Laurea University 2. พืน้ ฐานในการสอนและปรชั ญาการศึกษา 3. พืน้ ฐานในรปู แบบหลกั สตู รอดุ มศึกษา 4. พื้นฐานในวตั ถปุ ระสงค์ของเขตพน้ื ทอี่ ดุ มศึกษาแห่งยโุ รป 5. พน้ื ฐานในความต้องการของภาคการจา้ งงาน โดย Laurea University of Applied Sciences ได้เริม่ ตน้ การปฏิรูปหลกั สูตรฐานสมรรถนะ จากพ้ืนฐานดังกลา่ วจนพฒั นาขนึ้ เป็นสมรรถนะทั่วไปเบอื้ งต้น 6 ประการ ไดแ้ ก่ 1. สมรรถนะด้านจริยธรรม (จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม ความรบั ผดิ ชอบ) 2. สมรรถนะดา้ นความคดิ (การสะทอ้ นคดิ การจดั การการเปลย่ี นแปลง ทกั ษะมนษุ ย์ ทักษะการเรยี นร)ู้ 3. สมรรถนะด้านโลกาภิวัตน์ (การเข้าใจโลกาภิวัตน์ สมรรถนะด้านวัฒนธรรม และสังคม สมรรถนะด้านพหุวฒั นธรรม และสมรรถนะด้านการระหวา่ งประเทศ) 4. สมรรถนะด้านเครือข่าย (ทักษะทางสังคม ปฏิสัมพันธ์ การติดต่อส่ือสาร การสรา้ งเครือข่าย การประสานงาน การมีจิตบรกิ าร การให้ความส�ำ คญั กับลกู คา้ ) 5. สมรรถนะด้านการเป็นผู้นำ� (สมรรถนะด้านการจัดการ ด้านธุรกิจ ด้านการเป็น ผู้ประกอบการ) 6. สมรรถนะด้านนวัตกรรม (แนววิธีท่ีเน้นการวิจัยและพัฒนา ทักษะการวิจัย และพัฒนา สมรรถนะด้านการจัดการสารสนเทศ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านนวตั กรรม ดา้ นการพยากรณ์ ดา้ นอนาคต) ในเอกสารเร่อื ง Competence–Based Curriculum ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาธารณรฐั รวันดาได้แบ่งสมรรถนะออกเปน็ สองประเภทคือสมรรถนะพนื้ ฐาน (Basic Competences) ได้แก่ - การอ่านออกเขียนได้ - การคิดค�ำ นวณ - เทคโนโลยีสารสนเทศ - ความเป็นพลเมอื งและอัตลกั ษณข์ องชาติ - ความเปน็ ผปู้ ระกอบการและการพัฒนาธุรกิจ - วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี - การส่ือสารด้วยภาษาราชการ 82รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขัอง สมรรถนะทัว่ ไป (Generic Competences) - การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ - การสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม - การวิจยั และการแก้ปญั หา - การติดตอ่ สือ่ สาร - การร่วมมอื ประสานงาน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และทักษะชวี ติ - การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต สมรรถนะประกอบไปด้วยส่งิ ทฝี่ กึ ได้ 10 ประการ คอื 1. ทักษะ 2. ความรู้ 3. ความสามารถ 4. พฤตกิ รรม 5. เจตคติ 6. ความถนดั 7. ความมน่ั ใจ 8. ประสบการณ์ 9. ความสามารถพเิ ศษ 10. ความชำ�นาญ รวมเรอื่ งของการประสานเพอื่ ท�ำ งานตา่ ง ๆ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ใหส้ �ำ เรจ็ แสดงบทบาท หรอื ท�ำ ใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงคส์ มรรถนะ ทง้ั นอี้ าจจะรวมหรอื ไมร่ วมคา่ นยิ ม ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ความเชอ่ื คณุ ลกั ษณะ คุณภาพ หรอื บคุ ลิกลักษณะอ่นื ๆ ของบคุ คลก็ได้ เชน่ 1. ความต้องการตามท่วี นิ ิจฉยั ไว้ 2. วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3. สาระคอร์สการเรยี น 4. ผสู้ อน 5. การบรกิ ารสนับสนนุ 6. ทรัพยากรการเรยี นรู้ 7. วิธีการสอน 8. วิธกี ารประเมินผล 9. การคาดหวังการกระทำ� 10. ขอ้ กำ�หนดในการสำ�เร็จการศกึ ษา 83รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขัอง 2) ข้นั ตอนและกระบวนการ เอกสารเรอ่ื ง The Why, What and How of Competency – Based Curriculum Reforms : The Kenyan Experience ของ UNESCO International Bureau of Education ไดร้ ะบุวงจรการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของ KICD ไวด้ งั นี้ 1. การศึกษาประเมินความจำ�เปน็ ของชาติ - การเก็บขอ้ มลู - การเขียนรายงาน - การเผยแพร่รายงาน 2. การกอ่ รา่ งสรา้ งนโยบาย - การทบทวน - เป้าหมายการศกึ ษาของชาติ - วตั ถุประสงค์ของระดับชน้ั - จ�ำ นวนวชิ า 3. การออกแบบหลกั สูตร - วัตถปุ ระสงค์ทว่ั ไปของวิชา - สาระการเรียนรตู้ ามหัวข้อเรอื่ ง - แผนภาพขอบขา่ ยและล�ำ ดับข้นั - การออกแบบหลกั สูตร 4. การพัฒนาและการให้ความเห็นชอบประมวลรายวิชา - ปฏบิ ตั ิการเขียน - คณะทำ�งานรายวิชา - คณะทำ�งานคอร์ส - คณะกรรมการวิชาการ - การพมิ พแ์ ละการผลติ ประมวลรายวชิ า - การจา่ ยแจกประมวลรายวิชา 5. การพัฒนาเครอื่ งใช้สนบั สนนุ หลกั สตู ร - การผลติ หนงั สอื หลกั สตู รและคู่มือครู - การผลติ วสั ดุเคร่อื งใช้ทีไ่ ม่ตอ้ งพิมพ์ 6. การเตรยี มครู - การผลติ ค่มู ือ - ปฐมนเิ ทศครูและเจ้าหนา้ ทภี่ าคสนามเร่อื งหลักสูตร 84รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอั ง 7. การทดสอบกอ่ นใช้/การน�ำ รอ่ ง/การวางข้ันตอนการทำ�งาน - การเลอื กโรงเรียนน�ำ รอ่ ง - การพฒั นาวสั ดุการสอน - การน�ำ ร่อง - การตรวจสอบการนำ�รอ่ ง - การทบทวนประมวลวิชา - การเบิกวสั ดสุ นับสนนุ หลกั สูตร 8. การเปดิ ตวั ระดับประเทศ - การปฐมนิเทศครู - การแจกจ่ายประมวลวชิ า - การน�ำ ไปปฏิบัติ 9. การตรวจสอบและการประเมินผล - การตรวจสอบ - การประเมนิ ผลสรุปรวม - การทบทวนประมวลวชิ า - คณะกรรมการวิชาการ - คณะท�ำ งานรายวชิ า Roumen Nikolov, Elena Shoikova และ Eugenia Kovatcheva ไดอ้ ธบิ ายไว้ในเอกสาร Competence - Based Framework for Curriculum Development (2014) ว่ามรรควิธีส�ำ หรับ การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะแบ่งออกเป็น สองสว่ น ใน 6 ขน้ั ตอน คอื ส่วนท่ีหนึ่ง ประเมินความพร้อมของสถานศึกษาเพ่ือการเปลี่ยนผ่านจากหลักสูตรฐานเนื้อหา สาระกับเวลาแบบเดิมสู่หลกั สูตรฐานสมรรถนะ (ขั้นท่ี 1 ถึงขั้นที่ 5) ข้ันที่ 1 การสร้างแนวคิด (Conceptualisation) พัฒนาความคิดทั้งสถาบันการศึกษา ในเรื่องความพร้อมทจี่ ะโอบรับการเปลี่ยนแปลง 1.1 คดิ ผ่านความต้องการของภาคธุรกจิ 1.2 ท�ำ ใหน้ โยบายและการออกแบบหลกั สตู รใหมก่ ระจา่ งชดั กบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทส่ี �ำ คญั ๆ 1.3 พฒั นายทุ ธศาสตร์ 1.4 หาการสนับสนนุ เพือ่ ภารกิจนำ�ร่อง 85รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วขอั ง ขนั้ ที่ 2 การวางแผน (Planning) สมรรถนะผู้ปฏิบัตงิ าน แผนที่เส้นทางสู่อนาคต 2.1 ประชมุ การทำ�งานกับผรู้ ่วมงานหลกั 2.2 ทบทวนแนวคิด พฒั นาแผนและเสน้ ทางเวลาการท�ำ งาน 2.3 ระบแุ ละตกลงเรื่องคนท่ีตอ้ งการนำ�เข้ารว่ มคณะท�ำ งาน 2.4 ก�ำ หนดบทบาทและหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ 2.5 สรา้ งและเริ่มดำ�เนนิ การแผนการสื่อสาร ข้ันท่ี 3 การรวบรวมขอ้ มลู (Data Collection) การวเิ คราะหช์ อ่ งทางจากจดุ นไ้ี ปสปู่ ลายทาง ได้อย่างไร 3.1 พัฒนาเทคนิควิธีการที่ต้องใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู สำ�หรบั งานและกลุ่มงาน แต่ละดา้ น - การวิเคราะห์ตวั แบบภาคเศรษฐกิจ - ต้งั คณะผ้เู ชี่ยวชาญ - สมั ภาษณ์แบบมีโครงสรา้ ง 3.2 ท�ำ ก�ำ หนดการและด�ำ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างหมวดหมู่สมรรถนะต่าง ๆ (Data Analysis & Create Catalog of Competences) ระบุนิยามเส้นเวลาการจดั การรายปี 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทีไ่ ดร้ บั 4.2 สรา้ งหมวดหมสู่ มรรถนะที่จดั ท�ำ ตามแต่ละสาขาวิชาของมหาวิทยาลยั 4.3 บรรยายสมรรถนะแต่ละอนั ดว้ ยคำ�จ�ำ กดั ความ พฤตกิ รรม และลำ�ดับขั้น 4.4 ดำ�เนนิ การวเิ คราะห์ช่องวา่ ง ขนั้ ท่ี 5 พฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Develop Competence - Based Curriculum) เผชญิ วฒั นธรรมใหม่ การเปล่ยี นแปลงเพอื่ ธ�ำ รงปณิธานท่ีต้งั ไว้ 5.1 จับคู่สมรรถนะกับวัตถุประสงค์และผลการเรียนรู้ 5.2 ดำ�เนินการออกแบบคอร์สรายวชิ า 5.3 พฒั นา - กจิ กรรมการเรียนรู้ - การประเมนิ ผล - ทรพั ยากรความรู้ 5.4 ทบทวนรว่ มกับผู้น�ำ คนสำ�คญั ๆ 86รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขัอง ส่วนท่ีสอง การแปลงยทุ ธศาสตร์ไปเปน็ หลักสูตรฐานสมรรถนะ (ขนั้ ที่ 6) ขนั้ ที่ 6 พัฒนาเครอื่ งมอื และการทดลองน�ำ ร่อง (Develop Applications & Pilot Test) สรา้ งหลกั สูตรฐานสมรรถนะท่ีบรู ณาการอย่างสมบรู ณ์ 6.1 สร้างโครงสรา้ งพ้นื ฐานทางเทคโนโลยีการเรยี นรแู้ ละการสอน 6.2 ดำ�เนินการทดลองนำ�ร่อง 6.3 พัฒนากรอบสมรรถนะ 3) ประโยชน์และข้อจำ�กดั ในการปฏริ ปู หลกั สตู รฐานสมรรถนะในนานาประเทศ สามารถสรปุ ประโยชนแ์ ละขอ้ จ�ำ กดั ของการใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะ ได้ดังน้ี - เขา้ กนั ไดด้ กี บั ปฏบิ ตั กิ ารการเรยี นรแู้ ละไมใ่ ชก่ ารศกึ ษาทย่ี ดึ ตามเวลา (ชว่ั โมงหนว่ ยกติ ) - ยึดเป้าหมายไวท้ ่กี ารเรียนรู้ (เฉพาะสิง่ ทต่ี ้องการและเวลาทต่ี ้องการ) - การเรยี นรู้มีลักษณะได้รบั การวางแผน ผกู สัญญา และปฏิบัติตามดว้ ยกรอบภาระงาน เฉพาะบุคคลในก�ำ หนดการและเวลาทย่ี ืดหยนุ่ - ระบุเป้าหมายสำ�คญั ของหลกั สูตรฐานสมรรถนะที่สนบั สนนุ องคก์ รหรอื สถาบัน - แรงจงู ใจจากคุณธรรมแบบส�ำ เรจ็ รปู - ยอมรับและให้ความสำ�คัญกับการเรียนรู้เดิม (ประเมินสมรรถนะเดิมก่อนและ เน้นการสร้างความช�ำ นาญในสิง่ ใหม่) - จัดให้มีเส้นทางความก้าวหนา้ ที่ชดั เจนแกผ่ ้เู รยี นและผสู้ นบั สนุน - ดีเยยี่ มส�ำ หรับผเู้ รียนท่มี ีวฒุ ิภาวะท่ีสามารถเรียนได้โดยไมต่ อ้ งมคี �ำ แนะนำ� - มีขอ้ จำ�กดั คืออาจไมเ่ หมาะกับกระบวนการและระเบียบวิธกี ารเรยี นร้ทู กุ รปู แบบ 4) การประเมนิ ผล ในปฏิบัติการการเรียนรู้ ผู้คนได้รับสาระความรู้ ได้พัฒนาทักษะ และนิสัยพฤติกรรม การทำ�งาน ตลอดจนการประยุกต์ใช้ทั้งสามส่วนน้ีกับสถานการณ์จริง การเรียนรู้และการประเมิน ผลบนฐานการปฏิบัติแทนชุดยุทธวิธีสำ�หรับการได้รับและการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และนิสัย พฤติกรรมการท�ำ งาน ผา่ นการปฏิบตั ิภารกจิ ตา่ ง ๆ ที่มคี วามหมายและการมสี ว่ นร่วมของนกั เรียน การประเมินผลจงึ ควรให้ความสำ�คญั กับความสมดลุ ยข์ องทั้งสามสว่ นนี้ การประเมินผลควรทำ�ให้ผู้เรียนสนใจและเห็นความสำ�คัญ โดยทำ�เป็นรายการ (Assessment Lists) แสดงล�ำ ดบั ขนั้ พฒั นาการ (Benchmarks) ของความรู้ ทกั ษะ และนสิ ยั พฤตกิ รรม การท�ำ งานตามวัฏจักรของการเรียนรู้ (The Cycle of Learning) 87รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอั ง ในเอกสารสรุปภาพรวมของกรอบหลักสูตรสำ�หรับการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาถึง มธั ยมศึกษาตอนปลาย ค.ศ. 2015 เร่ือง Competence – Based Curriculum ของคณะกรรมการ การศกึ ษารวนั ดาและกระทรวงศกึ ษาธกิ ารแหง่ สาธารณรฐั รวนั ดา ไดแ้ บง่ รปู แบบการประเมนิ (Types of Assessment) ในหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ดังน้ี - การประเมนิ ผลแบบตอ่ เนือ่ งสม่าํ เสมอ (Continuous Assessment) - การประเมินผลแบบสรปุ รวม (Summative Assessment) - การตรวจสอบเขตพ้นื ท่ี (District Examinations) - การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในโรงเรียนของรวันดา (Learning Achievement in Rwandan Schools - LARS) - การตรวจสอบระดบั ชาติ (National Examinations) สิง่ ที่ควรประเมนิ ในโรงเรยี น ได้แก่ (1) ความรแู้ ละความเขา้ ใจ เดก็ แสดงออกถึงความเขา้ ใจในสาระวชิ าหรือไม่ เดก็ แตกฉาน ในมโนทัศน์วิชาได้หรือยัง ตัวบ่งชี้คือ ความถูกต้องของคำ�ตอบ ความเชื่อมโยงของ ความคดิ การให้เหตุผลทถ่ี ูกตอ้ งตามตรรกะ (2) ทกั ษะการปฏิบัติ เดก็ ปฏิบัติในการสอบความถนดั และการปฏิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งไร ตัวบ่งชี้ คือ ความแม่นยำ� การใช้วิธีการท่ีถูกต้อง ผลงานที่มีคุณภาพ ความเร็ว และประสทิ ธิภาพ การเช่อื มโยง (3) เจตคตแิ ละคา่ นยิ ม เดก็ ตอบสนองตอ่ ภารกจิ และสถานการณอ์ ยา่ งไร อะไรคอื พฤตกิ รรม ของเด็ก ตัวบ่งชี้คือ วิธีปฏิบัติต่อสถานการณ์ การเห็นคุณค่าของภารกิจท่ีได้ รบั มอบหมาย ความประทบั ใจในสถานการณ์ การบดิ เบอื น การใชเ้ หตผุ ล การยนื กราน หนกั แนน่ และขันติธรรม (4) สมรรถนะทวั่ ไป อะไรคอื ล�ำ ดบั ขน้ั ทต่ี อ้ งท�ำ ตามภารกจิ ทไี่ ดร้ บั อะไรคอื เหตผุ ลเบอื้ งหลงั เด็กเอาชนะส่ิงท้าทายแต่ละอย่างได้อย่างไร ตัวบ่งชี้คือ การใช้เหตุผล การบิดเบือน การน�ำ เสนอ การตดั สินคุณคา่ การประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ ข้อมูลหลักสูตรฐานสมรรถนะจากประเทศต่าง ๆ ข้างต้น ทำ�ให้เห็นถึงกลวิธีของการปฏิรูป รวมถึงประเภทและองค์ประกอบของสมรรถนะ ข้ันตอนและกระบวนการ ประโยชน์และข้อจำ�กัด และการประเมินผล เพื่อเปน็ ข้อมูลสำ�คัญที่ต้องพิจารณาประกอบการปฏริ ปู หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ของไทยตอ่ ไป 88รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอั ง 13) หลกั สูตรฐานสมรรถนะของประเทศไทย ประเทศไทยรับแนวคิด สมรรถนะ มาใช้ในการกำ�หนดมาตรฐานผลการปฏิบัติงาน ที่สามารถยอมรับได้ของงานและวิชาชีพนั้น เป็นการกำ�หนดเฉพาะงานและเป็นไปตามวิชาชีพ โดยมีวัตถปุ ระสงคห์ ลายประการคอื 1. เพ่ือให้เกิดการรับรองความสามารถของบุคลากรในวิชาชีพน้ัน ๆ ว่ามีสมรรถนะ ได้ตามท่ีกำ�หนด ซึ่งการกำ�หนดสมรรถนะ แล้วทำ�การทดสอบสมรรถนะของผู้จบการศึกษา จะทำ�ให้องค์การในภาครัฐหรือเอกชนสามารถเลือกจากบุคลากรที่สามารถทำ�งานได้ตามสมรรถนะ ท่ีตอ้ งการมากกว่าได้บคุ ลากรที่มีคณุ วุฒสิ งู จบจากสถานศึกษาทีม่ ชี ่ือเสยี งแต่อาจไม่สามารถท�ำ งาน ตามท่ีตอ้ งการได้ 2. ใช้กำ�หนดค่าตอบแทนใหก้ ับบุคลากรตามสมรรถนะ บคุ ลากรบางคนทำ�งานตงั้ แต่ จบประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีประสบการณ์งาน 10 ปี อาจมีความสามารถในการทำ�งาน เทียบเท่าวิศวกร แต่ระบบการจ่ายค่าตอบแทนแบบเดิมที่จ่ายตามวุฒิการศึกษาไม่ได้จ่ายตาม ความสามารถ ท�ำ ใหอ้ งคก์ รอาจจา่ ยคา่ ตอบแทนสูงหรอื ต่าํ กวา่ ท่คี วรจะเปน็ การจา่ ยตามสมรรถนะ จึงช่วยท�ำ ใหอ้ งค์กรสามารถจงู ใจบคุ ลากรทด่ี ีมีความสามารถท�ำ งานกบั องคก์ ารได้นาน ๆ 3. ใชเ้ พ่ือการพัฒนาบคุ ลากรในวชิ าชีพน้นั ๆ ตามระดบั สมรรถนะ ว่าวิชาชีพนั้น ๆ ต้องมีความสามารถทำ�อะไรได้บ้าง และมีความแตกต่างกันในแต่ละระดับของสมรรถนะ นั่นคือ ระดับท่ี 1 ของสมรรถนะ ตอ้ งมีความรู้ ทกั ษะ พฤตกิ รรมแตกต่างจากสมรรถนะในระดับที่ 2 หลักสูตรของสถานศึกษา สงั กัดส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หลกั สตู รการศึกษาวิชาชีพ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (2556) ได้จัดหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดก้ �ำ หนดคณุ ภาพของผ้สู �ำ เร็จการศกึ ษาทกุ ระดบั คณุ วุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวชิ าต้องครอบคลุม อย่างน้อย 3 ดา้ น คือ 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม ลักษณะนิสัย และทักษะทางปญั ญา 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน การทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืน การใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยกุ ตใ์ ช้ตัวเลข การจัดการและการพฒั นางาน 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะ ในสาขาวิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง รวมท้ังประยุกต์สู่อาชีพ หลักสูตรการศึกษาวิชาชีพปัจจุบันที่ใช้ ในการเรียนการสอนของสถานศึกษาในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 4 หลกั สตู ร คือ 89รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วขัอง 3.1 หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) 3.2 หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) 3.3 หลักสตู รฝกึ อบรมวชิ าชพี ซึง่ เป็นการศึกษานอกระบบ ได้แก่ 1) หลกั สูตรระยะสัน้ 3 - 225 ชัว่ โมง 2) หลักสตู รระยะสั้นแบบตา่ ง ๆ 4. หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ประเภทวิชาที่เปิดสอนท้ังระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มีท้ังหมดจำ�นวน 9 ประเภทวชิ า ดงั น้ี 4.1 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ประกอบด้วย 9 สาขาวชิ า ได้แก่ เครื่องกล เครอ่ื งมือกล และซ่อมบำ�รุง โลหะ ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ การก่อสร้าง การพิมพ์ แว่นตาและเลนส์ การต่อเรือ และปิโตรเคมี 4.2 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ประกอบด้วย 9 สาขางาน ได้แก่ การบัญชี การขาย เลขานกุ าร คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ ธรุ กจิ คา้ ปลกี ธรุ กจิ สถานพยาบาล การประชาสมั พนั ธ์ ภาษาตา่ งประเทศ และงานส�ำ นักงานสำ�หรับผู้พกิ ารสายตา 4.3 ประเภทวิชาศิลปกรรม ประกอบดว้ ย 13 สาขางาน ไดแ้ ก่ วจิ ติ รศิลป์ การออกแบบ ศิลปหัตถกรรม อุตสาหกรรมเคร่ืองหนัง เครื่องเคลือบดินเผา เทคโนโลยีการถ่ายภาพและวีดิทัศน์ เครอ่ื งประดบั อญั มณี การวเิ คราะหแ์ ละควบคมุ คณุ ภาพอญั มณแี ละเครอื่ งประดบั เทคโนโลยศี ลิ ปกรรม การพมิ พส์ กรีน คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ โลหะรูปพรรณและเคร่อื งประดับ และชา่ งทองหลวง 4.4 ประเภทวิชาคหกรรม ประกอบด้วย 4 สาขางาน ได้แก่ ผ้าและเครอ่ื งแต่งกาย อาหาร และโภชนาการ คหกรรมศาสตร์ และเสรมิ สวย 4.5 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม ประกอบด้วย 4 สาขางาน ไดแ้ ก่ พชื ศาสตร์ สัตวศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร ช่างเกษตรทัว่ ไป 4.6 ประเภทวชิ าประมง ประกอบดว้ ย 2 สาขางาน ไดแ้ ก่ เพาะเลย้ี งสตั วน์ า้ํ แปรรปู สตั วน์ า้ํ 4.7 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเท่ียว ประกอบด้วย 2 สาขางาน ได้แก่ การโรงแรม การทอ่ งเทย่ี ว 4.8 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมสิ่งทอ ประกอบด้วย 3 สาขางาน ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีสิ่งทอ เคมสี ่ิงทอ และอตุ สาหกรรมเสอื้ ผา้ ส�ำ เร็จรูป 4.9 ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศ สรุปได้ว่า สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการจัดการศึกษา 4 หลักสูตรคือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หลักสูตร ฝึกอบรมวิชาชีพ และหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ แต่ละหลักสูตร จะประกอบด้วยประเภทวิชาท่ีแตกต่างกัน โดยมีท้ังหมด 9 ประเภทวิชา แต่ละประเภทวิชา จะประกอบด้วยสาขางานต่าง ๆ ซึ่งมีองค์ประกอบในการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพแต่ละสาขา งานทีต่ า่ งกนั 90รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอั ง หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชนั้ สงู พทุ ธศักราช 2557 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมสาขา วชิ าเทคนคิ เคร่ืองกล (ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา, 2557) จดุ ประสงคส์ าขาวชิ า 1. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะการคิด การแกป้ ญั หา ทักษะทางสงั คมและการด�ำ รงชวี ติ ในการพัฒนาตนเองและวิชาชพี 2. เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจหลกั การบรหิ ารและจดั การวชิ าชพี การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ หลักการของงานอาชีพที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพเคร่ืองกลให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง และความกา้ วหนา้ ของเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 3. เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจในหลกั การและกระบวนการท�ำ งานในกลมุ่ งานพน้ื ฐานดา้ นเครอ่ื งกล 4. เพ่อื ใหส้ ามารถประยุกตใ์ ชค้ วามรู้และเทคโนโลยีดา้ นเครือ่ งกลในการพฒั นาตนเองและ วชิ าชีพ 5. เพ่ือให้สามารถปฏิบัติงาน วิเคราะห์ แก้ปัญหา สร้างสรรค์ และนำ�เทคโนโลยีมาใช้ ในการพฒั นางานเทคนคิ ยานยนต์ เทคนคิ เครอ่ื งกลอตุ สาหกรรม เทคนคิ เครอื่ งกลเรอื เทคนคิ เครอื่ งกล เกษตร เทคนคิ เครอื่ งกลเรอื พาณชิ ย์ เทคนคิ ซอ่ มตวั ถงั และสรี ถยนต์ บ�ำ รงุ รกั ษาเครอ่ื งกล อตุ สาหกรรม ผลิตไฟฟ้าและเทคนิคเครือ่ งกล ระบบขนสง่ ทางราง 6. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานเคร่ืองกลในสถานประกอบการ และประกอบอาชีพอิสระ รวมทงั้ การใชค้ วามรูแ้ ละทกั ษะเป็นพนื้ ฐานในการศกึ ษาต่อในระดับสูงขึน้ ได้ 7. เพอื่ ใหม้ เี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชพี มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ มรี ะเบยี บวนิ ยั เปน็ ผมู้ คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม ตอ่ ตา้ นความรนุ แรงและสารเสพตดิ มาตรฐานการศกึ ษา วิชาชพี คุณภาพของผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ประเภท วิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคนคิ เครอ่ื งกล ประกอบดว้ ย 1. ด้านคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ได้แก่ 1.1 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่ ความเสยี สละ ซือ่ สตั ย์ สุจรติ กตัญญกู ตเวที อดกลั้น ละเว้นสงิ่ เสพตดิ และการพนัน มีจติ ส�ำ นึกและเจตคตทิ ดี่ ีต่อวชิ าชพี และ สังคม เปน็ ตน้ 1.2 ด้านพฤตกิ รรมลกั ษณะนสิ ยั ได้แก่ ความมวี นิ ยั ความรับผิดชอบ ความรักสามคั คี มีมนุษยสัมพันธ์ เชื่อม่ันในตนเอง ขยัน ประหยัด อดทน พ่ึงตนเอง ปฏิบัติงานโดยคำ�นึงถึงความ ปลอดภัย อาชวี อนามยั การอนุรกั ษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดล้อม เป็นตน้ 1.3 ดา้ นทกั ษะทางปัญญา ได้แก่ ความรูใ้ นหลักทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคดิ รเิ ร่ิม สรา้ งสรรค์ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ เปน็ ต้น 91รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขัอง 2. ดา้ นสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป ไดแ้ ก่ 2.1 สือ่ สารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชีวิตประจ�ำ วนั และเพอ่ื พฒั นา งานอาชพี 2.2 แกไ้ ขปญั หาและพฒั นางานอาชพี โดยใชห้ ลกั การและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ 2.3 มบี ุคลิกภาพและคณุ ลักษณะเหมาะสมกบั การปฏิบัติงานอาชีพ และการอยรู่ ่วม กบั ผ้อู น่ื 2.4 ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ และเทคโนโลยีเพ่ือส่งเสริมและพัฒนา งานอาชีพ 3. ดา้ นสมรรถนะวิชาชพี ได้แก่ 3.1 วางแผน ดำ�เนินงาน จดั การและพฒั นางานอาชพี ตามหลกั การและกระบวนการ โดยค�ำ นงึ ถงึ การบริหารงานคณุ ภาพ การอนรุ กั ษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดล้อม และหลักความปลอดภัย 3.2 ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพ่ือพัฒนางานอาชพี 3.3 ทดสอบความแขง็ แรงของวัสดุ 3.4 ทดสอบสมบัติของนาํ้ มันเช้อื เพลิง วสั ดุหลอ่ ล่ืน และของไหล 3.5 ทดสอบการท�ำ งานของระบบนวิ เมตกิ ส์ และไฮดรอลกิ ส์ 3.6 ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การทางเทอรโ์ มไดนามกิ ส์ กบั เครอื่ งยนตส์ นั ดาปภายในและระบบ ปรบั อากาศ 3.7 บริการระบบไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกสค์ วบคุมยานยนต์ 3.8 บริการเทคโนโลยยี านยนต์สมยั ใหม่ 3.9 บรกิ ารเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน และเครื่องยนตด์ เี ซลควบคุมดว้ ยอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3.10 บรกิ ารงานเช้ือเพลงิ แกส๊ ยานยนต์ ผ้สู ำ�เรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง พุทธศักราช 2557 ประเภท วชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าเทคนิคเคร่อื งกล จะตอ้ งศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ รวมไม่นอ้ ย กว่า 83 หนว่ ยกิต และเขา้ ร่วมกิจกรรมเสริมหลกั สูตร ดงั โครงสรา้ งตอ่ ไปน้ี 1. หมวดวชิ าทกั ษะชวี ติ (ไมน่ อ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกิต) 1.1 กลุม่ ทักษะภาษาและการสือ่ สาร (ไม่น้อยกวา่ 9 หน่วยกติ ) 1.2 กลุ่มทกั ษะการคดิ และการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ ) 1.3 กล่มุ ทกั ษะทางสงั คมและการดำ�รงชวี ิต (ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ ) 92รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกีย่ วขัอง 2. หมวดวชิ าทักษะวขิ าชพี (ไมน่ อ้ ยกวา่ 56 หน่วยกติ ) 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชพี พนื้ ฐาน (15 หนว่ ยกิต) 2.2 กลมุ่ ทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนว่ ยกิต) 2.3 กลมุ่ ทักษะวิชาชพี เลอื ก (ไมน่ ้อยกวา่ 12 หนว่ ยกติ ) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวชิ าชีพ (4 หน่วยกติ ) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี (4 หนว่ ยกิต) 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี (ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต) 4. กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร (2 ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์) ส�ำ หรบั ผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ประเภทวชิ าหรอื สาขาวชิ าอน่ื หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ท่ีไม่มีพ้ืนฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับ พื้นฐานวชิ าชพี 10 รายวชิ า หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าปิโตรเคมี (ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา, 2557) จดุ ประสงคส์ าขาวิชา 1. เพ่ือให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการส่ือสาร ทักษะการคิด และการแกป้ ัญหา และทักษะทางสงั คมและการดำ�รงชีวติ ในการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ 2. เพ่ือให้มีความเข้าใจหลักการบริหารและจัดการวิชาชีพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และหลกั การของงานอาชพี ทสี่ มั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาวชิ าชพี ปโิ ตรเคมี ใหท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง และความกา้ วหน้าของเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี 3. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานทางเคมีและกระบวนการทำ�งานในกลุ่มงาน พ้นื ฐานดา้ นอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี 4. เพื่อให้สามารถควบคุม ดูแล บำ�รงุ รักษาอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครือ่ งจกั รในอุตสาหกรรม ปโิ ตรเคมี 5. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ีพนักงานควบคุมกระบวนการผลิตภาคสนาม (Field Operator) พนักงานเทคนิคห้องปฏิบัติการ (Laboratory Technician) ตรวจสอบ ทดสอบ ดูแล วเิ คราะห์ บำ�รุงรกั ษาเครื่องมือ เคร่อื งจักร อุปกรณใ์ นโรงงานอตุ สาหกรรมปิโตรเลียม อุตสาหกรรมปิโตรเคมีให้ใช้งานได้ตลอดเวลา ควบคุมกระบวนการผลิตให้สามารถดำ�เนินการได้ ตามแผนท่ีวางไว้โดยคำ�นึงถงึ การบริหารงานคณุ ภาพ การอนรุ ักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม และหลกั ความปลอดภัย 6. เพือ่ ให้สามารถปฏิบัติงานในสถานประกอบการและประกอบอาชพี อิสระ รวมทง้ั การใช้ ความรแู้ ละทกั ษะเปน็ พน้ื ฐานในการศึกษาตอ่ ในระดับสงู ขึ้นได้ 93รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขัอง 7. เพอื่ ใหม้ เี จตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชพี มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ ซื่อสัตย์สุจรติ มรี ะเบียบวนิ ยั เป็นผูม้ ีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม สง่ิ แวดลอ้ ม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด มาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพ คุณภาพของผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ประเภท วิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาปโิ ตรเคมี ประกอบดว้ ย 1. ดา้ นคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ได้แก่ 1.1 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ไดแ้ ก่ ความเสียสละ ซือ่ สัตย์ สจุ ริต กตญั ญกู ตเวที อดกลั้น ละเวน้ สงิ่ เสพติดและการพนนั มจี ิตส�ำ นึกและเจตคตทิ ี่ดตี อ่ วชิ าชพี และ สงั คม เปน็ ต้น 1.2 ดา้ นพฤตกิ รรมลักษณะนสิ ัย ไดแ้ ก่ ความมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ความรกั สามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ เช่ือม่ันในตนเอง ขยัน ประหยัด อดทน พ่ึงตนเอง ปฏิบัติงานโดยคำ�นึงถึง ความปลอดภยั อาชีวอนามยั การอนุรักษ์พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม เปน็ ต้น 1.3 ดา้ นทักษะทางปญั ญา ไดแ้ ก่ ความรใู้ นหลักทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ ความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ เป็นตน้ 2. ดา้ นสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป ไดแ้ ก่ 2.1 ส่ือสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชีวิตประจำ�วัน และเพ่ือพัฒนา งานอาชพี 2.2 แกไ้ ขปญั หาและพฒั นางานอาชพี โดยใชห้ ลกั การ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ 2.3 มบี คุ ลกิ ภาพและคณุ ลกั ษณะเหมาะสมกบั การปฏบิ ตั งิ านอาชพี และการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื 2.4 ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ ประสบการณแ์ ละเทคโนโลยเี พอ่ื สง่ เสรมิ และพฒั นา งานอาชพี 3. ดา้ นสมรรถนะวิชาชพี ไดแ้ ก่ 3.1 วางแผน ดำ�เนินงาน จดั การและพัฒนางานอาชพี ตามหลักการและกระบวนการ โดยค�ำ นึงถึงการบรหิ ารงานคณุ ภาพ การอนุรักษพ์ ลังงานและส่งิ แวดล้อม และหลักความปลอดภัย 3.2 ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และสารสนเทศเพอ่ื พัฒนางานอาชพี 3.3 ทดสอบคุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ ในกระบวนการผลติ ในอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีและปโิ ตรเลียม 3.4 วเิ คราะหแ์ ละตรวจสอบ กระบวนการผลติ ในอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมแี ละปโิ ตรเลยี ม 3.5 ควบคุม ดูแล บำ�รุงรักษา ตรวจสอบเคร่ืองมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและปิโตรเลียมให้สามารถทำ�งานได้ และเป็นไปตาม แผนการผลิตท่ีกำ�หนดผู้สำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาปิโตรเคมี จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ รวมไมน่ ้อยกวา่ 83 หน่วยกติ และเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร ดงั โครงสรา้ งตอ่ ไปน้ี 94รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอั ง 1. หมวดวิชาทักษะชีวิต (ไม่นอ้ ยกวา่ 21 หนว่ ยกิต) 1.1 กลมุ่ ทักษะภาษาและการส่ือสาร (ไมน่ อ้ ยกว่า 9 หน่วยกิต) 1.2 กลมุ่ ทกั ษะการคดิ และการแก้ปญั หา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ ) 1.3 กลมุ่ ทกั ษะทางสังคมและการดำ�รงชีวติ (ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ ) 2. หมวดวิชาทกั ษะชพี (ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต) 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชพี พ้ืนฐาน (15 หน่วยกิต) 2.2 กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชพี เฉพาะ (21 หนว่ ยกติ ) 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลอื ก (ไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกิต) 2.4 ฝกึ ประสบการณ์ทักษะวชิ าชีพ (4 หน่วยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ (4 หนว่ ยกิต) 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ ) 4. กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร (2 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห)์ โครงสรา้ งนส้ี �ำ หรบั ผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ประเภท วชิ าอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรอื เทยี บเทา่ 5. งานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ ง 5.1 งานวิจยั ในประเทศ อรทพิ า ส่องศิริ (2545) พัฒนาการสรา้ งเกณฑ์ประเมนิ สมรรถนะการพยาบาลทางคลินิก สำ�หรับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างเกณฑ์ประเมินสมรรถนะ การพยาบาลทางคลินิกสำ�หรับนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 2 ด้าน คือ สมรรถนะดา้ นทกั ษะพนื้ ฐานทางคลนิ กิ และสมรรถนะดา้ นทกั ษะกระบวนการพยาบาล โดยมขี นั้ ตอน การด�ำ เนนิ การ คอื 1. ก�ำ หนดสมรรถนะการพยาบาลทางคลนิ กิ 2. สรา้ งเครอื่ งมอื ประเมนิ และตรวจสอบ เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะการพยาบาลทางคลนิ กิ 3. ศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นการน�ำ เกณฑป์ ระเมนิ สมรรถนะไปใช้และจัดทำ�คู่มือเกณฑ์ประเมินสมรรถนะการพยาบาลทางคลินิก โดยผู้วิจัยสร้าง ดัชนีในแต่ละทักษะขึ้นและพัฒนาด้วยการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของดัชนีจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทางการพยาบาล ผเู้ ช่ยี วชาญทางการพยาบาล ผู้ใหบ้ รกิ าร ผู้สอน ผูร้ ับบริการและผู้ทรงคณุ วุฒิด้าน การพยาบาลและดา้ นการวัดและประเมินผล จากนนั้ หาความเชอ่ื มน่ั ความเป็นไปไดใ้ นการน�ำ ไปใช้ โดยให้อาจารย์นิเทศก์ไปประเมินนักศึกษาพยาบาลท่ีกำ�ลังศึกษาในช้ันปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ผลการศึกษา พบว่า 1) การกำ�หนดสมรรถนะการพยาบาลทางคลินิก โดยการกำ�หนดดัชนีชี้วัด ในแต่ละสมรรถนะ พบว่า ความคิดเห็นเก่ียวกับดัชนีวัดสมรรถนะด้านทักษะพื้นฐานทางคลินิก ผใู้ หบ้ รกิ ารเหน็ ดว้ ยรอ้ ยละ 46.60 - 100 ผสู้ อนเหน็ ดว้ ยรอ้ ยละ 85.60 - 100 ผเู้ ชยี่ วชาญทางการพยาบาล เห็นดว้ ยรอ้ ยละ 87.20 - 100 และผูร้ ับบริการเห็นดว้ ยร้อยละ 89.30 - 98.70 ขณะทคี่ วามคิดเหน็ 95รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขัอง เกย่ี วกับดัชนีวดั สมรรถนะด้านทักษะกระบวนการพยาบาล ผใู้ หบ้ ริการเห็นดว้ ยร้อยละ 95.20 - 100 ผสู้ อนเหน็ ดว้ ยรอ้ ยละ 93.40 - 99.20 และผเู้ ชย่ี วชาญทางการพยาบาลเหน็ ดว้ ยรอ้ ยละ 92.00 - 98.70 2) การสร้างเครื่องมือประเมินและการตรวจสอบคุณภาพเกณฑ์ประเมินสมรรถนะการพยาบาล ทางคลินกิ พบวา่ ผูท้ รงคณุ วุฒิด้านการพยาบาลและทางดา้ นการวดั และประเมินผล มีความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ความตรงเชงิ เนอ้ื หาของดชั นแี ละเกณฑก์ ารเมนิ สมรรถนะการพยาบาลทางคลนิ กิ สอดคลอ้ งกนั ในระดับ 0.5 ข้ึนไป และค่าความเช่ือม่นั ของเคร่อื งมือทนี่ �ำ ไปใหห้ ัวหน้าหอผ้ปู ว่ ยทดลองใชป้ ระเมิน กบั พยาบาลโดยรวมเทา่ กบั 0.9782 คา่ ความเชอื่ มน่ั ของเครอื่ งมอื ทนี่ �ำ ไปใหอ้ าจารยน์ เิ ทศกไ์ ปใชป้ ระเมนิ นักศกึ ษาพยาบาลโดยรวมเทา่ กบั 0.9481 3) ความเปน็ ไปไดใ้ นการน�ำ เกณฑก์ ารประเมนิ ไปใชพ้ บว่า สมรรถนะดา้ นทกั ษะพน้ื ฐานทางคลนิ กิ มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นการน�ำ ไปใชไ้ ดร้ อ้ ยละ 49.30 - 75.00 และ สมรรถนะดา้ นทกั ษะกระบวนการพยาบาลมคี วามเปน็ ไปไดใ้ นการน�ำ ไปใชไ้ ดร้ ้อยละ 61.80 - 67.40 ประมา ศาสตระรุจิ (2550) พัฒนาเกณฑ์สมรรถนะในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของผู้บรหิ ารศนู ยเ์ ทคโนโลยกี ารศกึ ษา ส�ำ หรบั การบริหารงานการศึกษานอกโรงเรยี น มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเกณฑ์สมรรถนะ คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติงานโดยอิงเกณฑ์สมรรถนะ และศึกษา ความเปน็ ไปไดใ้ นการน�ำ เกณฑส์ มรรถนะและคมู่ อื ไปใชใ้ นการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของผบู้ รหิ าร ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา สำ�หรับการบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน โดยใช้สมรรถนะสำ�หรับ ข้าราชการส�ำ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นตน้ แบบในการสรา้ งเกณฑพ์ ฤตกิ รรมบ่งช้สี �ำ หรับ ประเมินสมรรถนะ โดยผ่านกระบวนการตรวจสอบความเหมาะสมและค่าความสอดคล้อง (IOC) โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา ระดับหัวหน้าส่วน/ฝ่าย จ�ำ นวน 30 คน ผลการวจิ ัยสรปุ ได้วา่ 1) ผลการสร้างค่มู อื ประกอบด้วยวัตถปุ ระสงค์ในการใช้คมู่ อื คุณลักษณะทใ่ี ช้ ในการประเมนิ เครอ่ื งมอื ใชใ้ นการประเมนิ ขน้ั ตอนและกระบวนการในการประเมนิ บคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง กับการประเมิน การให้ข้อมูลป้อนกลับ ช่วงเวลาและความถ่ีในการประเมิน 2) ผลการตรวจสอบ ความเป็นไปได้ในการนำ�คู่มือไปใช้ พบว่า โดยภาพรวมทั้งหมดมีความเป็นไปได้ในการนำ�คู่มือไปใช้ ในระดบั มาก 3) จากสมรรถนะหลัก 8 สมรรถนะ พบวา่ สมรรถนะท่สี �ำ คัญท่ีสดุ คือ จรยิ ธรรม วัลลภ พัฒนพงศ์ (2555) ได้ศึกษาการสร้างหลักสูตรฝึกอบรมนักพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมสมรรถนะอาชีพ ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรฝึกอบรมมีประสิทธิภาพ 85.06/81.65 สูงกว่าเกณฑ์ที่ต้ังไว้และผลการประเมินภาคปฏิบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 76.13 มากกว่าเกณฑ์ท่ีกำ�หนดไว้ ผลการประเมินความคิดเห็นหลังจากการฝึกอบรมนักพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะอาชีพมีความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และผลการประเมิน การติดตามผลหลังจากการฝึกอบรม พบว่าผบู้ ริหารของผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมมคี วามคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การฝึกอบรมนักพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะอาชีพโดยภาพรวมเห็นด้วยในระดับมาก และผลการประเมินผลงานของผู้เข้ารับการอบรมหลังจากผ่านการฝึกอบรมไปแล้ว 1 เดือน ในการพัฒนาหลกั สูตรสมรรถนะ มผี ลการประเมนิ ในภาพรวม มีผลงานคดิ เปน็ รอ้ ยละ 93.85 96รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอั ง ปวณี กร แปน้ กลดั (2557) ได้ศึกษาการพฒั นาหลักสตู รฝึกอบรมครวู ชิ าชพี ตามรูปแบบ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูวิชาชีพแบบฐานสมรรถนะ พบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร ฝกึ อบรมครวู ชิ าชพี แบบฐานสมรรถนะ ประกอบดว้ ย 5 ส่วน ดงั น้ี สว่ นท่ี 1 กระบวนการวเิ คราะห์ หาสมรรถนะครวู ชิ าชพี และศกึ ษาความตอ้ งการจ�ำ เปน็ ในการฝกึ อบรม สว่ นท่ี 2 ก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงค์ หลักสูตรฝึกอบรม ส่วนที่ 3 ออกแบบหลักสูตรฝึกอบรม ส่วนที่ 4 ทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม และส่วนที่ 5 การนำ�หลักสูตรฝึกอบรมไปใช้จริงและประเมิน ติดตาม ผลการประเมินรูปแบบ การพฒั นาหลกั สตู รโดยผเู้ ชย่ี วชาญ พบวา่ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ซงึ่ สงู กวา่ สมมตฐิ าน การวิจัยที่ตั้งไว้ 2) ผลการประเมินหลักสูตรฝึกอบรมครูวิชาชีพตามรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร ฝกึ อบรมครวู ชิ าชพี แบบฐานสมรรถนะโดยประยกุ ตใ์ ชร้ ปู แบบของ Kirkpatrick ในการประเมนิ พบวา่ (1) ผลการประเมนิ ปฏิกิริยาตอบสนอง พบวา่ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมคี วามพงึ พอใจตอ่ การฝึกอบรม ทกุ ดา้ นอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ (2) ผลการประเมนิ การเรยี นรผู้ ลการประเมนิ ความรดู้ า้ นทฤษฎมี คี ะแนน E1/E2= 84.13/82.91 ซง่ึ สงู กวา่ เกณฑท์ ก่ี �ำ หนดไวค้ อื 80/80 ผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธด์ิ า้ นทกั ษะพบวา่ มีคะแนนเฉลี่ยด้านการปฏิบัติคิดเป็นร้อยละ 80.36 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้คือร้อยละ 75 (3) ผลการประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลังการอบรม ทดสอบด้วยค่า t-test พบว่าพฤติกรรม ด้านการปฏิบัติงานของครูวิชาชีพท่ีผ่านการฝึกอบรมหลังฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมี นัยสำ�คญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05 และ (4) ผลการประเมนิ ผลลัพธ์ทเี่ กิดตอ่ องค์กร พบว่าความคดิ เหน็ ของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อผลการฝึกอบรมมาใช้ขยายผลในสถานศึกษาและการฝึกอบรมของ ครู ท่ผี า่ นการฝกึ อบรมอยู่ในระดับมากทสี่ ุด และความคิดเหน็ ของครูท่มี ีต่อการนำ�ความรู้และทักษะ ทไี่ ดจ้ ากการเขา้ รบั การฝกึ อบรมมาใชใ้ นการขยายผลในสถานศกึ ษาและจดั การฝกึ อบรมของครทู ผี่ า่ น การฝกึ อบรมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ทกุ รายการ โดยสรปุ สามารถน�ำ ชดุ ฝกึ อบรมทพ่ี ฒั นาขน้ึ ไปใชฝ้ กึ อบรม ตามจดุ มงุ่ หมายกบั กลมุ่ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซง่ึ จากผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของหลกั สตู ร ฝึกอบรมเปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีก�ำ หนด หลักสูตรจงึ มีประสทิ ธภิ าพตามสมมติฐานของการวิจยั ที่ตัง้ ไว้ พนา ดสุ ิตากร (2557) ได้ศึกษาการพฒั นารูปแบบการฝึกอบรมสมรรถนะวชิ าชพี ส�ำ หรบั ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรม ผลการศกึ ษาพบวา่ ชดุ ฝกึ อบรมสมรรถนะวชิ าชพี ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อุตสาหกรรมท่ีพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพระหว่างกระบวนการฝึกอบรมร้อยละ 87.89 และ มีประสิทธภิ าพของผลลัพธ์หลังจากการฝึกอบรมร้อยละ 92.27 เมอื่ ทดสอบดว้ ยสถติ ิ Chi-Square พบว่า จำ�นวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมมากกว่าร้อยละ 85 ทำ�คะแนนจากแบบทดสอบสมรรถนะ ไดส้ งู กว่ารอ้ ยละ 85 ทร่ี ะดับนัยสำ�คัญ .05 ศักด์ิสิทธิ์ สีหลวงเพชร (2559) ได้ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะการคิดข้ันสูงสำ�หรับครูวิทยาศาสตร์ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น พบวา่ ครูวทิ ยาศาสตร์มีพ้ืนฐานความรเู้ ดมิ อยู่ในระดับน้อยและมคี วามตอ้ งการเสริมสร้างสมรรถนะ อยู่ในระดับมาก ระยะท่ี 2 การสร้างหลักสูตร เป็นการสร้างและพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้าง สมรรถนะการจดั การเรยี นรู้ทเี่ น้นทักษะการคดิ ขนั้ สงู เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมิน คือ แบบประเมนิ ความเหมาะสมของโครงร่างหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย ร้อยละ และ 97รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขัอง ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินพบว่า หลักสูตรมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก หลกั สตู รมอี งค์ประกอบท่สี �ำ คัญคือ ปัญหาและความจ�ำ เป็นของหลักสตู ร หลกั การและ เหตุผล เป้าหมาย โครงสรา้ งของหลักสตู ร เนื้อหาสาระ กจิ กรรมการอบรม สื่อประกอบการอบรม ระยะเวลาการอบรมและการวัดผลประเมินผล ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร เป็นการศึกษา ผลการใช้หลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูงที่เกิดกับครู และผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือครูวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำ�นวน 12 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ทักษะการคิดข้ันสูง แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะ การคิดข้ันสูง แบบประเมินความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะ การคิดข้ันสูง แบบสังเกตความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดข้ันสูง และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน ผลการใช้หลักสูตรพบว่า 1) ผลการทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูงของครู พบวา่ คะแนนเฉลี่ยกอ่ นการฝึกอบรมมคี ่าเทา่ กบั 13.67 คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.56 และคะแนนเฉลี่ย หลังการฝึกอบรมมีค่าเท่ากับ 25.42 คิดเป็นร้อยละ 84.72 สรุปได้ว่า ครูวิทยาศาสตร์ท่ีผ่าน การฝกึ อบรมมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู ในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ 2) ผลการประเมินความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง ของครูวิทยาศาสตร์ พบวา่ ครูมีความสามารถในการออกแบบการจัดการเรยี นรทู้ เี่ น้นทักษะการคดิ ขนั้ สงู ไดเ้ หมาะสมมาก 3) ผลการประเมนิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู ของครวู ทิ ยาศาสตรช์ น้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ พบวา่ ครสู ามารถจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรไ์ ดใ้ นระดบั ดี 4) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวทิ ยาศาสตรข์ องผเู้ รยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ที่เรยี นกับครทู ีผ่ า่ นการฝึก อบรมมคี า่ เฉล่ียหลังเรียนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 74.68 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ท่กี �ำ หนดไวแ้ ละมผี ้เู รียน ที่ผ่านตามเกณฑ์การผ่านร้อยละ 70 มีจำ�นวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 82.00 ซึ่งแสดงว่าผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่กำ�หนด ระยะท่ี 4 การปรับปรุงและแก้ไขหลักสูตร เป็นการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้มีความสมบูรณ์มากย่ิงขึ้น โดยการเพิ่มเวลาในการจัดทำ�หน่วย การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และการทำ�แบบทดสอบเพื่อให้มีเวลาในการคิดหาคำ�ตอบและ ทบทวนการท�ำ แบบทดสอบให้มากขนึ้ 5.2 งานวิจัยในตา่ งประเทศ Confer (2001) ได้ศึกษาความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจำ�นวน 42 คน และครู 6 คน เก่ียวกับการสอนและการเรียนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ครูผู้ร่วมวิจัย ได้พยายามทำ�ให้ชั้นเรียนของตนเป็นชั้นเรียนท่ีเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางมากข้ึน ข้อมูลเบื้องต้น ท่ีนำ�มาวิเคราะห์ได้จากการสัมภาษณ์และการสังเกตในชั้นเรียน ผลการศึกษาเบ้ืองต้น พบว่า ครูยังไม่เข้าใจแนวคิดและทางปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่ครูต้ังใจจะให้เป็นช้ันเรียนท่ีเน้น นักเรียนเป็นสำ�คัญ ผลจากการใช้ข้อมูลเบื้องต้นเหล่าน้ี ได้ระบุตัวบ่งชี้ระดับความเข้าใจเกี่ยวกับ 98รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วขัอง แนวคิดและทางปฏิบัติ 5 ระดับ เมื่อใช้ตัวบ่งชี้วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงความเข้าใจของแนวคิด ท่เี หมาะสมเพื่อแนะแนวปฏบิ ตั ิใหม่ ครมู กั จะสร้างแนวคดิ ทีผ่ ดิ ๆ บอ่ ยครงั้ ซึง่ นำ�ไปสู่การแสดงออก ท่ไี มเ่ หมาะสมเกีย่ วกับกลยทุ ธก์ ารสอนได้ ประการท่ี 2 เม่ือครูเปน็ ผ้เู รียนเกยี่ วกับวิธีการเน้นนักเรยี น เป็นสำ�คัญเพ่ือการสอนและการเรียนรู้ ครูจึงเป็นท้ังผู้สอน ผู้เรียนและผู้ปฏิบัติด้วยความเข้าใจ เกยี่ วกบั แนวคดิ และการปฏบิ ตั ขิ องครจู งึ มคี วามเหมาะสมมากขน้ึ และผลประการที่ 3 พบวา่ ครบู างคน มีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเกิดข้ึนก่อนปฏิบัติการสอนท่ีเหมาะสม ส่วนครูคนอื่น ๆ มีกลยุทธ์ ท่ีเหมาะสม ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นวา่ มีความเข้าใจในแนวคิดเพ่มิ ขน้ึ Watamura (2001) ได้ศึกษาเปรียบเทียบการเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นศูนย์กลางกับ วิธีสอนแบบเดิมในวิชาคณิตศาสตรใ์ นชน้ั ประถมศกึ ษา พบว่า เด็กจะสร้างแนวความคิดได้ดีมากข้ึน เม่ือได้รับการสอนท่ีเน้นเด็กเป็นศูนย์ ส่วนการสอนแบบบอกความรู้ทำ�ให้เด็กรู้ข้อเท็จจริง ท่ีเป็นส่วน ๆ แต่ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อเท็จจริงเหล่าน้ันเข้าด้วยกันเป็นกรอบความคิดหลัก และผลจากการเรียนรู้ก็ไม่มีความคงทน ในการศึกษาคร้ังน้ีได้เปรียบเทียบนักเรียนที่เน้นเด็ก เป็นศูนย์กลางกับช้ันเรียนท่ีสอนโดยบอกความรู้ พบว่า นักเรียนมีผลการเรียนรู้แตกต่างกัน โดย นักเรียนท่ีเน้นเด็กเป็นศูนย์กลางมีฐานความรู้กว้างไกลกว่า และสามารถเชื่อมโยงความรู้ท่ีตนมี เข้ากับสภาพแวดลอ้ มในชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดม้ ากกว่า Alan and Ping Man (2012) ได้ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการส่งเสริมและอุปสรรค ในการปฏริ ปู หลกั สตู รในฮอ่ งกงระหวา่ งปี ค.ศ. 2001 - 2006 โดยไดท้ �ำ การศกึ ษาในโรงเรยี นประถมศกึ ษา จ�ำ นวน 150 โรงเรยี น โรงเรยี นมธั ยม จำ�นวน 120 โรงเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ซ่งึ ประกอบดว้ ย ผูน้ ำ�ดา้ นหลักสูตร คณะครู นักเรียน จ�ำ นวน 7,869 คน โดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ ผลการวิจยั พบวา่ บทบาทท่ีแตกตา่ งของผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ในด้านการปฏริ ปู หลักสูตร ความเขา้ ใจ ของผู้บริหาร ผู้นำ�ด้านหลักสูตร และครูผู้สอน มีผลใกล้เคียงกันทั้งด้านการส่งเสริมและอุปสรรค การปฏิรูปหลักสูตร โดยการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การปฏิรูปหลักสูตรของฮ่องกงมีอุปสรรค ในด้านปริมาณงานที่หนักของครู การเรียนรู้ท่ีหลากหลายในห้องเรียน ความไม่เข้าใจของครูและ ไม่เห็นคุณค่าในการปฏิรูปหลักสูตร ซึ่งข้อค้นพบในการวิจัยนำ�ไปสู่นโยบายสำ�คัญในการปรับปรุง การด�ำ เนินการปฏิรูปหลักสูตรในระยะตอ่ ไป Tassel – Baska and Joyce (2012) ไดศ้ กึ ษาเกยี่ วกบั มาตรฐานหลักสตู รแกนกลางของรัฐ (CCSS) กรณีศึกษาหลักสูตรสำ�หรบั นักเรียนท่ีมคี วามสามารถพิเศษ (Gifted 3.0) ดา้ นภาษาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ใน 46 รัฐ เพอ่ื การยอมรับมาตรฐานของรัฐท่กี �ำ หนด โดยใชว้ ธิ กี ารประเมินผเู้ รียน ตามสภาพจริงแทนการทดสอบในโรงเรียนของรัฐ มาตรฐานหลักสูตรและแนวทางการประเมินผล ทพ่ี ฒั นาขนึ้ จะน�ำ ไปใชก้ บั นกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษทกุ พนื้ ทข่ี องรฐั และมแี นวโนม้ ในการน�ำ ไป พัฒนาวิชาวิทยาศาสตร์ ผลการศึกษาคร้ังน้ีทำ�ให้ได้มาตรฐานที่สอดคล้องกับความสามารถของ ผเู้ รยี นทม่ี พี รสวรรคพ์ เิ ศษตามโปรแกรมของสมาคมเดก็ ความสามารถพเิ ศษ (National Association for Gifted Children : NAGC) 99รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวขอั ง Fenwick and Cooper (2012) ไดท้ ำ�การศกึ ษาวเิ คราะหเ์ กีย่ วกบั ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ กบั นักเรียนจากการปฏิรูปมาตรฐานหลักสูตรแกนกลางของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นความพยายาม รว่ มกนั ในการเพมิ่ มาตรฐานขนั้ พน้ื ฐานซง่ึ เนน้ ไปทค่ี วามสามารถระดบั ตาํ่ สดุ ของนกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย ในโรงเรียนมัธยมศึกษา เกี่ยวกับโอกาสและอุปสรรคในการเรียนรู้ให้ประสบความสำ�เร็จ ข้อสรุป ของผลการวิจัยอย่บู นพนื้ ฐานของการวิเคราะหก์ ารออกแบบหลักสูตรที่ปรบั ปรุงข้นึ ใหม่ เพอ่ื ทดลอง ใชใ้ นโรงเรียน 3 โรงเรียน ประกอบด้วย เอกสารการวางแผนการจดั การเรียนรู้และการประเมนิ ผล ของครพู รอ้ มกบั การสัมภาษณผ์ ้บู ริหารโรงเรยี น คณะครแู ละนักเรียน ผลการศกึ ษาพบวา่ มาตรฐาน หลกั สตู รทพ่ี ฒั นาขน้ึ สามารถน�ำ ไปสกู่ ารพฒั นานกั เรยี นทไี่ มป่ ระสบความส�ำ เรจ็ ในการเรยี นเปน็ อยา่ งดี การศึกษาครั้งน้ีแสดงให้เห็นว่า ธรรมชาติการปฏิบัติที่มีความแตกต่างในการนำ�ไปใช้ในโรงเรียน เพื่อการดำ�เนินการพัฒนามาตรฐานข้ันต่ําของนักเรียน ขึ้นอยู่กับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และบริบท ของโรงเรียนทแ่ี ตกต่างกนั ในทอ้ งถ่ิน จากการตรวจสอบเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ จะเห็นว่าเป็นหลักสูตรท่ีเน้นการปฏิบัติจริง มุ่งให้ผู้เรียนถ่ายโยงการเรียนรู้สู่การใช้ทักษะชีวิต ในด้านต่าง ๆ หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ เป็นการรับประกันว่าความรู้ท่ีได้ศึกษาสามารถนำ�มา ใช้ได้จริง หลักสูตรรูปแบบนี้จึงมีคุณค่ามากกว่าหลักสูตรอิงเนื้อหา ซึ่งเป็นแต่เพียงองค์ความรู้ ทอ่ี าจจะไมไ่ ดใ้ ชใ้ นชวี ติ จรงิ หลกั สตู รของชาตฉิ บบั ปจั จบุ นั ดเู หมอื นวา่ พยายามทจ่ี ะสรา้ งความสมดลุ ระหว่างความรู้และกระบวนการด้านทักษะชีวิต แต่ในการปฏิบัติ ยังคงให้ความสำ�คัญกับเนื้อหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากกว่าสิ่งท่ีผู้เรียนปฏิบัติได้ หลักสูตรจึงยังคงเน้นเนื้อหาวิชาและ ไมอ่ าจท�ำ ให้การสรา้ งทกั ษะกระบวนการเกดิ ขน้ึ จรงิ ปญั หาการศึกษาท่ีผูเ้ รยี นเรียนแล้วไมส่ ามารถ ประยุกต์ความรู้ถ่ายโยงไปยังสถานการณ์อื่น ๆ ได้ จงึ ยังคงด�ำ เนนิ อยู่ และเป็นวิกฤตสิ ำ�คญั ประการ หนงึ่ ของการศกึ ษาไทยปจั จบุ นั ดว้ ยเหตนุ ้ี การรว่ มคดิ และการรว่ มสรา้ งหลกั สตู รใหเ้ ปน็ หลกั สตู รฐาน สมรรถนะ จะเป็นสิ่งสำ�คัญประการหน่ึงในการพัฒนาศักยภาพของพลเมืองไทยให้เกิดประสิทธิผล เทยี บเคียงกับนานาประเทศได้ในอนาคต 100รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
บทท่ี 3 วธิ ดี �ำ เนินการวจิ ยั การดำ�เนินการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับ หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นการวิจยั และพฒั นาโดยมีจุดมุ่งหมายเพอื่ พัฒนากรอบสมรรถนะ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและประถมศึกษาตอนต้น โดยศึกษาผลการทดลองใช้กรอบ สมรรถนะในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย ในการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รียนสำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานส่กู ารปฏบิ ตั ิ โดยเก็บรวบรวม ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย (multi-instrument approach) การด�ำ เนินการวจิ ัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 การพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและกรอบสมรรถนะ หลักผูเ้ รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ 1) การศกึ ษาแนวคดิ การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะและมโนทศั นเ์ กี่ยวกับสมรรถนะ 2) การพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและสมรรถนะหลัก ของผเู้ รียนระดบั ประถมศึกษาตอนต้น 3) การพัฒนาแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 4) การพัฒนาเอกสารแนวทางดำ�เนินการ ส่ือต้นแบบ และรวบรวมทรัพยากรการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาสมรรถนะผู้เรยี น ระยะที่ 2 การทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับช้ันประถม ศึกษาตอนตน้ ในสถานศึกษา 1) การพัฒนาแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ไปส่กู ารจัดการเรียนการสอน 2) การดำ�เนินการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ไปสกู่ ารจดั การเรียนการสอน 101รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
บทท่ี 3 วธิ ดี �ำ เนินการวิจยั ระยะที่ 3 การจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนสำ�หรับหลักสูตร การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานสู่การปฏิบัติ ระยะท่ี 1 การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และกรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ 1. การศกึ ษาแนวคดิ การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะและมโนทศั นเ์ กย่ี วกบั สมรรถนะ 1.1 ศกึ ษาเอกสารเกยี่ วกบั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดยการคดั เลอื กเอกสาร มอบหมาย ผรู้ บั ผดิ ชอบศกึ ษาและสรปุ ความ น�ำ เสนอในการประชมุ เพอ่ื อภปิ รายแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และหาขอ้ สรปุ รว่ มกนั เพ่ือให้ไดส้ าระส�ำ คัญสำ�หรบั การดำ�เนนิ การเร่อื งหลกั สูตรฐานสมรรถนะ เอกสารท่ศี ึกษา ไดแ้ ก่ 1.1.1 เอกสารเรือ่ ง An International Study in Competency Education : Poatcard from Aboard 1.1.2 เอกสารเรอ่ื ง The Why, What and How to Competency - Based Curriculum Reforms: The Kenya Experiecces ของ UNESCO International Bureau of Education 1.2 ประมวลความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน จากกลุ่ม ผเู้ กีย่ วข้องผา่ นทางไลน์ กอปศ. และการประชมุ รบั ฟงั ความคิดเห็น (รายละเอียดในเอกสารประกอบ ล�ำ ดบั ที่ 1) 1.3 การประชมุ ผเู้ ชยี่ วชาญ (Expert meeting) เปน็ การประชมุ ของคณะท�ำ งานพฒั นา กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเชิญผู้เช่ียวชาญท่ีมีความรู้และประสบการณ์ ในสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาสมรรถนะและมโนทศั นส์ �ำ คญั เกย่ี วกบั สมรรถนะมาน�ำ เสนอใหข้ อ้ มลู และแบง่ ปนั ประสบการณ์ รวมทง้ั การอภปิ รายและสรปุ รว่ มกนั เพอื่ น�ำ ขอ้ มลู สารสนเทศทไี่ ดจ้ ากการ ประชมุ ไปสกู่ ารก�ำ หนดแนวคดิ และมโนทศั น์เกย่ี วกบั สมรรถนะ รายการประชุมเปน็ ดังน้ี 1.3.1 การประชุมในหัวข้อ “หลักการในการจัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะ” โดยนายชาตรี ชนานาฎ ศึกษานิเทศก์ชำ�นาญการพิเศษ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เม่อื วนั ที่ 25 มกราคม 2561 1.3.2 การประชมุ ในหวั ขอ้ “ประสบการณห์ ลกั สตู รการศกึ ษาของประเทศตา่ ง ๆ : สมรรถนะเด็กไทยและกจิ กรรมการพัฒนาเยาวชน” โดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์อรรถพล อนนั ตวรสกลุ อาจารยค์ ณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมอ่ื วันที่ 8 กุมภาพนั ธ์ 2561 1.3.3 การประชุมในหัวข้อ “หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานและ การประเมนิ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551” โดยนางสาวรตั นา แสงบวั เผอ่ื น ผู้อำ�นวยการกลุ่มพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน เมื่อวันท่ี 15 กมุ ภาพันธ์ 2561 102รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทที่ 3 วธิ ีดำ�เนินการวจิ ัย 1.3.4 การประชมุ ในหวั ขอ้ “แนวคดิ และประสบการณก์ ารพฒั นาหลกั สตู รชาต”ิ โดย นางสาวรงุ่ นภา นตุ ราวงศ์ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการวเิ คราะหก์ ารจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เมอ่ื วนั ท่ี 22 กมุ ภาพันธ์ 2561 1.3.5 การประชุมในหัวข้อ “แนวคิดการพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อารี สัณหฉวี ข้าราชการเกษียณ อดีตผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตบางนา เมือ่ วันท่ี 29 มีนาคม 2561 1.4 การประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อกำ�หนดนิยามสมรรถนะ ผลการประชุม ดังกล่าวนำ�ไปสู่การกำ�หนดคำ�นิยามของสมรรถนะ (Competency) และสมรรถนะหลัก (Core Competencies) ดังนี้ สมรรถนะ (Competency) หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการน�ำ ความรู้ ความ เข้าใจ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ในงาน หรือในสถานการณ์ต่าง ๆ ซง่ึ แสดงออกทางพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ทิ ส่ี ามารถวดั และประเมนิ ผลได้ สมรรถนะเปน็ ผลรวมของความรู้ ทักษะ เจตคติ คณุ ลกั ษณะ และศกั ยภาพตา่ ง ๆ ทีท่ �ำ ให้บคุ คลหรือกลมุ่ บุคคลประสบความส�ำ เร็จ ในการทำ�งาน สมรรถนะหลกั (Core Competencies) หมายถงึ สมรรถนะท่มี ีความสำ�คญั เน่ืองจาก เป็นสมรรถนะที่จำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนทุกคน เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การทำ�งาน และการใช้ชีวิตอย่าง มีคุณภาพในครอบครวั ชมุ ชน สังคม ประเทศ และโลก นอกจากน้ัน ยงั หมายรวมถึงลักษณะของ ความเป็นกลางท่ีสามารถพัฒนาขา้ มกลุม่ หรอื ผ่านกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ได้ หรอื น�ำ ไปประยุกต์ ใช้กลมุ่ สาระการเรียนร้ตู ่าง ๆ ได้ 2. การพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น ดำ�เนนิ การดังน้ี 2.1 ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ เพอื่ ก�ำ หนดสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น โดยพจิ ารณาจาก สภาพปัญหาของเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และการเมือง ทง้ั ในปัจจบุ ันและอนาคต คณุ ลกั ษณะ ของเด็กไทยทพี่ งึ ประสงค์ในอนาคต และความคาดหวงั ของผ้ปู กครองและผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง 2.2 กำ�หนดสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและระดับประถม ศกึ ษาตอนต้น 2.3 ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สมรรรถนะส�ำ คญั ของผเู้ รยี น 10 ประการ 2.4 ประชุมเพื่อศึกษาเอกสารและระดมความคิดเห็น ออกแบบและจัดทำ�ภาพใหญ่ (Big Picture) ประกอบด้วย 2.4.1 จัดกลุ่มของสมรรถนะเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย (1) คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) (2) พลเมืองอยดู่ ีมีสขุ (Happy Thais) (3) คนไทยสามารถสงู (Smart Thais) และ (4) พลเมืองไทย ใสใ่ จสังคม (Active Thai Citizen) 103รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
บทที่ 3 วิธดี ำ�เนินการวิจยั 22.4.4.2.2 กกำ�าหหนนดดลลักักษษณณะะแแนวนทวาทงากงากรพารัฒพนัฒาสนมารสรมถนระรหถลนักะไหดล้ 4ักไลดัก้ษ4ณะลักษณะ ปปรระะกกออบบดด้ว้วยย(1(1) ) สสาารระะววิชิชา/าส/าสขาาขวาชิ วาิชา(Su(Sbujebcjet/cDt/isDcisipcliipnleineArAeraesa)s()2()2ป) รปะรสะบสกบากราณร์/ณกิจ์/กกิรจรกมรรม (Experiences/Activities) ประเด็นส�ำาคัญปจั จบุ ัน (Current Issues) และบบรริบิบทท(C(Coonntetexxt)t) 22.4.4.3.3 ออออกกแแบบบบคคดั ัดเเลลอื ือกกสสี ีแแลละะจจัดัดววาางงอองงคค์ป์ปรระะกกออบบตตา่ า่ งงๆ ใใหห้มม้ ีคคี ววาามมสสมั มั พนั ธ์กนั ใหภ้ าพสามารถสอ่ื ความมไคดว้ ราวมมไดท้งั รกวามรทเขัง้ ยี กนาอรเธขบิ ียานยอ(ธริบายาลยะ(เรอายี ยดลใะนเคอมู่ียอืดกในารคน่มู �ำือกกราอรบนสามกรรอถบนสะมหรลรกัถนะ ขหอลงักผขเู้ รอยีงผน้เูรระยี ดนบั รชะนั้ดปบั รชะ้ันถปมรศะกึถษมาศตึกอษนาตตน้อนไตปน้ใช้ใไนปกใชาใ้รนพกัฒารนพาผฒั ู้เนรียานผเู้)รยี น) ภภาาพพทท่ี 5ี่ 5 แภสาดพงภรวามพสรวมมรรสถมนระรถหนละักหขลอักงคขนอไงทคยนไทย ก กาารรศศ ึกกึ ษษาา ขขน้ัั้น2พพ2. 5.น้ืืน้ 5 ฐฐ2ร2าาร22า่นน..่55า..ง55แแง..ร21..ลลร21าาะะย ยรรล1กค2ะละ1กคะ))รวดดะ)รวเ อาอับอับเาสสมอบยีมบปสปมมสียดสสมสรรรรำ�ดขมาะะมรรรคขคอรถรถถถรัญรอัญงถมรมนนถองนแถศศะะแนองลนะกึหหึกลคงะะหะษษะลล์ปคหมหลมกกััาา์ปรลโักลตตโรระนรนกัรกัะะออกะทขทะดดขนนอกัศอดัศอบบััตตบอนงับนงชก้นน้สผบผข์กข์้นัามเู้เู้สอ(ารร(อปรปปรรมศงียงียรร.ศแ.นแกึร11นถะตึกรตษ--ถน33ษ่ลถ่ลามะ))ะนาะขศใทสขทสะั้นนึกมน้ั้งังั้ใมพสษนรพร1ม1ืน้ ารสรื้น00รตฐถถมรฐาอนปนปรถานนะรระนรนตะถะะก้นกนหาาะลรรหักปปลขรรักอะะขงกกผอออเู้งบรบผียดดู้เนว้รว้ ียยรยะนดรบัะดับ 2.6 การตรวจ2ส) อบสมสรมรรถรนถนะหะหลกัลกรั ะขดอับงผชเู้นั้ รปยี นระรถะดมบัศกึกษาราศตกึ อษนาตข้นน้ั พนื้ ฐานและสมรรถนะ หลกั ของผู้เรีย2น.ร6ะกดาบั รปตรระวถจมสศอกึบษสามตรอรถนนตะน้ หโลดกั ยขดอ�ำ งเนผู้เนิ รกียานรกปารระศกึกอษบาดข้วันยพนื้ ฐานและสมรรถนะหลักของ ผเู้ รียนระดับประถมศกึ ษาตอนต้น โดยดาเนนิ การประกอบด้วย 104 111รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
บทที่ 3 วิธีด�ำ เนินการวจิ ัย 2.6.1 กำ�หนดหลักการในการกำ�หนดกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน และวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นกับหลกั การสำ�คัญ จ�ำ นวน 6 ประการ ประกอบดว้ ย 1) การตอบสนองนโยบายระดบั ชาติ ประกอบด้วย 1.1) รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 1.2) ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 1.3) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 1.4) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) 1.5) มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 2) การสง่ เสรมิ การใชศ้ าสตรพ์ ระราชาตามหลกั การทรงงาน พระราโชบาย ด้านการศึกษาที่รวมทง้ั พระราโชบายที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรชั กาลท่ี 10 ได้พระราชทานแกร่ ฐั บาล และประชาชน และพระราชดำ�รัส สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3) การใหค้ วามส�ำ คญั กบั การด�ำ รงรกั ษาความเปน็ ไทย ท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ศาสนา ความดีงาม และความเป็นชาตไิ ทย 4) การเตรยี มผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะและสมรรถนะทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพในโลกปจั จบุ นั และอนาคตทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะ สมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 5) การกำ�หนดให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียนตามหลักพัฒนาการ และ สามารถตอบสนองความแตกต่างท่หี ลากหลายของผเู้ รียน วถิ ีชีวติ ภมู ิสังคม และบริบท 6) การมงุ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐานสากล 2.6.2 ประชมุ หารอื ผเู้ ชยี่ วชาญเพอื่ ใหข้ อ้ เสนอแนะ จ�ำ นวน 2 กลมุ่ ประกอบดว้ ย ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะสาขาวชิ า และผ้เู ชย่ี วชาญการพฒั นาผู้เรียนในภาพรวม 2.6.3 รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นจากผู้เช่ียวชาญมาดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไข รายการสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (รายละเอยี ดตามเอกสารประกอบลำ�ดับท่ี 2) 105รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
บทท่ี 3 วิธีด�ำ เนินการวิจัย พลเมอื งทเี่ ข้มแข็ง/ตืน่ รู้ ทม่ี สี �ำ นกึ สากล (Acttve Citizen and Global Mindedness) ภาพท่ี 6 ภาพรวมสมรรถนะหลักของคนไทย (ปรับปรุงตามผเู้ ชย่ี วชาญ) 2.7 ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสรา้ งองคป์ ระกอบสมรรถนะหลกั ของ ผ้เู รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนต้น กับขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ดงั น้ี 2.7.1 กำ�หนดความสัมพันธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบและสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียน ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถน�ำ เสนอในลักษณะแผนภาพโครงสร้างสมรรถนะได้ ดังภาพที่ 6 106รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
โดยความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบและสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดับการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน สามารถนาเสนอในลกั ษณะแบผทนทภ่ีา3พโวคิธรงดี สร�ำ า้เนงสินมกรราถรนวะิจไดัย้ดงั แผนภาพต่อไปน้ี ดา้ นภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร สมรรถนะ คนไทยฉลำดรู้ ด้านคณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจาวัน ของผ้เู รยี น (Literate Thais) ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ คคนนไทไทยทยอ่ี ยดู่ ีมีสสุขุข และจิตวิทยาศาสตร์ (Happy Thais) ด้านภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ดา้ นทกั ษะชีวิตและความเจรญิ แห่งตน ดา้ นทกั ษะอาชีพ และการเป็นผปู้ ระกอบการ คนไทยสำมำรถสูง ด้านทักษะการคดิ ข้นั สูงและนวตั กรรม (Smart Thais) ดา้ นการรเู้ ท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทลั พลพเลมเือมงอืไทงไยททยีใ่ ส่ ด้านการทางานแบบรวมพลัง เป็นทีม ใสใจใ่ จสสงั คงั คมม(A(Actcivtieve และภมาภี วาะวผะนู้ ผานู้ �ำ TThhaaiiCCititizizeenns)) ดา้ นพดล้าเมนอืพงลทเมีเ่ ขือม้งตแ่ืนขร็งทู้/ตมี่ น่ื ีสราูท้นึกม่ี สีสาำ�กนลึกสากล ภาพที่ 7 โครงสร้างสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดบั ประถมศึกษาตอนต้น 2.7.2ภ าพจทดั ่ี 1ท0�ำ เคแสรดอื่ งงโมคอืรงปสรระ้างเมสมนิ รสรมถรนระถหนลักะคผนเู้ รไยีทนยระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ประกอบ ดว้ ยองคป์ ระกอบสมรรถนะและระดับคุณภาพของผ้เู รียน ส�ำ หรับครผู ้สู อนใช้ประเมนิ นักเรียน 2.7.3 ดำ�เนินการประเม13ิน5สมรรถนะของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ตามกรอบโมเดลโครงสรา้ งสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ โดยทำ�การประเมินผูเ้ รียนในสถานศกึ ษา สงั กดั ตา่ ง ๆ ใน 4 ภมู ิภาคท่วั ประเทศ ได้แก่ สังกดั ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัดสำ�นักงานคระกรรมการอุดมศึกษา สงั กดั ส�ำ นกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร และสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จ�ำ นวนทง้ั สนิ้ 2,337 คน โดยการสมุ่ แบบแบง่ ชัน้ (Stratification Random Sampling) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของ โครงสรา้ งองคป์ ระกอบของสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นทคี่ ณะผวู้ จิ ยั สงั เคราะหข์ น้ึ มากบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ โดยใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) ดว้ ยโปรแกรมลสิ เรล ซ่งึ โครงสร้างองค์ประกอบของสมรรถนะสามารถแบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 107รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
บทท่ี 3 วธิ ีดำ�เนินการวจิ ยั 1) องคป์ ระกอบที่ 1 คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) ประกอบไปดว้ ย 4 สมรรถนะหลกั ได้แก่ ด้านภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร (X1) ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั (X2) ดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ (X3) และดา้ นภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร (X4) 2) องค์ประกอบที่ 2 คนไทยอยดู่ ีมสี ุข (Happy Thais) ประกอบไปด้วย 2 สมรรถนะหลัก ได้แก่ ด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (X5) และด้านทักษะอาชีพ และ การเปน็ ผูป้ ระกอบการ (X6) 3) องคป์ ระกอบที่ 3 คนไทยความสามารถสงู (Smart Thais) ประกอบไปดว้ ย 2 สมรรถนะหลัก ได้แก่ ด้านทักษะการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม (X7) และด้านการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั (X8) 4) องค์ประกอบที่ 4 พลเมืองไทยใส่ใจสังคม (Active Thai Citizen) ประกอบไปด้วย 2 สมรรถนะหลัก ได้แก่ ดา้ นการทำ�งานแบบรวมพลงั เป็นทีม และมีภาวะผูน้ ำ� (X9) และดา้ นการเป็นพลเมืองทีเ่ ขม้ แขง็ /ตืน่ ร้ทู ่มี ีสำ�นึกสากล (X10) ด�ำ เนนิ การวิเคราะห์ความสมั พันธ์ระหว่างตวั แปรโดยใช้คา่ สหสมั พันธแ์ บบเพียรส์ นั 3. การพัฒนาแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 3.1 คณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะฯ และคณะครูที่มีประสบการณ์สูง ในการสอนจำ�นวน 26 คน จากโรงเรียนสังกัดสำ�นักการศึกษากรุงเทพมหานคร โรงเรียนสังกัด สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และโรงเรียนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน ร่วมพิจารณาความเชื่อมโยง สอดคล้องระหว่างข้อมูลของมาตรฐานตัวช้ีวัด ระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ และสมรรถนะย่อยของผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ทง้ั 10 สมรรถนะ 3.2 คณะท�ำ งานวางแผนจดั ทำ�กรอบสมรรถนะฯ ได้ทบทวน ประมวลขอ้ มูลเกยี่ วกับ นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอน แนวทางพฒั นาผเู้ รยี น และรว่ มกนั ก�ำ หนดแนวทางในการน�ำ กรอบ สมรรถนะหลกั ไปสกู่ ารปฏิบัติ 4 แนวทางคือ แนวทางที่ 1 : งานเดิมเป็นฐานผสานสมรรถนะ เป็นการสอนตามปกติ ท่ีสอดแทรกสมรรถนะ ซึ่งครูเห็นว่าสอดคล้องกับบทเรียนน้ันเข้าไป และอาจปรับกิจกรรม หรือคิดกจิ กรรมตอ่ ยอด เพอ่ื ให้ผู้เรยี นได้พฒั นาสมรรถนะนัน้ ยงิ่ ขึ้น หรอื ไดส้ มรรถนะอื่นเพม่ิ มากขน้ึ แนวทางที่ 2 : สมรรถนะเป็นฐานผสานตัวช้ีวัด เป็นการสอนโดยนำ�สมรรถนะ และตัวช้ีวัดที่สอดคล้องกัน มาออกแบบการสอนร่วมกัน เพื่อให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ทั้งเน้ือหาสาระ และทักษะตามทต่ี ัวชี้วัดก�ำ หนดไว้ พร้อมกับการพัฒนาสมรรถนะหลกั ทจี่ �ำ เปน็ ต่อชวี ติ ของเขา 108รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
บทท่ี 3 วิธดี �ำ เนินการวิจัย แนวทางท่ี 3 : บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ เปน็ การสอนโดยนำ�สมรรถนะ หลกั ทั้ง 10 ด้าน เป็นตัวต้ังและวเิ คราะห์ตัวช้ีวดั ทเี่ ก่ียวข้อง แล้วออกแบบการสอนทม่ี ีลักษณะเปน็ หนว่ ยบูรณาการทชี่ ่วยใหเ้ ดก็ ได้เรียนรูอ้ ย่างเปน็ ธรรมชาติ และเห็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวชิ า/กลมุ่ แนวทางท่ี 4 : สมรรถนะชีวิตในกิจวัตรประจำ�วัน เป็นการอบรมส่ังสอน ท่ีครู จงใจสอดแทรกการพฒั นาสมรรถนะเขา้ ไปในกิจวัตรประจำ�วันของผ้เู รยี น 3.3 คณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะฯ ได้จัดทำ�ตัวอย่างแผนการสอน แตล่ ะแนวทาง และนำ�เสนอให้คณะครูท่มี ีประสบการณส์ ูงในการสอนจำ�นวน 26 คน จากโรงเรียน สังกัดสำ�นกั การศึกษากรงุ เทพมหานคร โรงเรียนสงั กัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน และโรงเรยี นสงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชนรว่ มพจิ ารณา โดยเสนอความคดิ เหน็ ให้ปรบั แนวทางท่ี 1 ให้มลี กั ษณะยอ่ ย 2 ลักษณะ คือ แนวทางยอ่ ยท่ี 1.1 ใช้งานเดิม เสรมิ สมรรถนะ และแนวทางย่อยที่ 1.2 ใช้งานเดิม ต่อเติมสมรรถนะ และร่วมกันจัดทำ�ตัวอย่างแผนการสอนท้ัง 4 แนวทาง 3.4 ผู้ทรงคุณวุฒพิ ิจารณาปรบั แกแ้ ผนการสอน ใหม้ ีความสมบูรณ์ 4. การพฒั นาเอกสารแนวทางดำ�เนินการ ส่ือต้นแบบ และรวบรวมทรัพยากร การเรียนร้เู พ่อื พฒั นาสมรรถนะผเู้ รียน เน่ืองจากการดำ�เนินการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานยังอยู่ในช่วงเวลาท่ียังใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การเชื่อมต่อระหว่างหลักสูตรที่ใช้ในปัจจุบันและกรอบสมรรถนะฯ ที่พัฒนาขึ้นจึงมีความสำ�คัญ เพื่อให้การดำ�เนินการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ คณะผวู้ จิ ยั และคณะท�ำ งานฯ จงึ ไดร้ ว่ มกนั จดั ท�ำ เอกสารแนวทางการด�ำ เนนิ การ สือ่ ตน้ แบบ และรวบรวมทรพั ยากรการเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี น ดังน ี้ 4.1 จัดทำ�คู่มือครูในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษา ตอนตน้ ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น คู่มอื ครดู งั กล่าวประกอบด้วยสาระสำ�คัญ 4 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 แนวคิดพื้นฐาน ความเป็นมาและความสำ�คัญของการพัฒนา กรอบสมรรถนะหลัก (Core Competencies) ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักในการกำ�หนดกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระบวนการพัฒนา กรอบสมรรถนะ และการนำ�สมรรถนะสู่การพัฒนาผู้เรียน นิยามศัพท์เฉพาะ ความสำ�คัญและ มโนทศั นข์ องแต่ละสมรรถนะหลัก ตอนที่ 2 กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาตอนตน้ ตอนที ่ 3 ความเชอื่ มโยงของสมรรถนะหลกั กับสาระการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ 109รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
บทท่ี 3 วิธีด�ำ เนินการวจิ ัย ตอนท ี่ 4 หลักการ แนวทาง และตัวอย่างการนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนา ผู้เรียน หลักการนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนาผู้เรียน แนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะหลัก สกู่ ารพฒั นาผเู้ รยี น แนวทางท่ี 1: งานเดมิ เปน็ ฐาน ผสานสมรรถนะ แนวทางที่ 2: สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสาน ตวั ชวี้ ดั แนวทางที่ 3: บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ แนวทางที่ 4: สมรรถนะชวี ติ ในกจิ วตั รประจ�ำ วนั รวมถึงมีการวิเคราะห์ตัวช้ีวัดในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเทียบกรอบสมรรถนะหลักของ ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ตัวอย่างการนำ�แนวทางกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 สู่การพัฒนาผู้เรียน และข้อมูลผู้ปฏิบัติงานและโรงเรียนท่ีร่วมทดลองใช้ กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาตอนตน้ ภาคผนวก ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ (1) การวิเคราะห์ตัวชี้วัดในหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐานเทยี บกบั กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (2) ตัวอย่างแนวทาง การนำ�กรอบสมรรนะของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นสู่การพัฒนาผู้เรียน และแผนการจัด การเรียนรู้ 4 แนวทาง และ (3) ข้อมูลผู้ปฏิบัติงานและโรงเรียนที่ร่วมทดลองใช้กรอบสมรรถนะ ของผูเ้ รียนระดับช้นั ประถมศึกษาตอนตน้ ภภาาพพทท่ี 8ี่ 8 คในู่มกอื กคาคามู่รรรพอื กูพคฒั าฒั รรนกู นนาาาำ�ผรผกนู้เ้เูรรรายีอียกนบนรอสบมสรรมถรนรถะนหะลหกั ลขักอขงอผงูเ้ รผียเู้ รนยี รนะรดะับดชับ้ันชปนั้ รปะรถะมถศมกึศษึกาษตาอตนอนตน้ต้นไปไปใชใช้ ้ใน การดาเนนิ การได้จดั ทาตามลาดับ ดงั น้ี 4.1.1 สังเคราะห์ข้อมูลและวรรณคดีที่เก่ียวข้อง เพื่อจัดทาเอกสารตอนที่ 1 แนวคิด พ้นื ฐาน (รรายางยานเอผลียกดารใวนิจัยเแอละกพสฒั านรากปรอรบะสกมรอรถบนละผา้เู รดยี นับที่111) 0 ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน 4.1.2 ประชุมผู้บริหาร คณะครู และผู้มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือ วิเคราะห์ตัวช้ีวัดในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเทียบกับกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับ
บทท่ี 3 วิธดี �ำ เนินการวิจยั การด�ำ เนนิ การได้จดั ทำ�ตามลำ�ดบั ดงั นี้ 4.1.1 สังเคราะห์ข้อมูลและวรรณคดีที่เก่ียวข้อง เพื่อจัดทำ�เอกสารตอนที่ 1 แนวคิดพน้ื ฐาน (รายเอยี ดในเอกสารประกอบลำ�ดบั ท่ี 1) 4.1.2 ประชุมผบู้ ริหาร คณะครู และผูม้ ีประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรู้ เพ่อื วิเคราะห์ตัวช้ีวัดในหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานเทียบกับกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับ ประถมศึกษาตอนต้น การเขียนความเช่ือมโยงของสมรรถนะหลักกับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ และ พัฒนาแผนการจดั การเรียนรู้ 4 แนวทาง 4.1.3 ประมวลข้อเสนอแนะและความคิดเห็นจากผู้บริหาร คณะครู และผู้ท่ีมี สว่ นเกย่ี วขอ้ งในขน้ั ตอนการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ไปทดลองใช้ เพ่อื น�ำ มาปรับปรงุ 4.1.4 ปรบั ขอ้ มลู ใหม้ คี วามชดั เจน เขา้ ใจไดง้ า่ ย และบรรณาธกิ ารกจิ ใหเ้ ปน็ เอกสาร คมู่ อื ครกู ารน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น (เอกสารประกอบ ลำ�ดบั ที่ 5) 4.2 จัดทำ�ตัวอยา่ งส่ือการเรยี นรสู้ ำ�หรับครูสอนภาษาไทย เนอื่ งจาก สภาพการสอนภาษาไทยของประเทศไทยยงั เปน็ ปญั หา เดก็ ไทยสว่ นใหญ่ อ่านไมอ่ อกและเขียนไมไ่ ด้ ทั้ง ๆ ที่ภาษาไทยเป็นภาษาประจ�ำ ชาติ และใช้ภาษาไทยในการส่อื สาร เปน็ ภาษาแม่ คณะอนกุ รรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษาจงึ มคี วามเหน็ สอดคลอ้ งกนั วา่ ปญั หานี้ เป็นปัญหาเร่งด่วนและควรได้รับการแก้ไขโดยเร็วท่ีสุด จึงได้สำ�รวจนวัตกรรมท่ีใช้สอนภาษาไทย ในการเรียน และค้นพบว่าครูสมาน เงินเหรยี ญ ครภู ูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นด้านการสอนภาษาไทย ซ่ึงเป็น ครขู า้ ราชการเกษยี ณ โรงเรยี นวดั บางเดอื่ ต�ำ บลบางเดอ่ื อ�ำ เภอบางปะหนั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ไดค้ น้ พบนวตั กรรมในการสง่ เสรมิ การอา่ นภาษาไทยออก เขยี นภาษาไทยได้ ซงึ่ นา่ สนใจเปน็ อยา่ งมาก และได้ดำ�เนินการสอนด้วยตนเอง ผู้เรียนมีการพัฒนาที่สูงขึ้น นวัตกรรมดังกล่าวกำ�หนดเป้าหมาย การเรียนรู้เป็นอันดับแรก คำ�นึงถึงความสนใจของผู้เรียน และพื้นฐานประสบการณ์เดิมเป็นสำ�คัญ โดยใช้นิทานเป็นสิ่งกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน อีกทั้งยังสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมให้กับ ผู้เรียนอีกด้วย ความรู้ที่เด็กได้รับสามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ ซึ่งเป็นหัวใจของการเรียน การสอนภาษาไทยของครูสมาน นวัตกรรมดังกล่าวแก้ปัญหาสภาพการสอนภาษาไทยได้เป็นอย่างดี เป็นวิธีสอน อีกทางเลือกหน่ึงท่ีจะเป็นแนวทางให้ครูภาษาไทยสะดวกในการนำ�มาใช้จัดการเรียนการสอน ในชั้นเรียน และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยที่ขาดแคลนครูภาษาไทย จากปัญหาและ ความเปน็ มาของปญั หาดงั กลา่ วขา้ งตน้ จงึ ไดจ้ ดั ท�ำ สอ่ื การเรยี นรใู้ หค้ รนู �ำ ไปใชไ้ ดส้ ะดวกและเกดิ ประสทิ ธผิ ล กับผู้เรียน สอื่ การเรยี นรสู้ �ำ หรบั ครสู อนภาษาไทย เปน็ ลกั ษณะการสอนภาษาไทยแบบวเิ คราะห์ โดยใหเ้ หตผุ ล แบ่งออกเป็น 5 ตอน บรรจุในรูปแบบ DVD รวม 3 แผ่น ดงั น้ี 111รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
บทท่ี 3 วิธดี ำ�เนินการวจิ ยั สอ่ื การเรียนรู้สำ�หรับครูสอนภาษาไทย สสอื่่อื กกาารรเเรรยี ยี นนรรสู้ตูส้ �ำอาหหนรรทับับ่ี ค3คร-ร4ูสสู ออนนภภาาษษาาไไททยย สื่อการเรียนรู้สำ�หรับครูสอนภาษาไทย สือ่ การเรียนรสู้ าตหอรนับทคี่ ร1สู-2อนภาษาไทย เน้อื หา ต: อกนารทปี่ 3ร-ะ4สมสระ สอ่ื การเรียนรู้สาตหอรนบั ทคี่ 5รสู อนภาษาไทย เนอ้ื หา : การปรตะอสนมทสี่ ร1ะ-2อา อี อู โอ ไอ เอา เนกบัือ้ หพาย:ัญกชานรปะรเะพส่อื มผสนั รคะ�ำ อดาว้ อยีกอาู รโคอิดไวอิเคเอราะห์ และเวนรื้อรหณาย:ุกกตา์ รดป้วรยะกสามรคสิดระวิเแคลราะะห์ เนื้อหา : กตาอรเนขทีย่ีน5ประสมสระ กับ พยัญชนะ เพื่อผนั คา ดว้ ยการคิดวเิ คราะห์ แเนละ้ือวหรารณ: กยากุ รตเข์ ดียว้นยปกราะรสคมดิ สวรเิ คะแราละะห์ วรรณยกุ ตภ์ าด้วพยทกาี่ ร7คดิ วิเคราะห์ วรรณยกุ ต์ ด้วยการคดิ วเิ คราะห์ ภาพท่ี 9 สอื่ การเรียนรสู้ �ำ หรบั ครสู อนภาษาไทย ภาพที่ 9 สื่อการเรียนรสู้ าหรับครูสอนภาษาไทย ใน กา รด าเ นใินนกกาารรจ4ดดั .2ำ�ท.เา1นส นิ ือ่ กปกาารรระเจสรัดียานทนร�ำ คู้สสราอื่ สูหกมราบัารนผเรสู้ เยีองนินนเภรหสู้ารษำ�ยี หาญไรทับคยผมรูส้ภูดี องัมู นนปิ ี้ภญั าญษาาทไทอ้ ยงถมน่ิีดดังนา้ น้ี การสอนภาษาไทย เพ่อื มานำ�เสนอแนว4ค.2ิด.1แลปะระแสนาวนทาคงรกูสามราจนดั เกงาินรเเหรรยี ียนญกาครรสูภอูมนิปภัญาญษาาทไท้อยงถ่ินด้านการสอนภาษาไทย ไทเภยพา่อืจษม�ำาานไทนว ายนเ สจ5นานอต วแอนน น44ว5..ค22ปดิต..ร22แอะ ลนจกะัจตดปอแดัอทบรนทนะาวดก�ำเททว้คเอา่ี คย้าบง1า้โกด โคา้วครรกยรจงางดั ร((กปSSาttรรooะเrrรสyyยี มนBBสoกoราaaะรrrdสdอ)อ)าเนเพพภอ่ืออ่ืาี อถถษู่า่าาโยไยอทททยไ�ำาอกกจิิเจอกการรรพรมมยกกญั าารชรเนรเยีระนียเกนพาก่ือราผสรนัอสคนอ�ำภนดาว้ษยา ภ าภษา าษไาทไยท ยจจ�ำ านน ว วน น 4433..22แแ..3ผ3ผ ่นน่ด ตตตตต าอออตตตตดออพพเนนนนออออำ�นนรร ทเททนินนนน้อททอ้นี่่ี่ีกมทททท่่ีีม354ิน 12าเ่ี่ ่ีี่ ี เผกรกกผกกกก2543กถยาาายาาาาา ่าแรรรรรรรแรยพปเถคคปปกกกกกกปขพทร่ารดิิดาาาาาารรยีราะ่รยะะววรรรรรระนส่ทิเิเสสปปเปคคตสปคคขมมมัด�ำิดิดมรรรรรรยีสสสตะะะสววาาะนรตรร่อะะสสสริเเิสะคคะะปะหหัดมมมมแรรแร์์ตสออสสสแล((าาะล12ร่อาารรรละะะะสะ))ะะะะจออหหวแมแวัดีีร์์ลอแแสออรลท((ระลล21ราููรณะาโโวณ))ะะะออเจอรยปววแยัดรีุกไไน็รรลุกอณออทตรรชตะู ์ย�ำณณโเเุด์วดอออเกุดสรปว้ยยาาตว้ ื่อรยไ็นกุุกย์พพอณกกดตตกชายยาว้ ยา์์เุดรรญัญัยดดอรุกเคสกรค้วว้าชชติด่ือียาดิยยนนว์พรกนวกกดะะิเคารเิยคาา้วคดิสู้เเรญัรรรพพยรวเาาคคราก่ืออื่เิชหะคะียิดิดผผานหรรหนววรนันัับ์ะา์เเิิค(รคคคะ(2คค1ู้สเดิาาหร)รรพ)ดดำ�ูสว์าา่ือห้ว้วิเอะะคยยผนรหหรนัับ์์า((คคะ12ำ�รห))ดูส์ ว้อยน 4.3 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ยุคใหม่ คณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนกั วา่ ในปจั จบุ นั มสี อ่ื การเรยี นรู้ วธิ กี ารสอน1แ2ล0ะผลปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ปน็ ตวั อยา่ งได้ (Best practices) จ�ำ นวนมาก สอื่ การเรยี นรสู้ ว่ นหนง่ึ เปน็ งานทด่ี �ำ เนนิ การเปน็ การเฉพาะของหนว่ ยงานหรอื องคก์ รตา่ ง ๆ 112รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
บทที่ 3 วิธีด�ำ เนินการวจิ ยั สอ่ื การเรยี นรสู้ ว่ นหนึง่ ไดเ้ ผยแพรใ่ นส่อื ออนไลนแ์ บบตา่ ง ๆ ทส่ี ำ�คญั ได้คน้ พบว่ายังไม่มกี ารจดั ระบบ สื่อการเรียนรู้ท่ีจะทำ�ให้ครูสามารถเข้าถึงได้สะดวก ใช้ได้ง่าย จึงได้มีการรวบรวมและจัดระบบในที่ เดียวกันทง้ั ในแงข่ องเอกสารและคลงั ของเวบ็ ไซต์ (Web Portal) โดยนำ�เสนอเป็นเอกสารประกอบ ล�ำ ดบั ท่ี 6 ทรพั ยากรการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นยคุ ใหม่ เอกสารดงั กลา่ วประกอบดว้ ย สารสนเทศหลกั 2 สว่ นคอื (1) ทรพั ยากรการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นยคุ ใหมจ่ �ำ แนกตาม หนว่ ยงาน และ (2) ทรพั ยากรการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นยคุ ใหมจ่ �ำ แนกตามสมรรถนะ การด�ำ เนนิ การจัดทำ�รายการทรพั ยากรการเรยี นร้มู ดี งั นี้ 4.3.1 ประชุมผู้เชี่ยวชาญ โดยเชิญบุคลากรหรือผู้แทนหน่วยงานท่ีได้ดำ�เนิน การผลิตสื่อ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ และนวัตกรรมการจัดการศึกษาท่ีส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะ 4.3.2 สัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ เพ่ือรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับทรัพยากรการเรียนรู้ และขออนุญาตในการน�ำ ข้อมลู ไปเผยแพร่ 4.3.3 สรุปข้อมูล แล้วสง่ ให้ผใู้ หข้ อ้ มูลได้ตรวจสอบความถกู ต้อง 4.3.4 นำ�เสนอขอ้ มลู เปน็ 2 ลักษณะ เพ่อื ประโยชน์แก่การน�ำ ไปใช้ ไดแ้ ก่ จ�ำ แนก ตามหนว่ ยงาน และจ�ำ แนกตามสมรรถนะ 10 ด้าน ระยะที่ 2 ระยะการทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ระดับช้ันประถมศึกษาตอนตน้ ในสถานศึกษา ระยะน้ีเป็นการนำ�กรอบสมรรถนะหลักฯ แนวทางการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ และ เอกสารทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนท่ีพัฒนาข้ึนในระยะที่ 1 ไปทดลองใช้ มกี ารด�ำ เนินการดังนี้ 1. ศกึ ษารายละเอยี ดกรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น และแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะ หลกั สู่หอ้ งเรียน ตวั อย่างแผนการสอน และสอ่ื การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ 2. คดั เลอื กโรงเรยี นกลมุ่ ตวั อยา่ ง การวจิ ยั นมี้ งุ่ ศกึ ษาการพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศึกษาตอนต้น และแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรยี นในโรงเรยี นน�ำ ร่อง ในการใช้กรอบสมรรถนะผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น สำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน รวม 6 โรงเรยี น โดยใชก้ ารสมุ่ แบบเฉพาะเจาะจง เพื่อใหไ้ ด้ กลุ่มตัวอย่างท่ีมีความหลากหลาย และครอบคลุมกลุ่มประชากรท่ีต้องการศึกษา โดยโรงเรียนจะ ครอบคลมุ ใน 4 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคใต้ หลายสงั กดั ไดแ้ ก่ สงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน สงั กัดส�ำ นักการศึกษา กรุงเทพมหานคร สงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน สงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และสงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา รวมจ�ำ นวนผบู้ รหิ าร 8 คน และจ�ำ นวนครู 36 คน รวมจ�ำ นวน ผเู้ ขา้ รว่ มวิจยั ทง้ั สิน้ 44 คน รายละเอียดดังตารางที่ 6 113รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
บทท่ี 3 วธิ ีดำ�เนนิ การวจิ ัย ตารางที่ 6 รายละเอยี ดโรงเรยี นและจำ�นวนผ้เู ข้ารว่ มการวจิ ยั จังหวัด สงั กัด ชอ่ื โรงเรยี น จ�ำ นวน กรุงเทพมหานคร จำ�นวนครู (คน) ผบู้ ริหาร (คน) ปทมุ ธานี กทม. โรงเรียนวัดปลูกศรทั ธา 5 1 เชยี งใหม่ เขตลาดกระบงั นครราชสมี า สรุ าษฎรธ์ านี สกอ. โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั 6 1 ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สพฐ. โรงเรียนบ้านขอบด้ง 3 1 สพฐ. โรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ 9 3 2 อปท. โรงเรยี นเทศบาล 4 เพาะช�ำ 12 2 สช. โรงเรยี นอนบุ าลหนูน้อย 7 1 รวมทง้ั สิ้น 36 8 3. พัฒนาเครือ่ งมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ประกอบด้วยเครือ่ งมือ 6 ชิ้น โดยก�ำ หนดรหัส สม. ทยี่ ่อมาจาก สมรรถนะ เพื่อความเข้าใจในการสือ่ สาร ประกอบดว้ ย 3.1 แบบ สม.1 แบบสอบถามข้อมูลพ้ืนฐานของโรงเรียนและครูร่วมทดลองใช้กรอบ สมรรถนะผเู้ รียนระดบั ประถมศึกษาตอนต้น 3.2 แบบ สม.2 แบบสอบถามข้อมูลการเลือกแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะหลัก สหู่ อ้ งเรยี น 3.3 แบบ สม.3 แบบสอบถามข้อมูลของครูรายบุคคลด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาตอนต้น 3.4 แบบ สม.4 แบบสมั ภาษณ์ผู้บริหารสถานศกึ ษาโรงเรียนในโครงการทดลอง 3.5 แบบ สม.5 แบบบันทึกข้อมูลการนิเทศ กำ�กับ ติดตาม และข้อค้นพบที่เกิดข้ึน ระหว่างการทดลองของผ้วู ิจัย 3.6 แบบ สม.6 แบบสรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ไปใชใ้ นการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 114รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
บทท่ี 3 วิธีด�ำ เนนิ การวจิ ัย 4. พัฒนาหลักสูตรการประชุมปฏิบัติการสร้างความเข้าใจแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะ หลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นไปทดลองใช้ในสถานศึกษา โดยการกำ�หนดเวลาสำ�หรับ การดำ�เนินการ โดยจัดเป็นหลักสูตรช้ีแจงทำ�ความเข้าใจแก่ผู้บริหารและคณะครูของโรงเรียน เรียนนำ�ร่องในการใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานเป็นเวลา 1 วัน ออกแบบกิจกรรมในแต่ละช่วงเวลา พัฒนาสื่อและเอกสารท่ีใช้ ในการดำ�เนนิ การ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 7 ตารางท่ี 7 ก�ำ หนดการประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษา ตอนต้นไปทดลองใช้ในสถานศกึ ษา เวลา กจิ กรรม เอกสารและส่ือ 09.00-10.00 น. อธบิ ายความเปน็ มา - โปรแกรมการนำ�เสนอ 10.00-11.00 น. นำ�เสนอพนื้ ฐานของสมรรถนะ 11.00-12.00 น. สาธติ และชวนคดิ เกย่ี วกับลกั ษณะและผล - แผนการจัดการเรยี นรู้ 13.00-14.30 น. การจดั การเรยี นการสอนเน้นสมรรถนะ - ใบงานและใบกจิ กรรม ชีแ้ จงค�ำ อธบิ ายสมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะ - เอกสารคูม่ ือ 14.30-16.00 น. - โปรแกรมการนำ�เสนอ ชี้แจงและปฏิบัติการออกแบบแผนการจดั - เอกสารคูม่ ือ การเรยี นรู้ 4 แนวทาง - ตัวอย่างแผนการจัด การเรียนรู้ ชแ้ี จงแนวทางการท�ำ งานเพ่ือการวจิ ัยในแตล่ ะ เครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวม โรงเรียน และวางแผนการท�ำ งาน ข้อมูล 5. ผวู้ จิ ยั วางแผนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยก�ำ หนดแหลง่ ขอ้ มลู วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เครอื่ งมือที่ใช้ ซ่ึงแสดงรายละเอียดดังตารางที่ 8 115รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
บทท่ี 3 วิธีด�ำ เนินการวิจยั ตารางที่ 8 การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ ้อมูลระหว่างการด�ำ เนินการตามกระบวนการ ทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษา ขัน้ พ้นื ฐาน ข้อมลู เครอ่ื งมอื ที่ใช้ การวิเคราะหข์ ้อมูล แหล่งข้อมูล - การสงั เคราะห์เชิง ผู้บรหิ าร แบบ สม.1 - แบบสอบถาม พรรณนา และครู แบบสอบถามข้อมูลพืน้ ฐาน ร่วมทดลอง ของโรงเรียนและครูรว่ ม ทดลองใชก้ รอบสมรรถนะ ผูเ้ รียนระดับประถมศกึ ษา ตอนต้น แบบ สม.2 - แบบสอบถาม - ค่าร้อยละ ครูรว่ มทดลอง แบบสอบถามขอ้ มูล การเลอื กแนวทาง - การแจกแจงความถ่ี การน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั สหู่ อ้ งเรียน แบบ สม.3 - แบบสอบถาม - คา่ รอ้ ยละ ครรู ว่ มทดลอง แบบสอบถามขอ้ มูลของครู - การแจกแจงความถ่ี รายบุคคลดา้ นการจัด กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกรอบ - การสังเคราะหเ์ ชงิ สมรรถนะหลกั ของผู้เรยี น พรรณนา ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น แบบ สม.4 - แบบสมั ภาษณ์ - การสงั เคราะห์เชิง ผบู้ รหิ าร พรรณนา แบบสัมภาษณ์ผู้บรหิ ารสถาน ศกึ ษาโรงเรียนในโครงการ ทดลอง 116รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทท่ี 3 วิธดี �ำ เนนิ การวจิ ยั ขอ้ มลู เครือ่ งมือท่ใี ช้ การวเิ คราะหข์ ้อมลู แหล่งขอ้ มลู คณะผวู้ ิจัย แบบ สม.5 - แบบบันทกึ ขอ้ มลู ฯ การสงั เคราะหเ์ ชงิ แบบบนั ทึกขอ้ มูล พรรณนา การนิเทศ ก�ำ กับ ตดิ ตามและ ข้อค้นพบที่เกดิ ขนึ้ ระหว่าง การทดลองของผ้วู จิ ยั แบบ สม.6 - แบบสอบถาม การสังเคราะหเ์ ชิง ผู้บรหิ าร แบบสรปุ ผลการด�ำ เนนิ งาน - การประชมุ กล่มุ พรรณนา และครู ในการน�ำ กรอบสมรรถนะ Focus Group ร่วมทดลอง หลักของผเู้ รียน ระดบั ประถม ศกึ ษาตอนต้น ไปใช้ในการ ออกแบบและจดั กจิ กรรม การเรยี นการสอน 6. ดำ�เนินการประชุมปฏิบัติการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะและแนวทางการ พัฒนาสมรรถนะกบั ครแู ละผ้บู รหิ ารสถานศึกษา การสร้างความเขา้ ใจกรอบสมรรถนะผู้เรยี นแกผ่ ู้บรหิ ารสถานศึกษา และครผู สู้ อนระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ตลอดจนจดั ใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละครจู ากโรงเรยี นอนื่ ๆ เพอ่ื รว่ มกนั ท�ำ ความเขา้ ใจกรอบสมรรถนะผเู้ รยี นกบั ผบู้ รหิ ารและครผู สู้ อนระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ รายละเอียดดังตารางที่ 9 117รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
บทที่ 3 วธิ ีด�ำ เนนิ การวจิ ัย ตารางที่ 9 รายละเอียดและกำ�หนดการสร้างความเข้าใจกรอบสมรรถนะให้กับครูและ ผบู้ ริหาร กอ่ นการด�ำ เนนิ การวิจยั กิจกรรม ช่วงเวลา โรงเรียน ผูร้ ่วมกจิ กรรม สถานที่ 1. นำ�เสนอข้อมูลกรอบ 21 ทีเ่ ขา้ ร่วม สมรรถนะผู้เรยี น กรกฎาคม 1. โรงเรยี นสาธิต 1. วิทยากร โรงแรม 2. วิเคราะห์ และแลก 2561 มหาวทิ ยาลัย ผทู้ รงคณุ วุฒิ เบลลา่ บี ราชภัฏวไลย ซึง่ เปน็ คณะ จงั หวดั นนทบุรี เปล่ยี นเรยี นรู้ 22 อลงกรณฯ์ ทำ�งาน 3. น�ำ เสนอ 4 แนวทาง กรกฎาคม จงั หวดั ปทุมธานี พัฒนากรอบ 2. โรงเรยี น สมรรถนะ ในการพัฒนาผู้เรียน 2561 วดั ปลกู ศรัทธา ผ้เู รยี น ให้มีสมรรถนะ 24 กรุงเทพมหานคร 2. คณะผูว้ ิจัย 4. แลกเปล่ียนเรียนรู้ กรกฎาคม ทดลอง ประสบการณ์ในการ 2561 ใช้กรอบ พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น ใ ห้ มี 27 - 28 สมรรถนะ สมรรถนะจากผู้ทรง กรกฎาคม โรงเรยี น ผู้เรียน โรงเรยี น คณุ วุฒิ และคณะครู 2561 อนบุ าลหนนู ้อย 3. ผู้บรหิ าร อนบุ าลหนนู อ้ ย จากโรงเรียนต่าง ๆ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี และครู จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 5. จัดทำ�แผนกาทำ�งาน ท ด ล อ ง ใ ช้ ก ร อ บ โรงเรียนเทศบาล 4 โรงเรยี น โรงเรยี นเทศบาล 4 สมรรถนะ (เพาะชำ�) ทดลอง (เพาะช�ำ ) 4. ผูบ้ รหิ ารและ จังหวัดนครราชสีมา โรงเรียนอนื่ ๆ จังหวดั นครราชสีมา ทม่ี าร่วม 1. โรงเรยี น วเิ คราะห์ ห้องประชมุ อภิปรายเพือ่ สถานีเกษตรหลวง บ้านขอบดง้ หาแนวทาง อา่ งขาง อ�ำ เภอฝาง 2. โรงเรียน ในการพฒั นา จังหวดั เชยี งใหม่ ผู้เรยี นให้มี เทพศิรินทร์ 9 สมรรถนะ จงั หวัดเชยี งใหม่ 118รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
บทท่ี 3 วิธดี �ำ เนินการวจิ ัย 7. การทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผเู้ รียนระดับประถมศึกษาตอนต้น หลังจากการประชุมสร้างความเข้าใจ แต่ละโรงเรียนเร่ิมดำ�เนินการทดลองใช้กรอบ สมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จ�ำ นวน 6 โรงเรยี น ใน 4 ภมู ภิ าคทว่ั ประเทศ เปน็ ระยะเวลา 10 สปั ดาห์ เพอื่ ศกึ ษาความเหมาะสมของการน�ำ กรอบสมรรถนะ หลกั 10 สมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ศกึ ษากระบวนการ และแนวทางทเี่ หมาะสมในการพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะทตี่ ้องการ รวมถงึ ศึกษาปัจจยั เออ้ื และ อปุ สรรคในการพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กิดสมรรถนะทตี่ ้องการ โดยมขี ้นั ตอนในการดำ�เนินการ คือ 1) ครูศึกษาและออกแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ตัวอย่างจาก 4 แนวทาง ทกี่ �ำ หนดให้ 2) ครจู ัดท�ำ แผนการจดั การเรียนรู้น�ำ สมรรถนะส่หู ้องเรยี น โดยเลอื กใช้วิธีทีเ่ หมาะสม และสอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียน และบริบทการท�ำ งานของครใู นโรงเรียน 3) ครูทดลองจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมรรถนะ รวมถึงบันทึกผล ข้อสังเกต ข้อค้นพบระหว่างการดำ�เนินการทดลองใช้กรอบสมรรถนะในการพัฒนาผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนตน้ 8. การตดิ ตามประเมินผล หนนุ เสรมิ แนะน�ำ ด�ำ เนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล ร่วมเรียนรู้ หนุนเสรมิ ใหค้ �ำ แนะน�ำ การทดลองใช้ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ โดยนกั วจิ ยั และผทู้ รงคณุ วฒุ ติ า่ ง ๆ ส�ำ หรบั หลกั สตู ร การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน จ�ำ นวน 6 โรงเรยี น ใน 4 ภมู ภิ าคท่วั ประเทศ โดยรายละเอียดของการติดตาม ผลการท�ำ งาน และเตมิ เตม็ หนนุ เสรมิ เตมิ ความรู้ แลกเปลยี่ นความคดิ มรี ายละเอยี ด ดงั ตารางที่ 10 119รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364