Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-2-เศรษฐกิจชุมชน

หน่วยที่-2-เศรษฐกิจชุมชน

Published by krufaosie, 2021-12-28 02:09:09

Description: หน่วยที่-2-เศรษฐกิจชุมชน

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 “เศรษฐกจิ ชมุ ชน”

“เศรษฐกจิ ชมุ ชน” วิวฒั นาการของสหกรณ์ในประเทศไทย ปัญหาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของชุมชน การรวมกลุม่ ที่ประสบความสาเรจ็ ในการแก้ปญั หาทางเศรษฐกิจของชมุ ชน

วิวฒั นาการของสหกรณ์ในประเทศไทย พ.ศ. 2459 พ.ศ 2475 พ.ศ. 2511 จัดตัง้ สหกรณแ์ หง่ แรก จัดตง้ั สหกรณ์ประเภทอน่ื เพิม่ - ประกาศพระราชบญั ญตั สิ หกรณ์พุทธศักราช 2511 สหกรณว์ ดั จันทรไ์ มจ่ ากัดสินใช้ - กอ่ ตั้งสนั นิบาตสหกรณแ์ ห่งประเทศไทย พ.ศ. 2471 พ.ศ 2495 ปจั จุบันกระทรวงเกษตร ได้มพี ระราชบญั ญตั สิ หกรณ์ ยกระดบั สหกรณ์เป็นระดบั และสหกรณ์ พุทธศักราช 2471 กระทรวง

ความหมายของสหกรณ์ คาว่า สหกรณ์ มาจากภาษาสันสกฤต สห แปลว่า ร่วมกัน กรณ์ แปลว่า การกระทา คาว่าสหกรณจ์ ึงแปลว่า \"การกระทารว่ มกันหรือการรว่ มมือกัน\" พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พทุ ธศักราช 2542 มาตรา 4 บญั ญัติไว้ว่า สหกรณ์ หมายความว่า คณะบคุ คลซึ่งร่วมกันดาเนินกจิ กรรมเพอื่ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วย ตนเองและชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันและไดจ้ ดทะเบยี นตามพระราชบัญญตั นิ ี้ สรุป สหกรณ์ หมายถงึ การรวมตัวกนั ของประชาชน เพอื่ ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ในการ ยกระดบั ฐานะทางเศรษฐกจิ ของตนเองให้สูงขน้ึ โดยยดึ หลักประชาธิปไตย ไมม่ ุ่งแสดงหากาไรและมี การแบ่งปันผลประโยชน์อยา่ งยตุ ิธรรม

ความสาคญั ของสหกรณ์ 1. เปน็ องคก์ ารธุรกจิ แบบหน่งึ ท่มี ีบทบาททางเศรษฐกิจเกอื บทกุ ด้าน เร่ิมตัง้ แต่การผลติ การจาหนา่ ย และการบรโิ ภค ถ้าหากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณม์ ปี ระสิทธิภาพแล้ว จะเปน็ เครื่องมอื สาคญั ของรัฐในการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศท่กี าลงั พฒั นาหรอื ดอ้ ยพฒั นา เพราะสหกรณ์มบี ทบาทในการกระจายรายไดไ้ ปสปู่ ระชาชนอย่างยุตธิ รรม ชว่ ยตดั พอ่ คา้ คนกลาง และนายทนุ ออกไป 2. เปน็ การรวมแรง รวมปญั ญา รวมทนุ ของบุคคลท่อี อ่ นแอทางเศรษฐกจิ การดาเนนิ การ เป็นแบบประชาธปิ ไตย

3. ยึดหลักการชว่ ยเหลอื ตนเอง และช่วยเหลอื ซึ่งกันและกนั รวมตัวกันด้วยความสมัครใจ มีความเสมอภาค และมีความสามารถในการดาเนนิ การและสทิ ธิผลประโยชนย์ ดึ หลักการประหยดั โดยส่งเสริมใหส้ มาชกิ ประหยัดและออมเงิน โดยใหบ้ ริการรับฝากเงิน การซ้ือสนิ คา้ และได้รบั เงิน ออมคืนในรปู เงนิ ปนั ผล 4. ชว่ ยสรา้ งความเจรญิ ทางด้านเศรษฐกิจและสงั คม เมือ่ บุคคลมารวมกนั จัดตงั้ สหกรณ์ข้นึ มีการรวมแรง รวมทุน รวมปัญญา ดาเนินกิจกรรมเอง โดยตดั พอ่ คา้ คนกลางออก เพอ่ื ไมใ่ ห้ เสียเปรยี บ ทาใหส้ มาชิกมีรายได้เพม่ิ ขน้ึ มกี ารกินดีอยู่ดี ฐานะความเปน็ อย่ขู องคนกลุ่มนัน้ กเ็ จรญิ ข้นึ มกี ารอยู่ร่วมกันอยา่ งสงบสขุ สงั คมมีระเบยี บ อาชญากรรมก็ไม่เกิดขน้ึ

หลักการของสหกรณ์ สหกรณ์จะตอ้ งยึดถอื และปฏบิ ัติตามหลักการสหกรณ์ 7 ประการคอื หลกั การที่ 1 การเปน็ สมาชิกโดยสมคั รใจและเปดิ กวา้ ง สหกรณ์เป็นองคก์ ารโดยสมัครใจ เปดิ รับบคุ คลทกุ คน่ซึ่งสามารถใชบ้ ริการของสหกรณ์ และเต็มใจรบั ผิดชอบในฐานะสมาชิก เขา้ เป็นสมาชกิ โดยไมม่ กี ารเลือกปฏบิ ัติในเรอื่ งเพศ ฐานะทาง สังคม เชอื้ ชาติ การเมือง หรอื ศาสนา

หลักการท่ี 2 การควบคมุ โดยสมาชกิ ตามหลกั ประชาธิปไตย สหกรณเ์ ปน็ องคก์ ารประชาธปิ ไตยท่คี วบคุมโดยสมาชิก ซึง่ มีสว่ นร่วมอย่างแข็งขนั ในการ กาหนดนโยบาย และการตดั สนิ ใจของสหรณ์ผูป้ ฏิบัติงานในฐานะผู้แทนจากการเลือกตง้ั ต้องรับผดิ ชอบ ต่อบรรดาสมาชิกในสหกรณ์ปฐมสมาชกิ มสี ิทธ์อิ อกเสยี งเท่ากนั (คนหนงึ่ มหี นงึ่ เสยี ง) และในสหกรณ์ ระดบั อน่ื กจ็ ดั ใหด้ าเนนิ การตามแนวทางประชาธิปไตย หลักการที่ 3 การมสี ว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก สมาชิกพึงมีส่วนในทุนแก่สหกรณ์อย่างเป็นธรรมและควบคุมการใช้ทุนของสหกรณ์ตามแนวทาง ประชาธิปไตยตามปกติส่วนหน่ึงของทุน้ัน อย่างน้อยท่ีสุดต้องเป็นทรัพย์สินส่วนรวมของสหกรณ์ และ สมาชิกจะไดร้ ับผลตอบแทนในอตั ราจากดั (ถา้ มี) จากการลงทุนในสหกรณ์ตามเง่ือนไขแห่งการเปน็ สมาชิก

หลกั การที่ 4 การปกคลองตนเองและอิสรภาพ สหกรณ์เป็นองค์การช่วยตนเองและปกครองตนเอง ซง่ึ ควบคุมโดยสมาชิก ถ้าสหกรณ์เข้าทา ข้อตกลงกับองค์การอื่น ๆ รวมท้ังรัฐบาลหรือแสวงหาทุนจากแหล่งภายนอก สหกรณ์พึงทาข้อตกลง เช่นน้ันภายใต้เง่ือนไขอันมั่นใจได้ว่าบรรดาสมาชิกยังคงควบคุมสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย และจะต้องธารงไว้ซ่งึ สภาพการปกครองตนเองของสหกรณ์ หลกั การที่ 5 การให้การศึกษา การฝึกอบรม และสารสนเทศ สหกรณ์พึงให้การศึกษาและการฝึกอบรมแก่บรรดาสมาชิก ผู้แทนจากการเลือกตั้ง ผู้จัดการ และพนกั งานเพือ่ บคุ คลเหล่านั้นสามารถมีส่วนช่วยพฒั นาสหกรณ์ของพวกเขาอย่างมปี ระสทิ ธิผล

หลกั การท่ี 6 การรว่ มมือระหวา่ งสหกรณ์ สหกรณ์พึงรับใช้สมาชิกอย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และทาให้ขบวนการสหกรณ์เข้มแข็ง โดยการ ทางานด้วยกันภายใต้โครงสร้างอันประกอบด้วยสหกรณ์ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาคและ ระดับระหว่างประเทศ หลักการท่ี 7 ความเอือ้ อาทรต่อชมุ ชน สหกรณ์พึงทางานเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืนของชุมชนที่สหกรณ์ตั้งอยู่ ท้ังน้ีตามนโยบายท่ีได้รับ ความเหน็ ชอบจากบรรดาสมาชกิ

สหกรณใ์ นประเทศไทย “สหกรณ์การเกษตร” “สหกรณป์ ระมง”

“สหกรณ์นคิ ม” “สหกรณร์ ้านคา้ ”

“สหกรณ์บรกิ าร” “สหกรณอ์ อมทรพั ย”์

“สหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน”

ปญั หาทางเศรษฐกิจในชุมชน ปัญหาเศรษฐกิจชมุ ชนจะแตกต่างกนั ไปขนึ้ อยกู่ บั การประกอบอาชพี สภาพแวดลอ้ มของแต่ละพ้นื ที่ ท้งั นี้ปญั หาพน้ื ฐานสาคญั ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ทุกชุมชน เช่น ปญั หาความยากจนและหนสี้ ิน ปัญหาการพ่งึ พาเศรษฐกจิ ภายนอกชุมชน

ปัญหาการว่างงานและขาดแคลนงาน ปญั หาการขาดแคลนทรพั ยากร ทาในชมุ ชน ที่จะนามาใชใ้ นการผลิต

แนวทางในการแก้ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน 1) การจัดตั้งสหกรณ์เพ่ือร่วมแก้ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชน เป็นการสร้างความร่วมมือทาง เศรษฐกจิ ให้เกิดขึ้นภายในชุมชน ในรูปแบบของสหกรณ์ที่เปดิ รับสมาชิก คือ คนในชุมชนเข้ามีส่วนร่วมใน การดาเนนิ การทางเศรษฐกิจ 2) การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจในชุมชน โดยเน้นการพึ่งพิงอิงอาศัยกัน มากกว่า การแขง่ ขันกนั ส่งเสริมให้มรี ะบบการร่วงมมอื กนั อย่างเชน่ สหกรณ์ 3) การเสริมสร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ในชุมชน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ในเชิง เศรษฐกิจ ให้เกดิ การรว่ มมือกันอยา่ งแน่นแฟ้นในชุมชน

4) การเสริมสร้างโอกาสในการแข่งขันกันทางตลาด นอกจากชุมชนจะร่วมมือกัน ในการสร้าง ผลิตภณั ฑต์ ามความชานาญในแต่ละท้องถ่นิ แล้ว การการเสรมิ สร้างโอกาสในการแข่งขันกนั ทางตลาดก็เปน็ เรอื่ งสาคญั ชุมชนควรให้ความสาคัญกบั การเรียนรู้เรื่องการการตลาด เพ่ือเสริมสร้างให้ผลิตภัณฑส์ ามารถ ขายได้เป็นอยา่ งดี 5) การรวมกลุ่มของเกษตรกรในรูปแบบของขบวนการวิสาหกิจชุมชน อันเป็นกิจการของชุมชน ในการผลิตสินค้า ใหบ้ ริการ ฯลฯ ท่ีดาเนินการโดยคณะบุคคลท่ีมีความผูกพันกัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและ รวมตัวกันประกอบกิจการ เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชนและระหว่าง ชุมชน

การพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน เศรษฐกจิ ชมุ ชน คือ การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ทง้ั ด้านเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม บริการท้งั ใน ด้านการผลิต การบริโภค และการกระจายผลผลิต โดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของ ชุมชน คือ ให้มีส่วนร่วมคิด ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับประโยชน์ บนรากฐานของความสามารถที่มีอยู่ จากการใช้ “ทนุ ของชมุ ชน” เป้าหมายสาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ชุมชน จุดแข็งของการพฒั นาเศรษฐกจิ ชุมชน 1. การพฒั นาขดี ความสามารถของคน ครอบครวั 1. คนในท้องถิ่นในชุมชนเดยี วกนั มีจติ สานกึ ร่วมกนั และชมุ ชน 2. การมคี วามเอือ้ อารี 3. การมีปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั 2. การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม 4. เป็นการพฒั นาที่เรมิ่ จากการกาหนดพืน้ ท่ี

การพัฒนาเศรษฐกจิ ของชมุ ชน แนวปฏบิ ตั ิในการพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน 1. สรา้ งเวทกี ารเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ขึน้ กอ่ น 7. พฒั นากจิ กรรมเกี่ยวกับการศกึ ษา 2. วิเคราะหศ์ ักยภาพในขดี ความสามารถของทอ้ งถ่ิน 8. ทาการวิจยั 9. สรา้ งศูนยก์ ารเรยี นรู้เศรษฐกิจชุมชน 3. วางแผนพัฒนาตามแนวทาง 10. สรา้ งหลกั สูตรฝกึ อบรมการพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน 4. สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ในลักษณะตา่ ง ๆ 5. พัฒนาเทคโนโลยใี นความรู้เกย่ี วกับวธิ ีการผลิต 11. พฒั นาระบบขอ้ มูลข่าวสาร 12. เผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสารการพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน 6. พฒั นาระบบตลาด ออกสู่สงั คมภายนอก

การพัฒนาเศรษฐกิจของชมุ ชน การพัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนดว้ ยแนวพระราชดาริ “ระเบดิ จากขา้ งใน” เปน็ หลักในการพฒั นาคนทต่ี ้องเรม่ิ จากการสร้างความเข้มแข็งให้กับชมุ ชนใหม้ ีสภาพพร้อมที่จะรับการ พฒั นาก่อนแลว้ จงึ คอ่ ยออกมาสู่สังคมภายนอก หลักการพฒั นาที่แทจ้ รงิ การพัฒนาทีแ่ ทต้ ้องเริ่มจากระดับ ฐาน ระดับยอ่ ยท่สี ดุ หรอื “ข้างใน”

การรวมกลมุ่ ที่ประสบความสาเรจ็ ในการแกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจของชมุ ชน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี่ ง ระบบสหกรณ์ โครงการหนงึ่ ตาบลหนึ่งผลติ ภัณฑ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook