บทที่ 3 วิธีด�ำ เนินการวจิ ยั ตารางท่ี 10 รายละเอียดและกำ�หนดการ การดำ�เนินการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ร่วมเรียนรู้ หนุนเสริม ให้คำ�แนะนำ�การทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับ ประถมศกึ ษาตอนตน้ กิจกรรม ช่วงเวลา โรงเรียนทเี่ ข้าร่วม นกั วจิ ยั และผทู้ รงคุณวุฒิ ร่วมนเิ ทศ ตดิ ตาม หนุนเสริม 1. พบปะคณะครู 1-2 สิงหาคม 2561 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัย รศ.ดร.สมบตั ิ คชสทิ ธ์ิ และผบู้ รหิ ารซกั ถาม ราชภัฏวไลยอลงกรณฯ์ ผศ.ดร.ฐิติพร พชิ ญกลุ สมั ภาษณ์ ส่งิ ทีค่ รู รศ.ดร.บังอร เสรรี ัตน์ และผู้บริหารดำ�เนิน ดร.พทิ ักษ์ นลิ นพคณุ การและปัญหา ดร.นติ ิกร อ่อนโยน ทเี่ กิดขนึ้ 24 สงิ หาคม 2561 โรงเรียนวัดปลูกศรัทธา ดร.ทรงพร พนมวนั ณ อยธุ ยา 2. ทบทวนสมรรถนะ กรงุ เทพมหานคร ดร.วรี ะชาติ ภาษีชา รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และแนวทางพัฒนา ดร.บรรเจอดพร สแู่ สนสขุ ผูเ้ รยี น 3. เตมิ เต็มความรู้ และถามตอบปญั หา 4. วางแผนการทำ�งาน ในโอกาสตอ่ ไป 6 -7 กนั ยายน 2561 โรงเรียนบ้านขอบด้ง รศ.ดร.สมบัติ คชสทิ ธ์ิ จงั หวดั เชียงใหม่ ดร.นาฎฤดี จติ รรงั สรรค์ รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี โรงเรียนเทพศิรินทร์ 9 นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา โครงการหลวงในพระบรม ดร.เฉลิมชยั พันธ์เลิศ ราชูปถมั ภ์ ผศ.ดร.ชาริณี ตรวี รญั ญู จังหวดั เชยี งใหม่ ผศ.ดร.กมลพัทธ์ ใจเยือกเย็น อ.อังคส์ มุ ล เชอื้ ชัย ดร.เกรยี ง ฐติ จิ �ำ เริญพร 9 กันยายน 2561 โรงเรยี นอนุบาลหนนู อ้ ย ดร.นาฎฤดี จติ รรังสรรค์ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา รศ.ดร.บงั อร เสรรี ตั น์ อ.สทุ ธิดา ธาดานติ ิ ดร.เฉลิมชยั พนั ธ์เลิศ 120รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
บทที่ 3 วธิ ีดำ�เนินการวิจัย กจิ กรรม ช่วงเวลา โรงเรียนทเ่ี ข้ารว่ ม นักวิจยั และผทู้ รงคณุ วุฒิ 14-15 โรงเรียนเทศบาล 4 รว่ มนิเทศ ตดิ ตาม หนนุ เสริม กนั ยายน 2561 ดร.นาฎฤดี จิตรรงั สรรค์ (เพาะช�ำ ) รศ.ดร.บังอร เสรีรตั น์ จังหวัดนครรราชสมี า รศ.ดร.ศุภวรรณ์ เลก็ วิไล ดร.ศรนิ ธร วิทยะสิรนิ นั ท์ ดร.บรรเจอดพร สู่แสนสุข อ.สทุ ธดิ า ธาดานิติ 9. การวเิ คราะห/์ สงั เคราะห์และถอดบทเรยี น การวเิ คราะห/์ สังเคราะห์และถอดบทเรยี น ด�ำ เนินการดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 9.1 ศกึ ษา วเิ คราะห/์ สังเคราะห์ ข้อมูลจากการนเิ ทศตดิ ตาม ประเมนิ ผล หนุนเสริม โดยคณะผู้วิจัย 9.2 วิเคราะห์/สังเคราะห์ ขอ้ มลู จากการสนทนากลมุ่ (Focus Group) โดยมีรายละเอียดของการด�ำ เนินการการสนทนาแบ่งออกเปน็ 2 คร้ัง ใน 2 ภมู ภิ าค ได้แก่ ครัง้ ท่ี 1 จดั ขน้ึ ในวนั เสารท์ ่ี 22 กนั ยายน พ.ศ. 2561 เวลา 08.30 น. – 16.30 น. ณ ศนู ยฝ์ กึ ประสบการณ์วิชาชีพ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี โดยประกอบดว้ ยโรงเรยี นจ�ำ นวน 4 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นสาธติ ราชภฏั วไลยอลงกรณใ์ นพระบรมราชปู ถมั ภ์ โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชำ�) โรงเรียนบ้านขอบด้ง และโรงเรียนเทพศิรินทร์ 9 โครงการหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครงั้ ที่ 2 จัดขน้ึ ในวันเสาร์ท่ี 7 ตลุ าคม พ.ศ.2561 เวลา 08.30 น. – 16.30 น. ณ โรงเรยี น อนบุ าลหนนู ้อย จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี 121รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
บทที่ 3 วธิ ีด�ำ เนนิ การวิจยั ในการจดั กจิ กรรมสนทนากลมุ่ ไดแ้ บง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ แยกหอ้ งประชมุ เพอ่ื สอบถามความคดิ เหน็ ของกลมุ่ ครผู สู้ อน และของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา เกยี่ วกบั ในเรอื่ งการพฒั นาหลกั สตู รองิ กรอบสมรรถนะ และการนำ�กรอบสมรรถนะมาใช้ โดยในกลุ่มของครูผู้สอนแบ่งออกเป็น 6 กลุ่มย่อย และในกลุ่ม ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาแบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ยอ่ ย มกี ารแจกแบบสอบถามเพอื่ สอบถามความคดิ เหน็ ในกลุ่มของผู้บริหารสถานศกึ ษามีจำ�นวนข้อค�ำ ถามทง้ั หมด จ�ำ นวน 10 ขอ้ และในกลมุ่ ของครูผ้สู อน มขี อ้ ค�ำ ถามจำ�นวนทัง้ หมด 19 ขอ้ โดยแบง่ การสนทนากล่มุ ทง้ั ในชว่ งเช้าและชว่ งบ่าย 10. ถอดบทเรยี นการด�ำ เนนิ งานของโรงเรียน 11. วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ข้อมลู เพ่ือใหไ้ ด้ผลการถอดบทเรียนสถานศกึ ษาฯ 12. ปรับปรงุ กรอบสมรรถนะและแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะสู่ห้องเรียน ประมวลผลจากการศึกษาผลการดำ�เนินการจากโรงเรียนกลุ่มทดลอง เพ่ือนำ�ผลจาก การดำ�เนินการไปปรับปรุงกรอบสมรรถนะที่เหมาะสม และนำ�เสนอเป็นแนวทางในการพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะท่ีต้องการ ในการนำ�กรอบสมรรถนะสู่ห้องเรียนเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบ การดำ�เนินการเมอ่ื ตอ้ งนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่หอ้ งเรยี นต่อไป ระยะท่ี 3 การจดั ท�ำ ขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการน�ำ กรอบสมรรถนะผู้เรียนสำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐานสกู่ ารปฏิบัติ การจดั ท�ำ ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สู่การปฏบิ ัตนิ นั้ มลี �ำ ดบั การดำ�เนนิ การตามข้ันตอน ดงั น้ี 1. ผู้วิจัยนำ�เสนอผลการวิจัยท่ีสำ�คัญที่เป็นข้อค้นพบจากการดำ�เนินการวิจัย ให้กับ คณะผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ เพือ่ การวพิ ากษ์และอภิปรายในประเดน็ สำ�คัญรว่ มกนั 2. นำ�ความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิมาประชุมกลุ่มย่อยเพื่อร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย ซงึ่ มสี าระสำ�คัญ ดงั น้ี 2.1 ข้อเสนอเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และการเตรียมความพร้อม กอ่ นการน�ำ หลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้ ใน 3 ประเด็นสำ�คญั คือ Why? What? How? 2.2 ข้อเสนอการพัฒนารูปแบบการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในชว่ งเปลย่ี นผา่ นจากหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานสหู่ ลกั สตู ร ฐานสมรรถนะ 2.3 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ 3. น�ำ เสนอรา่ งขอ้ เสนอเชงิ นโยบายใหก้ บั คณะผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เพอื่ พจิ ารณาถงึ ความเหมาะสม และความเปน็ ไปไดข้ องข้อเสนอดังกล่าว 4. รวบรวมข้อมูลความคิดเห็นจากผู้เช่ียวชาญ มาดำ�เนินการปรับปรุงเกี่ยวกับข้อเสนอ ในการพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะและการเตรยี มความพร้อมในชว่ งเปลยี่ นผ่าน 5. ดำ�เนินการจัดทำ�เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะและ ขบั เคลอื่ นการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานสกู่ ารปฏบิ ตั ฉิ บบั สมบรู ณ์ 122รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล การวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตร การศึกษาขนั้ พื้นฐาน คณะผูว้ จิ ยั ไดน้ �ำ เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตามล�ำ ดับ ดงั นี้ ตอนที่ 1 ผลการพัฒนากรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและกรอบ สมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั ประถมศึกษาตอนต้น 1.1 ผลการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและ กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น 1.2 ผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของโมเดลโครงสรา้ งองคป์ ระกอบสมรรถนะหลกั ของ ผูเ้ รียนระดับประถมศึกษาตอนต้น กบั ข้อมลู เชิงประจักษ์ ตอนท ี่ 2 ผลการทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับ ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา 2.1 กระบวนการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผเู้ รียน 2.2 การเลือกแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใช้ในการพฒั นาผู้เรียน 2.3 การนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ออกแบบการเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และประเมินผล 2.3.1 ความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ ในการพฒั นาผู้เรียน 2.3.2 สมรรถนะหลักและสมรรถนะยอ่ ยทค่ี รนู ำ�มาใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอน 2.4 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนกบั ครแู ละนกั เรยี น 2.4.1 การเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ กับครู 2.4.2 การเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ขน้ึ กับนกั เรยี น 2.5 บทบาทของผบู้ รหิ าร 123รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2.6 ปญั หาทีพ่ บและวิธีแกไ้ ข 2.7 ส่ิงที่ครูและโรงเรียนต้องการความช่วยเหลือ ส่ิงที่ครูคิดว่าเป็นปัจจัยท่ีทำ�ให้เกิด ความส�ำ เรจ็ 2.9 ข้อเสนอแนะ 2.10 ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารและครูหลงั ส้นิ สุดการทดลอง 2.10.1 ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับหลักสูตรฐานสมรรถนะจาก การตอบแบบสอบถาม 2.10.2 ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเก่ียวกับหลักสูตรฐานสมรรถนะจาก การสนทนากลุ่ม ตอนที่ 3 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการขับเคล่ือนการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนสำ�หรับหลักสูตร การศึกษาข้ันพนื้ ฐานสกู่ ารปฏบิ ัติ ตอนที่ 1 ผลการพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และกรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รียนระดับประถมศึกษาตอนตน้ การนำ�เสนอผลการวจิ ยั ในตอนน้ีแบ่งเป็น 2 สว่ น สว่ นแรกเปน็ การนำ�เสนอผลการสังเคราะห์ และพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและกรอบสมรรถนะหลัก ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และส่วนท่ีสองเป็นการตรวจสอบความสอดคล้องของโครงสร้าง องคป์ ระกอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ กบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ โดยรายละเอยี ด มีดังนี้ 1.1 ผลการพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและ กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยในประเทศและต่างประเทศเก่ียวกับสมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน และข้อมูลจากการสนทนากลุ่มระหว่างนักการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนเก่ียวกับสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถสรปุ ผลการสงั เคราะหส์ มรรถนะหลักของผเู้ รียนระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ได้ดงั ต่อไปนี้ สมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน แบง่ ออกเปน็ 4 องคป์ ระกอบ 10 สมรรถนะหลกั ดังน้ี องค์ประกอบที่ 1 คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลกั ได้แก่ 1.1 ด้านภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สาร (Thai Language for Communication) 1.2 ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำ�วัน (Mathematics in Everyday Life) 124รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1.3 ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) 1.4 ด้านภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร (English for Communication) องคป์ ระกอบที่ 2 คนไทยอยู่ดมี สี ุข (Happy Thais) ประกอบดว้ ย 2 สมรรถนะหลัก ไดแ้ ก่ 2.1 ด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) 2.2 ด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and ntrepreneurship) องคป์ ระกอบที่ 3 คนไทยสามารถสงู (Smart Thais) ประกอบดว้ ย 2 สมรรถนะหลกั ได้แก่ 3.1 ดา้ นทักษะการคดิ ขัน้ สูงและนวตั กรรม (Higher Order Thinking Skills and Innovation : HOTS Critical Thinking , Problem Solving, Creative Thinking) 3.2 ด้านการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media, Information and Digital Literacy : MIDL) องคป์ ระกอบที่ 4 พลเมืองไทยใส่ใจสังคม (Active Thai Citizen) ประกอบด้วย 2 สมรรถนะหลกั ได้แก่ 4.1 ด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ� (Collaboration, Teamwork and Leadership) 4.2 ด้านการเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง/ตื่นรู้ที่มีสำ�นึกสากล (Active Citizen and Global Mindedness) 125รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล โดโยดคยคววาามมสสัมมั พพันันธธ์ร์ระะหหวว่า่างององคง์ปคร์ปะรกะอกบอแบละแสลมะรสรถมนระรหถลนักะขหอลงผัก้เู ขรียอนงผระู้เรดียับนการระศดึกับษกาารศึกษา ข้นั พข้ืน้นั ฐพาืน้นฐสาานมาสราถมนาารเถสนน�ำอเใสนนลอกั ใษนณละักแษผณนะภแาพผนโคภรางพสรโ้าคงรสงมสรรร้าถงนสะมไรดร้ดถงั นแะผไนดภด้ างั พแตผ่อนไภปานพี้ ต่อไปนี้ สมรรถนะ คนไทยฉลำดรู้ ดา้ นภาษาไทยเพ่ือการสอื่ สาร ของผู้เรียน (Literate Thais) ดา้ นคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจาวัน คคนนไทไทยทยอ่ี ยู่ดมี ีสสุขุข (Happy Thais) ดา้ นการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ คนไทยสำมำรถสูง (Smart Thais) ด้านภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ด้านทกั ษะชวี ิตและความเจรญิ แห่งตน ด้านทกั ษะอาชีพ และการเปน็ ผูป้ ระกอบการ ดา้ นทักษะการคดิ ข้ันสูงและนวตั กรรม ดา้ นการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทลั พพลพลเลเมมเอืมืองอื งไงทไไทยทยทยใ่ี ส่ ด้านการทางานแบบรวมพลัง เป็นทีม ใสใจใ่ จสสังังคคมม((AAccttivivee และภมาีภวาะวผะู้นผาู้นำ� TThhaaii CCiittiizzeenns)) ด้านพดล้านเมพอื ลงเทมเี่ือขง้มตแื่นขรง็ ู้ท/ตีม่ ืน่ีสรานทู้ กึี่มสี าำ�กนลกึ สากล ภาพที่ 10 โครงสร้างสมรรถนะหลกั คนไทย ภาพที่ 10 แสดงโครงสรา้ งสมรรถนะหลกั คนไทย 135 126รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1.2 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสร้างองค์ประกอบ สมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น กับขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ การประเมนิ สมรรถนะของผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ตามกรอบโมเดลโครงสรา้ ง สมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะ คณะผวู้ ิจยั ด�ำ เนินการโดยประเมนิ ผเู้ รยี นในสถานศกึ ษาในสงั กดั ตา่ ง ๆ ใน 4 ภมู ภิ าคทวั่ ประเทศ ไดแ้ ก่ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ส�ำ นกั งานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา สำ�นักการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร และกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ จ�ำ นวนทงั้ สน้ิ 2,337 คน โดยการสมุ่ แบบแบง่ ชน้ั (Stratification Random Sampling) เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของโครงสร้างองค์ประกอบของสมรรถนะ หลักของผู้เรียนท่ีผู้วิจัยสังเคราะห์ขึ้นมากับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงยนื ยัน (Confirmatory Factor Analysis) ดว้ ยโปรแกรมลสิ เรล ซง่ึ โครงสร้างองค์ประกอบของ สมรรถนะสามารถแบ่งออกเปน็ 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบท่ี 1 คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) ประกอบไปดว้ ย 4 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ ด้านภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร (X1) ด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน (X2) ด้านการสืบสอบ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ (X3) และด้านภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร (X4) องคป์ ระกอบที่ 2 คนไทยอยดู่ มี สี ขุ (Happy Thais) ประกอบไปดว้ ย 2 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ ดา้ นทักษะชวี ิตและความเจรญิ แหง่ ตน (X5) และด้านทักษะอาชพี และการเป็นผูป้ ระกอบการ (X6) องค์ประกอบที่ 3 คนไทยสามารถสงู (Smart Thais) ประกอบไปด้วย 2 สมรรถนะ หลัก ได้แก่ ด้านทกั ษะการคิดขน้ั สงู และนวัตกรรม (X7) และด้านการรเู้ ทา่ ทนั สือ่ สารสนเทศ และ ดิจทิ ัล (X8) องคป์ ระกอบที่ 4 พลเมืองไทยใส่ใจสงั คม (Active Thai Citizen) ประกอบไปดว้ ย 2 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ ด้านการท�ำ งานแบบรวมพลัง เปน็ ทีม และมภี าวะผูน้ ำ� (X9) และด้านการ เป็นพลเมอื งท่ีเข้มแขง็ /ตนื่ ร้ทู ม่ี สี ำ�นึกสากล (X10) จากผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยใช้ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน พบว่าตัวแปรที่บ่งช้ีสมรรถนะหลักของผู้เรียนทุกสมรรถนะมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์กัน ลักษณะ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมรรถนะเปน็ ความสมั พนั ธท์ ง้ั ในทศิ ทางบวก โดยมคี า่ ความสมั พนั ธอ์ ยรู่ ะหวา่ ง 0.332 - 0.689 ซ่ึงมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาในส่วนของสมรรถนะหลักพบว่า สมรรถนะท่ีมีความสัมพันธ์กันสูงสุด คือ ด้านภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร (X1) กับด้านคณิตศาสตร์ ในชีวิตประจำ�วนั (X2) โดยมคี า่ ความสมั พันธ์เท่ากับ 0.689 และจากการตรวจสอบ คา่ Bartlett’s Test of Sphericity = 11643.829, df = 45, Sig. = 0.000 ค่า KMO เทา่ กับ 0.905 แสดงว่า สมรรถนะเหลา่ น้มี ีความสมั พันธเ์ พยี งพอทจี่ ะนำ�ไปวิเคราะหอ์ งค์ประกอบ ผลการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั เพอ่ื ตรวจสอบความสอดคลอ้ งระหวา่ งโมเดลสมรรถนะ หลักของผ้เู รียนกบั ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ดังแผนภาพที่ 4.1 พบว่า โมเดลองคป์ ระกอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาได้จากค่าไค-สแควร์ 127รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
ผู้เรียนมีความสอดคล้องกลมกลืนกบับทขท้อี่ ม4ูลเผชลิงกปารระวจิเักคษร์าพะหิจ์ขาอ้รณมูลาได้จากค่าไค-สแควร์ (Chi-square = 14.72) ท่ีองศาอิสระเท่ากับ 13 โดยมีค่าความน่าจะเป็นเท่ากับหรือเข้าใกล้ 1 (P=0.32546) แตกต่าง จา(Cกhศiูน-sยq์อuยa่าreงไ=ม1่ม4ีน.7ัย2ส)าทคอี่ ัญงศทาาองสิ รถะิตเทิ า่ีรกะบั ดั1บ3.โ0ด1ยมคคี่าดา่ คัชวนาีวมัดนรา่ ะจดะเับปคน็ วเทามา่ กบัลหมรกอื ลเืขนา้ ใ(GกลF้I1) เ(ทP=่าก0.ับ3205.4969)9 ค่าแดตัชกนตาี่วงัดจราะกดศับนู คยอ์วยามา่ งกไมลม่ นีกยัลสืน�ำ ทคี่ปญั รทับาแงสกถ้แติ ลทิ ้วรี่ ะ(AดGบั F.0I)1มคีคา่ ่าดเชั ทน่าวี กดั ับระ0ด.บั99ค5วาแมลกะลคม่ากดลนัืชน(GีรFาIก) เขทอา่ งกกบั า0ล.ัง9ส9อ9ง เฉคลา่่ียดขัชอนงสีว่วดั นรเะหดลบั ือคว(RาMมกR)ลมเทกา่ ลกนื ับท0่ีป.ร0ับ07แ0ก5แ้ ลซว้ ่ึงม(ีคAา่GเFขI้า)ใกมลคี ้ศา่ เนู ทยา่ ์ กแับสด0ง.ว9่า9โ5มเดแลลโะคครา่ งดสัชรน้างีรขาอกงขสอมงรกร�ำ ถลนงั ะ สลพหมะลิจเสใอ สมนรอาักมอธรร่ืองแบิขงรถณคพตเ รอานฉ์ปถาล่จิยงะลในาะรผสนขี่ยระเอะู้มเอมอขณรกงหรงงื่ออียคอรผาลคพงน์ปถใบู้เกั์ปสนริจเนมรขมร่วยีาอพะีะคอะนอื่นรงกขบวกงณพเครอผหอาอวะป์จิาบมเู้งล่บาดราครผสือทยีับพระ่าคูเ้ อณนร่ีปนกบ่า(1ียดRมรอ้าานวนคMะหคีคคบ่า้ารถลา่วนนทหRคะมน้าอไัก)ี่า่นดมท1ศาํ้งอนเัับกหสหึยกทคง้ําอปอฉษนคร่านหงลดืรอกัาก์ปไนคะาตคทอกับรกัด์ปถอลงะลยอรมคน0รอ้กฉมู้งะป.์ศตงอ(ล0กคLหกกึร้นบา0ล์ปiะอtรษดไ7หืนeรดกอืบรา0ระrกอ้กู้ตaใ5ือ(กับบนลLtอนอeซiมหขแนt้าบ่งึeก้ตรอTตหมใrอืลh่มล้นนนaคีนนืaูละtไแัก่าieาํ้ดกสsเตคเหช)ข้บัมTล่วินง้าขhราะพปใกัอ้มรaสกบรคถมสiมลsวะวนลูา)ร้ศ่าจาคเพระนูมชักัถญมบสยงิสษนีคปขมว์�ำ ์ะแ่่าคอารรแมสรตะงญัสลถคีสดจ้ังมขะนมา่แกังรอสวตะรษตรงา่าทร้ัง่ถ์สมโแแถ0ีม่มนมลาตน.นี4เะรระ่ดะ10้ารทถสหลหถ.มี่น4า-โลนนม1นีคา0ักะักาไรา้ํ.-ผ5หปครงห08ู้เถสลวใรน.ชานกัร5ียแกัม้า้อ8ผ�ำนลคงสไเู้ธใแะรขปวานิบยีลเาอคใมแาชนมะงัญื่ตยอ้ ่ มาสก�ำ ทคี่สญั ุดมคาือกทดสี่ ้าดุ นคคอื ณดิตา้ ศนาคสณตรติ ์ใศนาชสีวติตรปใ์ นรชะวีจติาปวันระรจอ�ำ วงลนั งรมอางลคงือมาดค้าอื นดกา้านรสกืบารสสอบื บสทอาบงทวิทางยวาทิ ศยาาสศตารส์แตลระ์ จิตแวลิทะยจาติ ศวาทิ สยตารศ์ าตสาตมรล์ ตาดามับล�ำ ใดนบัองใคน์ปอรงคะกป์ อรบะกทอี่ 2บทค่ี น2ไคทนยไอทยยู่ดอีมยีสดู่ ุขมี สี (Hขุ a(HppapypTyhTaihsa) iพs)บพวบ่าวสา่ มสรมรรถรนถะนทะ่ีมี น้าทหม่ี นนี ักา้ํ หควนากั มคสวาคมัสญ�ำ มคาญั กมทา่ีสกุดทคส่ี ือดุ คดอื ้านดา้ทนักทษกั ะษชะีวชิตวี แติ ลแะลคะวคาวมาเมจเรจิญรญิ แหแห่งตง่ ตนนใในนอองงคค์ปป์ ระกอบที่ 33คคนนไทไทยย ควสาามมสาารมถาสรูงถส(Sูงm(SamrtarTthTahiasi)s)พพบบวว่า่า สสมมรรรถถนนะะทท่ีมี่มีนีน้ํา้าหหนนักักคคววาามมสสำ�าคคัญัญมมาากกทที่ส่ีสุดุดคคือือ ดด้า้นานททักักษษะะ กากราคริดคขดิ ั้นขส้ันูงสแูงลแะลนะวนัตวกัตรกรมรมแแลละะในในอองคงค์ป์ปรระะกกออบบทที่ ี่44พลเมืองไทยใส่ใจสังคม ((AAccttiive TThhai CCiitizen)s) พบพวบ่าว่าสมสรมรรถรนถะนทะ่ีมทีน่ีม้าีนหํ้านหักนคักวคาวมาสมาสคำ�ัญคมัญามกาทกี่สทุด่ีสคุดือคือด้าดน้ากนากราทราทงำ�างนาแนบแบบรบวรมวพมลพังลเังป็นเปท็นีมทแีมลแะภละาวมะี ดผู้นงั สภแาาาผมวโนดะาภรยผาถโู้นมพนำ�เตำ�ดอ่เโลสดไโปนยคนอโรมไี้งดสเด้ดรล้างั โงแคอผรงนงคภส์ปราร้พาะงตกออ่องไบคปส์ปนมร้ี ระรกถอนบะสหมลรักรขถอนงะผหู้เรลียักนขทอ่ีไงดผจ้ ู้เราียกนกาทร่ีไวดิเ้จคารกากะหาร์ขว้อิเมคูลรานะหาเ์ขส้อนมอูลได้ ภาภพาทพ่ี 1ท1ี่ 1โ1มเโดมลเโดคลรโงคสรรง้าสงรสา้ มงรสรมถรนรถะขนอะงขผอูเ้ งรผยี เู้ นรียทนสี่ ทอส่ีดอคดลคอ้ ลงกอ้ ับงกขับ้อมขอ้ลู มเชูลิงเปชรงิ ปะจรักะจษกั์ ษ์ 137 128รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล จากผลการวิจัยดังกล่าว นำ�มาสู่การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนต้นเพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นได้ ดังนี้ ภาพที่ 12 สมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดบั ประถมศึกษาตอนต้นหลังปรับปรุง 129รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตอนท่ี 2 ผลการทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ระดับชั้นประถมศกึ ษาตอนต้นในสถานศึกษา 2.1 กระบวนการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน จากการลงพนื้ ทข่ี องคณะผวู้ จิ ยั ในโรงเรยี นทเี่ ขา้ โครงการรว่ มทดลองใชก้ รอบสมรรถนะหลกั ทงั้ 10 สมรรถนะ พรอ้ มสัมภาษณ์ผ้บู รหิ ารและคณะครู พบวา่ แตล่ ะโรงเรยี นมแี นวทางในการนำ� กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพฒั นาผู้เรยี นใกลเ้ คียงกัน โดยมีขน้ั ตอนหลกั คือ 1) ทบทวนและสร้าง ความเข้าใจ 2) เลือกแนวทางการออกแบบการเรียนการสอน 3) ออกแบบการเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินผล 4) ติดตามผลและให้ความช่วยเหลือ ท้ังน้ีในแต่ละ โรงเรียนจะมีความแตกต่างกันในส่วนของลักษณะของกิจกรรมในแต่ละข้ันตอน สามารถสรุปได้ ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนและสรา้ งความเขา้ ใจ กจิ กรรมที่ทำ� - ผู้บริหารประชุมชี้แจง ทำ�ความเข้าใจคณะครูช้ันประถมศึกษาตอนต้นทุกคน เกยี่ วกบั สมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะ และส�ำ เนาเอกสารคมู่ อื ครใู หก้ บั ครผู สู้ อน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 ทุกคน - ผู้บริหารจัดประชุมทำ�ความเข้าใจและพูดคุยวิเคราะห์กรอบสมรรถนะกับครูท่ี จะน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนไปใช้ - ผ้บู รหิ ารประชุมวางแผนร่วมกันกับครูร่วมทดลองใชก้ รอบสมรรถนะ ข้ันตอนท่ี 2 เลือกแนวทางการออกแบบการเรยี นการสอน กิจกรรมท่ีทำ� - ประชมุ ครูเพ่ือใหค้ รวู างแผนการเลอื กแนวทางในการน�ำ สมรรถนะไปใชอ้ ยา่ ง อสิ ระ - ประชมุ ครเู พ่ือมอบหมายใหค้ รูท�ำ แผนการจดั การเรียนรูต้ ามทีโ่ รงเรยี นก�ำ หนด เชน่ กรณีที่ 1 - ครูในระดับช้ัน ป.1 ใช้สมรรถนะภาษาไทยเพื่อการส่ือสารเป็นแนวทาง ในการสอนเรอ่ื งการอา่ นสะกดคำ� - ครใู นระดับช้นั ป.2 น�ำ สมรรถนะหลัก 3 สมรรถนะผสานกบั งานเดมิ ในหน่วย การเรยี น - ครใู นระดบั ชน้ั ป.3 บรู ณาการสมรรถนะหลกั กบั กลมุ่ สาระตา่ ง ๆ ในหนว่ ยฉลาดซอ้ื ฉลาดใช้ 130รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล กรณที ี่ 2 - มอบหมายกรอบสมรรถนะตามความสามารถและความเหมาะสมกับระดบั ชน้ั โดยทมี วชิ าการโรงเรยี นใหก้ ารสนบั สนนุ และอ�ำ นวยความสะดวกใหแ้ กค่ รทู เ่ี ปน็ กลมุ่ ทดลอง ใชแ้ นวทางทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทาง (Gathering, Process, Applying and Self-regulating : GPAS) ของโรงเรยี น และไมท่ �ำ ใหเ้ ปน็ ภาระงานเพมิ่ เตมิ แก่ครทู ่ีเปน็ กลมุ่ ทดลอง กรณที ่ี 3 - ก�ำ หนดเลือกแนวทางท่ี 1 และแนวทางที่ 2 ไปใช้ในการออกแบบการเรยี น การสอน ขน้ั ตอนที่ 3 ออกแบบการเรียนการสอน จดั กิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินผล กจิ กรรมทท่ี ำ� - ครแู ตล่ ะคน ออกแบบการเรยี นการสอนของตนเอง - ครอู อกแบบการเรยี นการสอนของตนโดยมีการหารือ พูดคุย แลกเปลีย่ น กบั เพื่อนครู - ครูออกแบบการเรียนการสอนของตนโดยมีการหารือ พดู คุย แลกเปล่ยี น กับเพื่อนครู และผ้บู รหิ ารใหค้ ำ�แนะนำ�เพ่ิมเตมิ - ครูใชก้ ิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ในการรว่ มกันออกแบบ การเรยี นการสอน ขน้ั ตอนที่ 4 ตดิ ตามผลและให้ความชว่ ยเหลอื กิจกรรมท่ที �ำ แต่ละโรงเรยี นมกี ารตดิ ตามผล ใหค้ วามช่วยเหลอื และใหค้ �ำ แนะนำ�ครเู ปน็ ระยะ โดยมที ง้ั แบบเปน็ ทางการ คอื ประชมุ ตดิ ตามงาน ตรวจแผนการการจดั การเรยี นรู้ สงั เกตการสอน พรอ้ มใหค้ �ำ แนะน�ำ และแบบไมเ่ ปน็ ทางการ คอื การพดู คยุ สอบถาม ให้ค�ำ แนะนำ�ช่วยเหลอื เปน็ ต้น ซึ่งผตู้ ดิ ตามผลและให้ความช่วยเหลอื ครู มดี ังนี้ - กลุ่มเพือ่ นครใู นโรงเรยี น - หวั หนา้ สายช้ัน หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ - ทมี วิชาการของโรงเรยี น ประกอบด้วย ทป่ี รึกษาของโรงเรียน รองผู้อำ�นวยการ ผ้ชู ่วยผู้อ�ำ นวยการ - รองผู้อ�ำ นวยการโรงเรยี น หรอื ผู้อำ�นวยการโรงเรียน - ศึกษานิเทศก์และคณะผ้วู ิจยั ทงั้ นก้ี ระบวนการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นในแตล่ ะโรงเรยี น มรี ายละเอยี ด ของกิจกรรมและบทบาทของบคุ คลตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นแตกต่างกนั ไป ตามบรบิ ท นโยบาย และระบบ การบรหิ ารงานของแต่ละโรงเรยี น 131รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 2.2 การเลอื กแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี น คณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของคณะ อนุกรรมการดา้ นการเรียนการสอนในคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษา ไดพ้ ฒั นากรอบ สมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานซง่ึ ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 10 ด้าน รวมทัง้ ไดพ้ ัฒนาแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผูเ้ รยี น ในระดับช้ันประถมศึกษา ตอนต้นไว้ 4 แนวทาง ได้แก่ แนวทางท่ี 1 งานเดิมเป็นฐาน ผสานสมรรถนะ แนวทางที่ 2 สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตัวชีว้ ัด แนวทางท่ี 3 บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ และแนวทางท่ี 4 สมรรถนะชวี ติ ในกจิ วตั รประจ�ำ วนั คณะผวู้ จิ ยั จงึ ไดท้ ดลองน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นา ผเู้ รยี น ในโรงเรียนตา่ ง ๆ สามารถสรุปข้อมลู การเลือกแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใช้ ในการพฒั นาผู้เรียนได้ ดงั ตารางท่ี 11 ตารางที่ 11 ข้อมูลการเลือกแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพัฒนาผูเ้ รยี น โรงเรียน จ�ำ นวน จ�ำ นวน จ�ำ นวน จ�ำ นวน จ�ำ นวน แผนการสอน แผนการสอน แผนการสอน แผนการสอน แผนการสอน ทงั้ หมด ทใ่ี ชแ้ นวทาง ท่ีใชแ้ นวทาง ทีใ่ ช้แนวทาง ท่ใี ชแ้ นวทาง ท่ี 1 ที่ 2 ท่ี 3 ท่ี 4 โรงเรียนขอบด้ง 72 -23 โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ 9 6 3 - 3 - โรงเรยี นเทศบาล 4 (เพาะช�ำ ) 8 8 - - - โรงเรียนวดั ปลกู ศรทั ธา 14 7 6 1 - โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั 6 5 - 1 - ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ โรงเรียนอนบุ าลหนนู ้อย 9 8 1 - - จ�ำ นวนรวม 50 33 7 7 3 ร้อยละ 100 66.0 14.0 14.0 6.0 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ครสู ว่ นใหญ่ เลอื กใชแ้ นวทางท่ี 1 ในการน�ำ กรอบสมรรถนะ หลกั ไปใชใ้ นการพัฒนาผูเ้ รยี น จ�ำ นวน 33 แผน คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.0 รองลงมาคือ แนวทางที่ 2 และ แนวทางท่ี 3 จ�ำ นวนแนวทางละ 7 แผน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.0 และน้อยท่ีสดุ คือ แนวทางท่ี 4 จำ�นวน 3 แผน คดิ เป็นร้อยละ 6.0 132รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 2.3 การน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอน จดั กจิ กรรม การเรียนรู้ และประเมินผล ในสว่ นของการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอน จดั กจิ กรรม การเรียนรู้ และประเมินผลน้ัน คณะผู้วิจัยได้ศึกษาความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับ การนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังศึกษาสมรรถนะหลักและสมรรถนะ ยอ่ ยทค่ี รนู �ำ มาใช้ออกแบบการเรยี นการสอน จากการศกึ ษาพบข้อมลู ดงั น้ี 2.3.1 ความเข้าใจของผู้บริหารและครูเก่ียวกับการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ ในการพฒั นาผ้เู รียน คณะผวู้ จิ ยั ไดจ้ ดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “วเิ คราะหต์ วั บง่ ชี้ ในหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เทยี บกรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ” เพอื่ ชแ้ี จงและสรา้ งความเขา้ ใจของผบู้ รหิ าร และครเู กยี่ วกบั กรอบสมรรถนะหลกั และการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นหลงั จาก การประชุมมีการสำ�รวจความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรม ทั้งในกลุ่มโรงเรียนท่ีร่วมโครงการวิจัย และกลุม่ โรงเรยี นทเ่ี ข้ารว่ มวพิ ากษ์ สรปุ ข้อมลู ได้ ดังตารางท่ี 12 - 14 ตารางท่ี 12 จ�ำ นวนและร้อยละ ของขอ้ มูลผู้เข้ารับการอบรม จำ�นวน (N = 60) รอ้ ยละ รายการ ตำ�แหนง่ 10 16.7 ผูบ้ รหิ าร 1 1.7 ศกึ ษานิเทศก์ / นักวิชาการ 49 81.7 ครู สงั กัด 22 36. 7 สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) 17 28.3 สำ�นกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร (กทม.) 7 11.7 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน (อปท.) 9 15.0 สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน (สช.) 5 8.3 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (สกอ.) จากตารางที่ 12 พบวา่ ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสว่ นใหญเ่ ปน็ ครู จ�ำ นวน 49 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.7 และสว่ นใหญป่ ฏบิ ตั งิ านอยใู่ นสงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) จ�ำ นวน 22 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.7 133รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ตารางท่ี 13 จ�ำ นวนและรอ้ ยละของความคดิ เหน็ ของผเู้ ขา้ รบั การอบรมทม่ี ตี อ่ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียน (n = 10) ระดบั ความคดิ เห็น (ร้อยละ) ข้อท่ี ความคดิ เหน็ มากที่สุด มาก ปาน ค่อนข้าง น้อย ไม่ กลาง นอ้ ย เข้าใจ 1 เขา้ ใจความเปน็ มาและความส�ำ คญั ของ 16.7 60.0 21.7 - 1.6 - การพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น - - 2 เข้าใจคำ�อธิบายสมรรถนะหลัก 10 16.7 65.0 16.7 1.6 - - สมรรถนะ - 3 เข้าใจลักษณะและผลการจัดการเรียน 6.7 65.0 28.3 - - - การสอนแบบเน้นสมรรถนะ 4 เขา้ ใจหลกั การออกแบบแผนการจดั การ 3.3 51.7 45.0 - - เรียนร้แู บบตา่ ง ๆ ทั้ง 4 แนวทาง 5 สามารถนำ�หลักการออกแบบแผนการ 6.7 56.7 36.6 - - จัดการเรียนรู้อิงสมรรถนะแบบต่าง ๆ ไปใชใ้ นระดับใด 6 เข้าใจขอบเขตและแนวทางการทำ�งาน 6.7 46.7 43.3 3.3 - เพื่อการวจิ ยั ในโรงเรียนของตน จากตารางที่ 13 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเข้าใจในการนำ� กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนในด้าน ของค�ำ อธบิ ายสมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะ ลกั ษณะและผลการจดั การเรยี นการสอนแบบเนน้ สมรรถนะ ในระดบั มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 65.0 134รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ตารางที่ 14 สรปุ ผลการสอบถามความคิดเห็นจากคำ�ถามปลายเปดิ เกี่ยวกับความเขา้ ใจในการนำ� กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ไปใช้ในการพัฒนา ผเู้ รยี นของผเู้ ขา้ รบั การอบรม ประเดน็ คำ�ถาม และความคิดเห็น 1. ท่านจะนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไดอ้ ย่างไร ความคดิ เหน็ : น�ำ กรอบสมรรถนะไปบรู ณาการสอดแทรกเขา้ ไปในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในแต่ละวิชา โดยนำ�มาประยุกต์เข้ากับแผนการจัดการเรียนรู้เดิมที่ทำ�อยู่แล้ว อาจจะปรับเปล่ียน เพ่ิมเติมและเสริมสมรรถนะในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ใน 4 วิชาหลัก ประยุกต์ใช้กรอบ สมรรถนะในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ จะทำ�ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนนำ�ไป ใช้ได้จริงในชีวิตประจำ�วัน ครูควรร่วมกันวางแผนเพ่ือปรับใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน โดย นำ�กรอบสมรรถนะไปพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การสอนให้ผู้เรียนเข้าใจ ในการเรียนรู้มากข้ึน จัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการคิดข้ันสูง เน้น การแก้ปัญหาของนักเรียนโดยเชื่อมโยงสมรรถนะต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกัน เขียนแผนการจัด การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ สามารถน�ำ ความรแู้ ละทกั ษะไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาในสถานการณจ์ รงิ หรือในชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้ 2. ท่านต้องการได้รับความรู้เพ่ิมเติมในเรื่องใดบ้างท่ีเก่ียวข้องกับการนำ�กรอบสมรรถนะ หลกั ไปใช้ ความคิดเห็น : เทคนิควิธีการเขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นกรอบสมรรถนะ เทคนิคการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนสมรรถนะทห่ี ลากหลาย และการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะของนกั เรยี น ตัวอย่างกิจกรรมท่ีหลากหลายในการนำ�กรอบสมรรถนะมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนให้ กับผู้เรียน ต้องการให้มีแผนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นสมรรถนะมาให้ทดลองใช้ อยากทราบข้อมูล ทีเ่ ข้าใจง่ายข้ึนเกี่ยวกับแนวทางการใช้สมรรถนะกบั การเรียนการสอน และการยกตัวอย่างการสรา้ ง สถานการณเ์ พื่อนำ�มาใช้ในการจัดการเรยี นการสอนให้กับนกั เรียน 135รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ประเดน็ คำ�ถาม และความคิดเห็น 3. ความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ความคดิ เหน็ : เวลาทใี่ ชใ้ นการประชมุ ชแ้ี จงนอ้ ยเกนิ ไปครยู งั ไมค่ อ่ ยเขา้ ใจชดั เจน ควรเพม่ิ ระยะเวลาในการอบรมให้มากกว่านี้ ควรมีการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ที่บูรณาการสมรรถนะหลักของผู้เรียน ให้ครูได้ฝึกทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ เน่ืองจากปัจจุบัน ครูกำ�ลังประสบปัญหางานล้นมือ คือนอกเหนือจากงานสอนในหน้าท่ียังมีงานรับผิดชอบอื่น ๆ เพิ่มเตมิ งานจร และงานอบรมต่าง ๆ ถ้าครตู ้องมาคดิ แผน คิดกจิ กรรมเองใหม่ ครกู ส็ ามารถท�ำ ได้ แต่อาจจะไม่มีเวลาว่างมากพอเพ่ือการจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ เพราะมีงานประจำ�ทุกวัน มงี านจรทกุ เสาร/์ อาทติ ย์ อาจสง่ ผลตอ่ การจดั การเรยี นการสอนใหม้ คี ณุ ภาพไมด่ เี ทา่ ทคี่ วร ตอ้ งการแผน การจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะตามกรอบสมรรถนะหลัก เพื่อให้ ครูสามารถนำ�ไปใช้ได้เลย และสามารถปรับใช้ได้ตามบริบทของโรงเรยี น เพอ่ื ลดภาระงานของคร ู 136รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 2.3.2 สมรรถนะหลกั และสมรรถนะยอ่ ยทคี่ รนู �ำ มาใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอน คณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ของคณะอนุกรรมการด้านการเรียนการสอนในคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ได้นำ�แผนการจัดการเรียนรู้มาวิเคราะห์เพ่ือศึกษาสมรรถนะหลักและสมรรถนะย่อยท่ีครูนำ�มาใช้ ออกแบบการเรียนการสอน จากการวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ท้ังหมดจำ�นวน 38 แผน ซง่ึ สรุปขอ้ มูลดา้ นการนำ�สมรรถนะหลกั มาใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอนได้ ดังตารางท่ี 15 ตารางที่ 15 สมรรถนะหลักทีค่ รนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอน สมรรถนะ จำ�นวน จ�ำ นวนท่ี ร้อยละ ท้งั หมด เลือกใช้ 1. สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพือ่ การส่อื สาร 86.8 2. สมรรถนะหลกั ดา้ นคณิตศาสตร์ในชวี ิตประจำ�วัน 38 33 44.7 3. สมรรถนะหลกั ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ 38 17 44.7 38 17 และจติ วิทยาศาสตร์ 26.3 4. สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 38 10 36.8 5. สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะชีวิตและความเจรญิ แห่งตน 38 14 31.6 6. สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ 38 12 50.0 7. สมรรถนะหลกั ด้านทักษะการคิดขนั้ สูงและนวตั กรรม 38 19 15.8 8. สมรรถนะหลกั ด้านการรเู้ ท่าทนั สือ่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั 38 6 47.4 9. สมรรถนะหลกั ดา้ นการท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทีม 38 18 21.1 และมีภาวะผนู้ �ำ 38 8 10. สมรรถนะหลกั ด้านการเป็นพลเมืองทีเ่ ขม้ แขง็ /ตนื่ รู้ ทม่ี ีส�ำ นกึ สากล จากขอ้ มูลในตารางข้างต้น พบวา่ สมรรถนะหลักท่ปี รากฏในแผนการจดั การเรียนรมู้ ากท่ีสดุ 3 อันดับแรก คือ สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร จำ�นวน 33 แผน คิดเป็นร้อยละ 86.8 อนั ดับที่ 2 คอื สมรรถนะหลักดา้ นทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู และนวตั กรรม จำ�นวน 19 แผน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.0 และอนั ดับท่ี 3 คือ สมรรถนะหลกั ดา้ นการท�ำ งานแบบรวมพลัง เปน็ ทีม และมีภาวะ ผู้นำ� จำ�นวน 18 แผน คิดเป็นร้อยละ 47.4 สำ�หรับสมรรถนะท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ นอ้ ยทส่ี ดุ คอื สมรรถนะดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั จ�ำ นวน 6 แผน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.8 137รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เมอ่ื พิจารณาในด้านสมรรถนะหลักท่คี รูนำ�มาใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอนตามแนวทางท่ี 1 แนวทางท่ี 2 แนวทางที่ 3 และแนวทางท่ี 4 สามารถสรปุ ข้อมลู ด้านการนำ�สมรรถนะหลกั มาใชใ้ น การออกแบบการเรยี นการสอนได้ ดังตารางที่ 16 ตารางท่ี 16 สรปุ ข้อมูลด้านการนำ�สมรรถนะหลกั มาใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอน สมรรถนะ N แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2 แนวทางที่ 3 n%n%n% 1. สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทย 33 17 51.5 5 15.2 11 33.3 เพอ่ื การสอ่ื สาร 2. สมรรถนะหลักด้านคณติ ศาสตร์ 17 9 52.9 3 17.6 5 29.4 ในชวี ติ ประจำ�วนั 3. สมรรถนะหลกั ด้านการสืบสอบทาง 17 9 52.9 2 11.8 6 35.3 วทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ 4. สมรรถนะหลักดา้ นภาษาองั กฤษ 10 4 40.0 2 20.0 4 40.0 เพือ่ การสื่อสาร 5. สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะชีวิต 14 2 14.3 1 7.1 11 78.6 และความเจรญิ แหง่ ตน 6. สมรรถนะหลักด้านทกั ษะอาชีพ 12 1 8.3 1 8.3 10 83.3 และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ 7. สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะการคดิ 19 8 42.1 1 5.3 10 52.6 ข้ันสูงและนวตั กรรม 8. สมรรถนะหลักดา้ นการรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ 6 1 16.7 2 33.3 3 50.0 สารสนเทศ และดจิ ิทลั 9. สมรรถนะหลกั ด้านการท�ำ งานแบบ 18 4 22.2 4 22.2 10 55.6 รวมพลงั เปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 10. สมรรถนะหลักดา้ นการเปน็ พลเมอื ง 8 3 37.5 1 12.5 4 50.0 ท่ีเข้มแขง็ /ต่นื รู้ที่มสี �ำ นกึ สากล 138รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู จากข้อมูลในตารางข้างต้น พบว่า ทุกสมรรถนะหลักได้นำ�ไปใช้ในการออกแบบการเรียน การสอนทง้ั 4 แนวทาง โดย 1) สมรรถนะดา้ นภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร พบในแผนการจดั การจดั การเรยี นรแู้ นวทางที่ 1 มากทสี่ ดุ จ�ำ นวน 17 แผน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.5 2) สมรรถนะดา้ นคณติ ศาสตร์ ในชีวติ ประจำ�วัน พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทางที่ 1 มากทส่ี ดุ จ�ำ นวน 9 แผน คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.9 3) สมรรถนะด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ พบในแผนการจัด การเรียนรู้แนวทางท่ี 1 มากท่ีสุด จำ�นวน 9 แผน คิดเป็นร้อยละ 52.9 4) สมรรถนะด้านภาษา อังกฤษเพ่ือการส่ือสาร พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทางท่ี 1 และแนวทางท่ี 3 มากที่สุด จำ�นวนแนวทางละ 4 แผน คิดเป็นร้อยละ 40.0 5) สมรรถนะด้านทักษะชีวิตและความเจริญ แหง่ ตน พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทางที่ 3 มากท่ีสุด จ�ำ นวน 11 แผน คดิ เปน็ ร้อยละ 78.6 6) สมรรถนะด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทาง ที่ 3 มากท่ีสุดจำ�นวน 10 แผน คิดเป็นร้อยละ 83.3 7) ทักษะการคิดข้ันสูงและนวัตกรรม พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทางท่ี 3 มากที่สุด จำ�นวน 10 แผน คิดเป็นร้อยละ 52.6 8) ทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทางที่ 3 มากท่ีสุด จำ�นวน 3 แผน คิดเป็นร้อยละ 50.0 9) ทักษะด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผ้นู ำ� พบในแผนการจัดการเรียนรู้แนวทางท่ี 3 มากท่ีสดุ 10 แผน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.6 และ 10) สมรรถนะด้านการเปน็ พลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ /ตน่ื ร้ทู ่มี ีสำ�นึกสากล พบในแผนการจดั การเรยี นรู้ แนวทางที่ 3 มากทีส่ ุด จ�ำ นวน 4 แผน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.0 เม่ือพิจารณาในด้านสมรรถนะหลักรายสมรรถนะจากการวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ ทง้ั หมดจ�ำ นวน 38 แผน สามารถสรปุ ขอ้ มลู ดา้ นการน�ำ สมรรถนะหลกั มาใชใ้ นการออกแบบการเรยี น การสอนได้ ดังน้ี สมรรถนะด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร จากผลการวิเคราะห์ข้อมลู พบวา่ พบสมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพ่อื การสื่อสารในระดับ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 และ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มากทส่ี ดุ โดยพบว่า ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 น�ำ ไป ใช้ในวิชาภาษาไทยและวิชาอ่นื ๆ มากทสี่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 40.0 สำ�หรบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 น�ำ ไป ใชใ้ นวิชาวทิ ยาศาสตร์ และวชิ าอน่ื ๆ เทา่ กันคิดเป็นร้อยละ 30.0 ดงั ขอ้ มลู ในตารางที่ 17 139รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตารางท่ี 17 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สารทค่ี รนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบการเรยี น การสอน สมรรถนะด้านภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร ช้ัน ไทย1.1 ไทย1.2 ไทย1.3 ไทย1.4 ไทย1.5 ไทย1.6 รวม ป.1 วชิ า ไทย N 4 3 3 2 - 2 14 % 15.4% 11.5% 11.5% 7.7% 7.7% 53.8% คณิต N 1 - - 1- - 2 % 3.8% 3.8% 7.7% วิทย์ N 2 - 2 --- 4 % 7.7% 7.7% 15.4% บรู ณาการ N 1 11 111 6 % 3.8% 3.8% 3.8% 3.8% 3.8% 3.8% 23.1% รวม N 8 4 6 4 1 3 26 % 30.8% 15.4% 23.1% 15.4% 3.8% 11.5% 100 % ป.2 วชิ า ไทย N 4 23 - - 3 12 % 13.3% 6.7% 10.0% 10.0% 40.0% คณติ N 1 - 1 --- 2 % 3.3% 3.3% 6.7% วิทย์ N 2 - 1 1 - - 4 % 6.7% 3.3% 3.3% 13.3% อืน่ ๆ N 3 3 3 3 - - 12 % 10.0% 10.0% 10.0% 10.0% 40.0% รวม N 10 5 8 4 - 3 30 % 33.3% 16.7% 26.7% 13.3% 10.0% 100 % 140รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตารางท่ี 17 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สารทค่ี รนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบการเรยี น การสอน (ตอ่ ) ช้ัน สมรรถนะด้านภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร รวม ไทย1.1 ไทย1.2 ไทย1.3 ไทย1.4 ไทย1.5 ไทย1.6 ป.3 วิชา ไทย N1 1 2 - --4 13.3% % 3.3% 3.3% 6.7% คณิต N2 - - - - - 2 % 6.7% 6.7% N4 2 2 1 - -9 วทิ ย์ 30.0% % 13.3% 6.7% 6.7% 3.3% อน่ื ๆ N2 2 2 3 - -9 % 6.7% 6.7% 6.7% 10.0% 30.0% บรู ณาการ N - - 2 1 12 6 % 6.7% 3.3% 3.3% 6.7% 20.0% N 9 5 8 5 1 2 30 รวม % 30.0% 16.7% 26.7% 16.7% 3.3% 6.7% 100 % 141รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตรใ์ นชีวิตประจำ�วัน จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า พบสมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 มากทส่ี ดุ โดยพบวา่ น�ำ ไปใชใ้ นวชิ าคณติ ศาสตรม์ ากทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.0 ดังขอ้ มลู ในตารางที่ 18 ตารางที่ 18 การน�ำ สมรรถนะย่อยดา้ นคณิตศาสตร์ในชวี ติ ประจำ�วนั ท่ีครนู �ำ มาใช้ในการออกแบบ การเรยี นการสอน ช้ัน สมรรถนะด้านคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วัน รวม คณิต 2.1 คณิต 2.2 คณติ 2.3 คณติ 2.4 คณิต 2.5 1 10.0% ป.1 วิชา ไทย N 1 - - -- 4 % 10.0% 40.0% คณติ N 2 - 1 -1 3 % 30.0% 20.0% 10.0% 10.0% 2 วิทย์ N 1 11-- 20.0% % 10.0% 10.0% 10.0% 10 100 % N - - 11- บรู ณาการ 1 10.0% 10.0% 11.1% % 3 N 4 1 3 11 33.3% รวม 40.0% 10.0% 30.0% 10.0% 10.0% 3 % 33.3% ป.2 วิชา ไทย N 1 - - -- 2 22.2% % 11.1% 9 คณติ N 1 11-- 100 % % 11.1% 11.1% 11.1% วิทย์ N 1 1 - -1 % 11.1% 11.1% 11.1% N - - - 11 อนื่ ๆ 11.1% 11.1% % N 3 2 1 12 รวม 33.3% 22.2% 11.1% 11.1% 22.2% % 142รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตารางท่ี 18 การนำ�สมรรถนะยอ่ ยดา้ นคณติ ศาสตร์ในชีวติ ประจำ�วันที่ครนู �ำ มาใช้ในการออกแบบ การเรยี นการสอน (ต่อ) ช้ัน สมรรถนะดา้ นคณิตศาสตร์ในชีวติ ประจำ�วนั รวม ป.3 วชิ า คณิต N คณิต2.1 คณติ 2.2 คณติ 2.3 คณติ 2.4 คณิต2.5 6 % 50.0% 3 - 1 -2 N 25.0% 8.3% 16.7% 1 วิทย์ 8.3% - - - -1 % 8.3% 4 33.3% N - - - 22 อ่ืนๆ 16.7% 16.7% 1 8.3% % - - - -1 12 8.3% 100% N บรู ณาการ 3 - 1 26 25.0% 8.3% 16.7% 50.0% % รวม N % 143รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สมรรถนะหลกั ด้านการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตร์ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า พบสมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และ จิตวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มากท่ีสุด โดยพบว่า นำ�ไปใช้ในวิชาวิทยาศาสตร์ มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 50.0 ดงั ข้อมลู ในตารางท่ี 19 ตารางที่ 19 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตรท์ คี่ รนู �ำ มาใช้ ในการออกแบบการเรียนการสอน ชน้ั สมรรถนะด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ รวม สืบสอบ3.1 สืบสอบ3.2 สบื สอบ3.3 สืบสอบ3.4 สืบสอบ3.5 2 33.3% ป.1 วชิ า คณิต N 1 1 - -- วทิ ย์ % 3 N 16.7% 16.7% 50.0% บูรณาการ % N - 21-- 1 รวม % 16.7% ป.2 วิชา ไทย N 33.3% 16.7% % 6 คณิต N 1 - - -- 100 % วทิ ย์ % อ่ืนๆ N 16.7% 1 % 9.1% รวม N 2 31-- % 2 N 33.3% 50.0% 16.7% 18.2% % N 1 - - -- 4 % 36.4% 9.1% 4 - 11-- 36.4% 9.1% 9.1% 11 100 % 1 21-- 9.1% 18.2% 9.1% - 22-- 18.2% 18.2% 2 54-- 18.2% 45.5% 36.4% - - 144รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ตารางท่ี 19 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตรท์ ค่ี รนู �ำ มาใช้ ในการออกแบบการเรียนการสอน (ต่อ) สมรรถนะดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ ช้นั รวม สืบสอบ3.1 สืบสอบ3.2 สบื สอบ3.3 สืบสอบ3.4 สบื สอบ3.5 ป.3 วชิ า ไทย N - - 1 - -1 % 8.3% 8.3% คณิต N 1 - - - -1 % 8.3% 8.3% วทิ ย์ N 2 2 2 - -6 % 16.7% 16.7% 16.7% 50.0% บูรณาการ N 2 - - 1 14 % 16.7% 8.3% 8.3% 33.3% รวม N5 2 3 1 1 12 % 41.7% 16.7% 25.0% 8.3% 8.3% 100 % 145รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร จากผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบวา่ พบสมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สารในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 และ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 จ�ำ นวนเทา่ กัน โดยพบวา่ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2 นำ�ไปใชใ้ นวิชาภาษาไทยมากทส่ี ุดคิดเปน็ ร้อยละ 66.7 ส�ำ หรบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 น�ำ ไปใชใ้ น วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละบรู ณาการมากท่ีสดุ คิดเป็นร้อยละ 33.3 ดงั ข้อมูลในตารางที่ 20 ตารางท่ี 20 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารท่ีครูนำ�มาใช้ในการออกแบบ การเรยี นการสอน ชั้น สมรรถนะด้านภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร รวม ไทย อังกฤษ 4.5 องั กฤษ 4.1 องั กฤษ 4.4 องั กฤษ 4.6 ป.1 วิชา N1 - - - 1 % 100 % 100 % รวม N1 - - - 1 % 100 % 100 % ป.2 วชิ า ไทย N 2 2 - - 4 % 33.3% 33.3% 66.7% อังกฤษ N - 1 - - 1 % 16.7% 16.7% อน่ื ๆ N - 1 - - 1 % 16.7% 16.7% รวม N24 - - 6 % 33.3% 66.7% 100 % ป.3 วิชา ไทย N 1 - - - 1 % 16.7% 16.7% วทิ ย์ N - 1 - 1 2 % 16.7% 16.7% 33.3% อื่นๆ N -1- -1 % 16.7% 16.7% บรู ณาการ N 1 - 1 - 2 % 16.7% 16.7% 33.3% รวม N22116 % 33.3% 33.3% 16.7% 16.7% 100 % 146รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชีวติ และความเจรญิ แหง่ ตน จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า พบสมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 มากทส่ี ดุ โดยพบวา่ น�ำ ไปใชใ้ นวชิ าอน่ื ๆ มากทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.8 ดังข้อมูลในตารางท่ี 21 ตารางที่ 21 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตนทคี่ รนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบ การเรียนการสอน สมรรถนะดา้ นทกั ษะชวี ิตและความเจริญแห่งตน ช้ัน ทกั ษะ ทักษะ ทกั ษะ ทักษะ ทกั ษะ ทักษะ ทกั ษะ ทกั ษะ รวม ชวี ิต 5.1 ชีวิต5.2 ชีวิต5.3 ชวี ติ 5.4 ชีวิต5.5 ชวี ติ 5.7 ชีวติ 5.6 ชีวิต5.8 ป.1 วชิ า ไทย N 1 111 11- - 6 % 14.3% 14.3% 14.3% 14.3% 14.3% 14.3% 85.7% บูรณาการ N - - - - - 1 - - 1 % 14.3% 14.3% รวม N 1 111 12- - 7 % 14.3% 14.3% 14.3% 14.3% 14.3% 28.6% 100 % ป.2 วชิ า ไทย N 1 1-- --- - 2 % 4.5% 4.5% 9.1% วิทย์ N 1 1 - - - - - - 2 % 4.5% 4.5% 9.1% N 3 333 33- - 18 อ่ืนๆ 81.8% % 13.6% 13.6% 13.6% 13.6% 13.6% 13.6% รวม N 5 5 3 3 3 3 - - 22 % 22.7% 22.7% 13.6% 13.6% 13.6% 13.6% 100 % 147รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตารางที่ 21 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตนทคี่ รนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบ การเรยี นการสอน (ต่อ) ชั้น สมรรถนะด้านทกั ษะชีวติ และความเจรญิ แห่งตน รวม ป.3 วชิ า ไทย ทกั ษะ ทกั ษะ ทกั ษะ ทกั ษะ ทักษะ ทกั ษะ ทกั ษะ ทักษะ ชีวิต 5.1 ชีวิต5.2 ชวี ติ 5.3 ชวี ิต5.4 ชวี ิต5.5 ชีวิต5.7 ชวี ติ 5.6 ชีวิต5.8 วิทย์ อ่นื ๆ N 2 111 11- - 7 รวม % 8.7% 4.3% 4.3% 4.3% 4.3% 4.3% 30.4% N 2 2 2 2 2 2 - - 12 % 8.7% 8.7% 8.7% 8.7% 8.7% 8.7% 52.2% N - -1- 1-11 4 % 4.3% 4.3% 4.3% 4.3% 17.4% N 4 3 4 3 4 3 1 1 23 % 17.4% 13.0% 17.4% 13.0% 17.4% 13.0% 4.3% 4.3% 100 % 148รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการ จากผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบวา่ พบสมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ ในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 มากทสี่ ดุ โดยพบวา่ น�ำ ไปใชใ้ นวชิ าอนื่ ๆ มากทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 93.8 ดังข้อมลู ในตารางที่ 22 ตารางท่ี 22 การนำ�สมรรถนะย่อยดา้ นทกั ษะอาชีพและการเปน็ ผปู้ ระกอบการท่คี รูน�ำ มาใช้ ในการออกแบบการเรียนการสอน สมรรถนะดา้ นทักษะอาชีพและการเป็นผ้ปู ระกอบการ ช้ัน ทักษะอาชีพ ทกั ษะอาชีพ ทกั ษะอาชพี ทักษะอาชีพ ทักษะอาชพี ทกั ษะอาชพี รวม 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.1 ป.1 วิชา ไทย N 1 1 1 1 1 -5 % 16.7% 16.7% 16.7% 16.7% 16.7% 83.3% วิทย์ N - - - 1 - -1 % 16.7% 16.7% รวม N1 1 1 2 1 -6 % 16.7% 16.7% 16.7% 33.3% 16.7% 100 % ป.2 วชิ า ไทย N - - - - - 11 % 6.2% 6.2% อืน่ ๆ N 3 3 3 3 3 - 15 % 18.8% 18.8% 18.8% 18.8% 18.8% 93.8% รวม N3 3 3 3 3 1 16 % 18.8% 18.8% 18.8% 18.8% 18.8% 6.2% 100 % ป.3 วชิ า วิทย์ N 1 1 1 1 1 -5 % 5.3% 5.3% 5.3% 5.3% 5.3% 26.3% อน่ื ๆ N 2 2 2 2 2 - 10 % 10.5% 10.5% 10.5% 10.5% 10.5% 52.6% บรู ณาการ N 1 - - 1 1 14 % 5.3% 5.3% 5.3% 5.3% 21.1% รวม N4 3 3 4 4 1 19 % 21.1% 15.8% 15.8% 21.1% 21.1% 5.3% 100 % 149รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล สมรรถนะหลักด้านทกั ษะการคดิ ขน้ั สูงและนวตั กรรม จากผลการวิเคราะหข์ ้อมลู พบวา่ พบสมรรถนะหลกั ด้านการคดิ ข้ันสงู และนวัตกรรมในระดับ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 มากท่ีสุด โดยพบว่าน�ำ ไปใช้ในวิชาอ่ืน ๆ มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 63.2 ดงั ข้อมลู ในตารางท่ี 23 ตารางท่ี 23 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านการคิดข้ันสูงและนวัตกรรมที่ครูนำ�มาใช้ในการออกแบบ การเรยี นการสอน ทักษะการคดิ ขัน้ สูงและนวัตกรรม ชนั้ ทักษะ ทกั ษะ ทักษะ ทักษะ ทักษะ ทกั ษะ รวม การคดิ 7.1 การคดิ 7.2 การคดิ 7.3 การคิด 7.4 การคดิ 7.5 การคิด 7.6 ป.1 วิชา ไทย N 1 1 1 1- 4 % 14.3% 14.3% 14.3% 14.3% - 57.1% คณิต N - - - 1 1 -- 2 % 14.3% 14.3% 28.6% วทิ ย์ N - 1 - -- 1 % 14.3% 14.3% N1 2 1 2 1 -7 รวม 100 % % 14.3% 28.6% 14.3% 28.6% 14.3% ป.2 วชิ า ไทย N 1 - - - 2 25 % 5.3% 10.5% 10.5% 26.3% วทิ ย์ N - 1 - - 1 -2 % 5.3% 5.3% 10.5% อ่ืนๆ N 3 3 3 3- - 12 % 15.8% 15.8% 15.8% 15.8% 63.2% N 4 4 3 3 3 2 19 รวม % 21.1% 21.1% 15.8% 15.8% 15.8% 10.5% 100 % 150รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ตารางท่ี 23 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านการคิดขั้นสูงและนวัตกรรมที่ครูนำ�มาใช้ในการออกแบบ การเรียนการสอน (ต่อ) ทกั ษะการคดิ ข้นั สงู และนวัตกรรม ช้นั ทักษะ ทกั ษะ ทกั ษะ ทักษะ ทกั ษะ ทกั ษะ รวม การคดิ 7.1 การคิด 7.2 การคดิ 7.3 การคิด 7.4 การคดิ 7.5 การคดิ 7.6 1 ป.3 วชิ า ไทย N - 1 - -- - 4.5% คณติ % วทิ ย์ N - 4.5% - 2 อื่นๆ % 9.1% N 1 1 - 1- - บูรณาการ % 4.5% 4 N 4.5% 4.5% - 18.2% รวม % 3 N 13.6% 1 1 1- 1 11 % 4.5% 50.0% N - 4.5% 4.5% 4.5% % 1 4 4 2 3 3- 4.5% 18.2% 18.2% 9.1% 13.6% 13.6% 22 100 % 1 - 11 4.5% 4.5% 4.5% 6 4 61 27.3% 18.2% 27.3% 4.5% 151รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู สมรรถนะหลักดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั สื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า พบสมรรถนะหลักด้านการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล เพียงระดับเดียวคอื ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยพบว่าน�ำ ไปใช้ในวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละวิชาอ่ืน ๆ เท่ากันคดิ เป็นรอ้ ยละ 44.4 ดงั ข้อมูลในตารางท่ี 24 ตารางที่ 24 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลที่ครูนำ�มาใช้ ในการออกแบบการเรยี นการสอน ชั้น ทักษะด้านการรูเ้ ท่าทนั ส่ือ สารสนเทศ และดจิ ิทลั รวม รู้เท่าทนั ส่ือฯ 8.1 รเู้ ท่าทันสื่อฯ 8.3 รเู้ ทา่ ทนั ส่ือฯ 8.4 4 ป.3 วิชา วทิ ย์ N 1 1 2 44.4% % 11.1% 11.1% 22.2% 4 44.4% อื่นๆ N 1 1 2 1 % 11.1% 11.1% 22.2% 11.1% บรู ณาการ N 1 - - 9 100 % % 11.1% รวม N 3 2 4 % 33.3% 22.2% 44.4% 152รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สมรรถนะหลักดา้ นการท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทีม และมีภาวะผนู้ �ำ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า พบสมรรถนะหลักด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทีม และภาวะผ้นู ำ�ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 มากที่สุด โดยพบวา่ นำ�ไปใช้ในวิชาอ่นื ๆ มากทีส่ ุดคิด เป็นร้อยละ 75.0 ดงั ข้อมูลในตารางท่ี 25 ตารางที่ 25 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ� ท่ีครนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอน ชัน้ สมรรถนะด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เปน็ ทมี และมภี าวะผ้นู �ำ รวม รวมพลงั 9.1 รวมพลัง9.2 รวมพลงั 9.3 7 53.8% ป.1 วิชา ไทย N 3 3 1 3 % 23.1% 23.1% 7.7% 23.1% คณิต N 1 1 1 2 15.4% % 7.7% 7.7% 7.7% 1 วิทย์ N 1 1 - 7.7% 13 % 7.7% 7.7% 100 % บูรณาการ N - 1 - 3 % 7.7% รวม N5 6 2 % 38.5% 46.2% 15.4% ป.2 วชิ า ไทย N 1 1 1 % 8.3% 8.3% 8.3% 25.0% อื่นๆ N 3 3 3 9 % 25.0% 25.0% 25.0% 75.0% รวม N4 4 4 12 % 33.3% 33.3% 33.3% 100 % ป.3 วิชา คณติ N 1 - 1 2 % 6.2% 6.2% 12.5% วิทย์ N 3 1 1 5 % 18.8% 6.2% 6.2% 31.2% อืน่ ๆ N 2 2 2 6 % 12.5% 12.5% 12.5% 37.5% บรู ณาการ N 1 1 1 3 % 6.2% 6.2% 6.2% 18.8% รวม N7 4 5 16 % 43.8% 25.0% 31.2% 100 % 153รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล สมรรถนะหลักดา้ นพลเมอื งท่ีเขม้ แข็ง/ตนื่ ร้ทู มี่ ีสำ�นึกสากล จากผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบวา่ พบสมรรถนะหลกั ดา้ นพลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ /ตนื่ รทู้ มี่ สี �ำ นกึ สากล ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 มากทส่ี ดุ โดยพบวา่ น�ำ ไปใชใ้ นวชิ าอน่ื ๆ และวชิ าบรู ณาการ มากทสี่ ดุ คดิ เป็นร้อยละ 50.0 ดงั ขอ้ มลู ในตารางท่ี 26 ตารางที่ 26 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นพลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ /ตนื่ รทู้ มี่ สี �ำ นกึ สากล ทค่ี รนู �ำ มาใชใ้ นการออกแบบ การเรยี นการสอน สมรรถนะดา้ นพลเมอื งท่เี ขม้ แขง็ /ต่ืนร้ทู มี่ ีส�ำ นกึ สากล ชั้น พลเมือง พลเมือง พลเมือง พลเมือง พลเมือง รวม 10.1 10.2 10.3 10.4 10.5 2 ป.1 วชิ า ไทย N 2- - - - 66.7% คณิต % N 66.7% 1 รวม % 33.3% ป.2 วชิ า ไทย N 1- - - - % 3 รวม N 33.3% 100 % ป.3 วชิ า อ่นื ๆ % N 3- - - - 5 บูรณาการ % 100 % N 100.0% รวม % 5 N 11111 100 % % N 20.0% 20.0% 20.0% 20.0% 20.0% 3 % 50.0% 11111 3 20.0% 20.0% 20.0% 20.0% 20.0% 50.0% 1 - 11 - 6 100 % 16.7% 16.7% 16.7% 2 - 10 - 33.3% 16.7% .0% 3 - 21 - 50.0% 33.3% 16.7% 154รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 2.4 การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดข้นึ กับครแู ละนักเรียน จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับครูและ นักเรียน หลังจากที่นำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษา ตอนตน้ ในสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลได้ ดังนี้ 2.4.1 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับครู ครูผู้สอนและผู้บริหารมีความคิดเห็นว่า เมอ่ื น�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา ตวั ครมู ี การเปล่ียนแปลงทั้งในด้านการออกแบบการเรียนการสอน ลักษณะ/เทคนิคการสอนท่ีครูนำ�มาใช้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อและแหล่งทรัพยากร การวัดและประเมินผล และด้านอนื่ ๆ ดังรายละเอยี ด ด้านการออกแบบการเรียนการสอน จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และประเมนิ ผล ครมู กี ารออกแบบการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ และเนน้ กระบวนการกลมุ่ มากขน้ึ ค�ำ นงึ ถงึ การเชอื่ มโยงสมรรถนะและกจิ กรรมการเรยี นการสอนเพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพตามสมรรถนะ ที่ต้องการ มีการวิเคราะห์หลักสูตร ตัวชี้วัด และสมรรถนะท่ีสอดคล้องกันเพ่ือออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอน การวางแผนมีเป้าหมายชัดเจนข้ึน ครูปรับวิธีการสอน/กิจกรรม/บทบาทครู ในการเปน็ ผู้อ�ำ นวยความสะดวก จัดกระบวนการจดั การเรยี นการสอนหลากหลายขน้ึ ให้เด็กลงมือ ปฏิบตั ิมากขึน้ เพม่ิ กระบวนการกลุ่มมากข้ึน มกี ารเพิ่มกจิ กรรมใหเ้ ด็กไดค้ ิด ได้สอ่ื สาร ทำ�งานกล่มุ การสะท้อนการเรียนรู้/สมรรถนะ หลากหลายขึ้น เม่ือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แล้วจะมี การตรวจเช็คกิจกรรมว่าทำ�แล้วเด็กเกิดสมรรถนะหรือไม่ ขณะที่ครูสอนมีการเชื่อมโยง สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน มีการใช้คำ�ถามย้อนกลับ เพื่อให้ได้สมรรถนะท่ีต้องการ เช่น การส่ือสาร แสดงความคิดเห็น ข้อคิดท่ีได้ การแก้ปัญหา รวมท้ังกระตุ้นให้เด็กได้ใช้สมรรถนะอื่น ในวชิ าที่ตนเองสอนมากขึน้ และมีการบริหารจัดการช้นั เรียนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ ส�ำ คญั มากขึน้ ในดา้ น การประเมินผลจะประเมินตามสมรรถนะที่เกิดกับนักเรียน จึงมีการประเมินที่หลากหลายขึ้น โดยประเมินจากการปฏิบัติ ประเมินจากผลงานนักเรียน และการมีส่วนร่วมของนักเรียนมากขึ้น ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี “ ครใู ช้กิจกรรมในการสอนมากขึน้ จัดกจิ กรรมใหห้ ลากหลายขนึ้ ให้เดก็ ลงมอื ปฏบิ ตั ิมากขึ้น จากครูเขียนขึ้นกระดานเป็นให้เด็กเขียน ทำ� แต่งเรื่อง เล่า มากข้ึน เน่ืองจากครูต้องเหลือบมอง กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับสมรรถนะ” “ในตวั สมรรถนะทแี่ ตกออกมา ครจู ะเหน็ แนวทางในการจดั กจิ กรรมมากขน้ึ แทนทค่ี รจู ะแจก แตใ่ บงาน มีการให้เดก็ ท�ำ กิจกรรมมากขึน้ เด็กได้ active ข้ึน” “ครอู อกแบบกจิ กรรมได้มากข้นึ แตเ่ นอื่ งจากเพิ่งเร่มิ ท�ำ จึงยังไม่เหน็ ผลชดั เจนนัก” “การเขยี นแผนจะค�ำ นงึ สมรรถนะมากขน้ึ และคดิ ถงึ กจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งเพอ่ื ใหเ้ กดิ สมรรถนะ” 155รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล “ครูตอ้ งบรู ณาการในการสอนเด็กใหร้ ้แู ต่ละเรอื่ งและเชอ่ื มโยงไปสเู่ ร่ืองอน่ื ได้ จากเดิมคิดว่า ไมจ่ �ำ เป็นต้องเอาวชิ าเราไปสัมพนั ธ์กับวิชาอ่นื ” “ครูส่วนใหญ่มีการวิเคราะห์หลักสูตร ตัวชี้วัด และสมรรถนะที่สอดคล้องกันเพ่ือออกแบบ กิจกรรมการเรยี นการสอน ซ่งึ เป็นแนวโน้มท่ีดใี นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะท่คี รเู ห็น ความส�ำ คญั ของการใหน้ ักเรียนได้ลงมอื ท�ำ และเรยี นรู้ด้วยตนเองมากกว่าจากการบรรยายของคร”ู “ครมู ีการปรบั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ซึง่ เปน็ แนวโน้มทดี่ ใี นการจัดการเรียนการสอนที่ เนน้ สมรรถนะ ครูมคี วามพยายามในการท�ำ งานและเห็นความส�ำ คญั ของการใหน้ กั เรยี นไดล้ งมือท�ำ และเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองมากกว่าจากการบรรยายของคร”ู “ครมู กี ารออกแบบใบงานทีด่ ึงดดู ความสนใจของเด็กมากขึ้น” “ออกแบบฝกึ ใหเ้ ดก็ ไดฝ้ ึกคดิ มากขึ้น” “เดมิ ครเู นน้ ใหค้ วามรู้ (K) เยอะ แตต่ อนนป้ี รบั กระบวนการสอนเปน็ เนน้ ปฏบิ ตั มิ ากขน้ึ ” “เดิม ไม่ลงสมรรถนะในแผน แต่ตอนน้ีเอาสมรรถนะมาลงในแผน และเชื่อมโยงสู่ การประเมนิ และครพู บว่า การสง่ เสรมิ สมรรถนะเกดิ ขณะจดั กจิ กรรมซ่งึ ที่ผา่ นมาครูมองข้ามและ มงุ่ ไปเนน้ ตัวช้ีวดั ตามหลักสูตรมากกวา่ ” “เวลาเขยี นแผนจะตรวจเชค็ กจิ กรรมมากขนึ้ วา่ ท�ำ แล้วเด็กเกิดสมรรถนะหรอื ไม”่ “การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ต้องคำ�นึงถึงการเชื่อมโยงสมรรถนะและกิจกรรม การเรยี นการสอนเพื่อให้เกิดประสทิ ธิภาพตามสมรรถนะทตี่ ้องการ” “ครูปรับวธิ ีการสอน / กจิ กรรม / บทบาทครใู นการเป็นผูอ้ ำ�นวยความสะดวก ใช้ผังความคิด (การคิดชั้นสงู )” “เวลาสอนจะนกึ ถงึ สมรรถนะวา่ เดก็ จะเกิดหรือไม่ สะทอ้ นถึงตัวเดก็ ว่าเกดิ ผลจรงิ หรอื ไม่” “สอนแล้วมีการเช่ือมโยงสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน เช่น อ่านเร่ือง ใบโบกใบบัว ตอนทภี่ ผู าตามหา และไปเจอทแ่ี หลง่ นาํ้ ถามเดก็ วา่ ท�ำ ไมภผู าจงึ หาใบโบกใบบวั เจอ (ไดย้ นิ เสยี งกระดงิ่ ท่ีผูกคอใบโบกใบบวั ) และเชอื่ มโยงกบั ชวี ิตเดก็ วา่ หากวัวทีบ่ า้ นหายจะท�ำ อยา่ งไร” “มีการใช้คำ�ถามเพ่ือให้เด็กย้อนกลับ เพื่อให้เด็กได้มีสมรรถนะที่ต้องการ เช่น การสื่อสาร แสดงความคดิ เหน็ ขอ้ คดิ ท่ีได้ การแกป้ ญั หา” “กระตนุ้ ให้เดก็ ได้ใชส้ มรรถนะอืน่ ในวิชาตนเองมากขึ้น / พัฒนาสื่อมากขนึ้ ” “เวลาครูสอนไปจะเรม่ิ มองเหน็ วา่ มีสมรรถนะอนื่ ๆ ที่สามารถนำ�มาเชื่อมโยงไดอ้ ีก” “ประเมินผลจากผลงานนักเรยี นและการมีส่วนรว่ มของนักเรยี นมากข้นึ ” 156รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดา้ นลกั ษณะ/เทคนคิ การสอนทคี่ รนู �ำ มาใช้ จากการวเิ คราะหแ์ ผนการสอนและสงั เกต การสอน พบว่า ครมู กี ารปรบั กจิ กรรมเปน็ Active Learning ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยมีลกั ษณะกจิ กรรมและวิธ/ี เทคนิคการสอน เชน่ - ใชก้ ระบวนการกล่มุ - ลงมือปฏบิ ตั ิ ลองผดิ ลองถกู ทดลอง - ให้ฝึกเขยี น ฝึกปฏบิ ัตหิ นา้ ช้ันเรยี น - ใชก้ ิจกรรมการเล่นเกม ปริศนาคำ�ทาย ค�ำ คล้องจอง ร้องเพลง บทบาทสมมติ - ใชค้ �ำ ถามเพ่อื กระต้นุ นกั เรียน - น�ำ กระบวนการ STEM มาออกแบบบรู ณาการเพอ่ื น�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นการจดั การเรยี น การสอน - ใชส้ ่อื จากส่งิ แวดลอ้ มรอบตัวที่เน้นทักษะปฏบิ ัติและกระบวนการกลุ่ม - ใชส้ อื่ การสอนทหี่ ลากหลายเหมาะสมกบั วยั เชน่ ของจรงิ นทิ าน รปู ภาพ YouTube ชว่ ยในการเรยี นรขู้ องเด็ก - สอนโดยเน้นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรอบตัว ที่เน้นทักษะปฏิบัติจริงและ กระบวนการกลมุ่ - ใหเ้ ด็กมสี ่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนของครู - จดั สภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ต่อการเรียนรู้ของนักเรยี น ดา้ นอืน่ ๆ ครมู กี ารปรบั เปล่ยี นวธิ ีการท�ำ งาน โดยมกี ารทำ�งานร่วมกบั เพื่อนครมู ากขน้ึ มีการพัฒนาตนเองในด้านการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือการเรียนรู้ และมีการนำ� PLC มาใช้เป็นกระบวนการในทำ�งานและเรียนรู้ร่วมกัน ปรับเปลี่ยนบทบาทของ ครูจากครเู ป็นศูนยก์ ลางเปล่ียนเปน็ ผู้แนะน�ำ และอำ�นวยความสะดวก เกิดความสัมพันธ์ทีด่ ีระหวา่ ง ครแู ละนักเรยี นมากขน้ึ ดงั รายละเอียด “ครูมีการทำ�งานเป็นทมี ในการวางแผน ปรึกษาหารือร่วมกนั ในการท�ำ งาน” “ครมู กี ารรวมกล่มุ PLC ชว่ ยกันคดิ กับครคู นอื่น” “ครูสามารถออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการและสอนแบบเป็นทีม” “ครตู อ้ งหมนั่ กลบั มาศกึ ษาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะยอ่ ย มคี วามตน่ื ตวั พยายามเชอ่ื มโยง การเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ งกับสมรรถนะ” “ครกู ระตือรอื รน้ ไดค้ วามรู้เพิม่ ประดษิ ฐ์สอื่ เพิ่มขน้ึ ” “ครแู ละเด็กได้ทำ�งานรว่ มกันมากข้ึน ไม่เน้นครเู ป็นศูนยก์ ลาง” “ครูเป็นผแู้ นะนำ�เด็ก ใช้คำ�ถามให้เดก็ แสดงศกั ยภาพ คดิ ตอบมากขึ้น” “ครูลดความดุลง ใชก้ ิจกรรมมากขนึ้ เห็นผลท่เี กิดกบั เด็กแล้วช่ืนใจ” 157รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 2.4.2 การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั นกั เรยี น ในดา้ นผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั นกั เรยี นตามสมรรถนะ หลักนั้นยังไม่ปรากฏชัดเจน เนื่องด้วยระยะเวลาอันสั้น แต่จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ใน การพัฒนาผ้เู รยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา ผ้บู รหิ ารและครผู ู้สอนมีความคิดเหน็ ว่านักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน ตั้งใจเรียน เข้าใจบทเรียนมากข้ึน นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้มากขึ้น นักเรียนแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงได้จากการเช่ือมโยง กิจกรรมในหอ้ งมาใช้ปฏบิ ตั ินอกห้องเรียน นกั เรยี นสนกุ สนานในกจิ กรรมการเรียนรู้ กลา้ แสดงออก กล้าคิดมากข้ึน นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มทำ�ให้เกิดการท�ำ งานร่วมกัน มีการปรึกษากัน ช่วย เหลือกัน รู้จักบทบาทตนเอง เห็นศักยภาพของตนเอง รู้จักคุณค่าในตนเองมากข้ึน นักเรียนได้ ออกไปน�ำ เสนอหนา้ ชั้นเรยี น เกดิ ทักษะการส่ือสาร การแก้ไขปัญหา ซ่ึงสามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใชใ้ น ชีวิตประจำ�วันได้ นอกจากนี้นักเรียนเกิดความผูกพันกับครูมากขึ้น มีความสุขในการเรียนรู้มากขึ้น ดังรายละเอยี ด “นักเรียนชอบทีไ่ ด้ท�ำ กิจกรรมมากขึน้ วชิ าภาษาไทยส่งผลตอ่ การอา่ นของนกั เรยี น นักเรยี น อา่ นไดม้ ากข้นึ แม้จะยงั เขียนไม่คอ่ ยได้ วชิ าภาษาอังกฤษนักเรยี นจ�ำ ค�ำ ศัพท์ไดม้ ากขนึ้ ” “นักเรยี นเข้าใจในเนื้อหางา่ ยขนึ้ จากกจิ กรรมท่นี กั เรียนลงมอื ทำ�” “นกั เรยี นเขา้ ใจในเร่อื งท่ีสอน และสามารถนำ�ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ได้ ได้ฝึกปฏิบัต”ิ “นกั เรยี นไดฝ้ ึกปฏิบตั ิมากขึ้น เป็นศูนย์กลางในการเรยี นรู”้ “นกั เรยี นชอบกิจกรรมมากขึน้ กระตือรือร้น ต้งั ใจเรียนมากขนึ้ ” “นักเรยี นสนกุ ในกจิ กรรม กระตือรอื รน้ สนใจในการเรยี น” “นักเรียนแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงได้จากการเช่ือมโยงกิจกรรมในห้องมาใช้ปฏิบัตินอก หอ้ งเรียน” “นักเรียนกล้าแสดงออก กลา้ คดิ ปรึกษากนั ” “นักเรยี นมีสมาธิมากขึน้ รบู้ ทบาทตนเองมากขึน้ ” “นกั เรียนไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่ ทำ�ใหเ้ กิดการทำ�งานรว่ มกัน” “นกั เรียนไดฝ้ ึกปฏิบตั จิ รงิ ท�ำ ให้มคี วามเขา้ ใจในส่งิ ท่ีเรียนมากข้นึ ” “นกั เรยี นไดอ้ อกไปน�ำ เสนอหนา้ ช้นั เรียน เกดิ ทักษะการสือ่ สาร การแกไ้ ขปญั หา ซ่งึ สามารถ น�ำ ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจ�ำ วันได้” “นกั เรียนไดป้ ฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่มท�ำ ให้เกิดการท�ำ งานรว่ มกนั ” “นักเรยี นมีความกลา้ แสดงออกในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในห้องเรยี น และสนุกกับการเรียน” “นกั เรียนได้ฝึกปฏิบัติจรงิ ท�ำ ใหม้ ีความเขา้ ใจในสิ่งท่ีเรียนมากขึ้น” “นกั เรยี นเกดิ ทักษะการสอ่ื สาร การแก้ไขปญั หา ซ่งึ สามารถน�ำ ไปประยุกตใ์ ช้ในสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ได้จริง” 158รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล “นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข กล้าแสดงออก รา่ เรงิ แจม่ ใส และมที กั ษะในการท�ำ งานเปน็ ทีมมากขน้ึ ” “มสี ่วนร่วมมากขน้ึ ไดป้ ฏิบัติ พูด แสดงความคิดเหน็ มากข้นึ ” “ได้ทำ�กิจกรรมร่วมกัน ทำ�ให้ได้ช่วยเหลือกัน นักเรียนเก่งช่วยนักเรียนอ่อน ทำ�ให้นักเรียน อ่อนมกี �ำ ลงั ใจมากขนึ้ ไม่คอ่ ยกงั วล มคี วามสุขมากขน้ึ ” “นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หาในการเรยี นรบู้ างคนสามารถแสดงสมรรถนะทมี่ อี ยมู่ ากขน้ึ กลา้ แสดงออก และมคี วามกระตือรอื ร้นในการร่วมกิจกรรม” “นกั เรยี นสนกุ สนาน อยากเรยี นรู้ กลา้ พดู กลา้ แสดงออก รว่ มกจิ กรรม นกั เรยี นมบี ทบาทมากขน้ึ ” “นักเรียนได้รบั ความรู้เพ่มิ ข้ึน ร้จู ักคณุ ค่าในตนเองมากขน้ึ เห็นศกั ยภาพของตนเอง” “นักเรียนเกิดทกั ษะ และน�ำ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำ�วัน เช่น กระบวนการกลมุ่ ” “นกั เรยี นเกดิ ความผกู พนั กบั ครมู ากขน้ึ มคี วามสขุ ในการเรยี นรู้ และท�ำ กจิ กรรม เวลามปี ญั หา กลา้ เข้ามาหาและถามครูมากขึ้น” 2.5 บทบาทของผ้บู รหิ าร จากการสังเกตของคณะผวู้ ิจยั ในการเข้าเยย่ี มโรงเรียน รวมท้ังสัมภาษณผ์ ู้บรหิ ารและ ครูเก่ียวกับบทบาทของผู้บริหารในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับช้ัน ประถมศึกษาตอนตน้ ในสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารมบี ทบาทหลัก ดังน้ี 1. ผบู้ รหิ ารเปน็ ผนู้ �ำ ในการวางแผนด�ำ เนนิ งาน ผบู้ รหิ ารมบี ทบาทในการเปน็ ผนู้ �ำ ใหแ้ ก่ ครใู นการเรมิ่ ตน้ ขบั เคลอื่ นการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น เรม่ิ ตง้ั แตก่ ารจดั ประชมุ ชแ้ี จง สร้างความเข้าใจให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมวิเคราะห์สมรรถนะหลักและสมรรถนะย่อยเพื่อเพ่ิม ความเขา้ ใจและครูสามารถนำ�สมรรถนะไปใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอนไดส้ ะดวกขนึ้ รว่ มวางแผน กับครูในการดำ�เนินงาน กำ�หนดแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในแต่ละระดับช้ัน การออกแบบการเรยี นการสอนและจดั ทำ�แผนการจดั การเรยี นรู้ ดงั รายละเอียด “ผอู้ �ำ นวยการประชมุ คร ู เพอื่ ทบทวนความเขา้ ใจและตรวจสอบความเขา้ ใจเกย่ี วกบั สมรรถนะ และแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะหลกั มาใชอ้ อกแบบการเรียนการสอน” “ผู้อำ�นวยการและรองผู้อำ�นวยการ ประชุมคณะครู ป.1-3 ทุกคน เพื่อช้ีแจงและทำ� ความเขา้ ใจในการน�ำ สมรรถนะมาทดลองใช ้ ส�ำ เนาคมู่ อื แจกใหค้ ณะครเู พม่ิ เตมิ เพราะน�ำ เรอื่ งสมรรถนะ มาขยายผลกบั ครูทไ่ี มไ่ ดเ้ ข้าอบรมด้วย” “ผู้อำ�นวยการและรองผู้อำ�นวยการจัดประชุมครู เพื่อให้คณะครูทำ�ความเข้าใจในการนำ� สมรรถนะมาทดลองใช”้ 159รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล “ผู้บริหารประชุมวางแผนการกำ�หนดครูและห้องเรียนทดลอง ร่วมประชุมทำ�ความเข้าใจ เกยี่ วกับสมรรถนะและแนวทางการนำ�สมรรถนะไปจัดการเรียนการสอน” “ผู้บริหารร่วมวางแผนกับครูในการปรับปรุงแผนการสอนและการนำ�สมรรถนะไปใช้ ในการทดลองจดั การเรียนการสอน” 2. ผบู้ รหิ ารเปน็ ทปี่ รกึ ษา ใหค้ วามรู้ ค�ำ แนะน�ำ ใหก้ ำ�ลงั ใจ และอ�ำ นวยความสะดวก ผู้บริหารมีบทบาทในการเป็นที่ปรึกษาการดำ�เนินงานให้แก่ครูด้านการวางแผนนำ�สมรรถนะ ไปใช้ในแต่ละวิชาให้เหมาะสมกับหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละระดับช้ัน และการจัดทำ�แผนการจัด การเรยี นรู้ การสนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งาน สนบั สนนุ สอ่ื และทรพั ยากรทจี่ �ำ เปน็ ใหก้ �ำ ลงั ใจ และคอยอ�ำ นวย ความสะดวกในด้านตา่ ง ๆ ใหแ้ กค่ รู ดังรายละเอียด “ผู้บริหารใหค้ �ำ แนะนำ�และเป็นท่ีปรกึ ษา ดา้ นการวางแผนนำ�สมรรถนะไปใช้ในแต่ละวชิ า ใหเ้ หมาะสมกับหน่วยการเรยี นรู้และระดับช้ัน “ผบู้ รหิ ารใหค้ ำ�แนะน�ำ และหนนุ เสรมิ ในทกุ ๆ เร่อื ง ตง้ั แตส่ รา้ งความเขา้ ใจ ทบทวนหลักการ การน�ำ สมรรถนะสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การติดตามผล” “ผูบ้ รหิ ารให้การสนับสนนุ เป็นที่ปรึกษา ใหค้ วามรู้ ใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการเริม่ ทำ� และช่วยเหลือ เวลามปี ัญหา” “ผบู้ ริหารให้กำ�ลังใจและสนบั สนุนด้านต่าง ๆ” “ผบู้ รหิ ารจดั หาสื่อและทรพั ยากรที่ครูต้องการ” “ผบู้ ริหารอำ�นวยความสะดวกด้านการท�ำ แผน ทำ�ส่อื วัสดอุ ุปกรณ”์ 3. ผบู้ รหิ ารเปน็ ผนู้ เิ ทศก์ ก�ำ กบั ตดิ ตามผลการด�ำ เนนิ งาน ผบู้ รหิ ารมบี ทบาทในการ นเิ ทศดแู ลการด�ำ เนนิ งานของครู ตดิ ตามตรวจแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ นเิ ทศ ดแู ลชว่ ยเหลอื เมอื่ พบปญั หา รวมทัง้ ตดิ ตามผลการดำ�เนินงานของครู ดงั รายละเอยี ด “มกี ารนิเทศ ตดิ ตามครอู ยา่ งใกล้ชิด ตรวจแผนการสอน มกี ารประชุมโดยใชก้ ิจกรรม PLC เพอื่ ให้คณะครรู ว่ มแลกเปลยี่ นเรียนร”ู้ “ติดตามดแู ลการดำ�เนินงานของคร”ู “นเิ ทศ ก�ำ กบั ดูแลช่วยเหลือกรณคี รพู บปญั หาขณะทดลอง” “ตรวจแผนการสอน นเิ ทศ กำ�กบั ดแู ลชว่ ยเหลอื ขณะครูทดลองทำ�การสอน” 160รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2.6 ปญั หาท่พี บและวธิ ีแก้ไข จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูเกี่ยวกับปัญหาท่ีพบและวิธีแก้ไขหลังจากนำ�กรอบ สมรรถนะหลกั ไปทดลองใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา สามารถ สรปุ ขอ้ มลู ได้ ดังน ้ี ด้านการออกแบบการเรียนการสอน ครูยังขาดความชำ�นาญและขาดความม่ันใจ ในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอน ยงั ไมเ่ ขา้ ใจค�ำ อธบิ ายสมรรถนะยอ่ ย บางตัวท่ีคล้ายกัน เช่น สมรรถนะหลักภาษาไทยมีสมรรถนะย่อยท่ีคล้ายกัน สมรรถนะทักษะชีวิต และความเจริญแห่งตนกับสมรรถนะพลเมืองที่เข้มแข็ง/ตื่นรู้ที่มีสำ�นึกสากลมีสมรรถนะย่อย ที่คล้ายกันมากหลายข้อ ทำ�ให้ครูไม่ม่ันใจว่าจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ถูกหรือไม่ ขณะที่ตัวบ่งช้ี บางตัวยังคลุมเครืออธิบายไม่ครอบคลุม ครูอ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ ทำ�ให้นำ�มาใช้ไม่ถูก ครูพยายาม ต่อยอดโดยออกแบบการเรียนการสอนให้ครอบคลุมหลายสมรรถนะแต่ยังทำ�ได้ไม่ครบ ไม่ทราบว่า จะแทรกสมรรถนะในกจิ กรรมอยา่ งไร บางครงั้ ใสส่ มรรถนะดา้ นหนงึ่ ไปแตไ่ มเ่ กดิ กลบั ไปเกดิ สมรรถนะ ตวั อนื่ ทไ่ี มไ่ ดใ้ สล่ งไป เพราะยงั ไมเ่ ขา้ ใจกรอบสมรรถนะอยา่ งแทจ้ รงิ และยงั หว่ งเนอ้ื หาและการวดั ผล ทต่ี อ้ งเก็บคะแนนตามตัวช้ีวัด วิธีการแก้ปัญหาด้านการออกแบบการเรียนการสอน ด�ำ เนนิ การดังนี้ 1. โรงเรยี นจัดประชุมเพอ่ื ท�ำ ความเขา้ ใจร่วมกนั 2. ครูรว่ มกนั ศกึ ษาคมู่ อื และศึกษากรอบสมรรถนะ 3. ครวู ิเคราะหว์ ่าในแต่ละระดบั ชนั้ ควรเกดิ สมรรถนะระดับใดอยา่ งไร 4. ใช้กระบวนการ PLC ในการเรยี นรู้รว่ มกัน 5. ปรึกษาเพ่อื นครู / ปรกึ ษาผบู้ ริหาร 6. ปรึกษาศกึ ษานิเทศกเ์ พอ่ื ขอค�ำ แนะน�ำ ด้านเวลา เวลาในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพื่อพฒั นาสมรรถนะมไี มเ่ พยี งพอ เนอื่ งจากโรงเรยี นตอ้ งจดั กจิ กรรมเรอื่ งอนื่ อกี มาก ขณะทก่ี ารจดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาสมรรถนะจะตอ้ ง ใช้กจิ กรรมทีห่ ลากหลาย จึงต้องใช้เวลามากข้ึน วิธกี ารแกป้ ญั หาดา้ นเวลา ดำ�เนนิ การดงั น้ี 1. ปรับเพ่มิ เวลา โดยใช้เวลาในคาบกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน / แนะแนว 2. ครบู รู ณาการบทเรยี นโดยใชส้ มรรถนะและตัวชี้วัดเป็นหลัก ยึดเน้อื หานอ้ ยลง 3. ครใู ชก้ ารยดื หยุ่นเวลาในการสอน ซ่ึงบางครง้ั ต้องใชเ้ วลาของวชิ าอ่ืนท่ตี นสอนหรอื ใชเ้ วลาสอนของเพอื่ นครู บางครง้ั กจิ กรรมอาจไมต่ อ่ เนอื่ งกนั และบางครง้ั มกี ารปรบั กจิ กรรมใหมเ่ พอื่ ให้ อยใู่ นเวลา 161รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ด้านการบริหารจดั การชั้นเรยี น การจัดกจิ กรรมในชนั้ เด็กเล็ก ป.1-3 ครูตอ้ งใช้เวลา มากกว่าช้ันเด็กโต เพราะต้องอธิบายให้เด็กเข้าใจ เด็กยังไม่คุ้นเคยกับการฟังคำ�ส่ังและทำ�กิจกรรม ตา่ ง ๆ จงึ ท�ำ ให้มีปญั หาในการจัดงานให้เด็กท�ำ การเลอื กจัดกลุ่มเดก็ การคิดกิจกรรมให้เหมาะสม กับความสามารถเด็กท่ีต่างกัน อีกทั้งในบางโรงเรียนมีจำ�นวนเด็กมาก มีข้อจำ�กัดในการใช้พ้ืนท่ี และการใหเ้ ด็กทำ�งานกลุ่ม วธิ กี ารแก้ปญั หาดา้ นการบรหิ ารจัดการชน้ั เรียน ดำ�เนินการดังนี้ 1. ฝกึ ใหเ้ ดก็ คนุ้ เคยกบั การฟังค�ำ สัง่ และการทำ�กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง 2. ครูต้องวิเคราะห์เดก็ และเตรยี มงานทเ่ี หมาะกบั เด็กเพ่มิ เติม 3. ใช้พ้ืนทใ่ี นการเรียนรทู้ ้งั ในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรียนเพอ่ื ใหเ้ ดก็ ท�ำ กิจกรรม ด้านการบริหารจัดการเวลาในการทำ�งานของครู ครูสะท้อนว่า มีภาระงานมาก ไม่มีเวลาในการเตรียมแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะ ครู 1 คน สอนทุกวิชาใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้องเตรียมนักเรียนเพื่อทดสอบ NT. ในชั้น ป.3 ต้องพัฒนานักเรียน ใหอ้ า่ นออก เขียนได้ คิดเลขเป็น โรงเรียนแกป้ ญั หาโดยการจดั ประชมุ ร่วมกันทำ�ความเข้าใจหลักการและรายละเอยี ด ของสมรรถนะ และแนวทางการจดั การเรยี นการสอน แลว้ รว่ มกนั วางแผนเลอื กแนวทางในการน�ำ มาใช้ จดั การเรยี นการสอนตามทีโ่ รงเรียนมคี วามพรอ้ มและบรบิ ทเออื้ ต่อการท�ำ งาน 2.7 สง่ิ ทคี่ รูและโรงเรยี นตอ้ งการความช่วยเหลอื ผบู้ รหิ ารและครใู หข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั สง่ิ ทค่ี รแู ละโรงเรยี นตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนต้นในสถานศกึ ษา สามารถสรุปข้อมูลได้ ดังนี้ ดา้ นการใหค้ วามรแู้ ละพฒั นาความสามารถของครใู นการออกแบบการเรยี นการสอน มีการให้ความรู้และใช้เวลาในการให้ครูฝึกออกแบบการเรียนการสอนมากขึ้น เพื่อให้เข้าใจ concept และแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนอย่างชัดเจนในทุกแนวทาง รวมท้ังมี การพัฒนาครูในเรื่องการจัดกิจกรรมที่แทรกสมรรถนะได้อย่างหลากหลาย เทคนิคการจัดการ ชนั้ เรียน และเนน้ รปู แบบการสอนในแตล่ ะแนวทางใหม้ ากข้ึน ด้านตัวช้ีวัด มีการกำ�หนดรายละเอียดของสมรรถนะย่อยแต่ละด้านแยกตามระดับ ชัน้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ตวั ชีว้ ดั ในหลักสูตรแกนกลาง ด้านคู่มือและตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ มีคำ�แนะนำ�ด้านการเขียนแผนการจัด การเรียนรู้ในแนวทางต่าง ๆ ท่ีชัดเจนและมีรูปแบบไปในแนวเดียวกัน มีตัวอย่างกิจกรรมการเรียน การสอนท่ีเป็นรูปธรรม รวมทั้งตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เพ่ือให้ครูมีแนวทาง ในการทำ�งานเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะแนวทางที่ 4 อาจกำ�หนดตัวอย่างท่ีรวมการนำ�กิจวัตรประจำ�วัน มาออกแบบในลักษณะการบูรณาการภาพรวมโดยไม่แยกเป็นกิจกรรมย่อย ๆ ขณะที่ครูบางส่วน ต้องการแผนการจัดการเรียนรู้ส�ำ เร็จรปู ให้ครบทกุ วชิ า 162รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล ครูตอ้ งการแนวทางการวัดและประเมนิ ผล สมรรถนะ ทีช่ ัดเจน เห็นภาพต่อเนื่อง และสอดคล้องกบั การวัดผลระดบั ชาติ ด้านการใหค้ �ำ แนะนำ�และช่วยเหลอื มีการนิเทศตดิ ตาม ใหข้ ้อแนะนำ� ใหค้ ำ�ปรึกษา บ่อย ๆ ทงั้ จากบคุ ลากรภายในโรงเรยี นและบุคคลภายนอก 2.8 ส่ิงที่ครูคดิ ว่าเป็นปจั จยั ท่ที �ำ ให้เกดิ ความส�ำ เร็จ จากการสมั ภาษณผ์ ้บู ริหารและครูเก่ยี วกบั สิง่ ทีค่ รูคดิ ว่าเปน็ ปัจจยั ท่ีทำ�ให้เกิดความ ส�ำ เรจ็ หลงั จากน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปทดลองใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศึกษา และวิธแี ก้ไข สามารถสรปุ ข้อมลู ได้ ดังนี้ 1. กรอบสมรรถนะและรายละเอยี ดกรอบสมรรถนะทงั้ 10 สมรรถนะ มคี วามส�ำ คญั ใน การส่งเสริมนกั เรียน หากมีรายละเอยี ดและแนวทางในการนำ�ไปใชท้ ช่ี ัดเจน จะชว่ ยให้ครเู ขา้ ใจและ นำ�ไปพฒั นานักเรียนได้ตรงเป้าหมายมากข้ึน 2. ผู้บริหารสถานศกึ ษาควรให้ความสำ�คัญ ส่งเสรมิ สนบั สนุน จะชว่ ยให้การท�ำ งาน คลอ่ งตัวขึ้น เวลาจัดอบรม/รบั รู้ขอ้ มูล ผ้บู ริหารควรเข้ารว่ มด้วยเพอื่ สนับสนุนการดำ�เนินงาน 3. ครูผู้สอน ต้องเข้าใจชัดเจนและออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสมรรถนะ ความเข้าใจของครูในการนำ�สมรรถนะไปจัดการเรียนการสอนแต่ละแนวทางจะช่วยให้ครูวางแผน และเตรียมความพร้อมในการสอนได้ดีขึ้น โดยครูต้องมีความมุ่งมั่นพยายาม หาความรู้เพ่ิมเติม เพอื่ ใหส้ ามารถออกแบบกจิ กรรมทห่ี ลากหลายเปลย่ี นจาก teacher-centered เปน็ child-centered มกี ารฝกึ ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั สมรรถนะและน�ำ สมรรถนะมาออกแบบการจดั การเรยี นการสอนแตล่ ะแนวทาง มีการวัดผลประเมินผลตามสมรรถนะและตัวชี้วัดที่มีในหน่วยการเรียนรู้เดิม ครูต้องใส่ใจนักเรียน มากข้ึน พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ ทำ�ส่อื ใกลช้ ดิ เดก็ มากขนึ้ เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายที่ต้องการ 4. โรงเรียนต้องทำ�งานเป็นทีม มีการวิเคราะห์สมรรถนะและนำ�มาบูรณาการ ในการออกแบบการเรยี นการสอนรว่ มกนั ท�ำ ใหช้ ว่ ยลดเวลา และนกั เรยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ สมรรถนะ มากข้นึ 5. ควรเพ่มิ ช่วงเวลาในการศกึ ษาหาความรู้ สรา้ งความเข้าใจและฝกึ ประสบการณ์ ในการน�ำ สมรรถนะไปใชจ้ ัดการเรยี นการสอนให้นานขนึ้ 6. การไดร้ บั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สภาพปญั หาของนกั เรยี นอยา่ งตรงจดุ / มขี อ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ จะช่วยใหพ้ ัฒนานักเรียนได้ตรงจุดมากข้ึน 7. ผปู้ กครอง รบั รกู้ ารเปลย่ี นแปลงของการเรยี นการสอน และเขา้ ใจวา่ การสอนนกั เรยี น ให้เกดิ สมรรถนะตอ้ งใชเ้ วลา และผู้ปกครองมเี วลาใกล้ชดิ กับเดก็ 8. การนเิ ทศติดตาม คณะผวู้ ิจัยควรมกี ารนิเทศติดตามใหม้ ากขน้ึ 9. ควรมแี ผนการจัดการเรียนรสู้ �ำ เร็จรปู ใหค้ รู 163รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 2.9 ข้อเสนอแนะ จากการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปทดลองใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ตอนตน้ ในสถานศกึ ษา ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครมู ขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้ ดา้ นการใหค้ วามรแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจ ควรสรา้ งความเขา้ ใจกบั คณะครใู นการน�ำ สมรรถนะไปจดั การเรียนการสอน โดย 1. ใหค้ วามร้เู กีย่ วกับสมรรถนะและมตี ัวอยา่ งการนำ�ไปใช้ท่ีหลากหลาย 2. เพม่ิ เวลาอบรมเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจมากขน้ึ และมกี ารทดลองปฏบิ ตั ิ แลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั กอ่ นนำ�ไปใชจ้ ริง 3. มีการพัฒนาครูในการน�ำ สมรรถนะไปใชพ้ ฒั นาผู้เรยี น โดยเนน้ เรอ่ื งการออกแบบ กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นพัฒนาหลายสมรรถนะและเกิดผลกบั นักเรยี นมากทส่ี ดุ ด้านหลักสูตรและโครงสร้างหลกั สตู ร ในดา้ นหลักสตู รและโครงสรา้ งหลกั สตู ร มีขอ้ เสนอแนะดงั นี้ 1. มตี วั ช้ีวัดเปน็ ตวั ต้งั ต้น เพราะสมรรถนะประกอบดว้ ยทักษะหลายทกั ษะ หากไมม่ ี ตวั ชีว้ ัดเหมือนไมม่ ีจดุ เริม่ 2. ตวั ชว้ี ดั มคี วามชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย เชอ่ื มโยงกบั การทดสอบระดบั ชาติ เชน่ NT / O-NET 3. ควรปรบั ลดรายวชิ าทซี่ ้ําซอ้ น หลอมรวมสง่ิ ท่ซี า้ํ กนั เช่น วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ใชส้ มรรถนะเป็นฐานโดยบรู ณาการ 4. ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ควรปรบั โครงสรา้ งเวลาเรยี นใหม้ ชี วั่ โมงภาษาไทยเพม่ิ มากขน้ึ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 ชวั่ โมง เนอื่ งจากเวลาทมี่ ไี มส่ มั พนั ธก์ บั การปลกู ฝงั ใหเ้ กดิ สมรรถนะการอา่ น - เขยี น โดยในโรงเรยี นทม่ี ผี ลการอา่ นดเี ยยี่ มมกี ารจดั ตารางในภาคเชา้ สอนภาษาไทย-คณติ ศาสตร์ สว่ นวชิ าอนื่ ใช้การบูรณาการ ด้านการบริหารจัดการ ครูประจำ�ช้ันควรสอนทุกวิชา จะช่วยให้ยืดหยุ่น การจัดกจิ กรรมไดง้ า่ ย แตถ่ า้ สอนเปน็ วิชาท�ำ ให้ยืดหยุ่นไดย้ าก ด้านการวัดและประเมินผล อาจกำ�หนดตัวอย่างหรือแนวทางในการวัด และประเมินผลเน่ืองจากครูยังมีความกังวลเรื่องผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนเวลาทดสอบระดับชาติ ยังไม่เห็นหลักสตู รตลอดแนว ไมร่ ูว้ า่ จะวดั และประเมนิ ผลอย่างไร ด้านระยะเวลาในการทดลอง ควรเพิ่มระยะเวลาในการดำ�เนินการทดลอง เนอื่ งจากระยะเวลาคอ่ นขา้ งนอ้ ย ทดลองใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ จ�ำ นวน 1-2 แผน ยงั ไมค่ อ่ ยเหน็ ผล ครจู ึงเช่อื มโยงไม่คอ่ ยถกู ดา้ นคมู่ อื สอ่ื และแหลง่ ทรพั ยากรการเรยี นรู้ มขี อ้ เสนอแนะ ดังน้ี 1. จัดท�ำ เอกสารเกีย่ วกับสมรรถนะเพิ่มเติม และมีตวั อยา่ งแผนการจัดการเรยี นรู้ ในแต่ละแนวทางใหม้ ากข้นึ เพอื่ ใหค้ รใู ชใ้ นการศึกษาและเปน็ แนวทางในการทำ�งาน 2. หากมีแผนการจดั การเรยี นรสู้ ำ�เร็จรปู ให้ศึกษาเปน็ แนวทาง จะชว่ ยให้ครสู ามารถ น�ำ มาปรับได้งา่ ย เปน็ การชว่ ยลดภาระใหค้ รู 164รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 2.10 ความคิดเหน็ ของผบู้ ริหารและครหู ลงั ส้นิ สุดการทดลอง ความคดิ เห็นของผ้บู ริหารและครูเก่ียวกบั หลักสตู รฐานสมรรถนะ คณะวิจัยได้สำ�รวจความคิดเห็นของผู้บริหารและครู เก่ียวกับหลักสูตรและการเรียน การสอนฐานสมรรถนะ สรุปข้อมูลได้ ดงั ตารางที่ 27 และตารางที่ 28 ตารางท่ี 27 จำ�นวนและรอ้ ยละ ของผู้ให้ข้อมูล (N = 54) รอ้ ยละ 20.4 รายการ จ�ำ นวน 79.6 3 ตำ�แหน่ง 51 40.7 ผบู้ รหิ าร 22 27.8 ครู 15 11.1 6 20.4 สังกัด 11 0 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (สพฐ.) 0 สำ�นกั การศึกษากรงุ เทพมหานคร (กทม.) องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ (อปท.) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช.) สำ�นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) จากตารางท่ี 27 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามเปน็ ครู จ�ำ นวน 51 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 79.6 และส่วนใหญ่ปฏบิ ัตงิ านอยใู่ นสังกดั สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) จำ�นวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 40.7 165รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตารางท่ี 28 จำ�นวนและร้อยละของผู้ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน ฐานสมรรถนะ (N = 54) ระดบั ความคิดเห็น (รอ้ ยละ) ข้อท่ี ความคิดเห็น มากท่ีสุด มาก คอ่ นข้าง นอ้ ย น้อย 1 ก่อนที่ท่านได้เรียนรู้เร่ืองหลักสูตรและการเรียน - 7.4 38.9 53.7 การสอนฐานสรรถนะท่านมีความรู้ความเข้าใจ ในเรอ่ื งนอี้ ย่ใู นระดับใด 2 ขณะน้ีท่านคิดว่า ท่านมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง 7.4 66.7 24.1 1.9 หลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอนอยใู่ นระดบั ใด 3 สมรรถนะท้ัง 10 ประการ มีความเหมาะสมกับ 20.4 66.7 11.1 1.9 นักเรียนในระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ในระดบั ใด 4 การกำ�หนดจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงสมรรถนะ 20.4 70.4 7.4 1.9 สามารถช่วยให้การจัดการเรียนการสอนของท่าน ดีขน้ึ ในระดบั ใด 5 การจัดการเรียนการสอนเน้นสมรรถนะสามารถ 27.8 63.0 9.3 - สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เชงิ รกุ ของผเู้ รยี นไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด 6 การจัดการเรียนการสอนเน้นสมรรถนะช่วยให้ 25.9 64.8 9.3 - ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่กำ�หนดได้ มากน้อยเพียงใด 7 ผู้เรียนมีความพึงพอใจ/ชอบการเรียนรู้แบบเน้น 31.5 53.7 13.0 1.9 สมรรถนะมากน้อยเพยี งใด 8 ท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการเรียนรู้ของผู้ 22.2 63.0 13.0 1.9 เรียน ทเ่ี รียนแบบเนน้ สมรรถนะมากน้อยเพียงใด 9 จากการสอนแบบเนน้ สมรรถนะนกั เรยี นเกดิ สมรรถนะ 14.8 61.1 24.1 ตามท่กี �ำ หนดมากน้อยเพียงใด 10 ทา่ นมคี วามพงึ พอใจในผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 24.1 55.6 20.4 ท่ีเรยี นแบบเนน้ สมรรถนะ มากน้อยเพยี งใด 166รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตารางท่ี 28 จำ�นวนและร้อยละของผู้ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน ฐานสมรรถนะ (ตอ่ ) (N = 54) ระดับความคิดเห็น (รอ้ ยละ) ขอ้ ท่ี ความคดิ เห็น มากท่ีสดุ มาก ค่อนข้าง น้อย นอ้ ย 11 ท่านคิดว่าการสอนแบบเน้นสมรรถนะช่วยให้ท่าน 14.8 68.5 16.7 สอนได้ดี มีประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ กวา่ เดิมเพียงใด 12 การนิเทศการสอนช่วยใหท้ า่ นเกดิ ความเข้าใจ 25.9 63.0 9.3 เพ่มิ ขนึ้ มากนอ้ ยเพียงใด 13 ทา่ นไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการนเิ ทศมากนอ้ ยเพยี งใด 27.8 61.1 9.3 14 ทา่ นเหน็ ดว้ ยกบั การปรบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา 22.2 61.1 13.0 ขน้ั พนื้ ฐานใหเ้ ปน็ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (ทมี่ งุ่ สรา้ ง 59.3 13.0 ความสามารถในการน�ำ ความรู้ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะ ตา่ ง ๆ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ) มากน้อยเพยี งใด 15 ท่านมีความต้องการที่จะเรียนรู้และพัฒนาการจัด 27.8 การเรยี นการสอนแบบเน้นสมรรถนะ ในระดับใด จากตารางที่ 28 พบวา่ ผบู้ รหิ ารและครทู เ่ี ขา้ รว่ มโครงการ มคี วามเหน็ วา่ การจดั การเรยี นรตู้ าม หลกั สตู รฐานสมรรถนะ จะสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนได้ โดยเหน็ วา่ การกำ�หนดจุดประสงค์ การเรยี นรู้เชิงสมรรถนะ สามารถชว่ ยใหก้ ารจัดการเรียนการสอนดขี ึ้น การจดั การเรียนการสอนเนน้ สมรรถนะสามารถสง่ เสรมิ การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ และการจดั การเรยี นการสอนเนน้ สมรรถนะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี น เกิดการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์ทกี่ ำ�หนดได้มาก ในระดับมากและมากทีส่ ดุ ถงึ ร้อยละ 90.74 ความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ ารและครหู ลงั สนิ้ สดุ การทดลองจากการสนทนากลมุ่ หลังจากส้ินสุดการทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนา ผู้เรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา คณะผวู้ ิจัยได้จดั สนทนากลุ่ม เพื่อสรปุ ประเด็น ตา่ ง ๆ จากผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครใู นโรงเรียนท่รี ่วมโครงการ พบข้อมูลต่าง ๆ ดงั น้ี 167รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตารางท่ี 29 ความคิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มครูเก่ียวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ผ้ใู ห้ขอ้ มูล ความคดิ เหน็ กล่มุ ผู้บรหิ าร จุดแข็ง - ทำ�ใหค้ รมู ีเปา้ หมายในการสอน - มีความชดั เจน และง่ายตอ่ ครเู มือ่ ตอ้ งน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติ - สถานศึกษาสามารถนำ�หลักสูตรไปใช้ได้ทันที - เน้นดา้ นความรู้ ถา้ ผ้เู รียนมคี วามพรอ้ มจะประสบความส�ำ เรจ็ ตามทีค่ าดหวัง จดุ อ่อน - ตวั ชว้ี ัดจ�ำ นวนมาก ครมู ีความกังวลว่าสอนไม่ครบตามตัวช้วี ัด ท�ำ ให้ไม่มี อสิ ระในการออกแบบการเรียนการสอน และมไิ ด้มีการคำ�นงึ ถึงสิ่งที่นกั เรยี น จะไดเ้ รยี นรู้ - ครูยดึ กับสาระและตวั ช้ีวัดท่ีตนสอนเปน็ หลกั ไม่สามารถบูรณาการระหวา่ ง สาระใหไ้ ปส่กู ารน�ำ ไปใช้จรงิ ในชวี ติ ประจ�ำ วันได้ - วชิ าเรยี นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามโครงสรา้ งหลกั สูตรแกนกลาง มีจ�ำ นวนมากเกินไป แนวคิดในการปรับเปล่ยี น - ควรลดมาตรฐานและตวั ชว้ี ัด หลักสตู รควรมคี วามยดื หยุ่นมากขึ้นในดา้ น เน้ือหาและเวลาเรียน ส่งเสริมความถนดั ของผูเ้ รยี น เน้นการปฏบิ ตั ิ การแก้ ปัญหา - ตอ้ งปรบั การน�ำ หลกั สตู รไปใชใ้ นโรงเรยี น ใหเ้ ดก็ ไดท้ �ำ ในสง่ิ ทเ่ี ปน็ แรงบนั ดาลใจ เด็กรูจ้ ักตนเอง ครรู ้จู กั เดก็ การเรยี นรู้ควรเปน็ เรอื่ งเก่ยี วกบั สงิ่ ทเี่ ดก็ ถนัด สามารถนำ�ไปใช้ในชวี ิตประจ�ำ วนั หรือประกอบอาชีพได้ - กรณหี ลักสูตรไม่เปล่ียนอย่าไปยดึ ติดกบั หลักสูตรจนเกนิ ไป จดั การเรียน การสอนที่เนน้ เดก็ เป็นสำ�คญั ใหม้ ากข้นึ - การนำ�หลักสตู รไปใช้ ควรมคี วามยืดหย่นุ และเปดิ กว้างใหแ้ ตล่ ะโรงเรียนได้มี โอกาสลงในรายละเอยี ด เรอ่ื งของจุดเนน้ ในแต่ละโรงเรยี น - ไม่ควรให้มีการปรับเปลย่ี นบอ่ ย ๆ เพราะจะยากสำ�หรับครูที่ตอ้ งมาเริ่ม ทำ�ความเขา้ ใจใหม่ - ควรหลอมรวมวชิ าเป็นแนวบรู ณาการ ไม่ระบเุ ปน็ วชิ า แต่ระบุเพยี งเนอ้ื หา สาระส�ำ คัญไวเ้ พียงคร่าว ๆ 168รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตารางท่ี 29 ความคิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มครูเก่ียวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ตอ่ ) ผใู้ ห้ข้อมูล ความคิดเห็น กล่มุ ครผู ู้สอน จุดแขง็ - ตัวช้ีวัดชดั เจนทำ�ใหม้ ีเป้าหมายในการสอนและการประเมนิ ผลได้ครอบคลุม - เน้ือหามีจ�ำ นวนมาก ซึ่งเป็นการดีสำ�หรบั เด็กท่ีมีความพรอ้ ม จุดอ่อน - ตวั ช้วี ัดมีมากและซ้ําซอ้ น - จ�ำ นวนชัว่ โมงตามโครงสร้างหลักสูตรมากเกนิ ไป - ขาดการเชอ่ื มโยงระหว่างหลักสูตรปฐมวัยและหลักสตู รประถมศกึ ษา ซึง่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ - เน้ือหาสาระมีมาก ไมส่ ัมพันธ์กบั ชีวติ จรงิ แนวคิดในการปรับเปลีย่ น - หลกั สตู รควรสอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียนในแต่ละพนื้ ที่ - ควรมกี ารใหค้ วามส�ำ คญั ด้านคุณภาพของผเู้ รียน เพราะในปัจจุบนั คณุ ภาพ ของผเู้ รียนวดั จากขอ้ สอบท่ีเน้นการจ�ำ ความรู้ - หลกั สตู รควรเออื้ ให้มกี ารจัดกจิ กรรมทมี่ กี ารลงมอื ทำ�มากขึ้น - ควรมีการลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลาเล่น - ปรบั หลกั สตู รใหส้ อดคล้องกบั พฒั นาการของเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ - ควรเพ่ิมด้านทกั ษะชีวิต จากขอ้ มลู ขน้ั ตน้ สรปุ ไดว้ า่ ผบู้ รหิ ารและครผู สู้ อนมคี วามเหน็ เกยี่ วกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ดังน้ี ด้านจุดแข็ง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้กำ�หนด รายละเอียดตัวชี้วัดไว้ชัดเจน ครูผู้สอนสามารถนำ�ไปเป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอนได้อย่าง ครอบคลมุ และมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นตามตวั ชวี้ ดั ทก่ี �ำ หนด ขณะทจี่ ดุ ออ่ น คือ ถึงแม้ตัวชี้วัดจะกำ�หนดไว้ชัดเจน แต่มีรายละเอียดและจำ�นวนของตัวช้ีวัดที่จะต้องดำ�เนินการ จำ�นวนมาก วิชาเรียนในแต่ล่ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางมีจำ�นวนมาก เกินไป ขาดอิสระในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน และไม่สามารถบูรณาการการนำ�สาระ การเรยี นรไู้ ปสชู่ วี ติ ประจ�ำ วนั ได้ ดง้ั นนั้ แนวคดิ ในการปรบั เปลยี่ นคอื หลกั สตู รแกนกลางฯ ควรลดมาตรฐาน และตัวช้ีวัดลง ให้มีความยืดหยุ่นมากข้ึนในด้านเนื้อหาและเวลาเรียน เพ่ิมทักษะชีวิตให้มากขึ้น ส่งเสรมิ ความถนดั ของผูเ้ รียน เน้นการปฏบิ ตั ิ การแก้ปัญหา ทัง้ นี้ อาจจะปรบั หลกั สตู รใหส้ อดคล้อง กบั พัฒนาการของผูเ้ รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ 169รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364