Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฎิบัติงานการติดตั้งเครื่องปรับอากาศติดผนังขนาด12000BTU รุ่นมิตซูบิชิ

คู่มือการปฎิบัติงานการติดตั้งเครื่องปรับอากาศติดผนังขนาด12000BTU รุ่นมิตซูบิชิ

Published by ton-love-yon, 2021-09-22 13:29:55

Description: inbound102556651733361499

Search

Read the Text Version

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน การตดิ ตั้งเครอ่ื งปรับอากาศติดผนงั ขนาด12000BTU ร่นุ มิตซูบชิ ิ นายณัฐวตั ร เก้าสังข์ รหัส 6441040009 สาขาเทคโนโลยไี ฟฟา้ วิทยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคใต้ อา้ งอิงรายวิชา : การเขียนรายงานในงานอาชพี รหัส : 20-4000-1101 ทป่ี รึกษา : ดร.สมหวงั ศุภพล

สารบญั 1 1 บทนำ 3 ขนั้ ตอนการติดตง้ั 6 เครือ่ งมอื อุปกรณแ์ ละขอ้ ควรระวัง 9 01.การติดตั้งแฟนคอยล์ยนู ติ 11 02.การตดิ ต้งั คอนเดนซ่ิงยนู ติ 13 03.การเดินระบบท่อน้ำยา 15 04.การต่อระบบไฟ 17 05.การทำการสุญญากาศและการปล่อยนำ้ ยา 19 06.การเดนิ เคร่ือง 20 ภาคผนวก 23 ภาคผนวก ก การตดิ ต้งั แฟนคอยล์ยนู ิต 25 ภาคผนวก ข การติดตงั้ คอนเดนซง่ิ 30 ภาคผนวก ค การเดินท่อนำ้ ยาและท่อนำ้ ทง้ิ 33 ภาคผนวก ง การต่อระบบไฟ 36 ภาคผนวก จ การทำสุญญากาศ 38 ภาคผนวก ฉ การเดินเครื่อง ประวัตผิ ู้จัดทำ

-1- บทนำ ในปัจจุบนั เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ที่ใชป้ รับอณุ หภมู ขิ องอากาศในเคหสถาน เพอ่ื ให้มนุษย์ได้อาศยั อย่ใู นที่ท่ไี ม่ร้อนหรอื ไมเ่ ยน็ จนเกนิ ไปหรือใชร้ ักษาภาวะอากาศให้คงทีเ่ พื่อจุดประสงค์อ่นื เคหสถาน ในเขตศูนยส์ ูตรหรือเขตรอ้ นช้ืนมกั มีการติดตัง้ เคร่ืองปรับอากาศเพ่ือลดอุณหภมู ใิ ห้เยน็ ลง เครื่องปรบั อากาศมที ั้งแบบตั้งพื้น ติดผนัง และแขวนเพดาน ทางานด้วยหลักการ การถ่ายเทความร้อน กลา่ วคอื เมอื่ ความรอ้ นถา่ ยเทออกไปขา้ งนอก อากาศภายในห้องจะมีอุณหภูมิ ลดลง เป็นตน้ และเคร่ืองปรับอากาศอาจมคี วามสามารถในการลดความชน้ื หรือการฟอกอากาศให้ บริสุทธิ์ ขนั้ ตอนการตดิ ต้ังเครื่องปรบั อากาศตดิ ผนังขนาด12000BTU ตดิ ต้ังแฟนคอยล์ยนู ิต 01 ตดิ ตั้งคอนเดนซ่งิ ยนู ิต 02 เดินระบบท่อนำ้ ยาและท่อน้ำท้ิง 03

-2- ขน้ั ตอนการตดิ ต้งั เครอื่ งปรับอากาศติดผนงั ขนาด12000BTU ร่นุ มติ ซบู ชิ ิ ตอ่ ระบบไฟ 04 ทำการสญู ญากาศและปลอ่ ยนำ้ ยา 05 เดินเคร่ือง 06

-3- เคร่อื งมืออปุ กรณ์และข้อควรระวัง การติดต้งั เคร่ืองปรับอากาศ คัดเตอร์ตดั ท่อทองแดง ประแจ ข้อควรระวัง ขอ้ ควรระวัง ยดึ กบั ท่อทองแดงใหแ้ น่นแลว้ ทำกำรตดั ควรจับให้แนน่ เพื่อไมใ่ ห้หลุดมือ สว่าน หัวเจาะกลม ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวัง ระวงั อย่าให้นิ้วถูกกับดอกสวา่ น ควรหาอะไรมารองระหว่างเจาะ ถงั น้ำยา คีม ขอ้ ควรระวัง ข้อควรระวัง อย่าใหส้ ารทำความเยน็ เข้าตาเพราะจะทำ ไมค่ วามใช้คีมขนั คลายหัวน็อตเพราะจะทำให้ ให้ตาบอดได้ หวั นอ็ ตชำรดุ

-4- เคร่ืองมืออุปกรณ์และขอ้ ควรระวัง การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เคร่อื งแวคคม่ั เกจวัด ข้อควรระวัง ขอ้ ควรระวงั หลังการตอ่ ทอ่ นำ้ ยาเปน็ ท่เี รยี บรอ้ ยทำการ ห้ามวดั ความดนั ท่ีเกจสามารถวดั ได้ ตรวจลอยรั่วของทอ่ ชดุ ประแจหกเหล่ยี ม ชุดไขควง ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ใชไ้ ขควงให้เหมาะกบั ลักษณะงานและร่อง ควรใช้ประแจทีม่ ขี นาดของปากและความยาว ของน็อตสกรู ใหเ้ หมาะสมกับงาน ท่อทองแดง ตลับเมตร ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวัง ห้ามให้สิง่ ของทับเพราะทอ่ อาจจะพบั ได้ ควรเลยี่ งจากน้ำและความช้ืน

-5- เคร่ืองมืออุปกรณ์และขอ้ ควรระวัง การติดต้งั เครอ่ื งปรับอากาศ ระดับน้ำ Bender ข้อควรระวัง ข้อควรระวัง ระวงั อย่าใหต้ กกระแทกจากท่สี ูง ควรใชข้ นาดทอ่ ท่ีเหมาะสมกับBender ผ้าเทปพันท่อ คลปิ แอมป์มเิ ตอร์ ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง ควรตั้งย่านวัดที่วดั ได้ ควรพันให้แน่นพอประมาณไมค่ วรพนั แนน่ เกนิ ไป ชุดบานแฟร์ สายไฟ ข้อควรระวัง ขอ้ ควรระวงั เลอื กใชส้ ายไฟทีเ่ หมะสมขนาดของแอร์

-6- 01 ตดิ ต้ังแฟนคอยล์ยูนิต เครื่องมือและอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวัง -ติดตัง้ ตามความเหมาะสมและความ -หากสถานที่ติดตง้ั ไมแ่ ขง็ แรงพอเครอ่ื ง ต้องการของลูกคา้ อาจร่วงหลน่ ลงมาและทำใหเ้ กิดการ บาดเจ็บ -ตดิ ตง้ั ตามแบบการติดต้ัง

-7- 01 ข้นั ตอนปฏิบตั ิงาน การตดิ ต้งั แฟนคอยล์ยูนิต 1.หำตำแหน่งกำรตดิ ตงั้ 2.เตรยี มอุปกรณ์และเคร่อื งมอื ทำกำร มำรค์ ตำแหน่งเพอ่ื ตดิ ตงั้ 3.เจำะรเู พอ่ื ยดึ แผน่ เพจ 4.ยดึ แผน่ เพจ

01 -8- 5.ตงั้ ระดบั น้ำ 6.เอำคอลยเ์ ยน็ ขน้ึ แขวน

-9- 02 ติดต้ังคอนเดนซ่งิ ยูนิต เครื่องมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวัง -เลือกสถานท่ีติดทสี่ ามารถบำรุงรักษาได้ -ควรยดึ ฐานให้แน่นเพราะคอนเดนซ่ิงยู งา่ ย ไมส่ งู จนเกินไป นิตอาจจะตกได้

- 10 - 02 1.กำรหำตำแหนง่ ตดิ ตงั้ คอนเดนซง่ิ ยู นติ ขัน้ ตอนการตดิ ตั้งคอนเดนซง่ิ ยนู ติ 2.วดั เพ่อื เจำะยดึ ฐำนคอนเดนซิ่งยนู ติ 3.ติดตงั้ ฐำนยดึ คอนเดนซ่ิงยนู ติ 4.ตดิ ตงั้ เคร่อื งคอนเดนซงิ่ ยนู ติ 5.ยกคอนเดนซ่งิ ยนู ติ วำงบนฐำนรอง และยดึ นอ็ ต

- 11 - .3 03 เดนิ ระบบทอ่ น้ำยา เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั -เลอื กสถานที่ติดทส่ี ามารถบำรุงรกั ษาได้ -ควรยดึ ฐานให้แนน่ เพราะคอนเดนซ่ิงยู งา่ ย ไมส่ งู จนเกนิ ไป นติ อาจจะตกได้

- 12 - 03 1.วดั ขนำดควำมยำวของท่อนำ้ ยำจำก แฟนคอยลภ์ ำยในบำ้ นจนถงึ คอนเดน ขนั้ ตอนการติดตงั้ คอนเดนซงิ่ ซง่ิ ยนู ติ ยูนติ 2.คลที่ อ่ ทองแดงออกจำกมว้ ย แลว้ ตดั 3.ใชเ้ บนเดอรด์ ดั ท่อตำมทิศทำงท่ีคอน ควำมยำวตำมควำมตอ้ งกำร เดนซง่ิ ยนู ติ ทว่ี ำงอยู่ 4.ตดิ ตงั้ เคร่อื งคอนเดนซง่ิ ยนู ติ 5.ขนั แฟรเ์ ขำ้ กบั สตอ็ กวำวกบั เครอ่ื งตวั นอก

- 13 - 04 ต่อระบบไฟ เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวัง -ควรปดิ เบรกเกอร์กอ่ นเข้าไฟคอนเดน -ระวงั สายไฟขาดเพราะอาจจะทำใหไ้ ฟ ซงิ่ ยนู ิต รวั่ ได้

- 14 - 1.ทำกำรตดิ ตงั้ เบรกเกอรข์ นำด 30A 04 ข้ันตอนการตอ่ ระบบไฟ 2.ทำกำรตอ่ ไฟเขำ้ เบรกเกอร์ 3.ทำกำรตอ่ สำยไฟ Lกบั N เขำ้ เทอมิ นอลของคอนเดนซง่ิ ยนู ติ

- 15 - 05 ทำการสญู ญากาศและปล่อยนำ้ ยา เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ เทคนิคกำรทำงำน ขอ้ ควรระวงั -ควรขนั หวั แฟรใ์ หแ้ นน่ เพ่อื ไมใ่ หแ้ อรร์ ่วั -ไม่ควรปิดเกจเรว็ เกินไป -ควรแวค็ ค่มั อยำ่ งนอ้ ย15-20นำที

- 16 - 1.ขนั Serviec valve 05 ขน้ั ตอนทำการสญู ญากาศและ ปล่อยนำ้ ยา 2.ขนั เกจเขำ้ กบั Serviec valve 3.ขนั เกจเขำ้ กบั เครอ่ื งสญู ญำกำศ 4.เปิดวำวลเ์ กจ 5.เม่อื เข็มชีต้ ำ่ กว่ำเลข0ใหท้ ำกำรปิด วำวล์

- 17 - 05 6.ใชป้ ระแจเลอื่ นเปิดฝำวำวล์ 7.ใชห้ กเหลยี่ มขนั วำวลเ์ พ่อื ปลอ่ ยนำ้ ยำ

- 18 - 06 เดนิ เครือ่ ง เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคกำรทำงำน ขอ้ ควรระวงั -เชค็ ระบบวำ่ มไี ฟลงกรำวดห์ รอื ป่ำว -ปรบั อณุ หภมู ใิ หต้ ่ำสดุ เพ่อื ใหค้ อมเดน ซ่ิงยนู ติ ทำงำนเรว็ เพ่อื ในกำรเชค็

- 19 - 1.เปิดรโี มทแอร์ 06 ข้ันตอนการเดินเครอ่ื ง 2.เชค็ นำ้ ยำแอร์ 3.เชค็ กระแสไฟ

- 20 - ภาคผนวก

- 21 - ภาคผนวก ก การติดตั้งเคร่อื งปรบั อากาศชนดิ (ติดผนงั )

- 22 - วธิ ีเลอื ก BTU แอร์ให้เหมาะกบั ขนาดห้องรายละเอยี ดและปจั จัยตา่ งๆทค่ี วรพจิ ารณาเพม่ิ เติม -ขนาดหอ้ งของหน้าต่างและมมุ ตา่ งๆของหอ้ ง -ทิศทางของหอ้ งนนั้ ๆว่าโดนแดดมากน้อยเพียงใด -วสั ดหุ ลังและคามีฉนวนกนั ความรอ้ นภายในบา้ นหรือไม่ -จำนวนบุคคนที่ใช้งานในหอ้ งน้ันๆ สตู รการคำนวณ BTU BTU = พื้นที่ห้อง ( กวา้ ง x ยาว ) x ความแตกตา่ ง ความแตกต่างแบง่ ได้ 2 ประเภท 600 - 700 = ห้องทมี่ คี วามรอ้ นนอ้ ยใช้เฉพาะกลางคืน 700 - 800 =ห้องทีม่ ีความรอ้ นสูงใช้กลางวนั มาก อ้างอิงจาก: https://www.teddyaircond.com/th/articles/31466-btu

- 23 - ภาคผนวก ข การติดตั้งเคร่อื งปรบั อากาศชนดิ (ติดผนงั )

- 24 - คอนเดนซ่ิงยนู ติ (Condensing Unit) เรียกไดห้ ลายชื่อ เชน่ คอมแอร์ หรอื เครื่องควบแน่นสารทำ ความเย็น/น้ำยาแอร์ นนั่ เอง โดยเจ้าตวั น้ี จะถกู บงั คับให้ตดิ ต้ังภายนอกอาคาร ขา้ งในมสี ว่ นประกอบท่ี เห็นไดช้ ดั เลยกค็ ือพดั ลมระบายตวามรอ้ น หรอื พัดลมแอร์ตวั ใหญๆ่ ทร่ี ะบายความร้อนจาก เครือ่ งปรับอากาศออกสูภ่ ายนอก ซึง่ เจา้ คอมแอร์เนี่ย มีหลายรูปแบบ หลายชนิดข้นึ อยู่กบั การ ออกแบบเครือ่ งปรับอากาศเชน่ แบบระบายความรอ้ นดว้ ยนำ้ แบบใชล้ มเปา่ ซ่งึ ทเ่ี ราเห็นกนั ท่ัวไป สว่ นมาก กจ็ ะเปน็ แบบใช้พดั ลมเปา่ เพอื่ ระบายความรอ้ น ซ่ึงแบบเป่านี้กแ็ ยกไดห้ ลายแบบอกี ท้งั เป่า ขน้ึ ด้านบน และเปา่ ออกด้านข้าง หลายแบบนี้มไี วเ้ พื่อความสะดวกในการใช้งาน และความสวยงาม ของสถานที่น้ันๆแลว้ แตส่ ถาณการณภ์ ายในคอนเดนซิง่ ยนู ิตนมี่ ีส่วนประกอบที่สำคญั หลายอย่าง เช่น คอมเพรสเซอรแ์ อรค์ อนเดนเซอร์มอเตอรแ์ อร์ พดั ลมแอรแ์ ม็ดเนตกิ ทอ่ แอร์ ฯลฯ รูปภาพตัวอยา่ งคอนเดนซิง่ ยูนติ แบบต่างๆ (คอนเดนซ่งิ ยูนิตแบบเปา่ ลมด้านข้าง แบบมาตรฐาน) (คอนเดนซง่ิ ยนู ติ แบบเป่ าขน้ึ ) อา้ งองิ จาก: คอนเดนซง่ิ ยนู ติ (Condensing Unit) คอื อะไร

- 25 - ภาคผนวก ค การติดตั้งเคร่อื งปรบั อากาศชนดิ (ติดผนงั )

- 26 - วิธกี ารเดินท่อน้ำยาแอรท์ ี่ถูกตอ้ ง มีดังน้ี -ในการเดนิ ท่อน้ำยาแอร์กรณที ี่ตวั คอยลร์ ้อนอยู่สูงกวา่ คอยล์เย็น จะต้องเดินทอ่ ใหส้ ามารถกักน้ำมัน (Oil Trap) เพ่อื ให้แนใ่ จว่าน้ำมันหล่อลื่นที่หนักกวา่ ตัวนำ้ ยาแอร์จะสามารถไหลกบั ขึ้นไปยงั ตวั คอมเพรสเซอรไ์ ดแ้ ละการทำทีก่ กั น้ำมันควรทำให้ใกลค้ อยล์เย็น และถ้าระยะห่างกันมากควรทำทีก่ กั นำ้ มนั ทกุ ๆ ชว่ งความสงู ท่ี 4.5 เมตร เพ่ือกกั นำ้ มันนจี้ ะถกู ดดู ไปหล่อลนื่ คอมเพรสเซอรไ์ ดท้ ันทที ่เี รม่ิ เดินเคร่อื ง (ไม่ควร เดนิ ทอ่ ในแนวดิ่งสงู เกินกว่า 15 เมตร) -ในกรณีที่ติดตงั้ คอยล์รอ้ นอยตู่ ำ่ กวา่ คอยล์เย็น ถ้าเกิดระยะหา่ งยงิ่ มากยิ่งมผี ลใหค้ วามดันของน้ำยา แอร์ตกลง เพราะคอมเพรสเซอรต์ ้องใชแ้ รงอัดน้ำยาแอรข์ ้นึ ท่สี งู ดังนน้ั การเดนิ ท่อน้ำยาแอรด์ ้านสง่ ตอ้ งคำนวนถงึ ความดนั ตกคร่อมจากความเสียดทานและการเดนิ ทอ่ ในแนวดงิ่ ด้วย -และในการเดนิ ท่อน้ำยาแอรท์ ม่ี ยี าวเกินกว่า 10 เมตร จะต้องทำการเตมิ นำ้ มนั หลอ่ ลน่ื เพม่ิ เข้าไปอีก เพ่อื ชดเชยนำ้ มนั ทม่ี ักเกาะเปน็ ฟลิ ม์บางๆอย่กู บั ผิวด้านในของท่อดดู

- 27 - การตดิ ตง้ั ทอ่ นำ้ ท้ิง - ถาดนำ้ ท้งิ ตอ้ งวางให้ไดร้ ะดบั ไม่เอียงไปดา้ นใดด้านหนึ่ง - ท่อน้ำทงิ้ ตอ้ งเดินในแนวราบ ไม่ควรเดินขน้ึ ในแนวดิ่ง(เน่อื งจากปั๊มน้ำทง้ิ ไมม่ ีกำลงั มากพอ) - ท่อน้ำท้งิ จะตอ้ งติดตั้งชดุ ต่อชดุ (ไมค่ วรรวมท่อน้ำทิง้ เนอื่ งจะทำให้นำ้ ทง้ิ ไหลย้อนไปอกี เครอื่ ง หนึง่ ได้) - จะต้องตดิ ตงั้ ให้มรี ะยะไกลสดุ (ระยะ ตามภาพด้านลา่ ง) ไม่เกนิ เมตร และควรใชท้ ่อพวี ีซีทม่ี ี ขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง มม. เพ่อื ปอ้ งกันการอุดตันทเ่ี กิดขน้ึ ได้ง่าย - ตดิ ตัง้ ให้มคี วามลาดเอยี งจากข้อต่อท่ตี วั เครื่องออกไปด้านนอกอาคารอย่างน้อยตอ้ ง อัตราสว่ น ตามรูปภาพ - ห้มุ ฉนวนกันหยดนำ้ ใหเ้ รียบร้อย - ห้ามเอาปลายทอ่ จ่มุ ไวใ้ นน้ำ - การต่อทอ่ ทีถ่ กู ต้องเปน็ ไปตามรูปภาพด้านลา่ ง อา้ งอิงจาก: https://www.newkee-engineering.com/article/detail/44

- 28 - ตารางท่อน้ำ ตารางท่อน้ำยาร์

- 29 - สามารถกำหนดท่อออกได้ 4 ทศิ ทางคอื ดา้ นหลัง, ด้านลา่ ง, ด้านซ้าย และด้านขวาการเดนิ ทอ่ ใหจ้ ดั รวมท่อน้ำและท่อระบายน้ำทง้ิ เข้าด้วยกนั แลว้ จึงทำการพนั ดว้ ยเทปพันท่อ อา้ งอิงจาก: https://www.carrier.co.th/products/carrier/dl/42HBS-W_manual.pdf

- 30 - ภาคผนวก ง การติดตั้งเคร่อื งปรบั อากาศชนดิ (ติดผนงั )

- 31 - การตอ่ ระบบไฟ -เดนิ สายไฟตามไดอะแกรมแสดงการเดินสายไฟ (อย่าสับเปล่ียนสายไฟที่เดนิ ไว้ภายในเคร่ือง) - ใชต้ ัวนาํ ที่ทาํ ดว้ ยทองแดงเท่านน้ั - วิธกี ารขันสกรบู นขั้วไฟ 1. ปลอกปลายสายไฟออก 2 หลงั จากต่อสายไฟแลว้ เชค็ ดวู ่าขันนอ็ ตสกรูแน่หรอื ยงั -ศึกษาดูวงจรไฟฟ้าแบบละเอียดได้ในแผนวงจรไฟฟา้ ทีต่ ดิ มากับตวั แฟนคอยล์ยนู ิต -ตอ้ งตอ่ สายดนิ จากแฟนคอยล์ทุกครง้ั เพื่อปอ้ งกนั ไฟดูดในกรณไี ฟรว่ั -การเลอื กใช้เบรกเกอร์ของเครือ่ งปรับอากาศ

- 32 - เบรกเกอร์ (Breaker) หรอื Circuit Breaker เป็นอปุ กรณอ์ ตั โนมตั ทิ ่ที ำหนำ้ ท่ี ปิด-เปิด วงจรไฟฟ้ำ ท่วี ่ำ อตั โนมตั เิ พรำะว่ำตวั เบรกเกอรเ์ องจะมีกลไกท่ีทำหนำ้ ท่ตี ดั ไฟไดเ้ องเม่ือเกิดกำรโอเวอรโ์ หลด (Over load) หรอื เกิดไฟฟ้ำลดั วงจร (Short Circuit) เรำจะนำเบรกเกอรม์ ำใชก้ บั อปุ กรณท์ ่ตี อ้ งกำรกระแสสงู ๆ เชน่ แอรห์ รอื เครื่องปรบั อำกำศ เคร่อื งทำนำ้ อนุ่ นบั ว่ำ เป็นสงิ่ ท่จี ำเป็น อยำ่ งยงิ่ ท่ตี อ้ งตดิ เบรกเกอรใ์ หท้ ำหนำ้ ท่ตี ดั วงจรหรือเรียกสนั้ วำ่ ทรปิ เม่ือเกดิ กำรโอเวอรโ์ หลดหรอื ไฟชอ็ ตเพ่อื ปอ้ งกนั ควำม เสยี หำยทจ่ี ะเกิดขนึ้ \"สำหรบั กำรเลอื กขนำดของเบรกเกอรท์ ่ใี ชก้ บั แอรน์ น้ั ใหพ้ ิจำรณำจำกขนำดทำควำมเย็นของแอรว์ ่ำมี ขนำดกี่ BTU ซง่ึ ตอ้ งพิจำรณำรว่ มกบั กำรเลือกขนำดสำยไฟท่จี ่ำยไฟใหแ้ อร์ ตอ้ งมขี นำดทเ่ี หมำะสมดว้ ย อา้ งอิงจาก: https://xn--12c1c3aba3ajgx8ap5bzkg1j5b.blogspot.com/2016/02/blog- post_22.html

- 33 - ภาคผนวก จ การติดตั้งเคร่อื งปรบั อากาศชนดิ (ติดผนงั )

- 34 - การทาํ สูญญากาศหรอื แวคคั่มระบบดว้ ยป๊ัมสญุ ญากาศ กอ่ นเตมิ นำ้ ยาแอร์จำเปน็ ที่จะตอ้ งทำให้ระบบแอรเ์ ปน็ ระบบสุญญากาศเสยี ก่อน ดว้ ยการทำใหภ้ ายใน ทอ่ ปราศจากอากาศและความชนื้ ซงึ่ การทำให้แอรเ์ ปน็ ระบบสุญญากาศ ควรทำอย่างนอ้ ย15-45นาที และกม็ ีความสำคัญดังตอ่ ไปนคี้ รับ - ไม่ก่อให้เกดิ ความชน้ื ขนึ้ ในระบบ เน่อื งจากความชืน้ ที่เกิดข้ึนจะมีการควบแน่นหรือแขง็ ตวั จน กลายเป็นน้ำไปกดี ขวางทางเดนิ ของนำ้ ยาในท่อของแอร์ - นำ้ มันหลอ่ ลนื่ ทำงานได้ดี โดยไม่เกิดผลเสียตอ่ คอมเพรสเซอร์ เน่อื งจากไม่เกิดจากความช้นื ทผี่ สมกัน กบั น้ำยาแอร์ -ไม่เกิดเปน็ กรดไปกัดกรอ่ นท่อทีเ่ ปน็ ทางเดนิ ของนำ้ ยา การทำแวคคั่มมีหลายวิธีมากมาย แต่วธิ ที ่ีถกู ตอ้ งทีส่ ดุ คอื การใช้เครื่องแวคคม่ั ปั๊มดดู อากาศ และ ความชน้ื ออก ซงึ่ ใชเ้ วลาค่อนขา้ งนานในการตดิ ต้ัง แต่กม็ ีวิธอี ่ืนๆท่ไี ม่ควร เช่นการไลอ่ ากาศออกโดยใช้ นำ้ ยาแอร์ หรือสารทำความเยน็ เป็นตวั จัดการ แตถ่ งึ อย่างไรก็ไม่แนะนำใหท้ ำวธิ ีน้ี เพราะไม่มี มาตรฐานออกมายนื ยัน แต่เพยี งเป็นเทคนคิ เฉพาะชา่ งเทา่ นัน้ แตไ่ มค่ วรเปน็ อยา่ งย่ิงครับ

- 35 - ในสว่ นของระยะเวลาในการเดนิ เครือ่ งทำสญุ ญากาศ สว่ นใหญ่ใหอ้ ิงตามคู่มอื การติดตัง้ ท่แี นบมากบั เครื่อง แต่ทั้งนจี้ ะองิ ตามเวลาทีผ่ ้ผู ลติ แจง้ มาเพียงอย่างเดยี วก็ไม่ได้ เพราะบางคร้งั เครื่องทำสญุ ญากาศ ทใ่ี ช้ ก็อาจมกี ำลังในการดูดท่ไี ม่เท่ากนั ควรใชก้ ารสังเกตคา่ ทีแ่ สดงบนเกจแมนโิ ฟลด์ ซง่ึ ระหวา่ ท่ที ำ สุญญากาศ ค่าท่ีแสดงต้องอยใู่ นสเกลท่บี อกค่าสุญญากาศ ซึ่งมีหน่วยเปน็ inHg (น้ิวปรอท) โดยสว่ นใหญ่ ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใชท้ ำสญุ ญากาศ อยู่ท่ีประมาณ 30 - 45 นาที เครื่องทำสุญญากาศแบบประสิทธิภาพสงู (High Vacuum Pump) เปน็ เคร่อื งทำสุญญากาศที่มี ประสทิ ธภิ าพในการดูดสูง สามารถดดู อากาศออกจากระบบ ทำใหร้ ะบบเป็นสุญญากาศไดใ้ นระดบั ที่ ตำไปกวา่ 29-30 inHg (น้ิวปรอท) ซง่ึ ในระดับนเ้ี ป็นระดับที่ต่ำมากๆจนถึงระดบั ท่ีเปน็ สุญญากาศท่ี สมบูรณ์ (0 abs) ซง่ึ เมอื่ ในระบบเป็นสญุ ญากาศทส่ี มบรู ณ์ ความช้ึนและไอน้ำใน จะกลายเปน็ แก๊ส และถกู ดดู ออกไปจนแทบจะไมม่ ีความชื้นเหลอื อยู่อีกเลย เคร่ืองแบบประสิทธิภาพสงู น้ี สามารถ นำมาใช้กบั งานระบบทำความเย็นไดท้ กุ ประเภท แตต่ วั เครื่องมีราคาคอ่ นข้างแพง สว่ นใหญ่จะใช้ เคร่ืองแบบน้ีในงานทเ่ี ปน็ กรณเี ฉพาะ หรือมีใชใ้ นศูนย์บรกิ ารขนาดใหญ่ท่มี ีการเข้มงวดสูงในด้าน มาตรฐานการให้บริการ อ้างอิงจาก: https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=kanichikoong&month=04- 2013&date=07&group=21&gblog=22

- 36 - ภาคผนวก ฉ การติดตั้งเคร่อื งปรบั อากาศชนดิ (ติดผนงั )

- 37 - วิธกี ารใชร้ โี มทคอนโทรลแอร์

- 38 - -การวดั แรงดันน้ำยาขณะเดินเครอื่ ง หมายเลข 1 คือ มาตรวัดแรงดัน มีหนว่ ยเป็น กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเซนตเิ มตร มีสเกลวดั ตงั้ แต่ 0 - 15 kgf/cm หนว่ ยวดั นี้จะมีค่าใกลเ้ คียงมากๆกับ bar ( บาร์ ) หลายๆคนจงึ ชอบอา่ นสเกลน้ีว่า บาร์ เชน่ 1 บาร์ 2 บาร์ 3 บาร์ ( เปน็ ภาษาหนา้ งาน ท่นี ยิ มเรียกกนั อาจจะผิดหลักวชิ าการไปบ้าง แตก่ ็ พอเข้าใจ สื่อสารกนั รูเ้ รื่อง ) หมายเลข 2 คอื มาตรวัดแรงดนั มีหน่วยเป็น ปอนด์ ต่อ ตารางนวิ้ มสี เกลวัดตง้ั แต่ 0 - 220 psi หนว่ ยในมาตรวัดนี้ นิยมใช้ในการเติมน้ำยาแอร์ หมายเลข 3 คือ ค่าอุณหภมู ิอิม่ ตัว Saturated Temperature ของนำ้ ยาแอร์ R 502 มหี น่วยเป็น องศาเซลเซียส หมายเลข 4 คอื ค่าอณุ หภมู ิอิ่มตวั Saturated Temperature ของน้ำยาแอร์ R 12 มหี นว่ ยเป็น องศาเซลเซยี ส หมายเลข 5 คอื ค่าอุณหภูมอิ ่มิ ตวั Saturated Temperature ของน้ำยาแอร์ R 22 มหี น่วยเปน็ องศาเซลเซยี ส คา่ อณุ หภมู ิอิ่มตัว Saturated Temperature ของนำ้ ยาแอร์ มีประโยชน์อยา่ งมากในการตรวจสอบ Superheat ซงึ่ ทำไดโ้ ดยการวัดอุณหภมู ดิ ้านดูด (Suction Temperature) กอ่ นเข้าคอมเพรสเซอร์

- 39 - แล้วลบด้วยอณุ หภมู ิ อิม่ ตัว (Saturated Temperature) ของความดันดา้ นต่ำ ส่วนทว่ี งกลมไว้คือ มาตรวัด มหี นว่ ยเปน็ in Hg ( น้ิว ปรอท ) เราจะใช้มาตรวัดนี้ขณะทำแวคคัม่ ซง่ึ จะตอ้ งอา่ นมาตรวัดนใี้ ห่ได้ค่า -29 นิ้วปรอท แล้วทำการแวคคั่มทง้ิ ไว้ 30 นาที

- 40 - ประวตั ิผู้จดั ทำ <เวน้ 1 บรรทดั > : นายณฐั วัตร เก้าสังข์ ชอ่ื ผู้จัดทำ : เทคโนโลยบี ณั ฑติ หลักสตู ร : สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟา้ สาขาวิชา ประวตั กิ ารทำงาน ถงึ ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2560 ตำแหนง่ ผชู้ ว่ ยช่าง หน้าท่ี 1. ติดตัง้ แอร์ <เว้น 1 บรรทดั > ชื่อสถานประกอบการ (ปจั จุบัน) : กิจจาเครือ่ งเย็น สถานท่ตี ิดต่อ : 21/39 ถ.เลี่ยงเมอื ง ต.มะขามเตยี้ อ.เมือง จ.สุราษฎรธ์ านี 84000 เบอรโ์ ทร 074-7440744