Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Published by E-book_nkpsci, 2021-09-13 03:17:29

Description: คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Search

Read the Text Version

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษานครพนม

คุณภาพนา้ เพอื่ การเพาะเลยี้ งสตั วน์ า้ แหล่งน้ำและคุณภำพน้ำเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่มีควำมส้ำคัญต่อกำรเจริญเติบโต สุขภำพ กำรดำ้ รงชีพ กำรสบื พันธุแ์ ละแพรพ่ นั ธ์ขุ องสตั ว์นำ้ เนื่องจำกสัตว์น้ำต้องอำศยั น้ำเป็น สื่อกลำงในกำรหำยใจ กำรหำอำหำร กำรรักษำสมดุลของร่ำงกำย กิจกรรม ทำงชีวเคมี กำรใช้อำหำร และกำรขบั ถำ่ ย ของเสยี ฉะนนั นำ้ จึงเปรียบเหมือนบ้ำนของสัตว์น้ำ หำกคณุ ภำพน้ำทเี่ หมำะสมและดีแล้ว กเ็ หมอื นกับสตั วน์ ้ำใหอ้ ยใู่ นบำ้ นท่ีดี เมื่อมีกำรเพำะเลียง สัตว์น้ำท่ีกำรจัดกำรควบคุมคุณภำพน้ำได้ ก็จะช่วยให้กำรเพำะเลียงสัตว์น้ำประสบ ควำมสำ้ เร็จได้ คุณภำพน้ำท่ีดีมีควำมสัมพันธ์กับแหล่งน้ำ คุณภำพน้ำมีผลต่อกำรเจริญเติบโต ตอ่ กำรด้ำรงชีวติ ของสตั ว์น้ำ

แหลง่ น้ำท่ีสำ้ คญั 1. แหล่งน้ำจำกธรรมชำติ อำทิเช่น อ่ำงเก็บน้ำ หนอง บึง แม่น้ำ ล้ำคลอง หรือน้ำฝนแหล่งน้ำ ประเภทนหี ำกในธรรมชำตปิ รำศจำกกำรปนเปือ้ นหรอื กำรทิงของเสียจำกบ้ำนเรือน หรือโรงงำน อุตสำหกรรม จะเป็นแหล่งน้ำที่เป็นประโยชน์และเหมำะสมต่อกำรเพำะเลียงมำก เนื่องจำก ตน้ ทนุ ตำ่้ แตป่ ัญหำท่พี บปัจจุบนั แหลง่ น้ำประเภทนบี ำงครังในฤดูแล้งน้ำจะขำด และมคี วำมขุ่น อนภุ ำคดินและสำรแขวนลอยสงู ส้ำหรบั ในบำงพนื ท่ีควำมเส่ือมโทรมของแหล่งน้ำปนเปื้อนของ เสียจำกบ้ำนเรือน อุตสำหกรรม ดังนันบริเวณตอนล่ำงของแม่น้ำ ล้ำคลองต่ำงๆจะพบว่ำมี คุณภำพไม่หมำะสมตอ่ กำรเพำะเลียงสัตว์น้ำโดยทั่วไป เพรำะจะมขี องเสียสะสมเพิ่มมำกขึนเป็น ล้ำดับ ตำมระยะทำงที่น้ำไหลผ่ำน ปัจจุบันจึงอำจกล่ำวได้ว่ำน้ำบริเวณต้นน้ำส้ำธำรยังคงมี สภำพใกล้เคยี งกบั สภำพดังเดมิ ในธรรมชำตมิ ำกทีส่ ดุ

ล้ำคลอง แหล่งนำ้ ธรรมชำติ แมน่ ำ้ ล้ำธำร หนอง บึง

แหล่งนำ้ ทสี่ ้ำคญั ดังนันหำกจำ้ เป็นจะต้องใช้นำ้ จำกแหลง่ น้ำธรรมชำติ จึงควรจะมกี ำรตรวจสอบคุณภำพ ของน้ำเสียก่อน หรือกักเก็บน้ำไว้แล้ว ท้ำกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำให้เหมำะสมจึงน้ำไปใช้เลียง ส้ำหรับน้ำฝนนันไม่เหมำะสมกับกำรเลียงปลำ เน่ืองจำกเป็นน้ำอ่อนและอำจมีสภำพเป็น กรดอ่อน โดยเฉพำะน้ำฝนจำกบริเวณอุตสำหกรรม ดังนันจึงไม่ควรใช้น้ำฝนเลียงปลำเพียง อย่ำงเดียวแต่จะต้องผสมกับน้ำอื่น ๆ โดยเฉพำะช่วงต้นฤดูฝนนีเป็นเวลำนำน มีปลำบำงชนิด วำงไข่ เช่น ปลำตะเพยี น ปลำเฉำ และปลำดุกรสั เซีย 2.น้ำบำดำล น้ำบำดำลโดยท่ัวไปจะไม่มสี ำรพิษปะปนมำเหมอื นน้ำในแม่น้ำล้ำคลอง เน่ืองจำก ผ่ำนกำรกรองตำมธรรมชำติ แต่อย่ำงไรกต็ ำมน้ำบำดำลบำงแห่งอำจมคี ณุ ภำพไม่เหมำะสม

แหลง่ น้ำที่ส้ำคญั โดยเกิดจำกลักษณะ ของชันดินในบริเวณดังกล่ำว ลักษณะที่ส้ำคัญของน้ำบำดำล คือ มีปริมำณออกซิเจนละลำยอยู่ต่้ำ และมีควำมกระด้ำงค่อนข้ำงสูง หรือบำงแห่งจะมีโลหะ บำงชนิด เช่น เหล็ก(Fe) แมงกำนีส (Mn) ปะปนมำด้วยในปริมำณมำก ดังนันในกำรใช้น้ำ บำดำลจะต้องน้ำนำ้ มำพกั ไวใ้ นบอ่ ก่อนสักระยะหนง่ึ แลว้ ท้ำกำรเติมอำกำศ เพ่อื ให้โลหะเหล่ำนี ตกตะกอนหรือผ่ำนเคร่ืองกรองน้ำเพื่อลดควำมกระด้ำงลง เป็นต้น ถ้ำจะให้ดีควรท้ำกำร ตรวจสอบคุณภำพเสียก่อน จะเห็นได้ว่ำกำรใช้น้ำบำดำลจะต้องพิจำรณำเกี่ยวกับค่ำใช้ง่ำย ต่ำงๆ ที่จะเกิดขึนด้วย เช่น ค่ำไฟฟ้ำในกำรสูบน้ำ กำรพักน้ำและกำรกรองน้ำ ในปัจจุบันได้มีผู้ นิยมใชน้ ้ำบำดำลในกำรเลียงปลำเพ่ิมมำกขึน น้ำบำดำล

แหลง่ น้ำท่ีสำ้ คัญ 3.น้ำประปำ ส้ำหรับกำรเพำะเลยี งตำมบ้ำนเรือนท่ีอำศัยในเมืองต่ำง ๆ จะพบว่ำ น้ำประปำเป็น แหล่งน้ำท่ีมีควำมสะดวกมำกท่ีสุด ปัญหำท่ีส้ำคัญของกำรใช้น้ำประปำก็คือ ปริมำณคลอรีนท่ีมี อยู่ในน้ำ ซึ่งคลอรีนเป็นสำรพิษท่ีสำมำรถท้ำอันตรำยต่อปลำไว้ในระดับต่้ำๆ จึงต้องก้ำจัดออก ใหห้ มด กำรก้ำจดั คลอรีนจำกน้ำประปำท้ำไดห้ ลำยวธิ ี แต่วิธที ี่ง่ำยทส่ี ุดคือ กำรพักน้ำประปำใน ถังแล้วใหอ้ ำกำศตลอดเวลำ หรอื ตำกแดดทิงไว้ประมำณ 1-2 วัน ปริมำณคลอรีนในน้ำประปำะ ลดลงจนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตรำยต่อปลำ ส่วนวิธีอื่นๆ ที่ก้ำจัดได้รวดเร็วคือกำรใช้สำรเคมี เช่น โซเดียมไทโอซัลเฟต โดยใช้ในประมำณไม่เกิน 3-4 กรัม/น้ำประปำ 1 ตัน (1,000 ลิตร) ซ่ึงปกติน้ำประปำจะมีคลอรีน อยู่ประมำณ 0.2-1.0 มิลลิกรัม/ลิตร อีกวิธีหนึ่งที่สำมำรถก้ำจัด คลอรีนในน้ำได้ คือ กำรใช้แสงอัลตรำไวโอเลต (UV-Lamp) ซึ่งในบำงแห่งมีกำรใช้กันอยู่และ สำมำรถทำ้ ลำยเชือโรคหรือบัคเตรที ่ปี ะปนมำกบั นำ้ ได้ด้วย

สขี องนำ้

คุณภำพน้ำทเ่ี หมำะสม 1.สีของนำ้ กำรตรวจสี ของนำ้ ในบำงครังมกั นิยมปฏิบัตกิ ันเน่ืองจำกสำมำรถแสดงให้เห็นอยำ่ งครำ่ วๆ เก่ียวกับก้ำลังผลิต (Productivity) สภำพแวดล้อมและสำรแขวนลอยท่ีมีอยู่ในแหล่งน้ำนัน ๆ สขี องน้ำเกิดจำกกำรสะทอ้ นของแสง ซ่ึงจ้ำแนกได้เป็น 2 ประเภท คอื 1.1 สีปรำกฏ เป็นสีของน้ำท่ีปรำกฎให้เห็นแก่สำยตำเป็นส่วนใหญ่ โดยเกิดจำกกำร สะทอ้ นของสำรแขวนลอยในนำ้ พนื ท้องน้ำ และจำกท้องฟำ้ สปี รำกฏ

คณุ ภำพนำ้ ที่เหมำะสม 1.2 สีจรงิ เปน็ สีของน้ำเกดิ จำกสำรละลำยชนิดต่ำง ๆ โดยอำจเป็นสำรอินทรีย์ เช่น โปรตีน ไขมัน คำร์โบไฮเดรต และธำตุอำหำร หรือสำรอนินทรีย์ เช่น แร่ธำตุต่ำง ๆ ซ่ึงจะท้ำให้เกิดสีของน้ำต่ำง กนั ขนึ อยูก่ ับลกั ษณะและคณุ สมบตั เิ ฉพำะตัวของสำรดังกลำ่ ว โดยปกติน้ำในแหล่งน้ำธรรมชำติท่ัวไป อำจจะมีสีแตกต่ำง ไปตำมสภำพแวดล้อม ชนิดปริมำณ และควำมเข้มข้นของสำรละลำย และสำรแขวนลอย รวมทังคุณภำพของแสง ตัวอย่ำง เช่น แหล่งน้ำที่มี หินปูนหรือแคลเซียมคำร์บอเนต (CaCO₃) ปะปนอยู่มำกจะมีสีเขียว แหล่งน้ำท่ีมีก้ำมะถันอยู่มำก อำจจะมีสีเขียวอมเหลืองหรือมีสีแดง หำกมีเหล็กอ๊อกไซต์ปะปนอยู่ พวกสิ่งมชี ีวิตขนำดเล็กและสำรอินทรีย์ก็สำมำรถท้ำให้ปรำกฎเป็นสีต่ำง ๆ กันตังแต่สีเหลืองจนถึง สีเขียว เช่น ไดอะตอม (Diatom) ท้ำให้น้ำมีสีเหลืองหรือน้ำตำล สำหร่ำยสีน้ำเงินแกมเขียว (Blue-Green Algae) ท้ำให้มสี ีเขียวเข้ม (Dark Green) ซ่ึงจะเหมำะสมกับสัตว์น้ำที่ชอบกินพืช เป็นหลัก , แพลงค์ตอนสัตว์ Humic Acid จะท้ำให้เป็นสีน้ำตำลอมเหลือง(Zooplankton) มักจะท้ำใหม้ ีสแี ดง ฮิวมสั หรือซง่ึ เหมำะสมกบั กำรเพำะเลียงสัตวน์ ้ำท่นี ิยมกินเนือ

คณุ ภำพนำ้ ท่เี หมำะสม 2. ควำมขนุ่ และควำมโปร่งใส (Turbidity and Transparency) ควำมขนุ่ ของน้ำเกิดจำกอนภุ ำคของสำรแขวนลอยกับอนภุ ำคดนิ สำรอนิ ทรีย์ อนินทรีย์ แรธ่ ำตุ ควำมขุ่นหรือควำมโปร่งใสของน้ำเป็นตัวท่ีก้ำหนดก้ำลังผลิตของแหล่งน้ำได้ต่ำง ๆ ส่ิงท่ีมีชีวิต ขนำดเล็ก เช่น แพลงค์ตอน แบคที่เรีย เป็นตัวท่ีควบคุมให้ปริมำณแสงอำทิตย์ส่องผ่ำนลงสู่ แหล่งน้ำ นอกจำกนีควำมขุ่นของน้ำจะมีผลต่อกำรหำยใจของสัตว์น้ำ เน่ืองจำกอนุภำคสำร แขวนลอยมีโอกำสอุดตำมช่องเหงือก ท้ำให้ประสิทธิภำพกำรหำยใจลดลง ผลต่ออัตรำกำร เจริญเติบโตกำรสร้ำงเซลล์สืบพันธ์ุและอัตรำกำรฟักไข่ลดลงควำมขุ่นท้ำให้น้ำผิวบนดูดซับ ควำมรอ้ นได้ดที ้ำใหอ้ ุณภูมิสูงขนึ คำ่ ของควำมขุ่นนยิ มแสดงในรูปของหนว่ ย (Unit) ซ่ึงหมำยถงึ ระดบั ควำมลกึ ของน้ำท่ี สำมำรถมองเห็นแสงสว่ำงจำกแสงเทียนมำตรฐำน น้ำท่ีใสจะมีค่ำควำมขุ่นไม่เกิน 25 หน่วย ส่วนน้ำขุ่นปำนกลำงจะมีค่ำควำมขุ่นระหว่ำง 25-100 หน่วย และน้ำขุ่นมำกจะมีค่ำควำมขุ่น เกนิ 100 หน่วยขึนไป ควำมขุ่นท่ีเปน็ อนั ตรำยต่อสัตว์นำ้ จนถึงแก่ชวี ติ จะตอ้ งมมี ำกกว่ำ 20,000 หนว่ ยขึนไป

คณุ ภำพนำ้ ทีเ่ หมำะสม ส้ำหรับปริมำณสำรแขวนลอย นิยมวัดเป็นน้ำหนัก ในรูปของมิลลิกรัมต่อลิตร (mg/l) แหล่งน้ำท่ีให้ผลผลิตทำงกำรประมงที่ดีท่ีควรจะมีค่ำปริมำณสำรแขวนลอยอยู่ในช่วง 25-80 มลิ ลกิ รัมต่อลติ ร แต่ถำ้ อยใู่ นช่วงระหว่ำง 80-400 มลิ ลิกรมั ต่อลิตระให้ผลผลิตลดลงและถ้ำมำก และถ้ำมำกเกิน 400 มิลลกิ รัมตอ่ ลิตรขนึ จะเลยี งปลำไมไ่ ดผ้ ล ควำมโปร่งใส (Tansparency) วัดเป็นระยะควำมลึกของน้ำที่สำมำรถมองเห็นวัตถุ โดยเป็นแผน่ วงกลม (Secchi Disc) ทห่ี ย่อนลงไปในน้ำจนถึงควำมลึกของน้ำทส่ี ำมำรถมองเห็น แผ่นวัตถุดังกล่ำว หำกแหล่งน้ำใดควำมโปร่งใสอยู่ระหว่ำง 30-60 เซนติเมตร ทังนีต้องดูสีของ น้ำประกอบด้วย นับว่ำมีควำมเหมำะสมแก่กำรเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ หำกมีค่ำต่้ำกว่ำ 30 เซนตเิ มตรแสดงวำ่ น้ำมีควำมขุ่นมำกเกินไป หรือมปี ริมำณแพลงค์ตอนมำกเกินไป ซึ่งอำจจะท้ำ ให้เกิดกำรขำดออกซิเจนได้ แต่ถ้ำควำมโปร่งใสมีค่ำสูงกว่ำ 60 เซนติเมตรขึนไป ก็แสดงว่ำ แหล่งนำ้ นนั ไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์

คุณภำพนำ้ ที่เหมำะสม 3. อุณหภูมิ (Temperature) ของน้ำในแหล่งน้ำธรรมชำติของประเทศไทยผันแปรอยู่ ในช่วงระหว่ำง 23-32 องศำเซลเซียส สัตว์น้ำจัดอยู่ในพวกสัตว์เลือดเย็นไม่สำมำรถรักษำ อณุ หภมู ิของร่ำงกำย ใหค้ งทีเ่ หมือนสัตว์เลอื ดอุ่นได้ อณุ หภมู ขิ องร่ำงกำยสตั ว์นำ้ เปลย่ี นแปลง ไปตำมอุณหภูมิสภำพแวดล้อมที่อยู่ เม่ืออุณหภูมิของน้ำสูงขึนขบวนกำรหำยใจ ว่ำยน้ำ กนิ อำหำร ย่อยอำหำร ขับถ่ำย ฯลฯ ก็จะสูงขึนและเมอ่ื อุณหภูมิลดลงขบวนกำรเหล่ำนันก็จะ ลดลงด้วย กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำอย่ำงรวดเร็ว ท้ำให้เกิดอันตรำยต่อสัตว์น้ำ ผลกระทบท่ีส้ำคัญต่อส่ิงมชี ีวิตในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงคือ ปริมำณออกซิเจนในน้ำลดลง ในขณะ ท่ีขบวนกำรภำยในร่ำงกำยเพ่ิมขึน จึงเกิดปัญหำกำรขำดออกซิเจนขึนได้ ขณะเดียวกันกำร ท้ำงำนของจุลินทรีย์ชนิดต่ำง ๆ ในกำรย่อยสลำยซำกส่ิงมีชีวิตในน้ำก็จะเพิ่มขึนและกำรใช้ ออกซิเจนเพ่ิมขนึ เชน่ เดยี วกนั

คุณภำพนำ้ ที่เหมำะสม 4. น้ำใหม่และน้ำท่วม ปัจจัยเหล่ำนีมีควำมส้ำคัญเป็นอย่ำงย่ิงในกำรกระตุ้นกำรวำงไข่ของปลำ เขตร้อนอิทธิพลมำกกว่ำช่วงแสงและอุณหภูมิ ปลำเขตร้อนแทบทุกชนิดจะวำงไข่ในฤดูน้ำหลำก หรือท่ีเรียกว่ำ ฤดูน้ำแดง โดยเมื่อถึงหน้ำฝน ระดับน้ำในแม่น้ำล้ำคลองจะสูงขึนขน สันตลิ่งไหล เออ่ ท่วมทอ้ งนำ หนองนำ้ ลำ้ ธำรต่ำง ๆ จนติดตอ่ กนั หมด พ่อแม่ปลำทม่ี คี วำมพรอ้ มทจี่ ะผสม พนั ธ์กุ ็พำกนั ว่ำขออกกจำกหัวย หนอง คลอง บึง ไปวำงไข่ตำมท้องนำที่มนี ้ำท่วมบ้ำงก็ วำงไข่ใน แหล่งน้ำที่อำศัยอยู่เดิม เป็นไปได้ว่ำน้ำเอ่อท่วมลูกปลำที่เกิดมำจะสำมำรถหำอำหำร ได้อุดมสมบูรณ์ น้ำใหม่มีคุณสมบัติบงประกำรดีกว่ำเดิม เช่น ออกซิเจนละลำยอยู่ในปริมำณสูง อุณหภูมิสูง หรอื เปน็ เพรำะแรร่ ำตุในดนิ ทีถ่ ูกพดั มำกบั นำ้ นอกจำกนันยังเกิดจำกน้ำที่ท่วมผิวดินท่ีแห้ง ท้ำให้เกิดสำรเพ็ตตริชอร์ (Pertrishor) ซ่ึงสำมำรถกระตนุ้ กำรวำงไข่ของปลำเชน่ เดยี วกนั 5. กระแสน้ำ นักวิทยำศำสตร์เชื่อกันว่ำกระแสน้ำสำมำรถกระตุ้นกำรวำงไข่ของปลำบำงชนิดได้ ทังนีเน่ืองจำกกำรสังเกตในธรรมชำติพบว่ำปลำบำงชนิดต้องกำรไข่ที่มีน้ำไหลแรงเป็นพเิ ศษ เช่น ปลำย่ีสก วำงไข์ในบริเวณทนี่ ้ำไหลแรงประมำณ 1.3 เมตร/วนิ ำที

คุณภำพนำ้ ทีเ่ หมำะสม 6. น้ำขึนน้ำองและข้ำงขึนข้ำงแรม ถึงแม้ยังไม่มีกำรทดลองยืนยันในเร่ืองนีปัจจัยทังสองนีมี ควำมเกยี่ วข้องกันอยำ่ งใกลช้ ิดแต่ก็มปี รำกฏกำรณท์ ที่ ำ้ ให้เชอื่ ไดว้ ำ่ ปัจจยั ทังสองชนิดนี มีอิทธิพลต่อกำรวำงไข่ของปลำบำงชนิดจริง เช่น ตัวอย่ำงในปลำกะพงขำว นักวิชำกำรพบว่ำ ปลำกะพงขำว บริเวณทะเลสำบสงขลำวำงไข่ในเดือนมิถุนำยนถึงกันยำยน โดยจะวำงไข่ 2 ช่วง คือ ช่วงข้ำงขึน 4 ค้่ำจนถึงข้ำงแรม 6 ค่้ำ และจำกข้ำงแรม 14 ค้่ำ จนถึงข้ำงขึน 6 ค่้ำ ในช่วงนีปลำจะวำงไข่ในเวลำท่ีน้ำลงต่้ำสุดทุกครัง ซ่ึงผู้ศึกษำให้ข้อสันนิษฐำนว่ำกำรท่ีปลำ เลือกวำงไข่เข้ำไปส่ทู ะเลสำบประมำณ10 ชวั่ โมง หลงั จำกนันนำ้ จะลดระดบั ลง และพัดพำเอำไขท่ กี่ ้ำลังจะฟักเป็นตวั ออ่ นออกมำสู่ ปำกร่องน้ำ ซ่ึงเมื่อลูกปลำออกจำกไข่ก็จะกระจำยไปหำกินอยู่ตำมป่ำชำยเลนอันอุดมสมบูรณ์ กำรวำงไข่ตำมข้ำงขึนข้ำงแรมนีน่ำจะเก่ียวกับวงจรกำรเจริญของไข่มำกกว่ำจะเป็นกำรกระตุ้น ของสิง่ แวดส้อม หมำยควำมว่ำวงจรกำรเจรญิ ของไข่ปลำชนดิ นนั ๆ อยใู่ นช่วงเวลำท่ีไข่แก่พอดี ในช่วงข้ำงขึนหรือข้ำงแรมพอดีปลำจึงวำงไข่ โดยข้ำงขึนข้ำงแรมไมไ่ ด้มีอิทธิพลในกำรกระตุ้น แตอ่ ยำ่ งใด

คุณภำพนำ้ ทเี่ หมำะสม 7. ปริมำณออกซิเจนในน้ำ (Dissolved Oxygen) ออกซิเจนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีควำมส้ำคัญ มำกในกำรด้ำรงชีพ เนื่องจำกต้องใช้ออกซิเจนในขบวนกำรหำยใจเพื่อกำรเจริญเติบโต ควำมสำมำรถละลำยน้ำของออกซิเจนขึนกับควำมดันอำกำศ อุณหภูมิ ปริมำณเกลือแร่ เช่น ที่อุณหภูมิศูนย์องศำกำรละลำยของออกซิเจนอยู่ระหว่ำง 114 มก.ต่อลิตร และที่ 69 มก.ต่อ ลิตรที่ 35°C ที่ควำมดัน 1 บรรยำกำศ เม่ืออุณหภูมิสูงท้ำให้เกิดกรรมใช้ออกซิจนมำก ท้ำให้ ปริมำณลดลงอำจเกิดกำรขำดออกซิเจนได้ ด้ำนตรงข้ำมออกซิเจนละลำยเกิดจุดอ่ิมตัว เน่ืองจำกกำรผลิตออกซิเจนมำกเกินไป จำกขบวนกำรสังเครำะห์แสงของพืชสีเขียว กเ็ ป็นอันตรำยต่อสัตว์น้ำเช่นกัน เช่น ท้ำให้เกิดฟองอำกำศในเลือด ปกติแล้วค่ำออกซิเจนในน้ำ ที่เหมำะสมกบั กำรดำ้ รงชพี อยู่ระหวำ่ ง 5-8 มก.ต่อลิตร 7.1 แหลง่ ท่มี ำของออกซเิ จนในน้ำ ก.จำกบรรยำกำศโดยตรง เกดิ แรงดนั บรรยำกำศมมี ำกกว่ำ กระแสลมพดั พำสู่ผิวนำ้ ข.จำกขบวนกำรสงั เครำะหแ์ สงของพืชน้ำ โคยเฉพำะแพลงคต์ อนพชื แหลง่ ให้ออกซเิ จนมำก ค.เกดิ จำกขบวนกำรเคมขี องแรธ่ ำตุอื่น ๆ ในนำ้

คุณภำพน้ำทเี่ หมำะสม 7.2 สำเหตทุ ท่ี ำ้ ใหอ้ อกซเิ จนลดลงในนำ้ ก.จำกขบวนกำรหำยใจของสิง่ มชี ีวติ ข.จำกกำรเน่ำสลำยของอินทรีย์วัตถตุ ่ำง ๆ ค.จำกขบวนกำรเคมขี องแรธ่ ำตสุ ำรประกอบต่ำง ๆ ง.เกิดจำกกำรละลำยผสมกบั นำ้ ที่มีออกซิเจนต่้ำกวำ่ 8.ค่ำเป็น-เป็นด่ำง pH ในแหล่งน้ำค่ำเป็นกรด-ด่ำง ค่ำเหมำะสมควรมีระหว่ำง 6.5-8 น้ำเป็น กรดจะทำ้ ใหน้ ำ้ เชืออ่อนแอ สัตว์น้ำไม่สำมำรถเจริญเติบโตได้ตำมปกติในสภำพท่ีไม่เหมำะสม มี ฤทธ์ิเป็นกรดเม่ือมีค่ำน้อยกว่ำ 7 จะมีสภำพเป็นกรด pH มำกกว่ำ 7 จะเป็นด่ำงหรือเบส ส่วน ระดับค่ำpH ท่ี 7.0 หมำยถึง “เป็นกลำง” โดยมีควำมเป็นไปได้ถ้ำของเหลวมีควำมเป็นกรด รนุ แรงจะมีคำ่ พีเอช ทต่ี ้ำ่ กว่ำ 0 และถำ้ ของเหลวมีควำมเป็นดำ่ งสูงจะมคี ำ่ พเี อช ทม่ี ำกกว่ำ 14 1) pH มีคำ่ 7 หมำยควำมว่ำมคี วำมเปน็ กลำง (natural pH) 2) pH มีค่ำต่้ำกว่ำ 7 แสดงควำมเปน็ กรด (acidic pH) 3) pH มีคำ่ สูงกว่ำ 7 แสดงควำมเป็นเบสหรือดำ่ ง (alkaline pH)

คุณภำพน้ำท่ีเหมำะสม 10. ควำมเคม็ (Salinity) ควำมเค็ม (Salinity) ควำมเค็มของน้ำ หมำยถึง ปริมำณของแข็ง (Solid) หรือเกลือแร่ต่ำง ๆ โดยเฉพำะ โซเดียมคลอไรค์ (NaCL) ที่ละลำยอยู่ในน้ำ โดยมีหน่วยเรียกว่ำ (parts per thousand) ppt ค่ำควำมเค็มของน้ำจะสัมพันธ์กับค่ำ Chlorinity ประกอบด้วยปริมำณ คลอไรค์, โบรไมค์และ ไอโอไดด์ และควำมน้ำไฟฟำ้ (conductivity) ท่ีมอี ยู่ในน้ำหนักหนึ่งกิโลกรัมควำมเค็มของน้ำจะ แตกตำ่ งตำมสถำนทีแ่ ละประเภทของดนิ โดยมีผูแ้ บ่งประเภทนำ้ ตำมระดับควำมเคม็ ดังนี - น้ำจดื (fresh water) ควำมเค็มระหวำ่ ง 0-0.5 ppt - น้ำกรอ่ ย (brackish water) ควำมเคม็ ระหว่ำง 0.5-30 ppt - น้ำเคม็ (sea water) ควำมเคม็ มำกกวำ่ 30 ppt ขนึ ไป

คณุ ภำพน้ำทเี่ หมำะสม ควำมเค็มของน้ำมีผลต่อกำรด้ำรงชีวิตของสัตว์น้ำ ส้ำหรับสัตว์น้ำบำงชนิด เช่น สัตว์ น้ำกรอ่ ยทีอ่ ำศัยบริเวณท่ีมีกำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็มมำกจะสำมำรถปรับตัวเข้ำกับสภำพควำม เค็มที่เปล่ียนแปลงได้ แต่ค่อย ๆ เป็นไปอย่ำงช้ำ ๆ โดยสัตว์น้ำจืดสำมำรถทนอยู่ในควำมเค็ม 7 ppt ได้ และปลำขนำดเล็กจะมคี วำมทนทำนมำกกว่ำปลำขนำดใหญ่ ค่ำควำมเค็มของน้ำจะ แสดงให้ทรำบถึงสภำพทำงภูมิศำสตร์และผิวดินบริเวณดังกล่ำว เช่น บริเวณท่ีมีฝนตกชุกและมี นำ้ ไหลตลอดจะมคี วำมเค็มต้่ำท่ีประมำณ 0.1-25 ppt ส่วนใหญ่ท่ีแห้งแล้งและมีกำรระเหยของ นำ้ สูงก็จะมีควำมเค็มสูง อย่ำงไรก็ตำมบำงพนื ท่ีหำกมีฝนตกชุก น้ำบำดำลอำจมีค่ำควำมเค็มสูง ได้เช่นกัน โดยปกติน้ำทะเลจะมคี วำมเค็มประมำณ 35 ppt น้ำกร่อยมคี วำมเค็มประมำณ 10- 15 ppt และน้ำที่มีควำมเค็มมำกกว่ำ 45 ppt ขึนไปจะพบในนำเกลือ อำจไม่เหมำะสมแก่กำร ด้ำรงชีวติ ของสตั วน์ ้ำบำงชนดิ ส้ำหรับสัตวน์ ้ำกรอ่ ยท่ีอำศัยอยู่บริเวณท่ีมกี ำรเปล่ียนแปลงควำม เค็มมำกจะมีควำมสำมำรถปรับตัวและทนทำนต่อแรงดัน Osmotic ได้ดี แต่ส้ำหรับสัตว์น้ำ ทั่วๆไปสำมำรถปรับตัวให้เข้ำกับสภำพควำมเค็มของน้ำที่เปลี่ยนแปลงได้ แต่ทังนีต้องเป็นไป อย่ำงชำ้ ๆ

กำรปรบั ปรุงคุณภำพน้ำ กำรปรับปรงุ คุณภำพน้ำ กำรท่ีจะควบกุมปรับปรุงได้ดีนันต้องอำศัยกำรสังเกตและตรวจสอบคุณภำพน้ำ ซ่ึงท้ำ ได้โดยกำรดูสี กำรวัดควำมขุ่นของน้ำโดยวิธีเบืองต้น ใช้สำยตำหรือเคร่ืองมือท่ีเก่ียวข้อง ประกอบหรอื อำจใช้วิธีกำรไตเตรทกบั สำรเคมีกอ่ นทำ้ กำรปรบั ปรุงจะได้ผลยง่ิ ขึน 1. กำรพกั น้ำ ปกตโิ ดยท่วั ไปในฟำร์มเพำะเลียงสัตว์น้ำจ้ำเปน็ ต้องมีอ่ำงเก็บนำ้ ประมำณ 30- 40 % ของพนื ท่ี หรือฟำร์มเพำะลูกปลำจ้ำเป็นต้องมีบ่อพักน้ำเสมอ เพอื่ ช่วยให้น้ำตกตะกอนมี สภำพท่ีใสขึน และยังช่วยลดปริมำณก๊ำซพิษ จำกกำรระเหย เช่น คลอรีน แอมโมเนียม ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ กำรพกั นำ้ เป็นกำรปรบั ปรุงคณุ ภำพนำ้ ขันตนั ซึง่ มีควำมจำ้ เป็น กำรพกั น้ำ

กำรปรบั ปรุงคณุ ภำพน้ำ 2. กำรกรองและกำรตกตะกอน กำรใช้ตัวกรองโดยมีวัสดุต่ำง ๆ เช่น ทรำยละเอียด ทรำยหยำบ หิน กรวด และ ถ่ำน เป็นกำรก้ำจัดควำมขุ่น กลิ่น แต่ไม่สำมำรถก้ำจัดสำรอินทรีย์หรือเชือโรค จุลนิ ทรยี ์ แบคทีเรยี สำรพษิ ที่ปะปนมำกบั น้ำได้ กำรตกตะกอนอำจใชส้ ำรเดมีใสล่ งในนำ้ เชน่ คอปเปอรซ์ ลั เฟต สำรส้ม หรือปุ๋ยเคมี ช่วยลดควำมขุ่นและปริมำณของแพลงค์ตอนได้บ้ำง กำรใส่ปูนขำวนอกจำกช่วยลดควำมขุ่นแล้วยังช่วยปรับสภำพน้ำที่เป็นกรดได้และช่วยให้เกิด กำรตกตะกอนของสำรแขวนลอยได้ 3.กำรระบำยและเดิมน้ำใหม่ ปกติวิธีกำรนีนิยมในกำรเพำะเลียงสัตว์แบบพัฒนำหรือมีกำร ปล่อยสัตว์น้ำค่อนช้ำงหนำแน่น และมีกำรให้อำหำรเน้นโปรตีนสูง เช่น กำรเลียงปลำดุก กำรเลียงกุ้งทะเล จ้ำเป็นต้องมีกำรระบำยน้ำเก่ำโดยบริเวณพืนบ่อออกประมำณ 1 ใน 3 ส่วน แล้วเดิมน้ำให้ปริมำณในกำรถ่ำยเทน้ำ ขึนอยู่กับควำมเหมำะสมของคุณภำพน้ำเป็นเกณฑ์ ส้ำคัญ กำรถ่ำยเทน้ำนอกจำกได้น้ำใหม่แล้วยังช่วยให้คุณสมบัติบำงตัวดีขึน เช่น ออกชิเจน อณุ หภูมิ ควำมเป็นกรด-ดำ่ ง ปรมิ ำณก๊ำซพิษเชน่ แอมโมเนยี ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ และสำรพษิ

กำรปรบั ปรงุ คุณภำพนำ้ 4. กำรเตมิ อำกำศหรอื ออกซิเจนลงในบอ่ น้ำ เปน็ กำรชว่ ยท้ำใหส้ ภำพน้ำดีขนึ และนยิ มมำก ในกำรเลยี งกุ้งในปจั จบุ นั เนื่องจำกกงุ้ ชอบอำชัยอยู่พืนบอ่ และมกี ำรให้อำหำรทีม่ โี ปรตนี สงู ใน ปรมิ ำณทม่ี ำก เป็นกำรช่วยลดปริมำณก๊ำซพิษ เช่น แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซัลไฟล์ สำรพิษ และ ช่วยใหส้ ุขภำพของสัตวน์ ำ้ ดีขึน ท้ำให้โอกำสเปน็ โรคน้อยลง 5. กำรป้องกันและก้ำจัดเชือโรค กำรใช้สำรเคมีที่นิยมใช้ เช่น คลอรีน ฟอร์มำลิน ด่ำงทับทิม ปูนขำว และกำรใช้แสง UV ในกำรมฆ่ำเชือควรค้ำนึงถึงผลของอุณหภูมิน้ำจะสูงขึน และ ค่ำใช้จ่ำย ปริมำณกำรใช้ขึนอยู่กับชนิดของสัตว์น้ำ ปริมำณ ชนิดของสำรเคมี เชือโรค และ ระยะเวลำกำรใช้รำยละเอียดจะกลำ่ วถึงในเรอ่ื งโรคของสตั ว์นำ้

กำรปรับปรุงคณุ ภำพนำ้ 6. ควำมลึกของน้ำในบ่อ จ้ำเป็นต้องควบคุมให้ได้ระดับท่ีเหมำะสม มีค่ำระหว่ำง 1-15 เมตร หำกนำ้ มีควำมลกึ มำกเกนิ ไป เชน่ มำกกวำ่ 2 เมตร จ้ำทำ้ ให้ผลผลติ ของแหลง่ นำ้ และปรมิ ำณ ออกซเิ จนพืนบ่อลดลง เนือ่ งจำกแสงแดดส่องลงไม่ถงึ พนื บ่อ และมีโอกำสเกดิ ก๊ำซพษิ บริเวณ พืนบ่อ เน่ืองจำกจุลินทรีย์ย่อยสลำยสำรอินทรีย์ในสภำพท่ีขำดออกซิเจน นอกจำกนีอุณหภูมิ ของน้ำมีโอกำสเกิด Themmo Stratification จะมีกำรเปล่ียนแปลงอุณหภูมิต่อนข้ำงมำก ระหว่ำงบริวณกลำงน้ำ มีผลกระทบต่อกำรเจริญเติบโตและด้ำรงชีวิตของสัตว์น้ำ หำกน้ำมี ควำมลึกน้อยไป เช่นน้อยกว่ำ 50 ชม. อุณหภูมขิ องน้ำจะสูง และโอกำสเกิดควำมขุ่นได้มำกขึน ระดับน้ำลึกเกินไปท้ำให้มีกำรสูญเสียโอกำสในกำรกินอำหำรของสัตว์น้ำ และค่ำใช้จ่ำยในกำร ถ่ำยเทนำ้

กำรปรับปรุงคุณภำพนำ้ 7. กำรใช้ระบบหมนุ เวียนในกำรเลียงหรือกำรเลียงระบบปิด ซึ่งนิยมมำกในกำรเลียงกุ้งกุลำด้ำ หรือกำรเลียงแบบเข้มข้น ในบริเวณที่มีปัญหำแหล่งน้ำภำยนอก หรือจำกน้ำธรรมชำติ ไมเ่ หมำะสมหรือมีจำ้ กดั กลำ่ วคือ น้ำทงิ จำกกำรเลียงจะน้ำไป ไปตกตะกอนในบอ่ ฟัก เพอ่ื ให้ตก ตะกอนและใหอ้ ำหำรท่ีเหลือเพอ่ื เลียงปลำนลิ หรือปลำกะพงได้ แลว้ น้ำนำ้ ไปเลยี งในบ่อหอย แพลงค์ตอน หรือสำหร่ำย ซึ่งจะท้ำให้น้ำใสขึน และให้แร่ธำตุอำหำรท่ีเหลือออก จำกนันน้ำน้ำ ไปเติมสำรเคมี เช่น ฟอร์มำลีน หรือ คลอรีน และเดิมอำกำศ แล้วสำมำรถน้ำกลับไปใช้เลียงกุ้ง ได้ใหม่ ตวั อย่ำง กำรใช้ระบบหมนุ เวยี นในกำรเลยี งหรือกำรเลยี งระบบปดิ ผงั ฟำรม์ ไมป่ ล่อยน้ำสสู่ ิง่ แวดล้อม

คณะผ้จู ัดท้ำ ❖ ทีป่ รกึ ษำ นายพรศกั ด์ิ ธรรมวานิช ผูอ้ านวยการศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม ❖ คณะกรรมกำรดำ้ เนนิ งำน นายสนธยา ทพิ ยโ์ พธิส์ ิงห์ ครู นายไกรสร ไทยแสนทา ครผู ชู้ ว่ ย นางสาววรี ยิ า ธานี ครผู ู้ช่วย นางสาวนภา พิมพ์จนั ทร์ นักวชิ าการศึกษา นายบรุ ทัศ จันทรังษี นกั วิชาการศึกษา นางสาวจิรนนั ท์ ตัน๋ เต๋ นกั วิชาการศึกษา นายพิทักพงษ์ อินทรต์ า นกั วชิ าการศกึ ษา นางสาวเอมกิ า พิลาสุข นักวชิ าการศึกษา นายภานุทัศน์ แสนสภุ า นักวชิ าการศกึ ษา นายพงษ์ศักด์ิ ดอนขวา นักวิชาการศกึ ษา นายสหภาพ เขยี วมาก นักวชิ าการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นางสาวฑติ าพร ฝ่ายอินทร์ นกั วชิ าการวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา นายสรุ ยิ ะ ภารไสว นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา

เอกสำรอำ้ งองิ ประกรณ์ อ่นุ ประเสรฐิ . 2530. การเพาะเลยี้ งปลาน้าจืด. โครงการพฒั นาตาราสาหรบั ประชาชน, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กท. 195 หนา้ ปภาศิริ ศรีโสภาภรณ์ 2537.โรคและพาธขิ องสัตวน้า. ภาควิชาวารชิ ศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร,์ มหาวิทยาลยั บรู พา. 176 หน้า. ประเสริฐ สีตะสทิ ธ,์ิ มะลิ บุณยรตั นผลนิ และ นนั ทิยา อุ่นประเสริฐ. 2535. อาหารปลา. สถาบันประมงนา้ จดื แห่งชาติ. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 88 หนา้ เปย่ี ศักด์ิ มีนะเศวต. 2528. แหล่งนา้ กับปญั หามลภาวะ. สานกั พิมพจ์ ุทาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , กรงุ เทพฯ. 281 หนา้

ศนู ย์วิทยำศำสตร์เพื่อกำรศกึ ษำนครพนม 355 หมู่ 6 ต้ำบลหนองญำติ อำ้ เมือง จงั หวดั นครพนม 48000 โทรศัพท์ 042-530780 โทรสำร 042-530781 https://www.nkpsci.ac.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook