Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Published by E-book_nkpsci, 2021-09-15 04:53:07

Description: ระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

ความหมายของระบบสรุ ยิ ะ ระบบสรุ ิยะ คอื ระบบดาวท่ีมดี าวฤกษเ์ ปน็ ศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ เป็นบริวารโคจร อยู่โดยรอบ เม่ือสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต ส่ิงมีชีวิตก็จะเกิดข้ึนบนดาว เคราะห์เหล่าน้ัน หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองท่ีเรียกว่าดวงจันทร์ ท่ีโลกของเราอยู่ เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ 8ดวง เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจนู ดาวเคราะห์ (Planets) ดาวเคราะห์ หมายถึง ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แต่สะท้อนแสงอาทิตย์ส่องเข้าไปตา เรา ดาวเคราะห์ แต่ละดวง มีขนาดและจานวนดวงจันทร์บริวารไม่เท่ากัน อยู่ห่างจาก ดวงอาทิตย์เป็นระยะทางต่างกัน แต่ละดวง ต่างก็อยู่ในระบบสุริยะ โดยหมุนรอบตัวเอง โคจรรอบ ดวงอาทิตยด์ ้วยความเรว็ ต่างกันไป

ดาวเคราะห์ท้ัง 8 สามารถแบ่ง ออกเป็นกลมุ่ ๆ ได้ดังนี้ แบ่งตามลักษณะทางกายภาพ ดาวเคราะห์ช้ันใน (Inner or Terrestrial Planets): จะเป็นกลุ่มดาว เคราะห์ ท่ีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าอีกกลุ่ม เป็นดาวเคราะห์ที่เย็นตัวแล้วมากกว่า ทาให้มีผิวนอกเป็นของแข็ง เหมือนผิวโลกของเรา จึงเรียกว่า Terrestrial Planets (หมายถึง \"บนพ้ืนโลก\") ได้แก่ ดาวพุธ (Mercury), ดาวศุกร์(Venus), โลก (Earth) และดาวองั คาร (Mars) ซง่ึ จะใชแ้ ถบของ ดาวเคราะหน์ ้อย (Asteroid Belt)เปน็ แนวแบ่ง ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer or Jovian Planets): จะเป็นกลุ่มดาว เคราะห์ ท่ีอยู่ไกลดวงอาทิตย์มากกว่าอีกกลุ่ม เป็นดาวเคราะห์ท่ีเพิ่งเย็นตัว ทาให้มีผิว นอก ปกคลุมด้วยก๊าซ เป็นส่วนใหญ่ เหมือนพ้ืนผิวของดาวพฤหัส ทาให้มีชื่อเรียกว่า Jovian Planets (Jovian มาจากคาว่า Jupiter-like หมายถึง คล้ายดาวพฤหัส) ได้แก่ ดาวพฤหัส (Jupiter), ดาวเสาร์ (Saturn), ดาวยูเรนัส (Uranus), ดาวเนปจูน (Neptune)

แบ่งตามวงทางโคจร ดาวเคราะหว์ งใน (Interior planets) หมายถึงดาวเคราะห์ท่ีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ มากกว่าโลก ได้แกด่ าวพธุ และดาวศกุ ร์ ดาวเคราะห์วงนอก (Superior planets) หมายถึง ดาวเคราะห์ท่ีอยู่ถัดจากโลกออกไป ได้แก่ ดาว อังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวพลโู ต

แบ่งตามลักษณะพนื้ ผวิ ดาวเคราะห์กอ้ นหิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ท้ัง 4 ดวงน้ีมีพ้ืนผิวแข็งเป็นหิน มีชั้น บรรยากาศบางๆ ห่อห้มุ ยกว้นดาวพุธทีอ่ ยใู่ กลด้ วงอาทิตย์ทสี่ ุดไม่มีบรรยากาศ ดาวเคราะหก์ ๊าซ ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาว เนปจนู จะเปน็ ก๊าซท่ัวทง้ั ดวง อาจมแี กนหินขนาดเล็ก อยู่ภายใน พื้นผิวจึงเป็นบรรยากาศที่ปกคลุมด้วย กา๊ ซมเี ทน แอมโมเนีย ไฮโดรเจน และฮีเลียม(สาหรับ ดาวพลูโตนั้นยังสรุปไม่ได้ว่าเป็นพวกใด เน่ืองจากยัง อยู่หา่ งไกลจากโลกมาก)

ดวงอาทิตย์ (SUN) ดวงอาทติ ย์เป็นดาวฤกษ์ทสี่ าคญั ในระบบสรุ ยิ ะ เป็นดาวฤกษ์ สีเหลอื ง มีอายเุ กอื บ 5,000 ล้านปี อยู่หา่ จากโลกของ เราประมาณ 150 ล้านกโิ ลเมตร แสงจากดวงอาทติ ย์ใชเ้ วลา เดินทางมายงั โลกเพียง 8.3นาที พลงั งานจานวน มหาศาลในดวงอาทิตย์ ไดม้ าจากการเปล่ยี น ก๊าซไฮโดรเจนเป็น ฮีเลียมท่ีอณุ หภมู ปิ ระมาณ 15 ล้านเคลวินหรอื ประมาณ 27 ล้านองศาฟาเรนไฮต์ ดวงอาทติ ยม์ เี สน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง ขนาดใหญ่มากกวา่ โลกของเรา109 เท่า มีปริมาตร 1,300,000 เท่าของโลก และมมี วล มากกวา่ โลกของเรา 333,434 เท่า

ดาวพธุ (Mercury) ดาวพธุ เปน็ ดาวเคราะห์ดวงท่ีอยใู่ กลด้ วงอาทิตย์ทสี่ ุด จึงเคล่อื นรอบดวงอาทติ ยเ์ รว็ ทส่ี ดุ โดยใช้เวลาเพียง87.969 วนั ในการโคจร รอบดวงอาทติ ย์ 1 รอบ ดาวพธุ หมุนรอบตวั เองใน ทิศทางเดยี วกับการเคล่อื น รอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตก ไปทศิ ตะวนั ออก หมนุ รอบตัวเองรอบละ 58.6461 วนั เมอ่ื พจิ ารณาจากคาบ ของการหมุนรอบตวั เอง และการคาบการเคลื่อนท่รี อบ ดวงอาทติ ย์ จะพบวา่ ระยะเวลา กลางวัน ถงึ กลางคืนบนดาวพธุ ยาวนานถึง 176 วัน ซง่ึ ยาวนานท่สี ดุ ในระบบสุริยะดาวพธุ จงึ โคจรอย่ทู ่ามกลาง ความร้อนจดั ของดวงอาทิตย์ในระยะหา่ ง เฉลย่ี ประมาณ 58,000,000 กิโลเมตร ในขณะทีอ่ ย่หู า่ งจาก โลกของเราประมาณ 15,000,000 กิโลเมตรอณุ หภมู บิ นดาวพธุ ด้วยเพราะเหตวุ ่าดาวพุธน้นั อยใู่ กล้ดวงอาทิตย์มากท่ีสุดจึงทาให้อุณหภูมบิ นดาวพธุ สงู มาก โดยเฉลี่ยในเวลากลางวัน สูงถงึ 430 องศาเซลเซียส (สามารถหลอมตะกว่ั ได้) ส่วนในเวลากลางคืนดาวพุธ ไมม่ ีช้นั บรรยากาศห่อหุ้มเพ่ือเก็บ ความรอ้ นทาให้อุณหภมู ลิ ดต่าลงถงึ -180 องศาเซลเซียส ดาวพุธจึงมีฉายาวา่ “เตาไฟแชแ่ ข็ง”

ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกร์เปน็ ดาวเคราะหม์ ขี นาดเล็กกว่าโลกเลก็ น้อย จงึ ได้ช่ือว่าเป็น ดาวฝาแฝดกบั โลก เปน็ ดาวเคราะห์ ทีป่ รากฏสว่างท่สี ดุ สวา่ งรองจาก ดวงอาทิตย์และดวงจนั ทร์ ถ้าเหน็ ทางทศิ ตะวันตกในเวลาคา่ เรียกวา่ ดาวประจาเมอื ง และถ้าเหน็ ทางทศิ ตะวันออกในเวลา ก่อนรุง่ อรุณ เรียกว่าดาวประกายพรกึ ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะหท์ ี่เกดิ ปรากฏการณ์เรือนกระจกอยา่ งรนุ แรง เพราะมบี รรยากาศหนาทึบด้วย คาร์บอนไดออกไซด์ ดาวศุกรจ์ ึงร้อนมาก อุณหภูมพิ ื้นผวิ เฉลย่ี สูงกวา่ ดาวพุธ นอกจากนด้ี าวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกา หรือหมุนจากทศิ ตะวันออกไปทิศตะวนั ตก ในขณะท่เี คลื่อนทร่ี อบดวงอาทติ ยจ์ ากทิศตะวันตก ไปทิศตะวันออก ดาวศุกรจ์ งึ หมนุ สวนทางกับดาวเคราะหด์ วงอนื่ และหมนุ สวนทางกบั การเคลอื่ นท่ี รอบดวงอาทิตย์ ดาวศกุ ร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วนั แต่ 1 วันของดาวศกุ รย์ าวนานเทา่ กบั 117 วันของโลก เพราะตัง้ แต่ดวงอาทติ ย์ข้นึ จนถึงดวงอาทติ ยต์ กยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาว ศุกร์เคล่ือนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก ยานอวกาศลาแรกทีเ่ ดนิ ทางไปสารวจดาวศุกรค์ ือ ยานมารเิ นอร์ 2

โลก (Earth) เปน็ ดาวเคราะหท์ อ่ี ยู่หา่ งจากดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ลาดบั ที่ 3 โดยโลกเป็น ดาวเคราะหห์ นิ ขนาดใหญ่ท่สี ดุ ในระบบสรุ ิยะ ดาวเคราะห์โลกถือกาเนิดข้นึ เมอื่ ประมาณ 4,570 ล้าน ปีกอ่ น มีดวงจนั ทร์ซง่ึ เป็น ดาวบริวารเพยี งดวงเดียวโลกมลี กั ษณะ เปน็ ทรงวงรี โดยในแนวดิ่งเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง ยาว 12,711 กม. ในแนวนอนยาว 12,755 กม. ตา่ งกนั 44 กม. มพี ืน้ น้า 3 สว่ น หรือ 71% และมพี นื้ ดิน 1 สว่ น หรอื 29 % แกนโลกจะเอยี ง 23.5 องศา โลกหมุนรอบตัวเอง 24 ชว่ั โมงในหนง่ึ วัน แต่นกั วทิ ยาศาสตร์คานวณได้ 23.56 ชัว่ โมง แต่จะใช้ 24 ช่ังโมงเป็นหลัก และ 365 วันในหนึง่ ปี โลกอยู่หา่ งจากดวงอาทิตย์ประมาณ 150 ลา้ นไมล์ และเคลอื่ นทดี่ ้วยความเรว็ 30 กิโลเมตรต่อ ข้อมลู สาคญั ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทติ ย์ 149.60 ล้านกิโลเมตร คาบวงโคจร 365.26 วนั ความรขี องวงโคจร 0.0167 ระนาบวงโคจรทามมุ กบั ระนาบสรุ ิยวถิ ี 0.00005° แกนเอยี ง 23.45° หมุนรอบตวั เองใชเ้ วลา 23.93 ชว่ั โมง รัศมีของโลก 6,378 กิโลเมตร มวล 5.97 x 1024 กโิ ลกรัม ความหนาแนน่ 5.515 กรัม/ลูกบาศก์เซนตเิ มตร แรงโน้มถ่วง 9.8 เมตร/วินาที องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ไนโตรเจน78% ออกซเิ จน 21% อณุ หภูมิพื้นผิว -88°C ถงึ 58°C มีดวงจันทร์ 1 ดวง ไม่มีวงแหวน กาแลค็ ซที่ างช้างเผอื ก

ดวงจันทร์ (Moon) ดวงจันทร์ (The Moon) เป็นบริวารดวงเดียวของโลกและมขี นาดเล็ก กวา่ โลกมาก หลงั จากการก่อตัวของระบบสุรยิ ะ ดวงจนั ทรเ์ ย็นตวั อยา่ งรวดเรว็ จนโครงสร้างภายใน กลายเป็นของแข็งทั้งหมดจงึ ไมม่ ีสนามแมเ่ หลก็ ดวงจนั ทร์มมี วลนอ้ ยจงึ มีแรงโนม้ ถ่วงนอ้ ย จนไม่สามารถดึงดดู บรรยากาศไว้ได้ การทีไ่ มม่ ชี ้นั บรรยากาศห่อหมุ้ อยู่เลย ทาให้อกุ กาบาตพุ่งชนพนื้ ผิวโดยอสิ ระ ไรแ้ รงเสยี ดทาน พื้นผิวของดวงจันทรจ์ งึ ปกคลุมไปด้วยฝนุ่ ผงและกรวดอกุ กาบาต แม้วา่ ดวงจนั ทร์จะมขี นาดเล็กกวา่ โลกมาก แตด่ วงจันทร์ก็มีอิทธิพลกับโลกมาก ทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เชน่ ข้างขนึ้ ขา้ งแรม นา้ ขน้ึ นา้ ลง สรุ ยิ ปุ ราคา จนั ทรุปราคา ขอ้ มลู สาคญั ระยะทางเฉลย่ี จากโลก 384,400 กโิ ลเมตร คาบวงโคจรรอบโลก 27.32 วัน ความรขี องวงโคจร 0.054 ระนาบวงโคจรทามุมกบั ระนาบสุริยวิถี 5.145° แกนเอยี ง 6.68° หมนุ รอบตวั เองใชเ้ วลา 27.32 ช่วั โมง รัศมี 1,737 กิโลเมตร มวล 0.0123 ของโลก ความหนาแนน่ 3.341 กรัม/ลูกบาศก์เซนตเิ มตร แรงโนม้ ถว่ ง 0.166 เท่าของโลก ไม่มบี รรยากาศ และยังไม่ตรวจพบนา้ อุณหภมู ิ -233°C 123°C

ดาวองั คาร (Mars) ดาวอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ท่อี ยู่หา่ งจากดวงอาทิตย์เป็น อนั ดบั ท่ี 4 ในบรรดาดาวเคราะห์ทง้ั หมด ดาวองั คาร มีขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางประมาณ 0.5 เทา่ ของโลก ดาวองั คารมโี ครงสรา้ งภายในประกอบดว้ ยแก่น ของแข็งมีรัศมีประมาณ 1,700 กิโลเมตร หอ่ ห้มุ ดว้ ยชัน้ แมนเทิลทเี่ ป็นหนิ หนืดหนา ประมาณ 1,600 กโิ ลเมตร และมีเปลอื ก แขง็ เช่นเดียวกบั โลก ดาวองั คารมีสแี ดง เนอื่ งจากพนื้ ผิวประกอบด้วยออกไซด์ ของเหล็ก (สนิมเหล็ก) พน้ื ผวิ ของดาว อังคารเต็มไปด้วยหบุ เหวต่างๆ มากมาย ขอ้ มูลสาคญั ระยะทางเฉล่ียจากดวงอาทติ ย์ 227.94 ลา้ นกโิ ลเมตร คาบวงโคจร 1.88 ปี (687 วัน) ความรีของวงโคจร 0.0934 ระนาบวงโคจรทามุมกับระนาบสุริยวิถี 1.8° แกนเอียง 25.19° หมุนรอบตัวเองใช้เวลา 24.62 วัน รศั มขี องดาว 3,397 กโิ ลเมตร มวล 0.107 ของโลก ความหนาแนน่ 0.714 ของโลก แรงโน้มถ่วง 0.38 ของโลก องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน อารก์ อน อุณหภมู ิ -87°C ถงึ -5°C มีดวงจันทร์ 2 ดวง ช่อื โฟบอส และไดมอส ไมม่ ีวงแหวน

ดาวพฤหสั บดี (Jupiter) ดาวพฤหสั บดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะหแ์ กส๊ ซ่ึงบรรยากาศหนาแน่น มีองคป์ ระกอบหลัก เป็นไฮโดรเจน 90% และฮีเลียม 10% ปะปนด้วยมเี ทน น้า และแอมโมเนียจานวน เลก็ น้อย ดาวพฤหสั บดีมขี นาดใหญ่กวา่ โลกมาก แต่หมนุ รอบตัวเองหนง่ึ รอบใชเ้ วลาไม่ถงึ 10 ช่วั โมง แรงหนศี นู ยก์ ลางเหวีย่ งใหด้ าว มสี ัณฐานเปน็ ทรงแปน้ นอกจากนั้นยังมีจุดแดงใหญ่ เป็นรปู วงรขี นาดใหญซ่ ่งึ มอี าณาบริเวณกวา้ ง 25,000 กิโลเมตรสามารถบรรจุโลกไดส้ องดวง จดุ แดงใหญเ่ ปน็ พายุหมุน ขอ้ มูลสาคญั ระยะทางเฉลยี่ จากดวงอาทิตย์ 778.41 ลา้ นกิโลเมตร คาบวงโคจร 11.86 ปี ความรขี องวงโคจร 0.048 ระนาบวงโคจรทามมุ กบั ระนาบสรุ ิยวถิ ี 1.3° แกนเอียง 3.12° หมนุ รอบตวั เองใชเ้ วลา 9.92 ช่วั โมง รศั มขี องดาว 71,492 กิโลเมตร มวล 317.82 ของโลก ความหนาแน่น 1.33 กรัม/ลกู บาศก์เซนติเมตร แรงโน้มถ่วง 20.87 เมตร/วินาที2 องคป์ ระกอบหลกั ของบรรยากาศ ไฮโดรเจน ฮีเลยี ม อุณหภูมิ -148°C ดวงจันทรท์ ค่ี น้ พบแลว้ 62 ดวง วงแหวน 3 วง

ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวเสารม์ บี รรยากาศของดาวเสาร์เปน็ ไฮโดรเจน 75% ฮีเลียม 25% ปะปนไปด้วยน้า มเี ทน แอมโมเนยี จานวนเล็กน้อย แถบสีบนดาวเสาร์ เกดิ ขน้ึ จากการหมุนรอบตวั เองเร็วมาก จนทาใหเ้ กิด การหมุนวนของชนั้ บรรยากาศที่มีอุณหภมู ิ แตกตา่ งกนั จึงปรากฏเป็นแถบเขม้ และจาง สลบั กนั ไป โครงสร้างภายในของดาวเสาร์ มีลักษณะคล้ายคลงึ กับของดาวพฤหัสบดี มีแกนกลางทเี่ ปน็ หินแขง็ หอ่ หมุ้ ด้วย แมนเทิลชั้นในที่เป็นโลหะไฮโดรเจน และแมนเทิลชน้ั นอกทเ่ี ปน็ ไฮโดรเจน และฮีเลยี มเหลวดาวเสาร์ มมี วลมากจึงมีแรงโน้มถ่วงมาก สามารถดูดจบั ดาวเคราะห์นอ้ ยและดาวหางมาเป็นบรวิ าร ไดเ้ ปน็ จานวนมาก ปจั จบุ นั มีดวงจันทร์ท่ีถูกคน้ พบแลว้ 62 ดวง ดวงจนั ทรท์ ี่มี ขนาดใหญ่ที่สุดคือ ไททัน (Titan) มีความหนาแน่นน้อยกว่านา้ ขอ้ มูลสาคัญ ระยะทางเฉลย่ี จากดวงอาทิตย์ 1,427 ล้านกิโลเมตร คาบวงโคจร 29.4 ปี ความรีของวงโคจร 0.054 ระนาบวงโคจรทามมุ กับระนาบสุริยวถิ ี 2.484° แกนเอียง 26.73° หมุนรอบตัวเองใชเ้ วลา 10.66 ช่ัวโมง รศั มีของดาว 60,268 กโิ ลเมตร มวล 95.16 ของโลก ความหนาแนน่ 0.7 กรมั /ลกู บาศก์เซนตเิ มตร (น้อยกว่าน้า) แรงโน้มถ่วง 7.2 เมตร/วินาที2 องคป์ ระกอบหลกั ของบรรยากาศ ไฮโดรเจน ฮีเลยี ม อุณหภมู ิ -178°C ดวงจันทร์ทคี่ ้นพบแลว้ 62 ดวง วงแหวนที่คน้ พบแล้ว 7 วง

ดาวยเู รนสั (Uranus) ยูเรนัส (Uranus) บรรยากาศของดาว ยเู รนสั ประกอบด้วยไฮโดรเจน 83%, ฮเี ลยี ม 15% และมเี ทน 2% ดาวยเู รนัสมีสฟี ้าเน่อื งจากแก๊สมเี ทนดูดกลืนสีแดง และสะทอ้ นสนี ้าเงิน บรรยากาศมีลมพัดแรงมาก ลกึ ลงไปท่แี กน่ ของดาวหอ่ หุ้มดว้ ย โลหะไฮโดรเจนเหลวขณะท่ดี าวเคราะห์ส่วนใหญ่ มแี กนหมนุ รอบตัวเองเกอื บตัง้ ฉากกบั ระนาบ สุริยวิถี แต่แกนของดาวยเู รนัสวางตวั เกือบขนาน กับสรุ ยิ วถิ ี ดงั นน้ั อณุ หภูมบิ ริเวณ ขัว้ ดาวจึงสูง กวา่ บริเวณเสน้ ศูนยส์ ูตร ดาวยเู รนสั มีวงแหวน เช่นเดียวกบั ดาวเคราะหช์ ้ันนอกดวงอ่นื ๆ วงแหวนของดาวยเู รนสั มีความสวา่ งไมม่ าก เนอ่ื งจากประกอบด้วยอนภุ าคขนาดเลก็ มีขนาดตง้ั แตฝ่ ุ่นผงจนถงึ 10 เมตร ดาวยเู รนสั มีดวงจันทรบ์ ริวาร อย่างน้อย 27 ดวง ยานอวกาศลาแรกทีเ่ ดินทางไปสารวจดาวยูเรนสั ลาแรกคอื ยานวอยเอเจอร์ 2 ขอ้ มลู สาคญั ระยะทางเฉลย่ี จากดวงอาทติ ย์ 2,870 ลา้ นกิโลเมตร คาบวงโคจร 80 ปี ความรีของวงโคจร 0.047 ระนาบวงโคจรทามมุ กบั ระนาบสรุ ิยวิถี 0.77° แกนเอยี ง 97.86° หมุนรอบตัวเองใชเ้ วลา 17.24 ชวั่ โมง รศั มีของดาว 25,559 กโิ ลเมตร มวล 14.371 ของโลก ความหนาแน่น 1.32 กรัม/ลูกบาศก์เซนตเิ มตร แรงโนม้ ถ่วง 8.43 เมตร/วนิ าที2 องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ไฮโดรเจน ฮีเลยี ม อุณหภูมิ -216°C ดวงจันทรท์ ีค่ ้นพบแล้ว 27 ดวง วงแหวนทีค่ น้ พบแลว้ 13 วง

ดาวเนปจนู (Neptune) ดาวเนปจูน (Neptune) ถูกคน้ พบโดย โจฮานน์ กัลเล ในปี พ.ศ.2389 ตอ่ มาในปี พ.ศ.2532 ยานวอยเอเจอร์ 2 พบว่า ดาวเนปจนู มี องคป์ ระกอบคลา้ ยคลงึ กบั ดาวยเู รนสั คือ มบี รรยากาศ เป็นไฮโดรเจนและฮเี ลยี ม และมีมเี ทนเจอื ปนอยูจ่ ึงมีสี น้าเงนิ ดาวเนปจูนมีขนาดเลก็ กวา่ ดาวยูเรนสั เลก็ น้อย แต่มีความหนาแน่นมากกวา่ โดยทแ่ี กน่ ของดาวเนปจนู เป็นของแข็งมขี นาด ใกลเ้ คยี งกับโลกของเรา ในช่วงเวลา ท่ียานวอยเอเจอร์ 2 เข้าใกลด้ าวเนปจูน ได้ถา่ ยภาพ จดุ มืดใหญ่ (Great dark spot) ทางซกี ใต้ของดาวมขี นาดใหญ่เกือบครง่ึ หนึ่งของ จดุ แดงใหญ่บนดาวพฤหัสบดี (ประมาณเท่ากับเสน้ ผ่านศนู ย์กลางของโลก) จดุ มืดใหญน่ เี้ ปน็ พายุหมนุ เช่นเดยี วกับจดุ แดงใหญบ่ น ดาวพฤหสั บดี มกี ระแสลมพดั แรงท่สี ุดในระบบสรุ ยิ ะ ความเรว็ ลม 300 เมตร/วินาที หรือ 1,080 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง ขอ้ มูลสาคัญ ระยะทางเฉล่ยี จากดวงอาทิตย์ 4,498 ลา้ นกโิ ลเมตร คาบวงโคจร 164.8 ปี ความรขี องวงโคจร 0.0086 ระนาบวงโคจรทามุมกบั ระนาบสุรยิ วถิ ี 1.769° แกนเอียง 29.58° หมนุ รอบตวั เองใช้เวลา 16.11 ชั่วโมง รศั มีของดาว 24,764 กิโลเมตร มวล 17.147 ของโลก ความหนาแนน่ 1.64 กรมั /ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร แรงโนม้ ถ่วง 10.71 เมตร/วินาที2 องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ไฮโดรเจน ฮเี ลยี ม อุณหภูมิ -214°C ดวงจันทรท์ ค่ี น้ พบแลว้ 13 ดวง วงแหวนท่ีค้นพบแล้ว 6 วง

ดาวเคราะหแ์ คระ ดาวเคราะห์แคระเป็นดาวท่ีมีลักษณะคล้ายดาวเคราะห์หรือดาวเคราะห์น้อยโดยจะต้อง เป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่เป็นทรงกลม โคจรรอบดวงอาทิตย์มีวงโคจรไม่ชัดเจนและไม่เป็น บริวารหรือดวงจันทร์ของดาวอ่ืน สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลเปลี่ยนสถานะดาวพลูโตจาก ดาวเคราะหเ์ ปน็ ดาวเคราะห์แคระก็เพราะว่าดาวพลูโตมีวงโคจรเป็นรูปวงรีมีบางส่วนของ วงโคจรซ้อนทับวงโคจรของดาวเนปจูนและเป็นดาวที่ไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดของ ตัวเองได้

ดาวพลโู ต (Pluto) ดาวพลูโต (Pluto) เคยถูกจัดเปน็ ดาวเคราะห์ลาดับที่ 9 ของระบบ สรุ ยิ ะ แตเ่ นอื่ งจากดาวพลโู ตมขี นาดเล็กมากและมวี งโคจรซอ้ นทบั กับ ดาวเนปจูน ประกอบกับช่วงทศวรรษท่ผี า่ นมาไดม้ ีการสรา้ ง กลอ้ งโทรทรรศนข์ นาดใหญแ่ ละกลอ้ งโทรทรรศน์ อินฟราเรด ทาใหม้ กี ารคน้ พบวัตถุในแถบ คอยเปอรจ์ านวนมากท่ีมขี นาดใกล้เคียงหรอื ใหญก่ วา่ ดาวพลูโต สมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล จึงประกาศลดสถานะของดาวพลโู ต ใหเ้ ป็นดาวเคราะหเ์ มื่อวนั ที่ 24 สิงหาคม 2549 ดาวพลโู ตมขี นาดความยาวของเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง เพียง 2 ใน 3 ของดวงจนั ทร์ สันนษิ ฐานว่ามีเปลอื ก เปน็ นา้ แข็งห่อห้มุ แกน่ ภายในทีเ่ ป็นหนิ ขอ้ มูลสาคญั ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ 5,906 ล้านกิโลเมตร คาบวงโคจร 247.92 ปี ความรขี องวงโคจร 0.2488 ระนาบวงโคจรทามุมกับระนาบสุริยวถิ ี 17.14° แกนเอยี ง 119.61° หมุนรอบตัวเองใช้เวลา 6.387 ชวั่ โมง รศั มขี องดาวพลูโต 1,180 กโิ ลเมตร รัศมีของดาวแครอน 600 กโิ ลเมตร มวล 0.0022 ของโลก ความหนาแน่น (ดาวพลูโต) 2 กรัม/ลกู บาศก์เซนติเมตร แรงโน้มถว่ ง 0.65 เมตร/วินาที2 องคป์ ระกอบหลกั ของบรรยากาศ ไนโตรเจน คาร์บอนมอนอกไซด์ มีเทน อุณหภูมิ -233°C ถงึ -223°C ดวงจันทร์ทค่ี ้นพบแลว้ 3 ดวง ไม่มวี งแหวน

ดาวพธุ ไมใ่ ช่ดาวเคราะห์ท่ีรอ้ นท่สี ุดในระบบสรุ ิยะ เพราะด้านกลางคืนทห่ี ันออกจากดวงอาทิตยม์ ีอณุ หภูมิต่ามาก อุณหภมู เิ ฉล่ยี จึงไมส่ ูงมากนัก ดาวศกุ รม์ อี ุณหภมู ิพน้ื ผิวสงู ทส่ี ดุ ในระบบสุริยะ (ร้อนกว่าดาวพุธ) เนือ่ งจากมีบรรยากาศหนาแน่น เต็มไปด้วยแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ซึ่งทาใหเ้ กิดภาวะเรอื นกระจกอยา่ งยิง่ ยวด โฟบอส และ ดีมอส เปน็ ดวงจนั ทร์ขนาดเล็กของดาวองั คาร มรี ูปรา่ งเหมือนกอ้ นหนิ สนั นิษฐานวา่ เป็นดาวเคราะหน์ อ้ ย ที่ถกู แรงโน้มถ่วงของดาวอังคารดูดจับมาเป็นบรวิ ารในภายหลัง ดาวเคราะหข์ นาดใหญ่เชน่ ดาวพฤหสั บดี และดาวเสาร์ มมี วลมากจึงมแี รงโน้มถว่ งมาก จึงดดู จบั ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวตั ถุคอยเปอร์ มาเปน็ บริวารไดเ้ ปน็ จานวนมาก ดวงจันทร์เล็กๆ เหลา่ นี้มรี ปู ทรงเหมือนกอ้ นหิน มีวงโคจรทีร่ ีแคบ และบางดวงเคลือ่ นท่สี วนทางกบั ดาวเคราะห์ดวง แม่ ดาวเคราะห์ช้ันนอกทกุ ดวงมีวงแหวน วงแหวนเหลา่ นีเ้ กดิ จากบริวารของดาวเคราะหท์ ถ่ี กู ทาลายโดยแรงไทดัล ดาวพลโู ตซ่ึงถกู จดั เปน็ ดาวเคราะหแ์ คระ มดี วงจนั ทรบ์ ริวารทคี่ น้ พบแล้ว 3 ดวง

ที่ปรกึ ษา นายพรศกั ด์ิ ธรรมวานิช ผอู้ านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อ การศึกษานครพนม คณะกรรมการดาเนิ นงาน นายสนธยา ทิพยโ์ พธ์ิสิงห์ ครผู ชู้ ่วย นายภราดร ศรีสงคราม พนักงานธรุ การ ส ๓ นายบรุ ทศั จนั ทรงั ษี นักวิชาการศึกษา นางสาวนภา พิมจนั ทร์ นักวิชาการศึกษา นายพิทกั พงษ์ อินทรต์ า นักวิชาการศึกษา นางสาวจิรนันท์ ตนั ๋ เต๋ นักวิชาการศึกษา นายทวี ชยั มงุ คณุ นายช่างไฟฟ้า นางสาวเอมิกาพิลาสขุ นักวิชาการศึกษา นายสถิตพร มูลพงค์ นักวิชาการศึกษา นายพงศกร อนุพนั ธ์ ผชู้ ่วยนักวิชาการศึกษา นางสาวน้าฝน จนั เกษร ผชู้ ่วยนักวิชาการศึกษา ผเู้ รียบเรียง/ออกแบบรปู เล่ม นายสหภาพ เขียวมาก นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นางสาวฑิตาพร ฝ่ ายอินทร์ นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นางสรุ ิยะ ภารไสว นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นางสาวสชุ าดา ดวงสา นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษานครพนม 355 หมู่ 6 ตาบลหนองญาติ อาเภอเมอื ง จังหวัดนครพนม 48000 โทรศัพท์ 042-530780 โทรสาร 042-530781 https://www.nkpsci.ac.th/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook