Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PLC Teaching for the Critical Thinking

PLC Teaching for the Critical Thinking

Published by Prapaluck Piama, 2021-04-24 07:27:40

Description: ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์

Keywords: #PLC

Search

Read the Text Version

คำนำ รายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จัดทาขึ้นเพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนินงานของกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาเร่ือง ปัญหำ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนได้ตำมปกติ ในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่อื การเรียนการสอนออนไลน์ จากความร่วมมือของครปู ระจาวิชา และเป็นการสร้างความรู้ความ เข้าใจเรื่องการปฏิบัติด้วยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรม รวมท้ังแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การตดิ ตามและประเมนิ ผลในการดาเนนิ งานของโรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์\" ของครูผู้สอน ในโรงเรียน หวังเปน็ อย่างยง่ิ วา่ เอกสารเล่มน้ี จะเกดิ ประโยชน์ตอ่ ผคู้ รผู สู้ อน ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากร ทางการศึกษา รวมท้ังผู้สนใจท่ัวไป ในการนาไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทาง ดังกลา่ วได้เป็นอยา่ งดี กล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking”

ผลกำรดำเนนิ กจิ กรรมชุมชนแหง่ กำรเรยี นร้ทู ำงวชิ ำชพี 1. หลักกำรและเหตุผล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการท่ีมีเป้าหมาย เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนร้จู ากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน และการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ รว่ มกนั อย่างตอ่ เน่ือง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดาเนินการในรูปแบบ PLC นาไปสู่การ เปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน โดย มีผลดีทั้งต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพ่ิม ความรู้สกึ ผูกพนั ตอ่ พนั ธกจิ และเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพ่ิมความกระตือรือรน้ ท่จี ะปฏิบัติให้บรรลุพันธ กิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซ่ึงส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในช้ันเรียนให้มีผลดียิ่งข้ึน รวมท้ังเข้าใจบทบาทและ พฤตกิ รรมการสอนที่จะช่วยใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซ่ึงจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของ ผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้าชั้น และจานวนช้ันเรียนที่ต้องเล่ือนหรือชะลอการจัดการ เรยี นรูใ้ หน้ ้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในวชิ าวิทยาศาสตรป์ ระวัติศาสตร์และวิชาการ อ่านที่สูงขึ้นอยา่ งเดน่ ชดั สดุ ท้ายคอื มีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนท่ีมีภูมิหลัง ไม่เหมือนกนั ลดลงอยา่ งชัดเจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทาจึงเกิดความคิดท่ีจะนากระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพื่อเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดีย่ิงข้ึน โดยได้เริ่มดาเนินกิจกรรมกับ นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในห้องเรียน คือ “ปัญหาการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ไม่สามารถจัดการ เรียนการสอนได้ตามปกติ” เนือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทาให้เวลาเรียนในห้องเรียน น้อยลง สง่ ผลใหก้ ารจดั การเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนอื้ หาการเรยี นรู้ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมที ักษะในการฟงั และเหน็ คณุ คา่ ของการเป็นผูฟ้ งั ที่ดี 2. เพ่อื ให้นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในระดบั ที่สงู ขึ้น 3. เพ่มิ โอกาสในการเข้าถงึ เนื้อหาการเรยี นได้จากอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เช่น เครอื่ งคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถือ ผา่ นทางระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต 4. มนี วตั กรรมหรอื คมู่ ือการใชท้ มี่ ีความเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผู้เรยี น

3. วธิ กี ำรดำเนินงำน  แนวทางการปฏิบัตกิ จิ กรรมการสรา้ งชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) 1. แบง่ กลุ่มย่อย ตามความเหมาะสม 2. ให้แต่ละกลุ่มคิดแนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรื่องจากประเด็นตอ่ ไปน้ี 2.1 ปัญหาการเรียนรขู้ องนกั เรียน 1 เร่อื ง/กลมุ่ 2.2 ปัญหาดา้ นการจดั การเรียนการสอนของครู หรือเทคนคิ วธิ ีการสอนทค่ี รคู วรพัฒนา จานวน 1 เรือ่ ง/กล่มุ 3. จัดทาโครงการ/กิจกรรม การสร้างชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC)  กระบวนกำรของ PLC ข้ันตอนที่ 1 Community สร้างทมี ครู ขน้ั ตอนที่ 2 Practice จดั การเรยี นรู้ เชน่ การวเิ คราะหห์ น่วยการเรียนรู้ รว่ มกันออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ในการจัดทาแผนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนาสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน เพือ่ การสังเกตการณส์ อน เครอ่ื งมือในการประเมิน - แบบนิเทศ 01 แบบสังเกตการณจ์ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้นั ตอนที่ 3 Reflection สะทอ้ นคดิ เพ่ือการพัฒนาการปฏบิ ัติ ขน้ั ตอนที่ 4 Evaluation ประเมนิ เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะครู ข้นั ตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครือขา่ ยการพฒั นา  บทบำทหนำ้ ที่ของสมำชกิ กลุม่ ตำมกระบวนกำร PLC - Model Teacher หมายถงึ ครูผรู้ บั การนเิ ทศ หรือ ครูผู้สอน - Buddy Teacher หมายถงึ ครคู นู่ เิ ทศ หรอื ครรู ่วมเรียนรู้ - Mentor หมายถงึ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ - Expert หมายถงึ ผูเ้ ชีย่ วชาญ เชน่ ครู คศ.3 นักวชิ าการ อาจารยม์ หาวิทยาลยั ศกึ ษานเิ ทศก์ - Administrator หมายถงึ ผูบ้ ริหารโรงเรยี น - Recorder หมายถงึ ผบู้ นั ทกึ รายงานการประชมุ 4. วนั เวลำ สถำนท่ี ในกำรดำเนนิ งำน ระยะเวลำ : ต้ังแต่ วันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 – 10 มนี าคม พ.ศ.2564 สถำนที่ : โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ์”

5. สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน  ประเด็นดำ้ นผ้เู รียน - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน/บทเรียน ออนไลน์ และจากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ทคี่ รูแนะนา ทาให้นักเรยี นได้เรยี นรู้ และพัฒนาความรูค้ วามสามารถครบตาม หลกั สตู ร - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หา ความรใู้ หม่ ๆ ตรงกบั ระบบการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง โดยมีผ้สู อนเปน็ เพยี งผแู้ นะนา ที่ปรกึ ษา และ แนะนาแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นที่ทดสอบและการ ประเมินผลรวม ท่ใี ช้การสอบแบบปกติในหอ้ งเรียน เพ่อื เปน็ การยนื ยันว่าผู้เรียนเรียนจริงและทาข้อสอบจริงได้ หรอื ไม่อยา่ งไร - ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการใช้ส่ือสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในทางท่ีเหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองท่ีคอยช่วยให้นักเรียน สามารถแยกแยะข่าวสารหรอื ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใหร้ บั รู้ได้อย่างมีคุณภาพ - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูกับนกั เรียน และนกั เรียนกบั นักเรยี นดว้ ยกนั เองเพิม่ มากข้นึ - นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับ ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ มากขึ้น  ประเด็นด้ำนกจิ กรรม - ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนผ่านส่ือเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรยี นรจู้ ากแหล่งเรียนร้นู อกชน้ั เรียนที่ทาใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรูไ้ ดท้ ุกทที่ ุกเวลา - การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลนท์ าให้การเรยี นการสอนครอบคลุมตามเน้ือหา - ครจู ดั กิจกรรมการเรียนการสอนผา่ นส่ือเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลกั ษณะการเรียนรูจ้ ากแหลง่ เรียนรู้นอกช้นั เรยี นท่ีทาใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ดท้ ุกที่ทกุ เวลา - ครูและผ้เู รียนมปี ฏิสัมพนั ธ์/การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทาให้บรรยากาศการเรียนสอนดาเนินไปโดย เนน้ ผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลางการเรียนรู้  ประเดน็ ด้ำนครู - ครูจะทาหน้าเป็นผู้อานวยท่ีคอยให้ความช่วยเหลือ คาปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ สามารถเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเอง สรา้ งแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการเรยี น  ประเดน็ สอื่ กำรสอน - สอ่ื กิจกรรมและแหลง่ การเรียนรู้มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ (ด้านคุณภาพ) - สอื่ มีความเพียงพอเหมาะสม (ดา้ นปรมิ าณ)

- ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผูเ้ รยี นสามารถเรียนจากเคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ใ่ี ดกไ็ ด้ และในปัจจุบนั นีก้ ารเข้าถึงเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตกระทาได้ งา่ ยข้ึนมาก และยังมคี า่ เชอื่ มต่ออินเตอร์เน็ตท่มี ีราคาต่าลงมากว่าแตก่ ่อนอีกด้วย - นกั เรียนได้ใชเ้ ครือ่ งมอื ทต่ี นถนดั คือ เทคโนโลยีการสอ่ื สารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสังคม ออนไลน์ เม่ือได้ใช้หรือทาอะไรท่ีตนชอบหรือถนัด จึงทาให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่าง อตั โนมตั ิ ผ้เู รียนเกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมเป็นไปตามทีค่ รตู ้องการให้เกดิ ขน้ึ ในตัวผเู้ รียน  ประเดน็ ด้ำนบรรยำกำศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นส่ิงที่สาคัญท่ีจะทาให้ผู้เรียนให้ความสนใจ ใคร่รแู้ ละพรอ้ มท่จี ะร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเรยี นร้อู ยา่ งมีสว่ นร่วมมากขึ้น 6. อภิปรำยผลกำรดำเนนิ งำน 6.1 ผลลัพธท์ ี่เกดิ จำกกระบวนกำร 1) มีองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเดน็ ความรูท้ ี่น่าสนใจ ท่เี กดิ ขน้ึ จากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ของ สมาชิกเครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้ อย่างเปน็ รูปธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมกี ารนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งชัดเจน) 2) มีรอ่ งรอยการรายงานผลการนาองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรทู้ ่นี ่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้น ของสมาชิกเครือข่ายไปใช้ตลอดระยะทีด่ าเนินโครงการทกุ ครงั้ ที่มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทกุ คน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา อภปิ รายเพ่ือแลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสาเร็จ จุดเด่นและ จดุ ที่ต้องพัฒนาในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.2 ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ กบั ผเู้ รยี น / ครู / สมำชิกทเี่ ขำ้ ร่วมเครอื ข่ำย PLC 1) ผูเ้ รยี นไดก้ ารเรยี นรู้ตามเปา้ หมาย และวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนดไวท้ กุ ประการ และมีความชัดเจน ทงั้ เชิงปริมาณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนดีข้ึน และทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง ชดั เจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จดั การเรยี นรู้ และผูส้ อนไดร้ บั นวตั กรรมและเร่มิ วางแผนจดั ทาวจิ ยั ปฏิบตั ิการในชนั้ เรยี น 4) ผูส้ อนสามารถนาความรแู้ ละประสบการณท์ ่ีได้รบั จากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนาวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับจากการทาวิจัยปฏิบัติการใน ชน้ั เรยี นไปใชพ้ ฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้

6.3 คณุ ค่ำท่ีเกิดตอ่ วงกำรศกึ ษำ 1) มีเครอื ขา่ ยทช่ี ดั เจน และการขยายเครอื ขา่ ยแล้วและมคี วามชัดเจน เป็นรูปธรรมและมแี นวโนม้ การเกิดเครือขา่ ยเพมิ่ ขึ้น 2) การรว่ มกนั รับผิดชอบตอ่ การเรียนร้ขู องนักเรยี น ใหผ้ ลการเรียนรู้ทต่ี ้องการใหเ้ กิดขนึ้ ในตัว นักเรยี น โดยครทู ี่เป็นสมาชกิ ในชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพทุกคนวางเปา้ หมายรว่ มกัน 7. ผลทเ่ี กิดจำกกำรดำเนนิ งำน 7.1 ได้นวตั กรรมในการแกไ้ ขปญั หา 7.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นดขี ้นึ หรือเป็นไปตามเกณฑท์ ีต่ กลงกันไว้ 7.3 พฤตกิ รรมของนักเรยี นที่มปี ัญหาเปล่ียนไปในทางทดี่ ขี ้ึนตามขอ้ ตกลงท่ตี ั้งไว้ 7.4 นาไปส่กู ารอบรมคปู องพฒั นาครู และรวบรวมสง่ เพือ่ เกบ็ เป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป 8. ร่องรอย/หลกั ฐำน 8.1 แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมบนั ทกึ หลังการสอน 8.2 ภาพการพูดคยุ ปรึกษากับสมาชิกกลมุ่ PLC 8.3 ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน 8.4 แบบสังเกตการณจ์ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 9. บทเรยี นทีไ่ ดจ้ ำกกำรดำเนนิ งำน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาท่ีหลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันใน แต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีแตกต่างกันผ่านการอภิปราย รว่ มกันกับเพือ่ นครูและนักเรียน ชุมชนการเรียนรู้วิชาชพี (Professional Learning Community) เปน็ กระบวนการที่มีประโยชน์และ คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ท่ีจะก่อให้เกิดผล ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และสง่ ผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขนึ้

10. ส่งิ ทจี่ ะดำเนินกำรต่อไป การจดั การเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอน เพ่ืออานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ โดยพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการสอนทางไกล ใช้สื่อการเรียนออนไลน์ เช่น Google Classroom , Google Site มาช่วยเพ่ิมเติมจากการเรียนในห้องเรียน ปกติ และทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนอ้ื หายอ้ นหลงั ได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ ทุกที่ ทกุ เวลา จึงต้องการเผยแพร่เทคนิคในการดูแลและบริหารชั้นเรียนให้กับเพ่ือนครูในช้ันเรียนอื่น ๆ และ ผทู้ ่สี นใจตอ่ ไป 11. ปญั หำ /อปุ สรรค การพบปะพูดคยุ ระหวา่ งครผู ู้สอนประจาวิชาไมค่ ่อยตอ่ เน่อื งเท่าทคี่ วร เนือ่ งดว้ ยคาบสอนตรงกัน และ ในบางครง้ั ครผู สู้ อนมภี าระนอกเหนอื งานสอนมาก จึงไมส่ ะดวกในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 12. ข้อเสนอแนะ ควรมีเครือขา่ ยออนไลนเ์ ปน็ ส่ือกลางในการติดต่อแลกเปล่ยี นประสบการณร์ ะหว่างครูที่ทางานร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพื่อหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ ท่ีเหมาะสมกับการ เรียนการสอนในระดับช้ันต่าง ๆ เพื่อรองรับการเรียนการสอน เพราะผู้เรียนแต่ละช่วงวัยมีด้านความรู้ และ ทกั ษะที่แตกตา่ งกัน

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สีสกุ หวาดจวนอปุ ถัมภ\"์ ชือ่ กลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครงั้ ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 2 ธนั วาคม 2563 เรม่ิ ดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ชั่วโมง กิจกรรมครั้งนอ้ี ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง )  ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ช่ือ-สกลุ บทบาทหนา้ ท่ี ลายมอื ช่ือ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถติ ผูอ้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานุช รตั นวชิ ยั ผเู้ ช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครูรว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวรังสิมา ไกรนรา ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมอื ง ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การคน้ หาปญั หา และหาสาเหตุของปัญหา 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ท่ีต้องการพฒั นา (เน้นท่ีห้องเรยี น) พดู คยุ ในเรื่องของปัญหาของเดก็ ทีเ่ กดิ จากตวั ครู ซ่งึ ไม่จาเป็นต้องเป็นเด็กท้ังห้อง เป็นเฉพาะกลุ่มก็ได้ โดยการสรุปเปน็ ปญั หาเดยี วกนั ในกลมุ่ เป็นปญั หาเร่งดว่ นทีค่ วรแกไ้ ขก่อน เพอื่ ลดความโดดเด่ียวในการทางาน และไม่ใช่ปัญหาจากความไมพ่ ร้อมของส่ือ วสั ดุอุปกรณ์ของห้องเรียน

3. สมาชกิ ในกล่มุ นาเสนอปญั หา เนอ่ื งจากในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นั้น ทาให้ไม่ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ท้ังน้ีเพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบ ตามหลกั สตู รในชว่ งโรงเรยี นปิดในสถานการณแ์ พร่ระบาดของ COVID-19 สมาชกิ ในกลมุ่ จึงมีความเห็นตรงกัน วา่ ควรนาปัญหาดงั กล่าวมาปรับปรุงรปู แบบการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาของตนเอง 4. สมาชิกเลอื กปัญหา ทจ่ี ะนามาแกไ้ ขร่วมกนั จานวน 1 ปญั หา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาใหไ้ ม่สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ 5. สมาชกิ ร่วมกันวิเคราะหส์ าเหตขุ องปัญหา โดยสาเหตุของปัญหาท่ีเกิดจากข้อสรุปของกลุ่ม สาเหตุเกิดจากกระบวนการจัดการเรียนการสอน และสาเหตไุ มใ่ ช่ปัญหาเกิดจากความไมพ่ รอ้ มของสือ่ วัสดุอปุ กรณข์ องหอ้ งเรยี น - ผลกระทบอันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทาให้ครูผู้สอนและ นักเรยี นต้องปรบั ตัวสู่สภาวะการเรยี นรูท้ ไี่ มค่ ุ้นเคย นาไปส่ภู าระทีเ่ พม่ิ มากข้ึนท้งั ในสว่ นผสู้ อนและผ้เู รยี น - การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเลือกวิธีผลิตสื่อและเผยแพร่ออนไลน์ใน หลายชอ่ งทางภายในเวลาจากดั เช่น วิดโี อสาธติ และการสอนสดผา่ นโปรแกรม Zoom - การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และการจัดการเรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์ การสอนโดยครูต้นแบบและระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของ สถานศึกษา - จัดให้มีการเรยี นการสอนตามหลักสตู รด้วยสือ่ และช่องทางการสื่อสารท่ีมีอยู่ สามารถส่งถึงผู้เรียนใน แตล่ ะกล่มุ เป้าหมายได้ 6. ผลทไี่ ด้จากการจัดกจิ กรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) และนโยบายการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อนามาร่วมประชุม ครัง้ ต่อไป และนาผลการประชมุ ไปบนั ทกึ ใน Log book ของตนเอง เพอื่ เกบ็ เปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชุมเวลา 16.55 น. ลงช่ือ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ )

ลงชื่อ ลงช่อื ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กุลจติ ติธร ) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงช่อื ........................................................ผ้รู บั รอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถิต ) ผู้อานวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ\"์

ภาพการปฏิบตั ิกจิ กรรม PLC ย ภาพการจดั กจิ กรรม PLC แบบ Technology (Technology for Professional Learning Community : TPLC) ของ กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) โดยดำเนินกำรในวนั ท่ี 2 ธันวำคม 2563 เวลำ 14.55 – 16.55 น.

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ์\" ชอื่ กลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครัง้ ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 9 ธนั วาคม 2563 เริ่มดาเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จส้ินเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมครั้งน้อี ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทาเครือ่ งหมาย ลงในชอ่ ง )  ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั น้ี ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ช่ือ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถติ ผอู้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชัญญานุช รตั นวชิ ยั ผ้เู ช่ยี วชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครรู ว่ มเรียนรู้ 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณฐั ทติ า รกั ษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 9. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกิตต์ิ กาแพงเมือง ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม แนวทางแกไ้ ขปญั หา และ การออกแบบกจิ กรรม 2. ประเด็นปญั หา/สง่ิ ทตี่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาใหไ้ มส่ ามารถจัดการเรียนการสอนไดต้ ามปกติ

3. สมาชกิ ในกลุ่มนาเสนอแนวทางแก้ไขปญั หา รว่ มศกึ ษาปัญหา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรอื กระบวนการทจี่ ะใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาดังนี้ 1) ครูวรกิตต์ิ กำแพงเมือง ครูควรมีการสืบเสาะแสวงหาสื่อการเรียนการสอนทางไกล หรือส่ือการ เรียนการสอนออนไลน์ โดยใชง้ บประมาณใหน้ อ้ ยท่สี ุด และใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากท่สี ุด 2) ครรู ฐั ชำ รตั นวรรณ์ ครูผสู้ อนตอ้ งพฒั นาส่อื นวัตกรรมการเรยี นรรู้ ูปแบบใหม่ ที่สาคัญครูผู้สอนต้อง เข้าใจ ตอ้ งเรียนรู้ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนามาประยกุ ต์ใช้ร่วมกบั การจดั การศึกษา 3) ครูอรสำ ดษิ ฐเจริญ ครูควรนาเทคนิคการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยตี า่ ง ๆ ประกอบการเรียน เช่น บทเรยี นสาเร็จรปู บทเรยี นออนไลน์ 4) ครูรังสิมำ ไกรนรำ เสนอแนะแนวทางการเลือกใช้ส่ือการเรียนการสอนต้องมีความสะดวกใช้และ สอดคลอ้ งกับความสามารถของผู้เรียน 5) ครูประภำลักษณ์ เพียมะ เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา ครูควรพิจารณาปรับหรือเพ่ิมเติม สาระ/สอ่ื /แบบฝึก/มอบหมายงานเพม่ิ ใหเ้ หมาะสม 6) ครูประพำฬ แก้ววงษำ ครูควรมีการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ นกั เรยี นไดเ้ รียนรทู้ ุกท่ที ุกเวลา 7) ครูณัฐทิตำ รักษำ เสนอแนะการออกแบบส่ือการเรียนการต้องคานึงถึง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อการออกแบบสอ่ื ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ 8) ครูยศกร เรอื งไพศำล หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรไู้ ปศึกษาวธิ ีการนาเทคโนโลยี ต่างๆ มาใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งจะช่วยให้การนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนที่มีความ นา่ สนใจข้ึน และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน และครูได้มากข้ึน แม้ในขณะที่ทุกคนต้อง อาศัยภายในท่พี ักของตนเองในช่วงสถานการณ์ COVID-19 เพอื่ ให้แน่ใจได้ว่านักเรียนจะไม่พลาด การเรยี นรู้ของพวกเขา และช่วยให้เส้นทางการเรียนของนักเรยี นสามารถเดนิ หน้าต่อไปได้ 9) ครูชัญญำนุช รัตนวิชัย ผู้เช่ียวชาญได้ร่วมเสนอแนะการจัดให้มีการเรียนการสอนตามหลักสูตร ด้วยส่ือและช่องทางการส่ือสารท่ีมีอยู่ สามารถส่งถึงผู้เรียนในแต่ละกลุ่มเป้าหมายได้ โดยศึกษา จากวิธกี ารของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 4. สมาชกิ ร่วมกนั ออกแบบกจิ กรรมในการแกไ้ ขปัญหา การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพอื่ ให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร โดยการสร้างส่ือ การเรยี นการสอนออนไลน์

5. ประเดน็ / ความรูแ้ ละข้อเสนอแนะท่ไี ด้รบั จากการแลกเปลีย่ นเรียนรคู้ รัง้ นี้ วิกฤตสู่โอกาส ปัจจุบันเทคโนโลยดี ิจิทัลไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสาคญั และเปล่ยี นแปลงการดาเนินชีวิตของ ผ้คู น ส่งผลกระทบทาให้หลายอาชีพถูกดิสรัปชัน (Disruption) ทาให้ในด้านการจัดการศึกษามีความจาเป็นที่ ตอ้ งนาเทคโนโลยีดิจทิ ลั เข้ามาเป็นเครื่องมอื เพ่ือลดข้อจากัด และเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการจดั การเรียนการสอน ใหม้ ากยง่ิ ขึ้น อีกทงั้ ยงั ช่วยสง่ ผลให้นักเรยี นทอ่ี ยหู่ ่างไกล สามารถมีโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 6. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจัดกิจกรรม นาผลการประชมุ ไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพื่อเกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงชื่อ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ) ลงช่อื ลงชื่อ ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กุลจิตติธร ) หวั หน้ากลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ ลงชื่อ........................................................ผู้รบั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต ) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์\"

ภาพการปฏบิ ัติกิจกรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ กำรในวันท่ี 9 ธันวำคม 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสุกหวาดจวนอปุ ถัมภ\"์ ชื่อกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครงั้ ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 16 ธันวาคม 2563 เร่มิ ดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 2 ชวั่ โมง กิจกรรมครั้งน้ีอยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรยี นรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ ง )  ข้ันที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do& See)  ข้นั ที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเข้าร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ชือ่ -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชอ่ื 1. นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศส์ ถติ ผอู้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานุช รัตนวชิ ยั ผู้เชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครรู ่วมเรียนรู้ 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมอื ง ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม กจิ กรรมตัดสินใจเลอื กรปู แบบ/วิธกี าร/นวัตกรรมในการแกป้ ัญหา 2. ประเดน็ ปัญหา/สิง่ ทีต่ ้องการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ไมส่ ามารถจดั การเรียนการสอนได้ตามปกติ

3. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั จดั ทาแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกจิ กรรม PLC ในสัปดาห์ท่ีผ่านมาได้หัวข้อการพัฒนานักเรียน คือ การพัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพอ่ื ให้นักเรียนไดเ้ รยี นรู้ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อ การเรยี นการสอนออนไลน์ จึงได้มกี ารวางแผนงาน เพือ่ จดั ทาแผนกจิ กรรมดังน้ี 1) การวางแผน (Planning) การใช้ส่ือการสอนต้องมีการวางแผน โดยในข้ันของการวางแผนคือการ พิจารณาว่าจะเลือกใช้ส่ือใดในการเรียนการสอน และศึกษาแนวทางการเรียนการสอนล่วงหน้าผ่านเว็บไซต์ www.dltv.ac.th 2) การเตรยี มการ (Preparation) เม่อื ไดว้ างแผนเลือกใช้ส่ือการสอนแล้ว ขั้นต่อมาคือการเตรียมการ ส่ิงต่างๆ เพื่อให้การใช้ส่ือการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการสอน ผสู้ อนควรเตรยี มความพรอ้ มในสิง่ ต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 การเตรียมความพรอ้ มของผสู้ อน 2.2 การเตรียมความพร้อมใหผ้ เู้ รยี น 2.3 การเตรยี มความพรอ้ มของสอ่ื และอุปกรณห์ รอื เครอื่ งมอื ทใ่ี ชร้ ่วมกนั 2.4 การเตรยี มความพร้อมของสภาพแวดลอ้ มและหอ้ งสอน 3) ศกึ ษาเครอ่ื งมือสาหรับพัฒนาส่ือการสอนการพัฒนาส่ือการสอนผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งเก่ียวข้อง กับการสรา้ งโปรแกรมในการนาเสนอเนอ้ื หาบทเรียน ในรปู แบบของขอ้ ความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง ให้ สอดคล้องกับเนื้อหาและวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 4) ตรวจสอบความกา้ วหน้าของนักเรียนแตล่ ะคนในความรูแ้ ละทกั ษะแต่ละดา้ น 5) ครผู ูส้ อนนาผลการประเมนิ และการวจิ ารณ์ของครูรว่ มเรียนรู้ มาปรบั ปรงุ และพฒั นาใหด้ ีขึ้น 4. ประเด็น/ ความร้แู ละขอ้ เสนอแนะที่ได้รบั จากการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้คร้งั นี้ การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ New Normal ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และสถานการณ์ปกติ โดยการผสมผสานการเรียนออนไลน์ การเรียนในช้ันเรียน ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ รปู แบบอ่นื สามารถวดั และประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ 5. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กิจกรรม นาผลการประชมุ ไปบนั ทึกใน Log book ของตนเอง เพ่อื เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น.

ลงชื่อ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ) ลงชื่อ ลงชอ่ื ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กลุ จติ ติธร ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ลงชอื่ ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศส์ ถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ\"์

ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ กำรในวนั ท่ี 16 ธนั วำคม 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ\"์ ช่ือกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครงั้ ท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 23 ธนั วาคม 2563 เริ่มดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ชัว่ โมง กจิ กรรมครั้งนอี้ ยู่ความสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาบทเรยี นรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง )  ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้ันที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอ่ื -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ช่ือ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถติ ผ้อู านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานชุ รัตนวิชัย ผ้เู ชี่ยวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณฐั ทติ า รกั ษา ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครรู ่วมเรียนรู้ 9. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมือง ครรู ว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การออกแบบกิจกรรมการแก้ปญั หา 2. ประเดน็ ปัญหา/สิ่งทีต่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ไมส่ ามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ

3. สมาชิกในกล่มุ ร่วมกนั จัดทาแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก ครูรังสิมา ไกรนรา เป็นครูต้นแบบ (Model Teacher) ในการให้คาแนะนาการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถ ครบตามหลักสูตร โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ จึงได้มีการร่วมวางแผนงาน เพ่ือจัดทาและ ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนร้รู ว่ มกัน ดังน้ี 1) คณะครูผูเ้ ขา้ รว่ มประชมุ ได้ศึกษาข้นั ตอนวิธีการจากครตู น้ แบบ ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ พูดคยุ เพือ่ นาไปจัดทาและปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ในรายวิชาของตนเอง 2) คณะครูรว่ มแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ถึงวิธกี ารข้นั ตอน เพอื่ ดาเนนิ การในขัน้ ตอ่ ไป 3) คณะครูแตล่ ะท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่ือการเรียนการสอน ออนไลน์ไปปรับใช้ในรายวิชาของตนเอง 4) ร่วมกนั กาหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์ทดลองใชร้ ปู แบบกจิ กรรม 5) คณะครมู ีการนัดหมาย เพือ่ ไปสงั เกตการณ์การสอนของครูตน้ แบบในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยการสร้างส่อื การเรยี นการสอนออนไลน์ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และนาผลที่ได้จาก การจัดกจิ กรรมมาอภปิ รายและสรุปผลร่วมกนั เพือ่ หาแนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นาตอ่ ไป 4. ประเดน็ / ความรแู้ ละขอ้ เสนอแนะทีไ่ ดร้ ับจากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ครงั้ นี้ สรปุ ความรูแ้ ละข้อเสนอแนะทีไ่ ดจ้ ากการแลกเปลยี่ นเรียนรใู้ นครง้ั นี้คือ ในส่วนของแพลตฟอร์มออนไลน์ ท่ีสามารถนามาปรับใช้ เช่น Google Classroom ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่เปิดให้ใช้ฟรี มีท้ังแบบแอพพลิเคช่ันและ เว็บไซต์ คณุ ครูสามารถสร้างคลาสออนไลน์ แบบทดสอบ สรา้ งและแจกจ่ายการบ้าน ตัดเกรด ส่ือสารกับนักเรียน และผู้ปกครองได้ เมนูการใช้งานคลา้ ยคลึงกับการใช้ผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ ของ Google ซึ่งถ้าผู้ใช้คุ้นเคยอยู่แล้วจะยิ่ง เข้าใจง่าย นอกจากนี้ยงั มี template เอกสารประกอบการเรียนวชิ าตา่ ง ๆ ให้คณุ ครูมาเลือกใช้ไดด้ ว้ ย 5. ผลท่ีไดจ้ ากการจัดกิจกรรม นาผลการประชุมไปบนั ทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชมุ เวลา 16.55 น.

ลงชือ่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ) ลงชื่อ ลงชื่อ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กลุ จิตติธร ) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ลงชื่อ........................................................ผู้รับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถิต ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์\"

ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ กำรในวนั ท่ี 23 ธนั วำคม 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ\"์ ช่อื กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครง้ั ที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 30 ธนั วาคม 2563 เริ่มดาเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั สนิ้ 2 ช่วั โมง กิจกรรมครั้งนอี้ ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรยี นรว่ มกนั (Lesson study) (ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง )  ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้ันท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้นั ที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูที่เขา้ รว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้ ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ช่อื 1. นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศส์ ถิต ผูอ้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานุช รตั นวิชยั ผู้เชี่ยวชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หน้ากลุ่มสาระฯ 4. นางสาวรงั สิมา ไกรนรา ครผู ู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครูร่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทิตา รกั ษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายรัฐชา รัตนวรรณ์ ครูร่วมเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจรญิ ครูรว่ มเรียนรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมือง ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การออกแบบกิจกรรมตามวิธีการ/นวัตกรรมทีก่ ลมุ่ เลอื ก 2. สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกันจดั ทาและปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้ จากปัญหาท่ีสาคัญท่ีสุดของกลุ่ม คือ “ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการ เรียนรู้” สมาชกิ ในกลมุ่ จงึ รว่ มกันนาเสนอองค์ประกอบของนวัตกรรม กาหนดทิศทางและแนวทางการแก้ปัญหา ร่วมกันโดยใช้วิธีเดียวกันซ่ึงสมาชิกในกลุ่มร่วมกันตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหา คือ ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และพัฒนาความรู้

ความสามารถครบตามหลกั สูตร จึงได้มีการร่วมจัดทาและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเอง ร่วมกัน โดยมขี ้ันตอนการดาเนินการ ดงั น้ี 1) กาหนดชื่อหนว่ ยการเรยี นให้สอดคลอ้ งกบั ประเดน็ ทีจ่ ะแก้ปญั หา 2) กาหนดขอบเขตของเนอื้ หาใหส้ อดคลอ้ งกบั ประเดน็ ที่จะแก้ปญั หา 3) สร้างแผนการจัดการเรียนรเู้ ฉพาะหนว่ ยการเรยี นที่ใชน้ วัตกรรม 4) ทดลองนวตั กรรมใช้กับนกั เรียน และรายงานการสร้างสอ่ื นวัตกรรม 5) สมาชกิ ในกลุม่ PLC นดั หมายวนั และเวลาในการนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีให้ผู้นิเทศ/ ผู้เชย่ี วชาญทาการนิเทศ/ตรวจสอบ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ในการสรา้ ง 6) บันทกึ ผลการทดลองใช้สอ่ื นวตั กรรมตามแผนการจดั การเรยี นรู้ 7) สะท้อนผลการใชส้ ื่อนวัตกรรมในการแก้ปญั หา 8) สรุปผลการเขา้ รว่ มชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ 9) จากการใชก้ ระบวนการ PLC แกป้ ัญหา นาไปส่รู ายงานการวิจยั ในชั้นเรียน 4. ประเด็น/ ความรู้และข้อเสนอแนะท่ีไดร้ ับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรคู้ รง้ั น้ี ศึกษาทฤษฏีทเ่ี กย่ี วข้อง สมาชิกในกลุม่ ร่วมกันเสนอแนะทฤษฏี/งานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การเรียนการสอนแนวใหม่เป็นการนาแนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ใน การจัดการเรยี นรู้ ในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นาการเรยี นรู้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามเป้าหมายของ หลักสูตร ซ่ึงจะช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน ผู้เรียนสามารถเกิด การเรียนรไู้ ด้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่าน้ัน และประหยดั เวลาในการเรียนไดอ้ กี ดว้ ย 2) ส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ ผู้เรยี นส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนแสวงหาความรูเ้ พิ่มเติมจากแหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ และเป็นส่อื ท่ีมีบทบาทสาคัญ ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีการหน่ึงท่ีถูกนามาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพ่ิม ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากอานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการ สอนด้วยสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนเขา้ ถงึ แหลง่ เรียนรู้ได้ทุกท่ี ทุกเวลา 5. ผลทไ่ี ด้จากการจดั กิจกรรม นาไปสู่การอบรมพัฒนาครู และนาผลการประชุมไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บเป็น หลักฐานในการรายงานต่อไปทง้ั น้ีได้นดั หมายวิธีการที่จะดาเนินการต่อไปในคร้ังต่อไป คือ การจัดส่งแผนการ จดั การเรียนรู้เฉพาะหนว่ ยการเรียนทจี่ ะดาเนินการใชน้ วัตกรรม เลกิ ประชมุ เวลา 16.55 น.

ลงชือ่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ) ลงชื่อ ลงช่อื ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กลุ จิตตธิ ร ) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ลงชื่อ........................................................ผ้รู ับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษ์พงศ์สถิต ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ\"์

ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ กำรในวนั ท่ี 30 ธนั วำคม 2563

แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ\"์ ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครง้ั ท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 6 มกราคม 2564 เริ่มดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้นิ 2 ช่ัวโมง กิจกรรมครั้งน้ีอยู่ความสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาบทเรยี นร่วมกัน (Lesson study) (ทาเครื่องหมาย ลงในช่อง )  ขน้ั ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เขา้ รว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดงั น้ี ท่ี ชื่อ-สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมือช่อื 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศส์ ถิต ผู้อานวยการโรงเรียน 2. นางสาวชญั ญานชุ รัตนวิชัย ผเู้ ชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครผู สู้ อนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครรู ว่ มเรียนรู้ 8. นายรัฐชา รัตนวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจรญิ ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมอื ง ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม แลกเปลีย่ นเสนอแนะ (นาเสนอกจิ กรรมการแกป้ ัญหาใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญหรอื ผ้มู ีประสบการณ์ให้ ข้อเสนอแนะ) 2. สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกันจัดทาและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก นางสาวรังสิมา ไกรนรา เป็นครูผู้สอนหลัก (Model Teacher) เพอื่ ใหค้ าแนะนาในการพฒั นารูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างส่ือการเรียนการ สอนออนไลน์ ซึ่งในคร้ังน้ีได้มีการนัดหมายจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนท่ีจะดาเนินการใช้

นวัตกรรม เพอ่ื ที่สมาชกิ ในกล่มุ จะได้ร่วมกันตรวจสอบ สงั เคราะห์ และปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ จึงได้มีการ ร่วมวางแผนงาน ดงั นี้ 1. สมาชิกผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ได้ศึกษาขั้นตอนวิธีการจากครูผู้สอนหลัก ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพื่อนาไปจัดทาและปรับปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู้ของตนเอง 2. สมาชกิ ในกล่มุ รว่ มแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ถงึ วธิ ีการข้นั ตอน เพอื่ ดาเนนิ การในข้ันต่อไป 3. สมาชิกในกลมุ่ แตล่ ะท่านไดร้ ่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการสร้างเน้ือหาและสร้าง ส่ือการเรยี นการสอนออนไลน์ ไปปรับใช้ในรายวิชาของตนเอง 4. รว่ มกันกาหนดบทบาทสมาชกิ ในการสงั เกตการณ์ทดลองใช้รูปแบบกิจกรรม 5. สมาชิกในกล่มุ มีการนัดหมาย เพอ่ื ไปสงั เกตการณก์ ารสอนของครูผูส้ อนหลักในการพัฒนารูปแบบการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเนือ้ หาและสรา้ งสอื่ การเรียนการสอนออนไลน์ และนาผลท่ีได้จากการ จัดกจิ กรรมมาอภิปรายและสรุปผลร่วมกนั เพ่ือหาแนวทางในการปรบั ปรุงและพฒั นาตอ่ ไป 3. ประเด็น/ ความรแู้ ละขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรคู้ รั้งนี้ ช่ือสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่อื ใหน้ ักเรยี นได้เรยี นรู้ และพฒั นาความรู้ความสามารถครบตามหลักสตู ร นาไปใชใ้ นรายวชิ า ออกแบบสงิ่ ของเคร่อื งใช้ รหัสวิชา ว30274 เรือ่ ง การสร้างภาพสามมติ ิ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน 2 ชัว่ โมง ใชว้ ิธีการสอนแบบ การสรา้ งเนอ้ื หาและสรา้ งสอื่ การเรยี นการสอนออนไลน์ ร่วมกับสื่อนวัตกรรม Google Sites และ Google Classroom ทั้งน้ีได้นัดหมายสังเกตการณ์การสอนของครูผู้สอนหลัก ในวันที่ 6 มกราคม 2564 เวลา 14.30 – 15.30 น. รายวิชาออกแบบส่งิ ของเคร่ืองใช้ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/2 4. ผลที่ได้จากการจดั กิจกรรม นาไปสู่การอบรมพัฒนาครู และนาผลการประชุมไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บเป็น หลักฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชมุ เวลา 16.55 น.

ลงชือ่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ) ลงชื่อ ลงชื่อ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กลุ จิตติธร ) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ลงชื่อ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถิต ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์\"

ภาพการปฏบิ ัติกจิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนินกำรในวันที่ 6 มกรำคม 2564

แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ์\" ชอื่ กลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้ังท่ี 7 ภาคเรียนที่ 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 13 มกราคม 2564 เริ่มดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสิน้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้ังสิน้ 2 ช่ัวโมง กจิ กรรมคร้ังนีอ้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเคร่อื งหมาย ลงในช่อง )  ข้ันที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมอื ชื่อ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถติ ผู้อานวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชัญญานชุ รัตนวชิ ัย ผู้เชยี่ วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครผู ู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวณัฐทิตา รักษา ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครูรว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจรญิ ครรู ่วมเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมอื ง ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาสู่การปฏิบตั ิ และ สงั เกตการสอน คร้งั ท่ี 1 (การทดลองของ Model Teacher) 2. ผลการสงั เกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูรังสิมา ไกรนรา ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ออกแบบสงิ่ ของเคร่อื งใช้ รหัสวิชา ว30274 จากการพฒั นารปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนสอบถามนักเรียนเก่ียวกับการสร้างภาพสามมิติตามที่ให้ นักเรียนไปศกึ ษาล่วงหนา้ จากเวบ็ เรียนออนไลน์ของครูรงั สมิ า(https://sites.google.com/view/kruhoney)

วิชาออกแบบสง่ิ ของเคร่ืองใช้ เรื่อง การสร้างภาพสามมิติ ครูผู้สอนทบทวนและอธิบายหลักการออกแบบงาน กราฟิกแต่ละหลักการอีกคร้ังเพื่อให้นักเรียนเข้าใจเน้ือได้ดีข้ึน จากน้ันครูผู้สอนให้นักเรียนเข้าห้องเรียนใน Google Classroom เพ่อื ดงู านทค่ี รูมอบหมายให้ โดยนักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มจากเว็บเรียนออนไลน์ของ ครูรังสิมา (https://sites.google.com/view/kruhoney) โดยครูผู้สอนสรุปการใช้งานมุมมอง เมาส์ แถบ เครื่องมอื และ Add วัตถุ ในโปรแกรมBlender เพื่อเป็นการสรุปเน้ือหาสัปดาห์ที่ 1-6 เพ่ือทดลองการสร้าง ชน้ิ งานจริง 3. จุดเดน่ ในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครผู สู้ อนเข้าใจเนื้อหาท่ีสอนอยา่ งแจ่มแจง้ (Insight) การสอนในลักษณะนี้ครผู ้สู อนมีการเตรียมการ สอนมาเป็นอยา่ งดี เข้าใจเน้ือหาสาระที่สอนไดอ้ ย่างชัดเจน จึงสามารถสอนให้ผู้เรียนเขา้ ใจในเน้อื หาได้อย่าง แจม่ แจ้ง 4. จุดทต่ี ้องพัฒนาในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมกันสะท้อนความคิดท้ังจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมท้ัง แนะนาวธิ กี ารแก้ปญั หาโดยใช้สุนทรียสนทนา ดังน้ี 1) ครผู สู้ อนควรใหน้ กั เรยี นแกป้ ัญหาด้วยตนเองอนั จะนาไปสกู่ ารคิดเป็น ทาเป็น และแก้ปญั หาเปน็ 2) ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นหาสาเหตุ เหตุผล ความเป็นไปของส่ิงท่ีเรียน มีส่วนร่วมในการ วางแผน การดาเนินกจิ กรรม และการประเมินผลการเรยี นการสอน 5. ผลลัพธท์ ไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม ผ้สู อนไดร้ ับความร้แู ละประสบการณ์ ซ่ึงเปน็ ประโยชน์ตอ่ การปรบั ปรุงและพฒั นาแผนการจัดการ เรียนรู้ และผู้สอนได้รับนวตั กรรมและเริ่มวางแผนจดั ทาวจิ ัยปฏิบตั ิการในช้ันเรียน เลกิ ประชมุ เวลา 16.55 น. ลงช่ือ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ) ลงชอ่ื ลงชอื่ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กุลจิตติธร ) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผ้อู านวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ ลงชือ่ ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์

ภาพการปฏิบัตกิ ิจกรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” ขั้นท่ี 2 การนาสกู่ ารปฏิบัติ และ สังเกตการสอน ครงั้ ที่ 1 (การทดลองของ Model Teacher) โดยดำเนินกำรในวันที่ 13 มกรำคม 2564

แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ\"์ ช่อื กลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้งั ท่ี 8 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 20 มกราคม 2564 เร่ิมดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้ังส้ิน 2 ชั่วโมง กิจกรรมคร้ังน้อี ย่คู วามสอดคล้องกบั การพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) (ทาเครือ่ งหมาย ลงในช่อง )  ข้ันที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชือ่ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถติ ผู้อานวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานชุ รัตนวชิ ยั ผู้เชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครูผสู้ อนหลกั 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรัฐชา รัตนวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจรญิ ครูรว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ติ์ กาแพงเมือง ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏิบัติของ Model Teacher (After Action Review : AAR) 2. ครผู ู้สอนหลกั (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของตนเอง การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พฒั นาความรู้ความสามารถครบตามหลักสูตร พบว่าส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและ ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ

ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนมาก่อนล่วงหน้าและอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เข้าถงึ แหล่งเรยี นรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา 3. สะทอ้ นผลการใช้สือ่ นวตั กรรมในการแกป้ ัญหา สมาชกิ ในกลมุ่ PLC ร่วมกนั อภิปรายพจิ ารณาทบทวนปัญหา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนรู้ของนักเรยี น เพือ่ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อน 4. ผลการนาส่อื นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสาเรจ็ ประเดน็ ทีน่ าไปสรู่ ายงานการวิจัย เรือ่ ง “การพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายวิชา ว30274 ออกแบบส่ิงของเคร่ืองใช้ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563” 5. สมาชกิ ร่วมกันปรบั ปรุงแบบกิจกรรมตามทไี่ ด้สะทอ้ นผล และ ปรับแผนกิจกรรม นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีแก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เช่ียวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วม สงั เกตการณ์ ซงึ่ แผนการจดั การเรยี นรูน้ มี้ ขี น้ั ตอนสาคัญในการจัดกิจกรรมการสรา้ งเนื้อหาและการสร้างส่ือการ เรียนการสอนออนไลน์ คือ การนาเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบไปด้วยข้ันสนใจ (Motivation) ขน้ั ศึกษาข้อมูล (Information) ขั้นพยายาม (Application) และข้ันสาเร็จผล (Progress) ซ่ึงครู มอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากโดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ที่ครูได้สร้างขึ้น จากน้ัน นกั เรียนได้ออกแบบชิ้นงานเอง ซ่ึงครูจะทาหนา้ ที่ช้แี นะ และอธิบายเพมิ่ เติม จากนน้ั ครูและนักเรียนจะร่วมกัน สรปุ องค์ความรทู้ ไ่ี ด้จากการจดั กิจกรรมภายในช้ันเรียน 6. กจิ กรรมทไี่ ดร้ ่วมทา ผู้สอนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง หลักการออกแบบงานกราฟิก จากน้ันครู ร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งใหค้ าแนะนาในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เมื่อสน้ิ สดุ ขน้ั ตอนการสะท้อนคิดแลว้ ผู้สอนบันทึกผล การสะท้อนคิดหลงั ปฏิบัตกิ าร (After Action Review : AAR) จากนนั้ ปรบั ปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทาวิจัย ปฏบิ ัติการในชนั้ เรยี นต่อไป เลกิ ประชมุ เวลา 16.55 น.

ลงชอ่ื .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ) ลงชื่อ ลงชอื่ ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กลุ จิตติธร ) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ลงชือ่ ........................................................ผรู้ บั รอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ\"์

ภาพการปฏบิ ตั ิกิจกรรม PLC ––– ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” โดยดำเนนิ กำรในวนั ท่ี 20 มกรำคม 2564 1.

แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ\"์ ชอ่ื กลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้ังท่ี 9 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 27 มกราคม 2564 เร่มิ ดาเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จสนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้นิ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมคร้ังนี้อยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรยี นรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ ง )  ข้ันที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมอื ชอ่ื 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ผู้อานวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานชุ รตั นวชิ ยั ผเู้ ช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครูผู้สอนหลกั 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทิตา รักษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายรัฐชา รัตนวรรณ์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครูรว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมอื ง ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาสู่การปฏิบตั ิ และ สังเกตการสอน ครั้งท่ี 2 (การทดลองของสมาชกิ 1) 2. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันจัดทาและปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูประภาลักษณ์ เพียมะ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา วทิ ยาการคานวณ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 การพัฒนารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทาส่ือวิชาวิทยาการคานวณ โดยเนื้อหามี เปา้ หมายหลกั เพอื่ พัฒนาผเู้ รียนให้มีความรู้ และทักษะการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่าง

เป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นาไปสู่การสร้างสรรค์งานในเชิงการ ออกแบบทางวศิ วกรรม โดยการจดั รปู แบบใหน้ ักเรียนเขา้ ศึกษาในเน้ือหาแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และทาใบ งาน/แบบทดสอบ ส่งตามที่กาหนด แบ่งออกเป็น 4 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ 1) วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2) เทคโนโลยกี ารจดั การข้อมูล 3) การประมวลผลขอ้ มลู และ 4) วิทยาการข้อมูล 3. สะท้อนผลการใช้สอื่ นวัตกรรมในการแกป้ ัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภปิ รายพิจารณาทบทวนปญั หา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรยี นรู้ของนักเรียน เพือ่ ปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครูผู้สอน 4. ผลการนาสอ่ื นวตั กรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสาเรจ็ ประเด็นท่นี าไปสูร่ ายงานการวจิ ัย เรื่อง “การพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายวชิ าวิทยาการคานวณ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563” เลิกประชุมเวลา 16.55 น. ลงชื่อ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ) ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กุลจติ ติธร ) หัวหน้ากล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผ้อู านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ........................................................ผูร้ ับรอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์\"

ภาพการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรียนรู้ คร้ังที่ 2 การทดลองของสมาชกิ : ครูประภาลักษณ์ เพยี มะ โดยดำเนินกำรในวนั ที่ 27 มกรำคม 2564 2.

แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอปุ ถัมภ\"์ ชือ่ กล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครง้ั ที่ 10 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 3 กุมภาพนั ธ์ 2564 เร่ิมดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสิน้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้ังส้นิ 2 ชัว่ โมง กิจกรรมครั้งนี้อย่คู วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นร่วมกัน (Lesson study) (ทาเครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ ง )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูที่เข้ารว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอ่ื -สกลุ บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ชือ่ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถติ ผอู้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชัญญานุช รัตนวิชัย ผู้เช่ยี วชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากล่มุ สาระฯ 4. นางสาวรังสิมา ไกรนรา ครูผสู้ อนหลกั 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รกั ษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจรญิ ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมือง ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏิบัติของครูร่วมเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ครผู ูส้ อนหลกั (Model teacher) สะทอ้ นผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พฒั นาความรคู้ วามสามารถครบตามหลักสตู ร พบวา่ เปน็ การจดั กจิ กรรมทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการของ

ผ้เู รยี น มคี วามสนใจ กระตอื รอื ร้นในการทากิจกรรมต่าง ๆ เพราะบทเรียนออนไลน์ เป็นสื่อท่ีมีความสวยงาม ทันสมัย และเขา้ ถงึ ได้ง่ายเรียนไดท้ ุกที่ทกุ เวลา และสามารถเข้าถงึ กล่มุ เปา้ หมายไดเ้ ป็นอย่างดี 3. สะทอ้ นผลการใช้ส่ือนวัตกรรมในการแกป้ ญั หา สมาชิกในกลมุ่ PLC รว่ มกันอภปิ รายพิจารณาทบทวนปญั หา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรยี นรู้ของนักเรยี น เพอ่ื ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องครผู สู้ อน 4. ผลการนาสื่อนวัตกรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสาเร็จ ประเดน็ ทีน่ าไปสู่รายงานการวจิ ยั เรื่อง “การพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พฒั นาความรู้ความสามารถครบตามหลกั สูตร รายวิชาวิทยาการคานวณ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563” 5. สมาชกิ รว่ มกนั ปรบั ปรุงแบบกิจกรรมตามทีไ่ ดส้ ะท้อนผล และ ปรบั แผนกจิ กรรม นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีแก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซ่ึ ง แผนการจัดการเรยี นรูน้ ้มี ีขัน้ ตอนสาคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากบทเรียนออนไลน์ที่ครูได้สร้างข้ึน และ ศึกษาเน้ือหาจากบทเรียนออนไลน์ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทาหน้าท่ีช้ีแนะ และอธิบายเพ่ิมเติม จากน้ันครูและ นักเรยี นจะร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ท่ไี ดจ้ ากการจัดกิจกรรมภายในช้ันเรยี น 6. กจิ กรรมทีไ่ ดร้ ว่ มทา ผสู้ อนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง วิทยาการคานวณ จากบทเรียนออนไลน์ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและ อุปสรรค รวมทัง้ ให้คาแนะนาในการพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อส้นิ สดุ ข้ันตอนการสะท้อนคดิ แล้ว ผู้สอน บันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทาวิจยั ปฏบิ ตั กิ ารในชั้นเรยี นต่อไป 7. แนวทางการนาความรู้ไปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพือ่ แลกเปลย่ี นความคดิ โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่น และจุดท่ีต้อง พฒั นาในการจดั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จากน้ันนาไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนาผลการประชุมไป บันทกึ ใน Log book ของตนเอง เพ่อื เก็บเป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชุมเวลา 16.55 น.

ลงชือ่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ) ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กลุ จติ ตธิ ร ) หัวหน้ากล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ลงช่อื ........................................................ผู้รบั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ\"์

ภาพการปฏบิ ัติกจิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะท้อนผลการปฏิบตั ิของครรู ่วมเรียนรู้ โดยดำเนนิ กำรในวนั ท่ี 3 กุมภำพันธ์ 2564

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ\"์ ช่ือกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครั้งท่ี 11 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 10 กุมภาพันธ์ 2564 เรมิ่ ดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 2 ช่ัวโมง กจิ กรรมคร้ังนีอ้ ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรยี นรว่ มกัน (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่อง )  ขนั้ ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดงั น้ี ท่ี ช่อื -สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมือชอ่ื 1. นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศส์ ถติ ผอู้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชญั ญานุช รตั นวิชยั ผเู้ ช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หัวหน้ากล่มุ สาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครผู ู้สอนหลัก 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายรัฐชา รตั นวรรณ์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครรู ว่ มเรียนรู้ 10. นายวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนาสู่การปฏิบตั ิ และ สงั เกตการสอน (การทดลองสมาชกิ 2) 2. สมาชกิ ในกล่มุ ร่วมกันจดั ทาและปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูวรกิตติ์ กาแพงเมือง ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา วิทยาการคานวณ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 การพฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการ สร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทาสื่อรายวิชาวิทยาการคานวณ เพื่อนามาใช้ ศึกษาเน้ือหาบทเรียนจากบทเรียนออนไลน์ ร่วมกับถ่ายทอดสดการสอนออนไลน์ผ่าน line video call

และระบบหอ้ งเรียนออนไลนร์ ะดบั ประเทศ ClassStart ส่งผลใหน้ ักเรียนเกิดความเข้าใจในเร่ืองท่ีจะศึกษา งา่ ยย่งิ ข้ึนทาไดแ้ ละทาเสร็จในเวลาทร่ี วดเร็ว เน้อื หาทใี่ ช้ในการในการจดั การเรยี นการสอน ประกอบไปด้วย 3. สะท้อนผลการใช้สื่อนวตั กรรมในการแก้ปญั หา สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพจิ ารณาทบทวนปญั หา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรียนรู้ของนักเรียน เพอ่ื ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อน 4. ผลการนาสอื่ นวตั กรรมฯไปแก้ปญั หา ประสบความสาเรจ็ ประเด็นที่นาไปสรู่ ายงานการวิจัย เรอื่ ง “การพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ รายวิชาวิทยาการคานวณ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563” เลิกประชุมเวลา 16.55 น. ลงชือ่ .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ) ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภัทร กุลจติ ติธร ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ ลงช่อื ........................................................ผูร้ บั รอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ์\"

ภาพการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ คร้ังที่ 3 การทดลองของสมาชกิ : ครูวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง โดยดำเนนิ กำรในวันท่ี 10 กุมภำพันธ์ 2564

แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ\"์ ช่อื กลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้งั ที่ 12 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วัน/เดือน/ปี : 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 เริ่มดาเนินการเวลา 14.55 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ชัว่ โมง กิจกรรมคร้ังน้อี ยู่ความสอดคล้องกบั การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่อง )  ขั้นท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เข้ารว่ มกิจกรรม 10 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดงั น้ี ท่ี ช่ือ-สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่ือ 1. นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ผอู้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชญั ญานุช รัตนวชิ ยั ผ้เู ชย่ี วชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครผู ู้สอนหลกั 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รตั นวรรณ์ ครรู ่วมเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจรญิ ครรู ่วมเรียนรู้ 10. นายวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏิบัตขิ องครูร่วมเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ครผู สู้ อนหลัก (Model teacher) สะทอ้ นผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ขู องตนเอง การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พัฒนาความรคู้ วามสามารถครบตามหลกั สตู ร พบวา่ เปน็ การจัดกิจกรรมทส่ี ามารถตอบสนองความต้องการของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook