Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR บางมดวิทยา'2562

SAR บางมดวิทยา'2562

Published by Prapaluck Piama, 2020-08-18 23:34:20

Description: รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2562

Search

Read the Text Version

๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ตัวชวี้ ดั ท่ี ๑ สถำนศึกษำมีแผนและดำเนนิ งำนพัฒนำคณุ ภำพกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศึกษำท่ีมีควำม เหมำะสม ๑. กระบวนการดาเนินงาน หลักสตู รสถำนศึกษำ นโยบำย/กฎหมำย/ยุทธศำสตร์ ประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ พฒั นำบคุ ลำกร แผนพฒั นำกำรศกึ ษำ ระยะ ๓ ปี แผนกลยุทธและกรอบงบประมำณ มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปี ผเู้ รยี น รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำน SAR /T-SAR โรงเรียนดำเนินกำรแต่งต้ังคณะกรรมกำร ท่ีประกอบด้วยผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ำย ได้แก่ ผู้อำนวยกำร โรงเรียน หัวหน้ำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ หัวหน้ำงำนต่ำง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง จัดทำแผนปฏิบัติกำรประจำปี ๒๕๖2 ดำเนินกำรทบทวนวัตถุประสงค์ เป้ำหมำยของแผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ และทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ กลยุทธ์ เพ่ือจัดทำแผนพฒั นำกำรศึกษำของโรงเรยี นทุก 3 ปี แล้วนำเสนอต่อผู้ที่เก่ียวข้องให้ได้รับควำม เห็นชอบของคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ โดยมีโครงกำร และกิจกรรมอย่ำงหลำกหลำย ท่ีสนับสนุน ส่งเสริม และ พัฒนำสถำนศึกษำให้บรรลุตำมเป้ำหมำย วิสัยทัศน์ ปรัชญำ และจุดเน้นของสถำนศึกษำ แต่ละโครงกำรจะมีกำร ดำเนินงำนอย่ำงเป็นระบบ (PDCA) ทำให้กำรดำเนนิ งำนมปี ระสิทธิภำพและประสิทธิผลบรรลุตำมเปำ้ หมำย ๙๖ | หน้า

๒. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรยี นบริหำรจดั กำรด้ำนงบประมำณได้อยำ่ งเปน็ ระบบ จึงไม่เกิดปัญหำเก่ียวกับกำรบริหำรกำรเงิน อำศัย กำรวำงแผนงบประมำณเตรยี มกำรระดมทรพั ยำกรใหเ้ พียงพอตอ่ กำรจัดทำแผนปฏิบัตกิ ำร ท้ังกำรวำงแผน กำรกำกับ ติดตำมและประเมนิ ผลกำรเบกิ จ่ำยเงนิ ตำมระเบยี บรำชกำรกำหนด ผลจำกกำรใช้ระบบวงจรคุณภำพ (PDCA) ในกำร ดำเนินงำนทุกระบบและทกุ กำรทำงำน ส่งผลให้กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเป็นไปตำมเป้ำหมำยที่สถำนศึกษำ ตง้ั ไว้ ด้ำนกำรบริหำรงำนบุคคล โรงเรียนมีวัฒนธรรมองค์กรในกำรทำงำนร่วมกันโดยช่วยเหลือเก้ือกูลกัน มีกำรจัด อบรมพัฒนำบุคลำกรให้สอดรบั กบั นโยบำยของต้นสังกดั ในกำรจดั กำรเรียนรู้ สนบั สนุนกำรผลิตส่ือนวัตกรรมกำรเรียน กำรสอน สนบั สนุนให้เขำ้ รับกำรอบรมพฒั นำควำมรู้อยำ่ งตอ่ เน่ือง โรงเรียนจัดทำแผนพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ แผนปฏิบัติกำรประจำปี สอดคล้องกับกำรพัฒนำผู้เรียน ทุกกลุ่มเป้ำหมำย มีกำรพฒั นำครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำให้มีควำมร้คู วำมเชี่ยวชำญ ตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ข้อมูล สำรสนเทศมีควำมถูกตอ้ ง ครบถว้ น นำไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ดำเนินกำรอย่ำงเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัดสภำพแวดล้อม ทำงกำยภำพและสงั คมทกี่ ระตนุ้ ผเู้ รียนใหใ้ ฝ่รใู้ ฝ่เรียน มกี ำรปรับแผนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ แผนปฏิบัติกำร ประจำปี ให้สอดคลอ้ งกับสภำพปญั หำ ควำมต้องกำรพฒั นำ และนโยบำยกำรปฏิรปู กำรศึกษำโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมี ส่วนร่วมในกำรพฒั นำและรว่ มรับผดิ ชอบ ผ้เู กยี่ วข้องทุกฝ่ำย และเครือข่ำยกำรพัฒนำคุณภำพสถำนศึกษำ มีส่วนร่วม ในกำรรว่ มวำงแผนพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำ และรบั ทรำบ รับผดิ ชอบตอ่ ผลกำรจัดกำรศกึ ษำ ส่งผลให้การดาเนินงาน โดยรวมอยใู่ นระดับคณุ ภาพ 5 ยอดเยย่ี ม ๓. จุดเด่น โรงเรียนมบี ุคลำกรรนุ่ ใหม่ทม่ี ีควำมรู้ควำมสำมำรถและพร้อมทจ่ี ะพัฒนำตนเอง ครูทุกคนมีกำรจัดทำรำยงำน กำรประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (T-SAR) อีกทงั้ โรงเรียนมกี ำรจดั ทำแผนพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำ แผนปฏิบัติ กำรประจำปี สอดคล้องกับกำรพัฒนำผเู้ รยี นทุกกลุ่มเปำ้ หมำย โรงเรียนมีกำรวำงแผนกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบ มีกำรจัดโครงสร้ำงกำรบริหำรให้เอื้อต่อกำรดำเนินงำน ทุกคนมสี ่วนร่วมและมกี ำรประชำสมั พันธก์ ับทกุ ฝำ่ ยท่ีเกยี่ วข้อง แต่งตัง้ คณะกรรมกำรเพ่อื กำหนดแนวทำงใหค้ วำมเห็น และขอ้ เสนอแนะ และแต่งตั้งคณะบคุ คลทำกำรตรวจสอบ ทบทวน กำกบั ติดตำมกำรดำเนนิ งำนอยำ่ งต่อเนื่องให้บรรลุ เปำ้ หมำยตำมแผนพัฒนำคณุ ภำพสถำนศกึ ษำท่ีกำหนดไว้ โดยจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปีทีช่ ดั เจน ครอบคลมุ โรงเรียนเปดิ โอกำสใหผ้ ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ำยมีส่วนร่วมและร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลกำรจดั กำรศกึ ษำใหม้ คี ณุ ภำพและ ได้มำตรฐำน เช่ือมโยงกำรบริหำรแบบมสี ่วนรว่ ม เป็นไปตำมกฎหมำย ข้อบังคบั ต่ำง ๆ ยึดมัน่ ในควำมถูกต้อง ๔. จดุ ควรพัฒนา โรงเรยี นมีครูและบคุ ลำกรรุน่ ใหม่ทีย่ ังไม่มีประสบกำรณ์ในกำรทำงำน จึงควรจัดให้มีกำรพัฒนำบุคลำกรกลุ่ม ดงั กลำ่ ว ๙๗ | หน้า

ตวั ช้ีวัดท่ี ๒ มีกำรติดตำมตรวจสอบประเมินผลและปรับปรงุ พัฒนำอยำ่ งตอ่ เนือ่ ง ๑. กระบวนการดาเนนิ งาน โรงเรยี นมีกำรกำกับ ตรวจสอบ และรำยงำน เป็นกระบวนกำรที่โรงเรียนต้องดำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง ด้วย กำรตดิ ตำมประเมนิ ผล เพอ่ื แก้ปัญหำพฒั นำให้มปี ระสทิ ธภิ ำพอนั กอ่ ใหเ้ กิดประสิทธผิ ลที่ดโี ดยมขี ัน้ ตอนดังน้ี ๑. กำรกำกับ (Monitoring) โรงเรียนจัดระบบกำกับ ติดตำมกำรปฏิบัติงำนตำมแผนกำรปฏิบัติกำร โครงกำร กิจกรรม ในเรื่องข้ันตอนวิธีกำร ระยะเวลำ งบประมำณและผลที่ได้รับ ตำมรูปแบบที่โรงเรียนกำหนด และ จดั ให้ผ้รู ับผดิ ชอบ รำยงำนผลกำรปฏิบัตงิ ำน ตลอดท้งั ควำมกำ้ วหนำ้ อปุ สรรค แนวทำงในกำรแกป้ ัญหำ ๒. กำรตรวจสอบ (Auditing) การตรวจสอบภายใน โรงเรียนจัดให้มีคณะกรรมกำรควบคุมภำยใน มีหน้ำที่ตรวจสอบ ควบคุมกำรดำเนิน กจิ กรรมภำยในโรงเรียน ศกึ ษำควำมเสี่ยง จดั ทำรำยงำน สรปุ ผล พรอ้ มข้อเสนอแนะในกำรดำเนินงำน โรงเรียนจัดให้ มีคณะกรรมกำรตรวจสอบคุณภำพและประเมินภำยใน โดยโรงเรียนมีบทบำทในกำรประเมินตนเอง เป็นกำร ตรวจสอบกำรปฏบิ ัติงำนทุกขั้นตอนต้ังแตก่ ำรวำงแผน กำรจัดองค์กร กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน งบประมำณ บคุ ลำกร เพื่อนำข้อมูลมำจัดทำสำรสนเทศสำหรับใชป้ ระกอบในกำรวำงแผนและแก้ปัญหำ พฒั นำกำรดำเนินงำน และ จัดทำรำยงำนกำรประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำนของแตล่ ะกิจกรรม เพือ่ นำไปสกู่ ำรประเมินโดยรวมทั้งระบบของโรงเรียน เพื่อจัดทำรำยงำนประจำปีของสถำนศึกษำ ตำมมำตรฐำนคุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำ ๓ มำตรฐำน ๒๑ ประเด็นพิจำรณำ หรือตำมทก่ี ระทรวงศกึ ษำธกิ ำรกำหนด สำหรบั รำยงำนผ้เู กีย่ วข้องต่อไป การตรวจสอบภายนอก โรงเรียนตอ้ งพร้อมรับกำรตรวจสอบติดตำมจำกหน่วยงำนต้นสังกัด และหน่วยงำน ตรวจสอบภำยนอก (สมศ.) ทม่ี บี ทบำทหน้ำทใี่ นกำรตรวจประเมิน รับรองคุณภำพกำรศึกษำตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ และแนวทำงกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบส่ี (พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓) กำรบริหำรจัดกำรในระยะเช่ือมต่อกำร ประเมนิ มำตรฐำนคณุ ภำพกำรศึกษำ พ.ศ.๒๕๖๑ จำนวน ๓ มำตรฐำน คือ ๑.ผลกำรจัดกำรศึกษำ ๒.กำรบริหำรจัด กำรศกึ ษำ และ ๓.กำรจดั กำรเรียนกำรสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ๓. กำรรำยงำน (Reporting) ผู้รับผิดชอบ กำรปฏิบัติงำนที่ได้รับมอบหมำย จัดทำรำยงำน สรุปผลกำร ดำเนินงำนเม่ือเสร็จส้ินโครงกำร หรือตำมระยะเวลำที่กำหนด หรือเมื่อส้ินสุดในแต่ละภำคเรียนทุกปีกำรศึกษำ โรงเรียนจัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินงำนแตล่ ะภำคเรียน และรำยงำนประจำปขี องสถำนศึกษำเสนอต่อหน่วยงำนและ ผู้เกี่ยวขอ้ งและเผยแพรต่ ่อสำธำรณชน ๒. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีกระบวนกำรกำกับ ติดตำม ประเมินผลกำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำอย่ำงเป็นระบบ มีกำร แต่งตั้งคณะกรรมกำรตรวจสอบกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำตำมระบบประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ในกำร กำกับ ติดตำม ประเมินผลกำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำให้เป็นไปตำมมำตรฐำนกำรศึกษำที่กำหนด และจัดทำ รำยงำนผลกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำทุกปีกำรศึกษำ มีผลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ 5 ยอดเยยี่ ม ๙๘ | หนา้

๓. จุดเด่น - ๔. จดุ ควรพฒั นา - ตวั ช้วี ัดท่ี ๓ มีกำรบริหำรอตั รำกำลัง ทรัพยำกรทำงกำรศึกษำและระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นอย่ำงเปน็ ระบบ ๑. กระบวนการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีกำรจัดกำรบริหำรอัตรำกำลัง ให้เหมำะสมและเพียงพอต่อควำมต้องกำรของผู้เรียน และตรงตำม ศักยภำพและควำมสำมำรถในกำรสอน มีทรัพยำกรทำงกำรศึกษำท่ีเพียงพอเอื้อและสนับสนุนกำรเรียนกำรสอน มรี ะบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่ำงเป็นระบบ โดยจัดกิจกรรมเย่ียมบ้ำนนักเรียน กิจกรรมคัดกรองนักเรียน รวมทั้ง มีกำรประเมินกำรดำเนินงำนระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือให้กำรดำเนินงำนดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นไป อย่ำงมีระบบและมีประสิทธิภำพ โดยผ่ำนกระบวนกำรทำงำนท่ีชัดเจน มีร่องรอยหลักฐำนกำรปฏิบัติงำน สำมำรถ ตรวจสอบและประเมนิ ผลได้ ๒. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรยี นมกี ำรจดั กำรบริหำรอัตรำกำลัง ให้เหมำะสมและเพียงพอต่อควำมต้องกำรของผู้เรียน และตรงตำม ศักยภำพและควำมสำมำรถในกำรสอน มีทรัพยำกรทำงกำรศึกษำท่ีเพียงพอ เอ้ือและสนับสนุนกำรเรียนกำรสอน มรี ะบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นอยำ่ งเปน็ ระบบ โดยจัดกิจกรรมเย่ยี มบ้ำนนกั เรยี น กิจกรรมคัดกรองนักเรียน โดยได้รับ ควำมร่วมมือจำกคณุ ครูท่ีปรกึ ษำในกำรประเมนิ กำรดำเนินงำนระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นคิดเป็นร้อยละ 100 มีผล การประเมนิ โดยรวมอยู่ในระดบั คณุ ภาพ 5 ยอดเย่ยี ม ๓. จดุ เด่น - ๔. จุดควรพฒั นา - ตัวชวี้ ัดที่ ๔ มีระบบนเิ ทศภำยในและนำขอ้ มูลมำใชใ้ นกำรพฒั นำ ๑. กระบวนการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีกำรแต่งต้ังคณะกรรมกำรนิเทศภำยในท่ีชัดเจน ประชุมวำงแผน ดำเนินกำรนิเทศติดตำมกำรใช้ หลักสูตรตำมกรอบเวลำ ประชุมสรุปผลกำรประเมินและรำยงำนผลกำรนิเทศภำยในทุกภำคเรียน กลุ่มสำระกำร เรียนรูน้ ำผลกำรนเิ ทศมำประชุมวำงแผนปรบั ปรุงกำรจดั กำรเรยี นรู้ของครู และนำผลกำรนิเทศมำปรับปรุงพัฒนำกำร จัดกำรเรยี นรู้ของตนเอง ๙๙ | หนา้

๒. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีแผนงำน โครงกำรกิจกรรมกำรนิเทศภำยในสถำนศกึ ษำทีม่ งุ่ สง่ เสรมิ กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนกำร สอน คณะกรรมกำรนิเทศภำยใน ประชุมวำงแผน ดำเนนิ กำรกำรนิเทศตดิ ตำมกำรใชห้ ลกั สูตรตำมกรอบเวลำท่ีกำหนด คณะกรรมกำรกำรประชุมสรุปผลกำรประเมินและรำยงำนผลกำรนเิ ทศภำยในทุกภำคเรยี น กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้นำผล กำรนิเทศมำประชุมวำงแผนปรับปรงุ กำรจัดกำรเรียนรู้ของครู มีผลการประเมินโดยรวมร้อยละ 89.42 อยู่ในระดับ คุณภาพ 4 ดีเลศิ กราฟสรปุ ผลการนเิ ทศการเรยี นการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ภำษำตำ่ งประเทศ ๙๐.๑๕ กำรงำนอำชพี และ… ๘๘.๒๔ ๗๗.๘๑ ศิลปะ ๗๘.๔๓ สขุ ศึกษำและพลศึกษำ ๗๖.๔๒ สังคมศึกษำ ศำสนำและ… ๘๗.๕๓ วทิ ยำศำสตร์ ๙๒.๒๔ คณติ ศำสตร์ ๙๐.๑๑ ภำษำไทย กราฟสรุปผลการนิเทศการเรยี นการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ภำษำตำ่ งประเทศ ๙๖.๙๒ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี ๙๒.๘๙ ๙๔.๒๕ ศลิ ปะ ๙๐.๘๖ สุขศกึ ษำและพลศึกษำ ๙๔.๖๓ สงั คมศึกษำ ศำสนำและ… ๙๒.๘๐ ๙๒.๗๕ วิทยำศำสตร์ ๙๔.๖๗ คณิตศำสตร์ ภำษำไทย ๑๐๐ | หน้า

๓. จดุ เดน่ - ๔. จุดควรพฒั นา - ตวั ชว้ี ัดท่ี ๕ กำรมีสว่ นร่วมของผู้เกย่ี วข้องทกุ ฝ่ำย และกำรรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลกำรจัดกำรศึกษำให้มี คุณภำพและไดม้ ำตรฐำน ๑. กระบวนการดาเนินงาน โรงเรียนกำหนดโครงสร้ำงกำรบริหำรเป็น ๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มบริหำรวิชำกำร กลุ่มบริหำรงบประมำณ กลุ่ม บริหำรงำนบคุ คล กลมุ่ บรหิ ำรงำนทั่วไป และมกี ลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสำระ ซึ่งแต่ละกลุ่มงำนและกลุ่มสำระกำร เรยี นรู้ ดำเนนิ กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมบริบทของกลุ่มงำนของตน ด้วยเทคนิคกำรวำงแผนงำน SWOT Analysis แล้วกำหนดวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้ำประสงค์ กลยทุ ธ์ กรอบกลยุทธ์ท่ีสอดคล้องกับนโยบำยของต้นสังกัด ควำมต้องกำร ของชุมชน ท้องถ่นิ และเปำ้ หมำยของโรงเรยี น กลมุ่ งำนกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ ประชมุ วำงแผนกำหนดกิจกรรม โครงกำร เพอ่ื เสนอของบประมำณดำเนนิ กจิ กรรมพฒั นำกำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียน โดยกำรสนับสนุนจำกหน่วยงำน องค์กร สมำคม มูลนิธิ ทีเ่ ก่ียวข้องกับโรงเรยี น และผ่ำนควำมเหน็ ชอบของคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้นฐำนของสถำนศึกษำ ซงึ่ มบี ทบำทหนำ้ ทกี่ ำกบั ติดตำมกำรดำเนินงำนของโรงเรียน และมีส่วนร่วมรับผิดชอบในกำรจัดกำรศึกษำ กิจกรรม พัฒนำผ้เู รยี น แผนงบประมำณ นอกจำกน้ียงั มีเครือข่ำยควำมร่วมมือทำงกำรศึกษำ อำทิเช่น สมำคมผู้ปกครองและครูฯ เครือข่ำยผู้ปกครอง สมำคมศิษย์เก่ำ ได้เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำกำรศึกษำและแก้ปัญหำในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน โดยหำทุน สนับสนนุ และจดั กิจกรรมท่สี ่งเสริมเกย่ี วกับกำรศกึ ษำเพ่อื พัฒนำผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ภำพไดม้ ำตรฐำน ๒. ผลการดาเนนิ งาน ผูม้ ีสว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่ำยของโรงเรียนมีส่วนร่วมในกำรวำงแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของโรงเรียน และมี เครือข่ำยควำมร่วมมือในกำรร่วมรับผิดชอบต่อผลกำรจัดกำรศึกษำให้มีคุณภำพและได้มำตรฐำน มีผลกำรประเมิน ควำมพึงพอใจต่อกำรพัฒนำกำรศกึ ษำอยูใ่ นระดับดี ผลการประเมนิ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั คุณภาพ ๕ ยอดเยี่ยม ๓. จดุ เดน่ - ๔. จดุ ควรพฒั นา - ๑๐๑ | หนา้

๒.๓ ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ท่ี ๑ หลกั สูตรสถำนศึกษำเหมำะสมและสอดคล้องกับควำมรู้ ควำมสำมำรถและควำมต้องกำรของผเู้ รียน ๑. กระบวนการดาเนนิ งาน โรงเรยี นดำเนินกำรแตง่ ตั้งคณะกรรมกำร จัดทำและพัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำท่ีมีโครงสร้ำง องค์ประกอบ ของหลักสูตรครบถว้ น สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนกำรศึกษำชำติ หลักสูตรกำรศึกษำแกนกลำงกำรศึกษำข้ัน พืน้ ฐำน พ.ศ.๒๕๕๑ สอดคลอ้ งกบั ควำมตอ้ งกำรของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของสถำนศึกษำ ผ่ำนควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำรสถำนศึกษำข้ันพื้นฐำนของโรงเรียน และนำไปสู่กำรปฏิบัติโดยครูนำไปจัดทำ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหำสำระตำมกระบวนกำรเรียนรู้ บูรณำกำรสภำพปัญหำ และควำมต้องกำร ท้องถ่นิ ในรำยวชิ ำพืน้ ฐำน และหรอื รำยวิชำเพมิ่ เติมอย่ำงเหมำะสม ออกแบบหนว่ ยกำรเรยี นรู้อิงมำตรฐำน หลักสูตรมี ควำมหลำกหลำยตอบสนองต่อควำมต้องกำร และมีกำรติดตำม ประเมินผลกำรใช้หลักสูตรสถำนศึกษำ นำข้อมูลผล กำรประเมินไปทบทวน ปรับปรงุ พฒั นำหลักสตู ร ๒. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรยี นมีหลักสูตรสถำนศึกษำ ท่ีประกอบด้วยโครงสร้ำงองค์ประกอบของหลักสูตรครบถ้วน สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของแผนกำรศึกษำชำติ หลักสูตรกำรศึกษำแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พ.ศ.๒๕๕๑ สอดคล้องกับ ควำมต้องกำรของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของสถำนศึกษำ กำหนดเวลำเรียนเหมำะสมกับ ระดบั ชน้ั และครนู ำไปจัดทำมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตวั ชี้วัด ลำดับเนอื้ หำสำระตำมกระบวนกำรเรียนรู้ บูรณำกำรสภำพ ปัญหำ และควำมต้องกำรท้องถิ่นในรำยวิชำพ้ืนฐำน และหรือรำยวิชำเพ่ิมเติมอย่ำงเหมำะสม ออกแบบหน่วยกำร เรียนรู้อิงมำตรฐำน หลักสูตรมีควำมหลำกหลำยตอบสนองต่อควำมต้องกำร และมีกำรติดตำม ประเมินผลกำรใช้ หลักสูตรสถำนศึกษำ นำข้อมูลผลกำรประเมินไปทบทวน ปรับปรุงพัฒนำหลักสูตร ผลการประเมินโดยรวมอยู่ใน ระดบั คณุ ภาพ 4 ดีเลศิ ๓. จุดเดน่ โรงเรียนมีหลักสูตรสถำนศึกษำที่หลำกหลำย ส่งเสริมพัฒนำนักเรียนให้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถตำมควำม ต้องกำรของนักเรียน ครนู ำไปจัดทำมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวช้วี ัด ลำดบั เนอ้ื หำสำระตำมกระบวนกำรเรียนรู้ บูรณำกำร สภำพปัญหำ และควำมต้องกำรท้องถิ่นในรำยวิชำพ้ืนฐำน และหรือรำยวิชำเพิ่มเติม ออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้อิง มำตรฐำนได้เหมำะสมกบั ควำมสำมำรถ และควำมต้องกำรของนกั เรียน ๔. จดุ ควรพฒั นา - ๑๐๒ | หนา้

ตัวชีว้ ัดท่ี ๒ กำรจัดรำยวชิ ำเพ่ิมเติมและกิจกรรมพฒั นำผเู้ รยี นท่หี ลำกหลำยตอบสนองควำมตอ้ งกำรควำมถนัด ควำมสำมำรถ และควำมสนใจของผู้เรยี นทกุ กลุม่ เป้ำหมำย ๑. กระบวนการดาเนินงาน โรงเรยี นดำเนนิ กำรแตง่ ต้งั คณะกรรมกำรบรหิ ำรวิชำกำร ร่วมวิเครำะห์กำหนด รำยวิชำเพ่ิมเติมและกิจกรรม พัฒนำผู้เรียนที่มีเนื้อหำ สำระกำรเรียนรู้ กิจกรรมท่ีเหมำะสมตำมโครงสร้ำงหลักสูตรสถำนศึกษำของนักเรียนทุก ระดับช้นั อย่ำงหลำกหลำย เพียงพอตอ่ ควำมตอ้ งกำร ควำมถนัดและควำมสนใจของนักเรียน ๒. ผลการดาเนินงาน นกั เรียนไดเ้ รียนในรำยวชิ ำเพม่ิ เติมและกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน ตำมควำมต้องกำร ควำมถนัดและควำมสนใจ สร้ำงผลงำนหรือเข้ำร่วมกิจกรรมตำมจุดประสงค์ของรำยวิชำเพ่ิมเติมหรือกิจกรรมพัฒนำผู้เรียนที่ตนเองเลือก มีผล การประเมินโดยภาพรวมอย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ๕ ยอดเยยี่ ม ๓. จดุ เด่น โรงเรียนจัดรำยวิชำเพ่ิมเติมและกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน ท่ีหลำกหลำยตอบสนองควำมต้องกำร ควำมถนัด ควำมสนใจและควำมสำมำรถของนกั เรียนทุกระดับชั้น และครูจัดกระบวนกำรเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจน สรุปควำมรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง ไดแ้ ก่ รำยวชิ ำ IS กิจกรรมชมรม ๔. จดุ ควรพฒั นา - ตัวช้ีวดั ที่ ๓ สนับสนนุ ให้ครจู ดั กระบวนกำรเรียนรใู้ ห้ผเู้ รยี นไดล้ งมือปฏบิ ัตจิ รงิ จนสรปุ ควำมรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง ๑. กระบวนการดาเนินงาน โรงเรียนมกี ำรวำงแผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนโดย 1. ครูมีกำรวิเครำะหห์ ลักสูตร มำตรฐำน ตัวชี้วดั จดั ทำคำอธบิ ำยรำยวิชำโครงสรำ้ ง 2. ครมู แี ผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ 3. ครูมีกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนด้วยวิธีทีห่ ลำกหลำย มสี ือ่ กำรสอนท่ีทนั สมัย น่ำสนใจ 4. มกี ิจกรรมเสรมิ หลักสตู รตำมสำขำวชิ ำ เพื่อสง่ เสรมิ ศักยภำพของนักเรยี น 5. มกี ำรนเิ ทศภำยในโดยฝ่ำยบริหำรของโรงเรยี น หวั หนำ้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ และครใู นกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ 6. ส่งเสรมิ กำรศึกษำดูงำนเพอื่ พฒั นำศกั ยภำพของครู 7. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้มชี มุ ชนแห่งกำรเรียนรู้ (PLC) ของครูในกลุ่มสำระฯ และนอกกลุ่มสำระฯ เพื่อแก้ปัญหำ ทเี่ กิดจำกกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน 8. มีกำรทำวจิ ยั ในชัน้ เรียนเพอื่ พฒั นำผ้เู รยี น ๑๐๓ | หน้า

๒. ผลการดาเนนิ งาน 1. ครูมีกำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้ในวิชำที่ตนรับผิดชอบ และพัฒนำคุณภำพกำรสอนอย่ำงต่อเนื่อง สอดคล้องกบั กำรเปลีย่ นแปลง 1) ครูมีสือ่ กำรเรยี นกำรสอนท่หี ลำกหลำยมำกขึน้ 2) ครูจัดกำรเรยี นรไู้ ดต้ รงตำมตัวช้วี ดั ในแต่ละระดับชน้ั 3) ครมู แี ผนพฒั นำตนเอง (ID-PLAN) 4) ครมู ีแนวคดิ ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนหลำกหลำยมำกย่ิงขึ้น 2. ครูมกี ำรแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับเพ่อื นครูและเรียนรจู้ ำกผ้ชู ำนำญกำรจำกแหลง่ เรียนรทู้ ี่หลำกหลำย 3. ครูทกุ คนได้เข้ำร่วมอบรม สัมมนำ จำกหนว่ ยงำนภำยนอก และได้รับกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำกกำรนิเทศ ภำยในกลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ 4. กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ไดด้ ำเนนิ โครงกำรศึกษำดูงำน ณ แหล่งเรียนรู้ต่ำง ๆ และสำมำรถนำควำมรู้กลับมำ ขยำยผลกับนักเรียน เพอื่ พฒั นำกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนใหด้ ียง่ิ ขน้ึ 5. นกั เรยี นไดร้ บั รำงวัลจำกกำรประกวดแข่งขันรำยกำรตำ่ ง ๆ ทง้ั ระดับเขตและระดบั ประเทศ มผี ลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดบั คุณภาพ ๕ ยอดเยี่ยม ๓. จดุ เดน่ 1. โรงเรียนมีกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทั้งทำงด้ำนควำมรู้ในด้ำนวิชำกำร ทักษะกระบวนกำร คุณธรรม จริยธรรม และพัฒนำสมรรถนะของผู้เรยี นต่ำง ๆ ไดอ้ ย่ำงมีคุณภำพ 2. โรงเรียนมีกำรจดั กิจกรรมท่ีเสรมิ สร้ำงคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคใ์ นทกุ ด้ำนอย่ำงมคี ุณภำพ 3. โรงเรียนมีกำรให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั แกผ่ ู้เรียนอย่ำงเปน็ ระบบสม่ำเสมอ เพื่อให้นักเรียนได้ทรำบและพัฒนำใน ส่วนท่ีต้องแก้ไข ๔. จดุ ควรพัฒนา 1. โรงเรยี นจัดทำระบบกำรตรวจสอบผล 0 ร มส มผ บริเวณห้องทะเบียนวัดผล เพื่อเพิ่มควำมสะดวกและ รวดเร็วในกำรติดตำมและแก้ไขผลกำรเรยี น เพ่ือใหน้ กั เรียนจบพรอ้ มรุน่ 2. ครูผู้นิเทศ และรับกำรนิเทศ ควรมีระบบติดตำมผลของกำรนิเทศเพื่อกำรพัฒนำงำน ทั้งน้ีเนื่องจำกครูมี ภำระงำนคอ่ นขำ้ งมำก สง่ ผลให้กำรนเิ ทศและกำรพฒั นำขำดควำมต่อเนือ่ ง 3. มกี ำรให้ควำมรู้ครใู นดำ้ นกำรวิจัยเพื่อใหค้ รมู งี ำนวิจัยเชิงพัฒนำที่มคี ุณภำพ 4. ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ PLC ท่ีมีคุณภำพ มีกำรบูรณำกำรด้ำนต่ำง ๆ รว่ มกนั ทกุ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ ๑๐๔ | หนา้

๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี ตวั ชี้วดั วำงแผนและดำเนินงำนพัฒนำครูและบคุ ลำกรให้มีควำมเช่ียวชำญทำงวิชำชีพ มีควำมรู้ ควำมสำมำรถและทักษะตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ๑. กระบวนการดาเนินงาน โรงเรยี นมแี ผนงำน โครงกำรและกิจกรรม ที่ส่งเสรมิ พฒั นำศักยภำพครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำดำ้ นควำมรู้ ควำมสำมำรถและทกั ษะตำมมำตรฐำนตำแหน่งทั้ง ๓ ด้ำน โดยใช้กระบวนกำร PLC ด้วยวิธีกำรที่หลำกหลำย ได้แก่ กำรอบรมสมั มนำ กำรนเิ ทศ กำรจัดกิจกรรมศกึ ษำดูงำนครแู ละบุคลำกร กิจกรรมอบรมพัฒนำครูและบุคลำกรภำยใน และภำยนอกสถำนศึกษำ มีพัฒนำกำรดำ้ นผลงำนทำงวิชำกำรของครู ๒. ผลการดาเนนิ งาน ครูและบุคลำกรได้รับกำรพัฒนำให้มีศักยภำพด้ำนควำมรู้ ควำมสำมำรถและทักษะตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ดว้ ยวธิ ีกำรท่ีหลำกหลำย ท้งั ภำยในและจำกหน่วยงำนภำยนอก ครูและบคุ ลำกรเข้ำรับกำรพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่อง อบรมคูปองครูไม่น้อยกว่ำ ๒๐ ชัว่ โมง มพี ัฒนำกำรด้ำนผลงำนทำงวชิ ำกำรของครู ผลการประเมินโดยภาพรวม อยู่ใน ระดับคุณภาพ ๕ ยอดเยย่ี ม ๓. จดุ เดน่ 3.1 ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำทุกคนไดร้ ับกำรพฒั นำและสง่ เสรมิ ตำมควำมถนดั 3.2 ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำมีควำมพงึ พอใจและรักในวชิ ำชพี ๔. จุดควรพฒั นา ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำควรรำยงำนผลกำรพัฒนำตนเองอยำ่ งตอ่ เน่ืองเป็นประจำทุกปี และมรี ปู แบบ กระบวนกำรตดิ ตำมกำรพัฒนำตนเองของครูภำยหลงั ได้รบั กำรอบรมพฒั นำแลว้ อย่ำงชัดเจน ๑๐๕ | หน้า

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ ออื้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ ตวั ช้ีวัด วำงแผนและจัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมทเี่ ออื้ ต่อกำรจัดกำรเรยี นรู้ทง้ั ภำยใน และภำยนอกห้องเรยี นอย่ำงมีคณุ ภำพ ๑. กระบวนการดาเนินงาน โรงเรียนมีแผนงำน โครงกำร กิจกรรมพัฒนำอำคำรสถำนท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติกำร ห้องน้ำ โรงอำหำร หอประชุม อำคำรประกอบ ทุกแห่งมีควำมสะอำด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีควำมมั่นคงแข็งแรง และปลอดภัย จัด สภำพภำยนอกห้องเรียนให้สวยงำมร่มรื่น ภำยในห้องเรียนมีส่ิงอำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ ได้แก่ ส่ือ วัสดุ อปุ กรณ์ต่ำง ๆ จัดสง่ิ อำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้อย่ำงพอเพียงกับผู้เรียน และอยู่ในสภำพท่ีใช้งำนได้ดี มีแหล่ง กำรเรยี นรู้ภำยในครบทกุ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ พัฒนำแหล่งกำรเรียนรภู้ ำยในให้มีระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพียงพอ และสะดวกต่อกำรใช้งำน ผ้เู รยี นไดศ้ ึกษำค้นคว้ำ จำกแหล่งข้อมูลทำงเทคโนโลยีสำรสนเทศได้สะดวก รวดเร็วทันต่อ เหตกุ ำรณ์ ทงั้ ในและนอกห้องเรียน ๒. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีแผนงำน โครงกำร กิจกรรมพัฒนำอำคำรสถำนท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติกำร ห้องน้ำ โรงอำหำร หอประชุม อำคำรประกอบ ทุกแห่งมีควำมสะอำด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีควำมม่ันคงแข็งแรง และปลอดภัย จัดสภำพภำยนอกห้องเรียนให้สวยงำมร่มร่ืน ภำยในห้องเรียนมีสิ่งอำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ ได้แก่ ส่ือ วัสดุ อุปกรณต์ ่ำง ๆ จดั สิ่งอำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้อย่ำงพอเพียงกับผู้เรียน และอยู่ในสภำพท่ีใช้งำนได้ดี มีแหล่ง กำรเรยี นรู้ภำยในครบทุกกลุม่ สำระกำรเรียนรู้ พฒั นำแหลง่ กำรเรียนรู้ภำยในให้มีระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพียงพอ และสะดวกต่อกำรใช้งำน ผ้เู รยี นได้ศึกษำค้นคว้ำ จำกแหล่งข้อมูลทำงเทคโนโลยีสำรสนเทศได้สะดวก รวดเร็วทันต่อ เหตุกำรณ์ ทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี น มีผลการประเมินโดยภาพรวม อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ๕ ยอดเยี่ยม ๓. จุดเดน่ โรงเรียนได้ดำเนินกำรจดั สภำพแวดลอ้ มและบริกำรที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน บุคลำกร ได้พัฒนำเต็มตำมศักยภำพ เออื้ ต่อกำรจดั กำรเรียนรู้ ห้องเรียน ห้องปฏิบัตกิ ำร ห้องสมุด อำคำรเรียน อำคำรประกอบ แหล่งเรยี นรู้ มีควำมม่ันคง แขง็ แรง มคี ณุ ภำพ และมีควำมปลอดภยั มสี ิง่ อำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรเู้ พยี งพอ ใช้กำรได้ดี นำไปสู่กำรพัฒนำ ผู้เรียนทุกด้ำน มีแหล่งเรียนรู้ภำยนอกห้องเรียน ทั้งแหล่งเรียนรู้ที่เป็นธรรมชำติ สวนหย่อมต่ำง ๆ เป็นห้องเรียน ธรรมชำติใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นร้นู อกหอ้ งเรียน นำไปสู่กำรพัฒนำผเู้ รยี นทุกด้ำน ให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ด้วยตนเองและ หรอื เรียนรู้แบบมีสว่ นรว่ ม ๔. จุดควรพัฒนา พัฒนำอำคำรเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติกำร ปรับปรุง ดูแล ซ่อมบำรุงให้มีควำมมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย สะอำดเรยี บรอ้ ย สวยงำม ๑๐๖ | หน้า

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั มกี ำรบรหิ ำรจดั กำรข้อมลู สำรสนเทศที่สำคัญของสถำนศึกษำอย่ำงเปน็ ระบบ ๑. กระบวนการดาเนินงาน โรงเรยี นกำหนดผ้รู บั ผดิ ชอบจดั ทำระบบสำรสนเทศของโรงเรียน ดำเนนิ กำรกำหนดหมวดหมู่ข้อมูลให้ถูกต้อง ครอบคลุม ทนั สมัย และพรอ้ มใช้ กลุ่มงำนทุกกลุ่มกำหนดผ้รู บั ผิดชอบจดั ทำระบบสำรสนเทศ ดำเนนิ กำรจัดกำรข้อมูล สำคัญให้ครอบคลุมภำรกิจท้ัง 5 กลุ่มงำน และกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสำระ แต่งตั้งคณะกรรมกำรงำน สำรสนเทศจำกทุกกลุ่มงำนที่เกี่ยวข้อง มีกำรแจ้งผู้รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มบริหำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ในกำร รำยงำนข้อมลู ดำเนนิ กำรจัดกำรขอ้ มูลท่ีสำคญั ของหนว่ ยงำนตนใหเ้ ป็นปจั จุบัน นำสำรสนเทศไปใช้ในกำรวำงแผนกำร จดั กำรศึกษำท่ีครอบคลุมภำรกจิ ทั้ง 5 กล่มุ งำน ๘ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ จัดทำและให้บริกำรข้อมูลสำรสนเทศที่ระบบ แก่ผู้ต้องกำรใช้ทุกฝ่ำย บุคลำกรทุกคนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว เป็นปัจจุบัน นำเสนอข้อมูลย้อนหลัง สำคญั ๓ ปี ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในกำรทบทวนปรบั ปรงุ พัฒนำงำน ๒. ผลการดาเนินงาน ผู้รบั ผดิ ชอบจัดทำระบบสำรสนเทศของโรงเรยี น ดำเนนิ กำรตำมกำหนด หมวดหมขู่ ้อมลู ให้ถูกต้อง ครอบคลุม กล่มุ งำนทุกกลุ่มกำหนดผรู้ ับผิดชอบจัดทำระบบสำรสนเทศ ดำเนินกำรจัดกำรข้อมูลสำคัญให้ครอบคลุมภำรกิจท้ัง 5 กลุ่มงำน และกลุม่ สำระกำรเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสำระ แต่งต้ังคณะกรรมกำรงำนสำรสนเทศจำกทุกกลุ่มงำนที่เก่ียวข้อง มีกำรประชุมคณะกรรมกำรเพ่ือวำงแผนในกำรดำเนินกำรเก็บข้อมูล กำหนดเวลำ แจ้งผู้รับผิดชอบของแต่ละกลุ่ม บริหำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ในกำรรำยงำนข้อมูล ดำเนินกำรจัดกำรข้อมูลที่สำคัญของหน่วยงำนตนให้เป็นปัจจุบัน นำสำรสนเทศไปใช้ในกำรวำงแผนกำรจัดกำรศกึ ษำท่ีครอบคลุมภำรกิจท้ัง 5 กลุ่มงำน ๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ จัดทำ และให้บริกำรขอ้ มูลสำรสนเทศท่ีระบบแกผ่ ู้ต้องกำรใช้ทุกฝ่ำย บุคลำกรทุกคนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว เปน็ ปัจจบุ นั นำเสนอข้อมลู ยอ้ นหลังสำคัญ ๓ ปี ใช้เป็นข้อมูลในกำรทบทวนปรับปรุงพัฒนำงำน ผลการประเมินโดย ภาพรวมอยใู่ นระดับคุณภาพ 5 ยอดเยีย่ ม ๓. จดุ เดน่ โรงเรียนเช่ำสัญญำณอินเทอร์เน็ตควำมเร็ว 500/500 Mbps จำนวน 4 วงจร โดยจัดสรรเพื่อให้บริกำร สัญญำณอินเทอร์เน็ตให้แก่ครู นักเรียน บุคลำกรภำยในโรงเรียน และผู้ที่มำติดต่อรำชกำร ทั้งกำรเช่ือมต่อแบบใช้ สำยสญั ญำณและกำรเช่ือมตอ่ แบบไรส้ ำยครอบคลมุ พ้ืนท่ี สถำนศึกษำอย่ำงทว่ั ถงึ และเทำ่ เทยี มกัน ๔. จดุ ควรพัฒนา กำรดูแลให้นักเรียนเข้ำถึงส่ือ เว็บไซต์ท่ีเหมำะสมกับกำรเรียนรู้ ช่วงวัย และวุฒิภำวะกำรส่ือสำรข้อมูล สำรสนเทศท่ีสำคญั ใหท้ ั่วถึงทุกหน่วยงำน บุคลำกรท่ีเกี่ยวข้องของโรงเรียน ควรมีกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลให้ทันสมัย เปน็ ปจั จุบนั ๑๐๗ | หน้า

สถำนศึกษำได้ส่งเสริมให้ครูพัฒนำศักยภำพอย่ำงต่อเนื่อง มีกำรพัฒนำสื่อกำรเรียนรู้เทคโนโลยี (ICT) และ แหล่งกำรเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญำท้องถ่ินท่ีเอ้ือต่อกำรเรียนรู้มำใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยสร้ำงโอกำสให้ผู้เรียนได้ แสวงหำควำมรู้ด้วยตนเองจำกส่ือท่ีหลำกหลำย ครูมีกำรบริหำรจัดกำรชั้นเรียนในเชิงบวก มีกำรตรวจสอบและ ประเมนิ คณุ ภำพผู้เรยี นอย่ำงเป็นระบบ มีข้ันตอน โดยใชเ้ ครอื่ งมือ และวิธีวัดและประเมินผลท่ีเหมำะสมกับเป้ำหมำย ในกำรจัดกำรเรยี นรู้ และใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั แก่ผู้เรียน ส่งเสริมให้ครูทำกิจกรรมชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ เพื่อ สง่ ผลดตี ่อคณุ ภำพของผ้เู รียน ใหค้ รูจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ มีวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมนิเทศภำยใน มีกำรอบรม กับหน่วยงำนทั้งภำยในและภำยนอกสถำนศึกษำ สนับสนุนให้ครูเข้ำร่วมโครงกำรพัฒนำครูรูปแบบครบวงจร (Training OBEC) กจิ กรรมศกึ ษำดูงำน พัฒนำครูรุ่นใหมใ่ ห้มคี วำมเข้มแข็งทำงวชิ ำกำรและจรรยำบรรณวิชำชีพครู ครู มีกำรพัฒนำหรอื ร่วมพัฒนำ ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม จิตสำนึก และในส่วนของควำม ภำคภูมิใจและอนุรักษ์ทอ้ งถิ่น วัฒนธรรมควำมเป็นไทย ด้วยวิธีกำร กจิ กรรมทีห่ ลำกหลำยตำมบทบำทหน้ำที่ควำมเป็น ครแู ละรำยวิชำที่ไดร้ ับมอบหมำย ครูปฏิบตั ิหน้ำทดี่ ้วยควำมมุ่งมั่น อุทิศตน ทุ่มเทแรงกำยแรงใจในกำรปฏิบัติกำรสอนและงำนท่ีได้รับมอบหมำย ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ครูมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเป้ำหมำยหลักกำรจัดกำรศึกษำ ครูมีกำรวิเครำะห์ผู้เรียนเป็นรำยบุคคล มีกำรจดั ทำแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ครูทุกคนมีวิจัยในชั้นเรียนภำคเรียนละ ๑ เร่ือง และมีกำรนิเทศภำยในกลุ่มสำระกำร เรียนรู้ มีกำรส่งเสริมให้ครูสำมำรถผลิตสื่อ (ICT) ท่ีทันสมัยให้กับผู้เรียนและมีกำรพัฒนำตนเองอยู่เสมอ ครูมีกำรนำ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของผู้เรียนมำวิเครำะห์เพื่อปรับปรุงวิธีกำรสอนและเนื้อหำต่ำง ๆ ให้เข้ำกับศักยภำพ ควำมสำมำรถและควำมแตกต่ำงของผู้เรียน ส่งผลให้กำรประเมนิ คุณภำพตำมมำตรฐำนที่ ๓ อยู่ในระดับยอดเย่ียม ๑๐๘ | หนา้

มาตรฐาน / ประเด็นพิจารณา รอ่ งรอย/หลักฐาน/ความพยายาม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้น  แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั  รำยงำนกำรประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน/ T-SAR ๓.๑ จัดกำรเรียนรผู้ ่ำนกระบวนกำรคิดและปฏิบตั ิจริงและ  นิเทศกำรสอน สำมำรถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้  PLC กลมุ่ สำระฯ และ PLC รำยบคุ คล ๓.๒ ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ อื้อตอ่  รำยงำนผลกำรจดั กจิ กรรมสร้ำงชุมชนกำรเรยี นรู้ การเรยี นรู้ วิชำชีพ (PLC) ๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี นเชงิ บวก  กิจกรรมชมรม  กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนำรี ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผล  กิจกรรมคำ่ ยวิชำกำรของกลุ่มสำระกำร มาพัฒนาผเู้ รยี น เรยี นรตู้ ่ำง ๆ ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือ  ผลกำรวจิ ัยในช้นั เรียน พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้  ผลกำรวเิ ครำะห์ผู้เรียนรำยบคุ คลของครู  ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ทกุ รำยวิชำของครู  บันทึกกำรเยี่ยมบำ้ น  บันทกึ โฮมรูม  บนั ทึก/เกยี รติบตั รกำรอบรมและพัฒนำ  กจิ กรรมศกึ ษำดูงำนครู  ประชมุ ประจำเดือน  สื่อ นวตั กรรมเทคโนโลยี  แฟม้ ประวตั ินักเรยี นทปี่ รึกษำ สรุประดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี 3 ระดบั ยอดเยย่ี ม ๑๐๙ | หน้า

๓.๑ จดั การเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ตัวชว้ี ดั จดั กำรเรียนรู้ผำ่ นกระบวนกำรคดิ และปฏิบัติจริง และสำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ๑. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนกำหนดให้ครูผู้สอนในทุกรำยวิชำ ดำเนินกำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยผ่ำนกระบวนกำร วิเครำะห์ตัวช้ีวัด มำตรฐำนกำรเรียนรู้ เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน และหลักสูตร สถำนศึกษำ และนำผลกำรวิเครำะห์มำออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนกำรคิดและปฏิบัติได้จริง อีกท้ัง โรงเรียนยังมีโครงกำรนิเทศกำรจัดกำรเรียนรู้ ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้และต่ำงกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ เพ่ือแลกเปล่ียน เรียนรู้วธิ ีกำรและเทคนคิ กำรสอน เพือ่ นำมำปรับใช้ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในรำยวิชำของตนเอง ครูผู้สอนนำผล กำรนเิ ทศไปปรบั ปรงุ คุณภำพกำรเรยี นกำรสอน ซง่ึ จะส่งผลให้กำรจดั กำรเรียนกำรสอนมีคุณภำพ ส่งผลดีต่อผู้เรียนใน ลำดับตอ่ ไป ๒. ผลการพฒั นา ครูจดั ทำแผนกำรจดั กำรเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั เนน้ กระบวนกำรคิด วเิ ครำะห์ กำรกำหนดจุดประสงค์ ครบถ้วน ทั้งด้ำนควำมรู้ ทักษะและกำรปฏิบัติ และด้ำนเจตคติ มีกำรส่งแผนกำรจัดกำรเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เชี่ยวชำญ ตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง โดยใช้วธิ ีกำรวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนตำมสภำพจริง เชงิ ประจกั ษ์จริง ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะ กำรคิด กล้ำแสดงออก แสดงควำมคิดเห็น สรุปองค์ควำมรู้ และนำเสนอผลงำน สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ นอกจำกนี้ผู้เรียนได้ค้นพบจุดแข็ง จุดอ่อน ควำมสำมำรถ และตระหนักในศักยภำพของตน พร้อมพัฒนำต่อยอด ควำมรแู้ ละทกั ษะของตน ให้ผ้เู รยี นมคี วำมสขุ เกง่ เรยี นรู้รอบด้ำนตำมวิสัยทัศน์ของสถำนศึกษำ ผลการประเมินอยู่ใน ระดับคุณภาพ ๕ ยอดเย่ยี ม ๓. จดุ เดน่ ครูมีกำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ีสำมำรถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง มีกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ตำม มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ดั ของหลักสูตรสถำนศึกษำ ครูต้ังใจ มุ่งม่ันพัฒนำผู้เรียนโดยมุ่งเน้นออกแบบกิจกรรม โครงกำร ตลอดจนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ฝกึ ทกั ษะกำรคดิ และได้ปฏิบัติจริงอย่ำงเหมำะสม เป็นไปตำมมำตรฐำนและตวั ชว้ี ดั ของหลกั สูตร ๑๑๐ | หนา้

๔. จดุ ควรพฒั นา ครูทุกคนควรไดร้ ับกำรอบรมกำรพัฒนำศักยภำพเร่ืองกำรสร้ำงสื่อนวัตกรรมเพื่อพัฒนำคุณภำพด้ำนเทคนิค และวิธีกำรจัดกระบวนกำรเรียนกำรสอนให้เหมำะสม ตอบสนองผู้เรียนอย่ำงหลำกหลำย สำมำรถประยุกต์ใช้ส่ือ นวตั กรรมใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรียนสงู สุด พรอ้ มทงั้ เรียนรู้กระบวนกำรเผยแพรส่ ื่อนวตั กรรมในกำรจัดกำรเรียนรู้ เพ่ือ รบั ข้อมลู ย้อนกลบั และนำไปพฒั นำส่อื นวัตกรรมของตนต่อไป ๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ครใู ชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ำรสนเทศ ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ๑. กระบวนการพฒั นา ครใู ชส้ ื่อและเทคโนโลยีสำรสนเทศท่ชี ่วยพัฒนำกำรเรียนรขู้ องนักเรียน ตอบสนองควำมต้องกำรของนักเรียน โดยนำสื่อมำประกอบกิจกรรมกำรเรียนรู้ให้ผู้เรียนเข้ำใจได้ง่ำย ชัดเจน และสำมำรถดึงดูดควำมสนใจ ซ่ึงเป็นส่วน สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนเรยี นรอู้ ยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพมำกยงิ่ ขึ้น โรงเรียนสนับสนุนให้ครูผู้สอนใช้ส่ือกำรเรียนรู้ตำมโครงกำรกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำด้วยเทคโนโลยี สำรสนเทศ (DLIT) ในกำรจัดกำรเรียนรู้ เช่น ผลิตสื่อกำรเรียนรู้เพื่อใช้จัดกำรเรียนรู้ พัฒนำเว็บไซต์ DLIT เพ่ือเป็น ทำงเลือกให้แก่ครูเพ่ือใช้ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน โดยสำมำรถนำไปใช้เป็นช่องทำงให้ครูมอบหมำยงำน ติดตำม ภำระงำน เป็นชอ่ งทำงในกำรส่ือสำรระหว่ำงครูกับนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน ในประเด็นต่ำง ๆ ซึ่งเป็นกำรสร้ำง สงั คมแหง่ กำรเรียนรูโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นสอื่ ๒. ผลการพัฒนา ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสำรสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอื้อต่อกำรเรียนรู้ 1. ครแู ละนักเรยี นมีสอื่ และแหลง่ เรยี นรตู้ รงตำมมำตรฐำนและตวั ชว้ี ดั ตรงตำมกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ 2. ครูและนักเรียนมีสื่อและแหล่งเรียนรู้เพ่ิมขึ้นและได้เห็นควำมแตกต่ำงในกำรจัดกำรศึกษำของไทยและ ต่ำงประเทศ 3. ครูมีสื่อหลำกหลำยสำมำรถนำมำจัดกำรเรียนกำรสอนโดยเลือกใช้ให้เหมำะกับนักเรียนแต่ละห้องหรือ แต่ละบุคคล ในกำรสอนสำระเดียวกัน ส่ือกำรสอนบำงเรื่องนักเรียนสำมำรถทบทวนได้ด้วยตนเองหรือสำมำรถศึกษำ ไดห้ ลำยๆคร้งั จนเกิดทกั ษะ เกดิ ควำมเข้ำใจจนสรำ้ งองคค์ วำมร้ไู ด้ 4. ทำให้ทรำบระดับควำมพึงพอใจของนักเรยี น ทเี่ รยี นโดยใช้ส่ือนัน้ ๆ ในแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ 5. มสี ่อื ทีด่ สี ำมำรถนำมำใช้จัดกำรเรยี นกำรสอนได้ 6. ไดพ้ ัฒนำส่อื ใหม้ ีคุณภำพสูงขน้ึ และนำไปเผยแพร่ได้ ทรำบขอ้ ดี ขอ้ ควรพัฒนำ เกดิ กลั ยำณมติ รระหว่ำงครู จากผลการพัฒนาดังกล่าว ส่งผลให้ผลการดาเนินงานอย่ใู นระดับคณุ ภาพ ๔ ดเี ลศิ ๑๑๑ | หน้า

๓. จดุ เดน่ โรงเรียนต้งั อยใู่ นเมืองหลวงของประเทศ ใกล้ชิดแหล่งควำมเจริญและแหล่งอำรยธรรมของประเทศมำกมำย สำมำรถนำนักเรียนไปศึกษำค้นคว้ำไดส้ ะดวก อกี ท้งั โรงเรียนยงั มีกำรนำเทคโนโลยีมำใชใ้ นกำรจดั กำรเรียนกำรสอน ๔. จดุ ควรพัฒนา 4.1 จดั หอ้ งเรียนทีส่ ำมำรถใชเ้ ทคโนโลยีให้ทกุ กล่มุ สำระกำรเรียนสำมำรถใช้จดั กำรเรียนกำรสอนไดท้ ุกระดับชน้ั 4.2 จดั อบรมครูให้มคี วำมรอบรู้ในกำรใชส้ ือ่ อปุ กรณท์ ีโ่ รงเรียนมอี ยู่ใหไ้ ดค้ รบทุกท่ำน ๓.๓ การบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก ตัวช้ีวดั ครมู กี ำรจัดกำรบรหิ ำรชนั้ เรยี นเชิงบวก /มีควำมสำมคั คี ๑. กระบวนการพฒั นา ตำมพระรำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกำรที่ ๙ กล่ำวว่ำ ๓ หัวใจของ กำรศึกษำ คือ “ให้ครูรักเด็ก และเด็กรักครู ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพ่ือน” ทำให้กำรจัดกำรเรียนรู้ในปัจจุบัน จำเปน็ ตอ้ งมกี ำรบรหิ ำรจัดกำรชัน้ เรียนอย่ำงเป็นระบบเพอื่ ให้ผู้เรยี นสำมำรถเรียนรู้ร่วมกันกับครูผู้สอนและเพ่ือนร่วมชั้น เรยี นไดอ้ ยำ่ งมคี วำมสขุ โดยกระบวนกำรเหล่ำน้ันสอดคล้องกับกำรจัดกำรเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยปัจจุบัน เรียกวำ่ กำรเรียนกำรสอน Active Learning ปรบั เปลย่ี นบทบำทของครูจำกผู้สอน ผู้ถ่ำยทอดควำมรู้ เป็นผู้อำนวยควำม สะดวกและเรยี นรู้ไปพรอ้ มกับผเู้ รียน กำรน้ี โรงเรียนมีโครงกำร นิเทศกำรจัดกำรเรียนรู้ในกลุ่มสำระฯ และนอกกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ เพ่ือ พัฒนำกำรจดั กำรเรียนกำรสอนให้สำมำรถจัดกำรชั้นเรียน บริหำรช้ันเรียน จัดกระบวนกำรเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมให้ นกั เรียนได้คิดอย่ำงเป็นระบบ สำมำรถปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้อง มีกำรจัดบรรยำกำศกำรเรียนจัดกำรเรียนรู้ในชั้นเรียน และนอกช้นั เรียนอยำ่ งมคี วำมสุข มีควำมศรทั ธำในผู้สอน รักทจี่ ะเรยี นรแู้ ละรักท่จี ะเรียนรู้รว่ มกันกบั ผอู้ น่ื ได้ ๒. ผลการพฒั นา ผลการพฒั นา วธิ กี ารพัฒนา 1. ดา้ นการจดั การชัน้ เรียนเชิงบวกทางกายภาพ - โรงเรยี นมหี อ้ งเรยี นบรรยำกำศน่ำเรยี นรู้ 1.1 กำรพัฒนำอำคำร สถำนท่ี และอุปกรณ์ ส่ือกำร และมอี ปุ กรณ์ สื่อกำรสอนเพียงพอตอ่ กำร ส อ น ใ ห้ เ ห ม ำ ะ ส ม เ อ้ื อ ต่ อ ก ำ ร จั ด ก ำ ร เ รี ย น รู้ จดั กำรเรียนกำรสอน (ผู้รบั ผดิ ชอบกลมุ่ บริหำรทวั่ ไป) - มีห้องโสตทศั นศึกษำและหอ้ งประชมุ ท่ี 1.2 กำรจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ให้นักเรียน เพียงพอต่อกำรจัดกจิ กรรมตำ่ ง ๆ ของ โรงเรยี น ช่วยกนั รกั ษำควำมสะอำดของอำคำร สถำนที่ใน โรงเรยี น - ช้ันเรียนสะอำดเหมำะสม เอือ้ ต่อกำร จดั กำรเรียนรู้ ๑๑๒ | หนา้

วธิ กี ารพัฒนา ผลการพัฒนา 2. ดา้ นการจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก ในเชิงจติ วิทยา - จดั ประชุมผปู้ กครอง ส่งเสริมควำมสัมพันธ์ 2.1 กำรพฒั นำควำมสัมพันธท์ ีด่ รี ะหว่ำงครกู ับ อันดขี องครูกับผู้ปกครองและนกั เรยี น นกั เรยี น - กำรมอบเกยี รตบิ ัตรครรู ะบบดแู ล 2.2 กำรสง่ เสรมิ บทบำทกำรเปน็ ผ้นู ำ ลักษณะผูน้ ำเชงิ ชว่ ยเหลอื นักเรียน และกำรยกยอ่ ง ประชำธิปไตย ตวั อย่ำงครูดีศรีบำงมด เพือ่ เปน็ ขวญั กำลังใจของบุคลำกร 2.3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนรใู้ นช้นั เรียน กำรสรำ้ ง - นักเรียนมีควำมเป็นผู้นำ ยอมรับในระบบ แรงจูงใจในชน้ั เรียน กำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ประชำธปิ ไตย หลำกหลำย และกำรจัดกจิ กรรมให้เหมำะสม - นกั เรียนได้เรียนรู้ผ่ำนกระบวนกำรเรียนรู้ สอดคล้องตอ่ ผเู้ รยี น ท่ีหลำกหลำย เหมำะสมตอ่ นกั เรียน 2.4 กำรวำงกฎระเบียบร่วมกันระหว่ำงครูและผู้เรยี น 2.5 กำรสื่อสำรด้ำนบวกกับผเู้ รียน - นักเรียนได้รับควำมรู้และมีควำมรู้สึกเชิง บวกตอ่ ครู 3. ดา้ นการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมกี ารเรยี นรูอ้ ย่างมีความสุข - นกั เรยี นมกี ิจกรรมทที่ ำร่วมกนั อยำ่ ง และอย่รู ว่ มกันอย่างมีความสุข โดยผา่ นกิจกรรม ตอ่ เนื่องสนุกสนำน ฝกึ กระบวนกำร ทำงำนอย่ำงเปน็ ระบบ และควำมสำมัคคี ๓. จดุ เด่น 1. ดำ้ นกำยภำพ มคี วำมพรอ้ มเออ้ื ต่อกำรเรียนรู้ เช่น กำรปูกระเบ้ือง สีสันสวยงำม อุปกรณ์ในห้องเรียนบำง หอ้ งมีควำมทันสมัย เหมำะสมเอ้ือตอ่ กำรเรียนรู้ เช่น เครื่องฉำยภำพ ทวี ี คอมพิวเตอร์เครือ่ งปรบั อำกำศ ห้องโสตทัศน ศกึ ษำ และห้องประชมุ ท่มี ขี นำดใหญ่รองรบั กำรจัดกิจกรรมไดอ้ ย่ำงหลำกหลำย 2. ด้ำนจิตวิทยำ มีกำรสื่อสำรทำงบวกต่อนักเรียนและผู้ปกครอง กำรยกย่องเชิงชูบุคคลำกรดีเด่นด้ำนกำร ดแู ลช่วยเหลือ กจิ กรรมกำรสื่อสำรเชิงบวกในแต่ละระดับช้ันในคำบประชุมระดับ กำรส่งเสริมกิจกรรมที่หลำกหลำย กบั นกั เรยี นเหมำะสม 3. ด้ำนกำรส่งเสริมให้ผู้เรยี นมกี ำรเรียนรู้อย่ำงมีควำมสุข และอยู่ร่วมกันอย่ำงมีควำมสุข โดยผ่ำนกิจกรรมท่ี หลำกหลำย เชน่ กิจกรรมกีฬำสีภำยใน กำรทำบุญตักบำตร ๔. จดุ ควรพัฒนา 1. ด้ำนกำยภำพ ห้องเรียนบำงส่วนยังมีลักษณะที่ไม่เอ้ือต่อกำรจัดกำรเรียนรู้ เช่น ขำดเครื่องฉำย ควำมไม่ เหมำะสมของแสง และอณุ หภูมิในห้องเรยี น 2. ดำ้ นจิตวทิ ยำ ควรมกี ำรยกยอ่ งสง่ เสรมิ ครูทจี่ ัดกำรชน้ั เรียนเชิงบวกดเี ดน่ เช่น กำรประกวดแผนกำรเรียนรู้ ครูดใี นดวงใจของนกั เรียน เป็นตน้ ๑๑๓ | หน้า

3. ดำ้ นกำรส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนมกี ำรเรยี นรู้อย่ำงมีควำมสขุ และอยู่รว่ มกันอย่ำงมีควำมสขุ โรงเรียนควรส่งเสริม กิจกรรมพด่ี ูแลน้อง และกิจกรรมอืน่ ๆ ทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนทำงำนรว่ มกนั ท้งั ในระดับชน้ั เดียวและตำ่ งชนั้ เพ่ือให้ผู้เรียน เรยี นจำกสภำพจริงและมีควำมสุข ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพฒั นาผ้เู รียน ตวั ช้วี ดั ครตู รวจสอบผูเ้ รียนโดยใชเ้ คร่อื งมือ/วิธีวัดท่เี หมำะสมกบั เป้ำหมำย ๑. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนกำหนดให้ครูทุกคนจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ มีกระบวนกำรตรวจสอบแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ นเิ ทศกำรสอนของครูทุกคน ทกุ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ ครูออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมธรรมชำติของวิชำ เพื่อพัฒนำ ควำมรู้ ทกั ษะและควำมสำมำรถด้ำนต่ำง ๆ ของผ้เู รยี นด้วยกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่หลำกหลำย ใช้สื่อกำรสอนและแหล่ง กำรเรียนรู้ทั้งภำยในและภำยนอกโรงเรียน และมีกระบวนกำรประเมินผลกำรเรียนตำมสภำพจริง เช่น กำรสังเกต พฤติกรรมกำรเรียนรู้ภำยในช้ันเรียน กำรตรวจใบงำน ช้ินงำนหรือภำระงำนที่ได้รับมอบหมำย ผลงำนต่ำงๆ ของ นักเรยี น กำรทดสอบควำมรูโ้ ดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน มีกำรกำหนดผู้เช่ียวชำญในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ต่ำงๆ เพ่ือตรวจสอบกำรออกข้อสอบให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ ตัวชี้วัดกำรเรียนรู้ และมีรูปแบบที่เหมำะสม เพ่ือ ใหผ้ ลกำรทดสอบสะทอ้ นควำมรู้ควำมสำมำรถทำงดำ้ นกำรคิด วเิ ครำะห์ และกำรแกป้ ญั หำของนกั เรียนได้อย่ำงแทจ้ รงิ ๒. ผลการพัฒนา ครูทุกคนจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงน้อย ๑ รำยวิชำ มีกำรวิเครำะห์หลักสูตร มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถำนศึกษำ เป็นกำรเตรียมควำมพร้อมก่อนสอนและทำให้เกิดกำรพัฒนำกำรสอนของครูให้มี คุณภำพ และโรงเรียนมีกำรนิเทศกำรสอนเพื่อพัฒนำ ปรับปรุงกำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรประเมินผลกำร เรียนรูใ้ ห้เหมำะสมกบั เปำ้ หมำยในกำรจดั กำรเรียนรู้ โดยครทู ุกคนไดม้ ีกำรแลกเปลย่ี นควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรจัดกำร เรียนรู้ในช้ันเรียนกับครูผู้นิเทศกำรสอน ส่งเสริมให้เกิดกำรพัฒนำควำมรู้และทักษะ กำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ ของครูทกุ คน มกี ำรประเมนิ ผเู้ รียนดว้ ยเครื่องมอื และวธิ กี ำรวัดและประเมนิ ผลทหี่ ลำกหลำย เหมำะสมกับเป้ำหมำยใน กำรจัดกำรเรียนรู้ของแตล่ ะรำยวิชำ ผลการประเมินรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ คุณภาพอยใู่ นระดับคุณภาพ ๕ ยอดเยีย่ ม ๓. จดุ เดน่ ครูทุกคนจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงน้อย ๑ รำยวิชำ มีกำรวิเครำะห์หลักสูตร มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตวั ชี้วดั ของหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ ๔. จดุ ควรพฒั นา โรงเรยี นยังควรปรบั ปรงุ ในเรื่องของกำรให้ผลย้อนกลบั ผ้เู รยี น และนำผลยอ้ นกลับไปพัฒนำนักเรยี น ๑๑๔ | หนา้

๓.๕ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับเพ่อื พฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ ตัวชี้วดั มีกำรแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนำและปรบั ปรุงกำรจัดกำรเรยี นรู้ ๑. กระบวนการพัฒนา โรงเรยี นได้สง่ เสรมิ ให้ครูได้แลกเปลย่ี นเรียนรู้ซงึ่ กนั และกันโดยผ่ำนโครงกำรหรอื กิจกรรมตำ่ ง ๆ อำทิเช่น งำน นิเทศกำรสอน กิจกรรมชุมนุมแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (PLC) กำรนำเสนอผลงำนดีเด่นของกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ต่ำง ๆ (Best practice) ในงำนนทิ รรศกำรและกิจกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะทำงวิชำกำร “เปิดโลกกำรเรียนรู้ Welcome to Bangmod 4.0” และโรงเรยี นมีกำรประเมินกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนของครทู ุกคนโดยนกั เรียน ๒. ผลการพฒั นา ครทู กุ คนไดร้ บั กำรนิเทศกำรกำรสอนจำกครูในกล่มุ สำระกำรเรียนรู้ของตน และครูนอกกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ส่งผลใหเ้ กิดกำรพฒั นำควำมรู้ ทักษะกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เข้ำร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ (PLC) โดยร่วม ประชมุ หำรือเพือ่ พัฒนำกำรเรียนกำรสอนในรำยวิชำท่ีสอนร่วมกัน เกิดกำรแลกเปล่ียนปัญหำที่เกิดข้ึนในกำรจัดกำร เรียนกำรสอนของตนเอง ผลการประเมนิ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ คุณภาพอยู่ในระดับคณุ ภาพ ๕ ยอดเยีย่ ม ๓. จุดเด่น ในปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ มกี ำรเข้ำร่วมกจิ กรรมชุมชนแหง่ กำรเรียนรู้ (PLC) รอ้ ยละ ๑๐๐ และนำผลกำรประชุม มำหำรอื เพ่ือพัฒนำกำรเรยี นกำรสอนในรำยวชิ ำท่ีสอนร่วมกัน เกิดกำรแลกเปล่ียนปัญหำท่ีเกิดขึ้นในกำรจัดกำรเรียน กำรสอน ๔. จดุ ควรพัฒนา ทกุ กลมุ่ สำระฯ ควรบนั ทกึ กำรแลกเปลย่ี นเรียนรู้และกำรให้ข้อมลู สะท้อนกลับอยำ่ งสม่ำเสมอและเป็นปัจจบุ นั ๑๑๕ | หน้า

ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำถือเป็นข้อมูลสำรสนเทศสำคัญท่ีสถำนศึกษำ จะต้องนำไปวิเครำะห์ สังเครำะหเ์ พ่อื สรุปนำไปสกู่ ำรเชอื่ มโยงหรอื สะทอ้ นภำพควำมสำเร็จ กับแผนพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ และนำไปใช้ในกำรวำงแผนพัฒนำ คุณภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ดังน้ัน จำกผลกำรดำเนินงำนของสถำนศึกษำ สำมำรถสรุปผลกำรประเมินในภำพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนำของแต่ละมำตรฐำน พร้อมทั้งแนวทำงกำรพัฒนำ ในอนำคตและควำมตอ้ งกำรกำรชว่ ยเหลอื ไดด้ ังนี้ จุดเดน่ จุดท่ีควรพฒั นา  ดา้ นคณุ ภาพของผเู้ รยี น  ด้านคุณภาพผู้เรียน 1. ผู้เรียนมีควำมสำมำรถในกำรอ่ำนเขียนกำรส่ือสำร 1. นวัตกรรมที่นักเรียนสร้ำงสรรค์ขึ้นบำง และกำรคดิ คำนวณ อ่ำนเอกสำรหรือสื่อต่ำงๆ แล้วนำเน้ือหำ นวัตกรรม ไม่ได้นำไปใช้หรือเผยแพร่สู่สังคม สำระท่ีอ่ำนมำคิดวิเครำะห์ นำไปสู่กำรแสดงควำมคิดเห็น เนื่องจำกคณุ ภำพของนวัตกรรมไมเ่ พยี งพอ หรือไม่ กำรสังเครำะห์หรือกำรสรำ้ งสรรคก์ ำรแก้ปญั หำ และถ่ำยทอด น่ำสนใจ หรือไม่สำมำรถนำไปใช้ได้จริง หรือขำด ควำมคิดดว้ ยกำรเขยี นท่มี ีสำนวนภำษำถูกต้อง มีเหตุผล และ โอกำสในกำรนำไปเผยแพร่ นำเสนอตำมลำดับข้ันตอนได้อย่ำงชัดเจนสำมำรถใช้ 2. ผู้เรียนควรได้รับกำรพัฒนำควำมสำมำรถ เทคโนโลยีในกำรแสวงหำควำมรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ ในกำรคิดคำนวณใหอ้ ยใู่ นระดบั ที่ดีข้ึน เพื่อส่งเสริม ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรียน และมีกำรพัฒนำอย่ำง ให้ผู้เรียนมีทักษะกำรคิดคำนวณอันเป็นเครื่องมือ ต่อเนื่อง นักเรียนกล้ำแสดงออก ร่ำเริงแจ่มใส สุขภำพกำย สำคญั ในกำรเรียนรรู้ ำยวชิ ำอืน่ ตอ่ ไป แข็งแรง มสี มรรถภำพทำงกำยและน้ำหนักส่วนสูงตำมเกณฑ์ 3. ควรมีแบบทดสอบหรือแบบประเมิน เพื่อวัด มีระเบยี บวินัย สรรคส์ ร้ำงสงั คม ตำมอัตลักษณ์ของสถำนศึกษำ และประเมินทักษะกำรอ่ำน กำรเขียน กำรส่ือสำร จัดกิจกรรมส่งเสริมควำมถนัดและควำมสำมำรถของผู้เรียน และกำรคิดคำนวณอย่ำงชัดเจน เพื่อกำรประเมิน ในทุกด้ำน ได้แก่ กิจกรรมทำงด้ำนวิชำกำร ศิลปะ ดนตรี ทเี่ ป็นรปู ธรรม กฬี ำ กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน ผลกำรแขง่ ขันทักษะทำงวิชำกำร พฒั นำข้ึนอยำ่ งต่อเนอ่ื งเปน็ ทย่ี อมรับของสังคม 2. ผู้เรียนมีควำมรู้ ควำมสำมำรถและทักษะในระดับ สำกลท่ีจำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ และกำรสร้ำงนวัตกรรม 3. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตำมท่ีสถำนศึกษำ กำหนดรู้จักเสียสละและบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุข นิสัยที่ดีด้วยกำรเข้ำร่วมกิจกรรมที่หลำกหลำย รวมท้ังเกิด จิตสำนึก ควำมภำคภูมิใจ และตระหนักถึงคุณค่ำของกำร อนรุ กั ษ์ สืบสำนภูมปิ ญั ญำไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย ๑๑๖ | หน้า

จุดเดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา  ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ  ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ 1. โรงเรียนมีกำรกำหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปำ้ ประสงค์ 1. ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำควรรำยงำน ของโรงเรียนเพ่ือสู่ควำมสำเร็จในควำมเป็นเลิศทำงวิชำกำร ผลกำรพัฒนำตนเองอยำ่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ ประจำทกุ ปี และคณุ ธรรม โดยควำมรว่ มมอื กันจดั ทำกลยทุ ธ์ของโรงเรยี น 2. ขยำยเครือข่ำยควำมร่วมมือ ของผู้มีส่วน 2. ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำทุกคนได้รบั กำรพัฒนำ เก่ียวข้องในกำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนให้มี และส่งเสริมตำมควำมถนัดครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำมี ควำมเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลกำรจัด ควำมพึงพอใจและรักในวิชำชีพ กำรศึกษำ และกำรขับเคลื่อนคุณภำพกำรจัด 3. มรี ะบบงำนหลกั (กำรเรียนกำรสอน) และระบบงำน กำรศึกษำใหต้ ่อเนื่อง สนับสนุน (งำนกิจกรรมโครงกำร) ที่ปฏิบัติงำนตำมวงจร 3. ส่งเสริมพัฒนำครูและบุคลำกร ให้มีควำม คุณภำพ PDCA มีควำมโปร่งใส สำมำรถตรวจสอบได้ เขม้ แข็งทำงวิชำกำร เน่ืองจำกเป็นช่วงเปลี่ยนถ่ำย โรงเรียนได้ใช้ กระบวนวิจัยในกำรรวบรวมข้อมูลมำใช้เป็น บุคลำกรรุ่นพ่ีสู่รุ่นนอ้ ง ฐำนในกำรวำงแผนพัฒนำคณุ ภำพ สถำนศกึ ษำ 4. โรงเรียนได้ดำเนินกำรจัดสภำพแวดล้อมและบริกำร ท่สี ง่ เสริมให้ผู้เรียน บุคลำกร ได้พัฒนำเต็มตำมศักยภำพเอ้ือ ต่อกำรจัดกำรเรียนรู้ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติกำร ห้องสมุด อำคำรเรียน อำคำรประกอบ แหล่งเรียนรู้ มีควำมมั่นคง แข็งแรง มีคุณภำพ และมีควำมปลอดภัย มีส่ิงอำนวยควำม สะดวกในกำรเรียนรู้เพียงพอ ใช้กำรได้ดี นำไปสู่กำรพัฒนำ ผเู้ รยี นทุกด้ำน 5. ผู้บริหำรมีควำมตั้งใจ มีควำมมุ่งมั่น มีหลักกำร บริหำรและมีวิสัยทัศน์ ในกำรบริหำรงำน สำมำรถเป็น แบบอยำ่ งท่ีดีในกำรทำงำน และคณะกรรมกำรสถำนศึกษำมี ควำมตั้งใจ และมีควำมพร้อมในกำรปฏิบตั หิ น้ำทตี่ ำมบทบำท ๑๑๗ | หน้า

จุดเด่น จดุ ทค่ี วรพฒั นา  ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น  ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น สาคญั ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ๑. นักเรียนได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีกำรและแหล่งเรียนรู้ท่ี 1. ครูทุกคนควรได้รับกำรอบรมกำรพัฒนำ หลำกหลำย ได้ฝึกทักษะ กำรแสดงออก นำเสนอผลงำน ศักยภำพเร่ืองกำรสร้ำงส่ือนวัตกรรมเพ่ือพัฒนำ กำรแสดงควำมคิดเห็น รักกำรแสวงหำควำมรู้และสำมำรถ คุณภำพด้ำนเทคนิคและวิธีกำรจัดกระบวนกำร เชอ่ื มโยงควำมรู้และทกั ษะด้ำนต่ำง ๆ อันจะนำไปสู่กำรสร้ำง เรยี นกำรสอนให้เหมำะสม ตอบสนองผู้เรียนอย่ำง ผลงำน/นวตั กรรมได้ หลำกหลำย สำมำรถประยุกต์ใช้สื่อนวัตกรรมให้ ๒. นักเรียนมีเวทีแสดงผลงำนโครงงำนวิชำกำร และ เกิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี นสูงสดุ นวตั กรรม โดยโรงเรียนไดจ้ ัดกจิ กรรมกำรนำเสนอผลงำนทำง 2. ควรปรับปรุงในเร่ืองของกำรให้ผลย้อนกลับ วิชำกำรในรูปแบบของโครงงำนหน่ึงห้องเรียนหน่ึงโครงงำน ผเู้ รยี น และนำผลย้อนกลับไปพัฒนำนักเรียน เปน็ ประจำทุกปี 3. ครูมีควำมต้ังใจ มุ่งม่ันในกำรพัฒนำกำรสอนมุ่งเน้น ใหน้ กั เรยี นได้ปฏิบัติจริง ใช้รูปแบบวิธีกำรและแหล่งเรียนรู้ท่ี หลำกหลำย ส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหำควำมรู้จำกส่ือ เทคโนโลยีเพ่ือให้ทันต่อกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่ำง รวดเรว็ โดยครูใช้กระบวนกำรวิจัยในกำรพัฒนำกำรเรียนกำร สอนและกำรแก้ไขปญั หำตำ่ ง ๆ ๑๑๘ | หนา้

กำรกำหนดแนวทำงกำรพัฒนำในอนำคตต้องอำศัยวิสัยทัศน์ ข้อมูลจำกสำรสนเทศ ผลกำรประเมินงำน/โครงกำร/ กิจกรรม ข้อเสนอแนะจำกผู้รับผิดชอบ บริบทของโรงเรียน และกำรแก้ไขปัญหำตำมสภำวกำรณ์ นำมำบูรณำกำรเป็นแนว ทำงกำรพัฒนำให้สอดคล้องกับแผนกำรศึกษำของโรงเรียน และบรรลุตำมวิสัยทัศน์ท่ีได้กำหนดไว้ แนวทำงกำรพัฒนำ โรงเรียนบำงมดวิทยำ “สีสุกหวำดจวนอุปถมั ภ์” มีดงั นี้ 1. ส่งเสรมิ นกั เรยี นให้มที กั ษะด้ำนกำรสรำ้ งนวตั กรรม และคน้ พบศกั ยภำพทแี่ ทจ้ รงิ ของตนเอง 2. กำรยกระดับผลผลกำรทดสอบทำงวิชำกำรระดับชำติ (O - Net) ของทุกรำยวชิ ำ 3. พัฒนำครูให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่เน้นกำรพัฒนำผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยรูปแบบกระบวนกำรทหี่ ลำกหลำยมีประสิทธภิ ำพ 4. กำรพัฒนำบุคลำกรโดยส่งเข้ำรับกำรอบรม แลกเปล่ียนเรียนรู้ในงำนที่ได้รับมอบหมำย ติดตำมผลกำร นำไปใช้และผลท่เี กดิ กบั ผู้เรยี นอยำ่ งต่อเนื่อง 1. กำรสนับสนุนและควำมร่วมมอื ทำขอ้ ตกลงระหว่ำงมหำวทิ ยำลัยท้งั ภำยในและภำยนอกประเทศ 2. งบประมำณสนบั สนุนสำหรบกำรพฒั นำและปรบั ปรงุ อำคำร สถำนท่ี และแหลง่ เรียนรู้ 3. กำรสรำ้ งคลังข้อสอบ Online ตำมแนวทำงของกำรประเมนิ O – NET และ PISA ๑๑๙ | หนา้

120 | หนา้

121 | หนา้

122 | หนา้

123 | หนา้

124 | หนา้

บนั ทึกการพจิ ารณาให้ความเห็นชอบเอกสาร รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1 ............................................. ตามท่ีโรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์” ได้จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 และนาเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พื้นฐานน้ัน ขา้ พเจ้าและคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ได้ศึกษารายละเอียดของรายงานผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษาแลว้ ปรากฏวา่ มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ข้าพเจ้าและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงให้ความเห็นชอบรายงานผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 ของโรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์” และขอให้ ทางโรงเรียนไดน้ าผลการดาเนนิ งานไปพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาใหไ้ ด้มาตรฐานตามท่กี าหนดไว้ (นายศิริ สงุ คาสทิ ธ)์ิ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ์” (นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถติ ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ์”

บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ์” ที่ วันที่ 19 สงิ หาคม 2563 เร่ือง ขอความเห็นชอบรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2562 เรียน ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ์” ด้วยคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ได้จัดทารายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2562 ข้ึน เพื่อรายงานผลการดาเนินงานในรอบปีการศึกษา 2562 ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563 เพ่ือเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด ผู้บังคับบัญชา ชุมชน และผู้ที่ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 เพ่ือใช้เป็นสารสนเทศทางการศึกษาของโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีการศึกษา ตอ่ ไปให้มคี ุณภาพสงู ข้ึน น้ัน การนี้ การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2562 ได้เสร็จ เรยี บร้อยแลว้ จึงขอสง่ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2562 ดงั รายละเอียดตาม เอกสารท่แี นบมาพร้อมน้ี จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดทราบและพิจารณาอนมุ ัติ (นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ) หวั หน้างานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา ความเห็นของผูอ้ านวยการ เรียน ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์” - เพื่อโปรดทราบและพจิ ารณา (นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต) ผ้อู านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” ทราบ - เห็นชอบ/อนุมตั ิ (นายศิริ สุงคาสิทธ์)ิ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์”

คำส่ังโรงเรยี นบำงมดวทิ ยำ “สีสุกหวำดจวนอุปถัมภ”์ ท่ี 112/๒๕๖2 เรื่อง แต่งตัง้ คณะกรรมกำรกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖2 ----------------------------------------------------- ด้วยกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา และดาเนนิ การตามแผนท่กี าหนดไว้ จัดใหม้ ีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่ง รายงานผลการประเมินตนเองใหแ้ กห่ นว่ ยงานตน้ สังกัด หรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี ประกอบกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศให้ใช้มาตรฐาน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ วันท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงในการพัฒนา ส่งเสริมสนับสนุน กากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศกึ ษาให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ยและใชใ้ นการบรหิ ารงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล อาศัยอานาจตามมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์” จึงแต่งตั้ง คณะกรรมการการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 ดงั น้ี ๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๑. นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษ์พงศ์สถติ ๒. นางสาวพมิ พ์ฐินันท์ ดลิ กสุนทร ครู ชานาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ ผ้ชู ่วยผ้อู านวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ 3. นางศิรวิ รรณ อทุ ยั สาร์ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ผูช้ ่วยผู้อานวยการกล่มุ บรหิ ารทว่ั ไป 4. นางวลัยรัตน์ ยง่ิ ดานุ่น ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ผชู้ ่วยผูอ้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล 5. นางกาญจนา ไชยวงษ์ ครู ชานาญการ กรรมการ ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารงบประมาณ 6. นางสาวดวงกมล กลิน่ ดี ครู ชานาญการ กรรมการและเลขานกุ าร ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน หนำ้ ที่ อานวยการใหค้ าปรกึ ษา แนะนา วางแผน ตรวจสอบ ทบทวน กากับตดิ ตาม สง่ เสริมและสนบั สนนุ เพอื่ ใหก้ ารดาเนินงานเป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย

๒ ๒. คณะกรรมกำรดำเนนิ งำนกำรประกนั คณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำ ๒.๑ คณะกรรมกำรฝำ่ ยประสำนงำน ๑. นางสาวดวงกมล กล่นิ ดี ครู ชานาญการ ประธานกรรมการ ผชู้ ่วยผู้อานวยการกลุม่ นโยบายและแผน หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ๒. นางสาวพิมพ์ฐนิ นั ท์ ดิลกสุนทร ครู ชานาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ ผู้ชว่ ยผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ๓. นางกาญจนา ไชยวงษ์ ครู ชานาญการ รองประธานกรรมการ ผู้ชว่ ยผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงบประมาณ ๔. นางศิรวิ รรณ อุทัยสาร์ ครู ชานาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป ๕. นางวลัยรตั น์ ยง่ิ ดานุ่น ครู ชานาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ ผู้ช่วยผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานบคุ คล 6. นางสาวสจั จพร นม่ิ นวลงาม ครู กรรมการ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๗. นายยศกร เรืองไพศาล ครู กรรมการ หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ๘. นางสาวปรยี านุช ศรสี ุขคา ครู กรรมการ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๙. นางวาสนา ปิยะมาดา ครู ชานาญการ กรรมการ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ๑๐. นางโชคดี ศรีปทุมานุรักษ์ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ๑๑. นางสาวชญั ญานุช รตั นวชิ ัย ครู ชานาญการ กรรมการ หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑๒. นางสาวณัชชา กลิน่ อบุ ล ครู กรรมการ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ๑๓. นางสาวเทวี ทาเหล็ก ครู ชานาญการ กรรมการ หวั หนา้ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๔. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครู กรรมการและเลขานกุ าร หัวหน้างานพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๑๕. นายบริบูรณ์ พรหมสวา่ ง ครู ชานาญการ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร หัวหนา้ งานพฒั นาระบบและเครอื ขา่ ย ขอ้ มูลสารสนเทศ

๓ หนำ้ ที่ ๑. กาหนดนโยบาย แนวปฏบิ ตั ิ และแนวทางการพฒั นางานตามระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา ๒. ชี้แจง ประสานงาน กากบั ดูแล ตดิ ตามผล และใหค้ าแนะนาในการดาเนินงาน ๓. ตรวจสอบ ทบทวน ประเมนิ สง่ เสริม พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง ๔. ประสานงานขอ้ มลู กับบุคลากร และหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ๒.๒ คณะกรรมกำรดำเนนิ งำนตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ มำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพของผู้เรยี น ประกอบด้วยประเดน็ พจิ ารณา ๒ ประเดน็ ดังนี้ ประเด็นพิจำรณำที่ ๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ ำงวิชำกำรของผู้เรียน ประเด็นพิจารณาที่ ๑.๑.๑ ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณ ประเดน็ พิจารณาท่ี ๑.๑.๒ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ประเด็นพิจารณาที่ ๑.๑.๓ ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ประเดน็ พิจารณาที่ ๑.๑.๔ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ประเดน็ พิจารณาที่ ๑.๑.๕ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ประเด็นพิจารณาท่ี ๑.๑.๖ ความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ ๑. นางสาวพมิ พฐ์ ินนั ท์ ดลิ กสุนทร ครู ชานาญการพิเศษ หวั หน้าประเด็นพิจารณาท่ี ๑.๑ ผ้ชู ว่ ยผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ 2. นางธนญั ภรณ์ ศรแี สง ครู ชานาญการพเิ ศษ รองหัวหนา้ ประเดน็ พจิ ารณาท่ี ๑.๑ 3. นางวัลฤดี จัตกุ ลู ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 4. นางสาวดวงกมล กลิน่ ดี ครู ชานาญการ กรรมการ ผู้ช่วยผอู้ านวยการกลมุ่ นโยบายและแผน 5. นายเกรกิ กุล เลาหะพานชิ ครู ชานาญการ กรรมการ 6. นางทพิ พพ์ ชิ ญช์ า เมย้ ชม ครู ชานาญการ กรรมการ 7. นางสนุ ิสา สายบวั ครู ชานาญการ กรรมการ 8. นางวาสนา ปยิ ะมาดา ครู ชานาญการ กรรมการ 9. นางสาวชัญญานชุ รัตนวชิ ัย ครู ชานาญการ กรรมการ 10. นายประพาฬ แก้ววงษา ครู ชานาญการ กรรมการ 11. นางสาวณฐั ทติ า รกั ษา ครู กรรมการ 12. นายอัศวิน ดวงจติ ร ครู กรรมการ 13. นางสาวสจั จพร น่ิมนวลงาม ครู กรรมการ 14. นางสาวเกศนิ ี ทองทวี ครู กรรมการ ๑5. นางสาวภรติ พร ตระกลู นา้ ผ้งึ ครู กรรมการ ๑6. นางสาวภัคจริ า บวรธรรมรตั น์ ครู กรรมการ 17. นางสาวนวพร แกว้ เปี้ย ครู กรรมการ ๑8. นางสาวพรหมพร หนูนอ้ ย ครู กรรมการ ๑9. นางสาวปยิ ะวรรณ ตาคาแสง ครู กรรมการ 20. นายธนาคาร ฝอยทอง ครู กรรมการ 21. นายกฤษ บางศรี ครู กรรมการ 22. นางสาวชมพนู ุท ก้องดษุ ิต ครู กรรมการ ๒3. นางสาวรตั นากร ศรีคุณ ครู กรรมการ

๔ ๒4. นางสาวกญั ญาพชั ร หม่มู ่วง ครู กรรมการ 25. นายพทุ ธชิ ัย ขวัญทอง ครู กรรมการ 26. นางสาวศริ ิขวัญ รัตนพลธี ครูผูช้ ่วย กรรมการ 27. นางสาวอสิ ริยา โหยกระโทก ครูผู้ช่วย กรรมการ 28. นางสาวนันทวัน งามลา้ ครูผู้ชว่ ย กรรมการ 29. นางสาวมณรี ตั น์ อนิ ทองคา ครูผชู้ ่วย กรรมการ 30. นางสาวธญั ทพิ ย์ ติลงั การณ์ ครูผชู้ ่วย กรรมการ 31. นางสาวกรีเนตร แกว้ เจรญิ ครูผชู้ ่วย กรรมการ 32. นางสาวปารมี มากจ้อย ครผู ูช้ ว่ ย กรรมการ 33. นางสาวสวุ รรณี สมประเสริฐ ครูอตั ราจา้ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ กรรมการ การงานอาชพี และเทคโนโลยี กรรมการและเลขานุการประเด็น 34. นายศันสนะ เก่งการณุ กจิ ครู พิจารณาท่ี ๑.๑ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ ๓5. นางวราภรณ์ จิตต์คง ครู ประเด็นพิจารณาที่ ๑.๑ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ 36. นางลฎาภา ขันโพชา ครูผชู้ ่วย ประเด็นพจิ ารณาที่ ๑.๑ ประเด็นพจิ ำรณำที่ ๑.๒ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น ประเดน็ พิจารณาท่ี ๑.๒.๑ การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดตี ามท่ีสถานศึกษากาหนด ประเด็นพจิ ารณาท่ี ๑.๒.๒ ความภมู ิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ประเด็นพจิ ารณาที่ ๑.๒.๓ การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ประเด็นพจิ ารณาท่ี ๑.๒.๔ สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม ๑. นางวลัยรตั น์ ยง่ิ ดานนุ่ ครู ชานาญการพิเศษ หัวหน้าประเดน็ พิจารณาท่ี ๑.๒ ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 2. นางศิรวิ รรณ อทุ ยั สาร์ ครู ชานาญการพิเศษ รองหัวหน้าประเด็นพิจารณาท่ี ๑.๒ ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการกลุ่มบริหารทวั่ ไป 3. นางสาวกญั ญภา สังข์คุ้ม ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 4. นายศริ ภิ ทั ร ม่ันเศษฐวิทย์ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 5. นางสาวจุฬาลกั ษณ์ พู่วณชิ ย์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 6. นางสาวอภิญญา นาคโสภณ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 7. นางวาสนา ปยิ ะมาดา ครู ชานาญการ กรรมการ 8. นางสาวสุวรรณา โพธิ์แมนกลุ ครู ชานาญการ กรรมการ 9. นางสาวนันทพรฬ์ สมจันทร์ ครู ชานาญการ กรรมการ ๑0. นางสาวเกศกนก วอนเจริญ ครู ชานาญการ กรรมการ 11. นายคมกริช รกั ทุ่งรวงทอง ครู กรรมการ 12. นายกฤษ บางศรี ครู กรรมการ 13. นางสาวสพุ ตั รา รัตนะ ครู กรรมการ 14. นายอนุชา ศรีลาลยั ครู กรรมการ 15. นายสุทวิ สั เชาวนช์ านาญ ครู กรรมการ

๕ ๑6. นายชยพล น้อยบุญญะ ครู กรรมการ ๑7. นางสพุ ตั รา เชาวนช์ านาญ ครู กรรมการ ๑8. นางสาวสุปรยี า ทองรุ่ง ครู กรรมการ 19. นางสาวปรยี านุช ศรสี ขุ คา ครู กรรมการ 20. นางสาวภาวิณี กลุ วาทะศิลป์วงศ์ ครู กรรมการ 21. นายเอกชัย ชนิ ะตงั กูร ครู กรรมการ ๒2. นายเรวตั ร อิ่มสาราญ ครู กรรมการ ๒3. นายณรงค์ศักด์ิ กปั กลั ป์ ครู กรรมการ ๒4. นางสาวชุลพี ร เอ่ยี มประดษิ ฐ์ ครู กรรมการ ๒5. นายไพฑูรย์ กลน่ิ ประยูร ครู กรรมการ 26. นางสาวประกายเดอื น ลสี ุขสาม ครู กรรมการ 27. นางสาวเทพนภา สองสา ครู กรรมการ 28. นางสาวสมชั ญา ปินตา ครู กรรมการ 29. นางสาวสพุ ตั ตรา อทุ าพงษ์ ครู กรรมการ 30. นางสาวจฑุ ามาศ จนั ทร์คา ครู กรรมการ 31. นายวฒุ ชิ ัย ศรีประไหม ครูผ้ชู ว่ ย กรรมการ 32. นางสาวโสธยา พลอยมี ครูผูช้ ว่ ย กรรมการ 33. นายธนภณ ฉันทวานิช ครผู ชู้ ่วย กรรมการ 34. นายมนัส ธัญญากร ครอู ตั ราจา้ งกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ กรรมการ 35. นายมาณุภพ แยม้ บุญชู ครู กรรมการและเลขานุการประเด็น พิจารณาท่ี ๑.๒ 36. นางสาวกาญจนา ยาสมร ครู กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ประเดน็ พิจารณาท่ี ๑.๒ มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ประกอบด้วยประเด็นพิจารณา ๖ ประเด็น ดงั นี้ ประเดน็ พิจำรณำท่ี ๒.๑ กำรมีเปำ้ หมำย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจทสี่ ถำนศกึ ษำกำหนดชดั เจน ๑. นางสาวดวงกมล กลน่ิ ดี ครู ชานาญการ หวั หน้าประเดน็ พิจารณาที่ ๒.๑ ผูช้ ่วยผู้อานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน 2. นางสาวพิมพ์ฐินันท์ ดลิ กสนุ ทร ครู ชานาญการพิเศษ รองหวั หนา้ ประเด็นพิจารณาที่ ๒.๑ ผู้ช่วยผอู้ านวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ 3. นางศริ วิ รรณ อุทัยสาร์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ ผชู้ ่วยผูอ้ านวยการกลุ่มบริหารทว่ั ไป 4. นางวลยั รัตน์ ย่ิงดานุ่น ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ ผู้ช่วยผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล 5. นางกาญจนา ไชยวงษ์ ครู ชานาญการ กรรมการ ผู้ช่วยผูอ้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ 6. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครู ชานาญการ กรรมการ 7. นางสาวสคุ นธท์ พิ ย์ ยศวังทอง ครู กรรมการ 8. นางสาวภรณท์ พิ ย์ คาเพียร ครู กรรมการ 9. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ครู กรรมการ

๖ ๑0. นางสาวนวพร แก้วเปยี้ ครู กรรมการ กรรมการและเลขานกุ ารประเด็น 11. นายอัศวนิ ดวงจติ ร ครู พจิ ารณาที่ ๒.๑ ประเด็นพจิ ำรณำท่ี ๒.๒ ระบบบริหำรจัดกำรคุณภำพของสถำนศึกษำ ๑. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ครู หวั หน้าประเดน็ พิจารณาท่ี ๒.๒ หัวหนา้ งานพฒั นาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๒. นางสาวดวงกมล กลิ่นดี ครู ชานาญการ รองหวั หน้าประเด็นพิจารณาที่ ๒.๒ ผู้ช่วยผู้อานวยการกลุม่ นโยบายและแผน 3. นางสาวพมิ พฐ์ นิ นั ท์ ดลิ กสุนทร ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 4. นางศิรวิ รรณ อทุ ยั สาร์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ ผูช้ ่วยผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารทวั่ ไป 5. นางวลยั รัตน์ ย่งิ ดานนุ่ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 6. นางกาญจนา ไชยวงษ์ ครู ชานาญการ กรรมการ ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการกล่มุ บรหิ ารงบประมาณ 7. นางโชคดี ศรปี ทุมานรุ ักษ์ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 8. นางสุนิสา สายบวั ครู ชานาญการ กรรมการ 9. นางสาววิไล เกิดโมลี ครู กรรมการ 10. นางสาวญาดา คาเอี่ยม ครู กรรมการ ๑1. นางสาวภรณ์ทิพย์ คาเพียร ครู กรรมการ ๑2. นายอศั วิน ดวงจติ ร ครู กรรมการ ๑3. นางสาวนวพร แกว้ เปย้ี ครู กรรมการ ๑4. นางสาวอไุ รพร ทองคาตอน ครู กรรมการ ๑5. นางสาวสุรภรณ์ ปิงแก้ว ครู กรรมการ ๑6. นางสาวณชั ชา กลน่ิ อบุ ล ครู กรรมการ ๑7. นางสาวภรติ พร ตระกูลนา้ ผงึ้ ครู กรรมการ 18. นายไพฑรู ย์ กลิ่นประยูร ครู กรรมการ 19. นางสาวศริ ินทรท์ พิ ย์ จนั ทพงษ์ ครผู ู้ช่วย กรรมการ 20. นางสาวลภัสรดา ทรงประโคน ครูผชู้ ่วย กรรมการ 21. นางสาวสุคนธ์ทพิ ย์ ยศวังทอง ครู กรรมการและเลขานกุ ารประเดน็ พจิ ารณาที่ ๒.๒ 22. นายบรบิ รู ณ์ พรหมสวา่ ง ครู ชานาญการ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๒.๒

๗ ประเดน็ พจิ ำรณำท่ี ๒.๓ กำรดำเนนิ งำนพฒั นำวชิ ำกำรทเ่ี นน้ คณุ ภำพผู้เรียนรอบด้ำนตำมหลักสตู ร สถำนศึกษำและทุกกลมุ่ เป้ำหมำย 1. นางสาวพมิ พ์ฐินนั ท์ ดิลกสนุ ทร ครู ชานาญการพเิ ศษ หวั หน้าประเดน็ พิจารณาที่ ๒.๓ ผชู้ ่วยผ้อู านวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ 2. นางธนัญภรณ์ ศรแี สง ครู ชานาญการพเิ ศษ รองหวั หนา้ ประเด็นพิจารณาที่ ๒.๓ ๓. นายศริ ภิ ทั ร มั่นเศรษฐวิทย์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ ๔. นางสาวพชิ ญาภัคค์ ต้งั จติ สติ เจริญ ครู ชานาญการ กรรมการ 5. นางสาวนนั ทพรฬ์ สมจันทร์ ครู ชานาญการ กรรมการ 6. นางวราภรณ์ จิตต์คง ครู กรรมการ 7. นางสอาดชนม์ ชมดอกไม้ ครู กรรมการ 8. นางสาวปิยวรรณ ตาคาแสง ครู กรรมการ 9. นางสาวภาวิณี กุลวาทะศลิ ปว์ งศ์ ครู กรรมการ ๑0. นางสาวสุปรยี า ทองร่งุ ครู กรรมการ ๑1. นางสาวโสธยา พลอยมี ครูผู้ช่วย กรรมการ 12. นางสาวดารารตั น์ บุญทศ ครูผู้ช่วย กรรมการ 13. นางสาวจุฑามาศ จันทร์คา ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ 14. นางสาวมณรี ัตน์ อินทองคา ครูผู้ชว่ ย กรรมการ 15. นางลฎาภา ขนั โพชา ครูผชู้ ่วย กรรมการ 16. นางสาวกรีเนตร แกว้ เจรญิ ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ ๑7. นางสาวเทวี ทาเหล็ก ครู ชานาญการ กรรมการและเลขานกุ ารประเด็น พิจารณาที่ ๒.๓ 18. นายศันสนะ เกง่ การุณกจิ ครู กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ ประเด็นพจิ ารณาที่ ๒.๓ ประเด็นพิจำรณำท่ี ๒.๔ กำรพฒั นำครูและบคุ ลำกรใหม้ ีควำมเช่ยี วชำญทำงวชิ ำชีพ ๑. นางวลัยรัตน์ ย่ิงดานุ่น ครู ชานาญการพเิ ศษ หวั หนา้ ประเดน็ พจิ ารณาท่ี ๒.๔ ผชู้ ว่ ยผูอ้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ๒. นางโชคดี ศรีปทุมานรุ กั ษ์ ครู ชานาญการพิเศษ รองหัวหน้าประเด็นพิจารณาที่ ๒.๔ 3. นางวลั ฤดี จตั ุกูล ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 4. นางสาวอภิญญา นาคโสภณ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครู กรรมการ 6. นางสาวสุรภรณ์ ปงิ แกว้ ครู กรรมการ 7. นางสอาดชนม์ ชมดอกไม้ ครู กรรมการ 8. นางสาววรางคณา จันทร์มณี ครู กรรมการ 9. นางสาวประกายเดือน ลีสขุ สาม ครู กรรมการ 10. นายกริช เศรษฐธาดา ครู กรรมการ ๑1. นางสาวนภาพร ใจสมุทร ครู กรรมการและเลขานกุ ารประเด็น พิจารณาท่ี ๒.๔ 12. นางสาวสุกัญญา ประกอบแกว้ ครูผชู้ ่วย กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ประเด็นพจิ ารณาที่ ๒.๔

๘ ประเดน็ พจิ ำรณำท่ี ๒.๕ กำรจัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมที่เอ้อื ตอ่ กำรจดั กำรเรียนรู้ อยำ่ งมีคุณภำพ 1. นางศิรวิ รรณ อุทยั สาร์ ครู ชานาญการพิเศษ หัวหน้าประเด็นพิจารณาที่ ๒.๕ ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารทวั่ ไป 2. นายชยพล นอ้ ยบุญญะ ครู รองหวั หนา้ ประเด็นพจิ ารณาท่ี ๒.๕ 3. นายประเสริฐ สว่างวงศธ์ รรม ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางวัลฤดี จตั ุกูล ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 5. นางสาวจรี ภัทร ฟกั ขาว ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 6. นางวาสนา ปยิ ะมาดา ครู ชานาญการ กรรมการ 7. นายบริบูรณ์ พรหมสวา่ ง ครู ชานาญการ กรรมการ 8. นายธนาคาร ฝอยทอง ครู กรรมการ 9. นายยศกร เรืองไพศาล ครู กรรมการ ๑0. นายกฤษ บางศรี ครู กรรมการ 11. นางสาวชมพนู ทุ ก้องดษุ ิต ครู กรรมการ ๑2. นายพทุ ธชิ ยั ขวญั ทอง ครู กรรมการ ๑3. นายเรวตั ร อ่ิมสาราญ ครู กรรมการ 14. นายปรดี า นาครอง ครูผูช้ ่วย กรรมการ ๑5. นายมนสั ธญั ญากร ครูอตั ราจา้ งกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ กรรมการ ๑6. นายนิรมติ ภกั ดยี ่ิงยง เจา้ หนา้ ทธี่ รุ การกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป กรรมการ ๑7. นายวฒุ ชิ ยั ศรีประไหม ครูผ้ชู ว่ ย กรรมการและเลขานกุ ารประเด็น พิจารณาที่ ๒.๕ 18. นายยุทธการ นทีทพิ ยเนตร ครผู ้ชู ว่ ย กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ประเด็นพิจารณาท่ี ๒.5 ประเดน็ พิจำรณำที่ ๒.๖ กำรจัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพือ่ สนับสนุนกำรบรหิ ำรจัดกำร และกำรจัดกำรเรียนรู้ ๑. นางสาวชัญญานชุ รตั นวชิ ยั ครู ชานาญการ หวั หน้าประเด็นพิจารณาที่ ๒.๖ ๒. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครู รองหัวหนา้ ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๒.๖ 3. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครู ชานาญการ กรรมการ 4. นายประพาฬ แก้ววงษา ครู ชานาญการ กรรมการ 5. นายบริบูรณ์ พรหมสวา่ ง ครู ชานาญการ กรรมการ ๖. นางสาวณฐั ทติ า รักษา ครู กรรมการ ๗. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครู กรรมการ ๘. นางสาวกัญญาพัชร หมูม่ ่วง ครู กรรมการ 9. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครู กรรมการ 10. นายเดน่ ศักดิ์ ทองแท้ ครูผชู้ ่วย กรรมการ 11. นางสาวสวุ รรณี สมประเสริฐ ครอู ตั ราจา้ งกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กรรมการ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑2. นางสาวรตั นากร ศรีคณุ ครู กรรมการและเลขานุการประเด็น พจิ ารณาที่ ๒.๖

๙ มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ประกอบดว้ ยประเดน็ พจิ ารณา ๕ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นพจิ ำรณำท่ี ๓.๑ กำรจดั กำรเรียนรู้ผ่ำนกระบวนกำรคดิ และปฏบิ ตั ิจรงิ และสำมำรถนำไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้ ๑. นายยศกร เรืองไพศาล ครู หัวหนา้ ประเดน็ พิจารณาท่ี ๓.๑ ๒. นางสาวภรณท์ ิพย์ คาเพียร ครู รองหัวหนา้ ประเดน็ พิจารณาท่ี ๓.๑ 3. นางฉาย สบุ งกช ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 4. นางวัลฤดี จตั กุ ลู ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางสาวกญั ญภา สงั ข์ค้มุ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ 6. นางโชคดี ศรปี ทุมานุรักษ์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ 7. นางทพิ พพ์ ิชญช์ า เม้ยชม ครู ชานาญการ กรรมการ 8. นางสาวดวงกมล กลิน่ ดี ครู ชานาญการ กรรมการ 9. นางสุนิสา สายบวั ครู ชานาญการ กรรมการ 10. นางวาสนา ปยิ ะมาดา ครู ชานาญการ กรรมการ ๑๑. นางสาวชญั ญานุช รตั นวิชยั ครู ชานาญการ กรรมการ ๑2. นางสาวเกศกนก วอนเจรญิ ครู ชานาญการ กรรมการ 13. นางสาวสัจจพร นม่ิ นวลงาม ครู กรรมการ 14. นางสาวปรยี านุช ศรสี ุขคา ครู กรรมการ 15. นางสาวณฐั ลยี า สมบูรณ์ ครู กรรมการ 16. นางสาวอุไรพร ทองคาตอน ครู กรรมการ 17. นางสาวสคุ นธ์ทพิ ย์ ยศวังทอง ครู กรรมการ ๑8. นางสาวณชั ชา กลิ่นอบุ ล ครู กรรมการ 19. นางสาวญาดา คาเอย่ี ม ครู กรรมการ 20. นายพุทธิชัย ขวัญทอง ครู กรรมการ 21. นางสาวภรติ พร ตระกลู นา้ ผงึ้ ครู กรรมการ 22. นางสาวสุพัฒตรา รตั นะ ครู กรรมการ 23. นางสาวเทพนภา สองสา ครู กรรมการ 24. นางสาวสุปรยี า ทองรงุ่ ครู กรรมการ 25. นายศันสนะ เก่งการณุ กจิ ครู กรรมการ 26. นายมาณภุ พ แยม้ บุญชู ครู กรรมการ 27. นางสาวศริ ินทรท์ พิ ย์ จันทพงษ์ ครูผู้ช่วย กรรมการ 28. นางสาวลภัสรดา ทรงประโคน ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ 29. นางสาวศริ ขิ วญั รัตนพลธี ครูผ้ชู ว่ ย กรรมการ 30. นางสาวสกุ ญั ญา ประกอบแก้ว ครูผู้ช่วย กรรมการ 31. นางสาวโสธยา พลอยมี ครูผชู้ ่วย กรรมการ 32. นางสาวภัคจริ า บวรธรรมรตั น์ ครู กรรมการและเลขานุการประเดน็ พจิ ารณาที่ ๓.๑ 33. นางสาวนนั ทวัน งามลา้ ครูผูช้ ่วย กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ประเด็นพิจารณาท่ี ๓.๑

๑๐ ประเด็นพจิ ำรณำท่ี ๓.๒ กำรใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ เี่ ออ้ื ตอ่ กำรเรียนรู้ ๑. นางสาวณัฐทติ า รกั ษา ครู หัวหน้าประเด็นพจิ ารณาที่ ๓.๒ ๒. นางลฎาภา ขันโพชา ครผู ู้ชว่ ย รองหวั หน้าประเดน็ พจิ ารณาที่ ๓.๒ ๓. นางโชคดี ศรีปทมุ านรุ ักษ์ ครู ชานาญการพิเศษ กรรมการ ๔. นางสาวชญั ญานชุ รัตนวชิ ยั ครู ชานาญการ กรรมการ 5. นางสาวอรสา ดิษฐเจรญิ ครู ชานาญการ กรรมการ 6. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครู ชานาญการ กรรมการ 7. นายบริบูรณ์ พรหมสวา่ ง ครู ชานาญการ กรรมการ ๘. นางสาวรตั นากร ศรีคุณ ครู กรรมการ ๙. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครู กรรมการ ๑๐. นางสาวกญั ญาพัชร หมู่มว่ ง ครู กรรมการ ๑๑. นายรัฐชา รตั นวรรณ์ ครู กรรมการ ๑๒. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครู กรรมการ ๑3. นางสาวตรจี นั ทร์ ทยาหทยั ครู กรรมการ ๑4. นางสาวสจั จพร นม่ิ นวลงาม ครู กรรมการ 15. นางสาวจริ าวรรณ ไชยปญั ญา ครู กรรมการ ๑6. นางสาววรางคณา จันทร์มณี ครู กรรมการ ๑7. นางสาวสุวรรณี สมประเสริฐ ครูอัตราจา้ งกล่มุ สาระการเรียนรู้ กรรมการ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑8. นางสาวเทวี ทาเหลก็ ครู ชานาญการ กรรมการและเลขานุการประเดน็ พจิ ารณาที่ ๓.๒ ๑9. นางสาวฉตั รสุดา เปลยี่ นศรี ครู กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ ประเด็นพิจารณาท่ี ๓.๒ ประเดน็ พิจำรณำที่ ๓.๓ กำรบรหิ ำรจัดกำรชัน้ เรียนเชิงบวก ๑. นางโชคดี ศรปี ทุมานรุ ักษ์ ครู ชานาญการพิเศษ หวั หน้าประเด็นพจิ ารณาท่ี ๓.๓ รองหัวหนา้ ประเดน็ พิจารณาที่ ๓.๓ ๒. นางธนัญภรณ์ ศรแี สง ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 3. นายประเสริฐ สว่างวงศธ์ รรม ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 4. นางฉาย สบุ งกช ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 5. นางสาวจฬุ าลักษณ์ พวู่ ณชิ ย์ ครู ชานาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 6. นางสาวอทิตยา ศรนี ้อย ครู ชานาญการ กรรมการ กรรมการ 7. นางสาวจนิ ดามณี โพธ์ิแมนกลุ ครู ชานาญการ กรรมการ กรรมการ 8. นางสาวสุวรรณา โพธิแ์ มนกุล ครู ชานาญการ กรรมการ 9. นางสาวณัฐลยี า สมบรู ณ์ ครู 10. นางสพุ ัตรา เชาวนช์ านาญ ครู 11. นายเอกชัย ชนิ ะตงั กูร ครู 12. นางสาวชลุ พี ร เอีย่ มประดิษฐ์ ครู 13. นางสาวเกศินี ทองทวี ครู 14. นางสาวจริ าวรรณ ไชยปญั ญา ครู 15. นางสาวณชั ชา กลิน่ อุบล ครู

๑๑ 16. นางสาวสาธกิ า คตุ กาล ครู กรรมการ 17. นางสาวสมัชญา ปนิ ตา ครู กรรมการ 1๘. นางสาวมณรี ตั น์ อนิ ทองคา ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ 19. นางสาวธัญทพิ ย์ ติลังการณ์ ครผู ูช้ ่วย กรรมการ 2๐. นางสาวดารารตั น์ บญุ ทศ ครูผชู้ ่วย กรรมการ 21. นางสาวชมพูนุท อารกั ษ์ ครูผูช้ ่วย กรรมการ 22. นางสาวปารมี มากจ้อย ครูผู้ช่วย กรรมการ 23. นางวราภรณ์ จติ ตค์ ง ครู กรรมการและเลขานุการประเด็น พิจารณาที่ ๓.๓ ๒4. นางสาวสัจจพร น่มิ นวลงาม ครู กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ประเด็นพจิ ารณาที่ ๓.3 ประเด็นพิจำรณำท่ี ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอยำ่ งเปน็ ระบบ และนำผลมำพัฒนำผู้เรยี น ๑. นางสุนิสา สายบัว ครู ชานาญการ หวั หน้าประเด็นพิจารณาท่ี ๓.๔ ๒. นายศันสนะ เก่งการุณกจิ ครู รองหัวหน้าประเดน็ พจิ ารณาท่ี ๓.๔ ๓. นางสาวชมพนู ทุ ก้องดุษิต ครู กรรมการ ๔. นางสาวพรหมพร หนนู ้อย ครู กรรมการและเลขานุการประเด็น พิจารณาท่ี ๓.๔ ประเด็นพิจำรณำที่ ๓.๕ กำรแลกเปล่ยี นเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่อื พัฒนำและปรบั ปรงุ กำรจดั กำรเรยี นรู้ ๑. นางวลยั รัตน์ ยิ่งดานุ่น ครู ชานาญการพิเศษ หัวหนา้ ประเด็นพจิ ารณาที่ ๓.๕ 2. นายมาณภุ พ แย้มบุญชู ครู รองหวั หน้าประเดน็ พิจารณาท่ี ๓.๕ 3. นางสาวนนั ทพรฬ์ สมจนั ทร์ ครู ชานาญการ กรรมการ 4. นายสทุ วิ สั เชาวนช์ านาญ ครู กรรมการ 5. นายคมกริช รกั ทุ่งรวงทอง ครู กรรมการ 6. นายอนุชา ศรีลาลยั ครู กรรมการ 7. นายกฤษ บางศรี ครู กรรมการ 8. นางสาวสุพตั รา รตั นะ ครู กรรมการ 9. นายวุฒชิ ัย ศรีประไหม ครผู ูช้ ว่ ย กรรมการ 10. นางลฎาภา ขนั โพชา ครูผ้ชู ่วย กรรมการ 11. นางสาวภรติ พร ตระกลู นา้ ผึง้ ครู กรรมการและเลขานุการประเดน็ พิจารณาท่ี ๓.5 หน้ำที่ ๑. วางแผน ดาเนินการ เก็บรวบรวมขอ้ มูลดังรายละเอยี ดในมาตรฐานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานของ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต ๑ ๒. ประสานงานด้านงานประกันคุณภาพการศกึ ษาระหวา่ งฝา่ ย/งาน/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๓. รวบรวมและสรุปผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๔. ปฏบิ ตั หิ น้าทีอ่ นื่ ๆ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

๑๒ ๓. คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรจัดทำรำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ ๓.๑ คณะกรรมกำรรวบรวมข้อมูลกล่มุ บรหิ ำรและกลุม่ สำระกำรเรียนรู้ ๑. นายปรดี า นาครอง กลมุ่ บริหารวิชาการ ๒. นางสาวจารุวรรณ ธะนะขว้าง กลมุ่ บริหารวชิ าการ 3. นางสาวสพุ ัตตรา อุทาพงษ์ กลุ่มบริหารทว่ั ไป 4. นายนิรมิต ภักดยี ิ่งยง กลุ่มบริหารท่วั ไป 5. นางสาววิไล เกดิ โมลี กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ 6. นางสาวสิรินท์นภา บารุงผล กลุ่มบริหารงบประมาณ 7. นายเดน่ ศกั ด์ิ ทองแท้ กล่มุ บริหารงานบคุ คล 8. นางสาววิภาวรรณ ลอระพงษ์ กล่มุ บริหารงานบุคคล 9. นางสาวดารารตั น์ บญุ ทศ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๑๐. นายอศั วนิ ดวงจติ ร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ๑1. นางสาวสกุ ัญญา ประกอบแกว้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ๑2. นางสาวสปุ รียา ทองรุง่ กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑3. นางสาวณัฐทิตา รักษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑4. นางสาวตรีจันทร์ ทยาหทัย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ๑5. นายธนภณ ฉันทวานิช กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา 16. นายกรชิ เศรษฐธาดา กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ หนำ้ ที่ ๑. รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศ ผลการพฒั นานกั เรยี น ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผเู้ กยี่ วขอ้ ง แหลง่ เรยี นรูใ้ นกลุม่ สาระการเรียนรู้ ให้เป็นระบบและเป็นปัจจบุ นั ๒. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูลทร่ี วบรวม ๓.๒ คณะกรรมกำรจัดทำเลม่ รำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ ๑. นางสาวดวงกมล กล่ินดี ครู ชานาญการ ประธานกรรมการ ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการกลมุ่ นโยบายและแผน ๒. นางโชคดี ศรปี ทุมานุรกั ษ์ ครู ชานาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ ๓. นายบริบูรณ์ พรหมสวา่ ง ครู ชานาญการ กรรมการ 4. นางสาวสุคนธ์ทพิ ย์ ยศวังทอง ครู กรรมการ 5. นางสาวสจั จพร นิ่มนวลงาม ครู กรรมการ 6. นางสาววรางคณา จันทร์มณี ครู กรรมการ 7. นายไพฑรู ย์ กลิ่นประยรู ครู กรรมการ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครู กรรมการ 9. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครู กรรมการ 10. นางสาวตรจี ันทร์ ทยาหทยั ครู กรรมการ ๑1. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครู กรรมการและเลขานุการ หวั หนา้ งานพฒั นาระบบการประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

๑๓ หน้ำที่ ๑. รวมรวมขอ้ มลู จากกลุ่มสาระการเรยี นรู้ กล่มุ บรหิ าร และขอ้ มลู ผลการประเมินภายใน ๒. ติดตาม ตรวจสอบ และสรปุ ผลการประเมินภายในตามมาตรฐานการศึกษาและเขยี นรายงาน ๓. คัดเลอื กภาพกจิ กรรมตามมาตรฐานการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 ๔. ออกแบบปกและดแู ลการจดั ทารปู เลม่ ๕. จัดทารูปเล่มรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖2 เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือพิจารณาเห็นชอบ และรายงานต่อหน่วยงาน ตน้ สังกัด รวมทัง้ เผยแพร่ต่อสาธารณชน ขอให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการแต่งต้ัง ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ีได้รับมอบหมายให้เป็นไป ดว้ ยความเรียบรอ้ ยสาเรจ็ ลลุ ว่ งและเกดิ ผลดีตอ่ ทางราชการ ท้ังน้ี โรงเรยี นมอบหมายให้นางสาวดวงกมล กล่ินดี ผูช้ ว่ ยผูอ้ านวยการกลมุ่ นโยบายและแผน กากบั ดแู ลให้เป็นไปตามคาสั่งนี้ ส่งั ณ วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖2 (นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถติ ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook