Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการไปอบรม_โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 09-07-65

รายงานการไปอบรม_โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 09-07-65

Published by krufaosie, 2022-07-16 06:08:42

Description: รายงานการไปอบรม_โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 09-07-65

Search

Read the Text Version

บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นเทพา อำเภอเทพา จงั หวดั สงขลา ท่ี 2115/2565 วันท่ี 12 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 เร่อื ง รายงานผลการไปราชการ โครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศกึ ษา ...................................................................................... ............................................................................................ เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเทพา ตามท่ีข้าพเจ้า นายเฟาซีย์ ชายเหร็น ตำแหน่ง ครู ได้เดินทางไปราชการ เรื่อง การประชุมเชิง ปฏิบัติการ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา และสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) ประจำปงี บประมาณ 2565 เม่ือวนั เสาร์ ที่ 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ณ โรงเรียนนาทววี ิทยาคม อำเภอนาทวี จงั หวัดสงขลา นนั้ ในการน้ี การประชุมเชิงปฏิบัติการได้เสร็จส้ินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงรายงานผลการไปราชการตาม เอกสาร ทแี่ นบมาพรอ้ มกนั นี้ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ ลงช่ือ (นายเฟาซยี ์ ชายเหรน็ ) ตำแหนง่ ครู ความเห็นหวั หนา้ ความเหน็ รองผูอ้ ำนวยการ ความเห็นผอู้ ำนวยการ กล่มุ การบริหารบคุ คล กลมุ่ การบริหารบุคคล โรงเรยี นเทพา …………………..……………………. …………………..……………………. …………………..……………………. …………………..……………………. …………………..……………………. ……………………….………………… ……………………….………………… …………………..……………………. …………………………………………. …………………………………………. …………………..……………………. …………………..……………………. ลงชื่อ ………………………………. (นางสุดรกั พฒั นพงศ์) ลงชื่อ ………………………………. ลงช่ือ ………………………………. (นางสาววทันยา วทิ ยาสนุ ทร) (นางสาววนิดา ไหมพรม) ............./................../................ ............./................../................ ............./................../................

รายงานการประชุม / อบรม / สัมมนา การประชุม / อบรม / สัมมนา โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล ในสถานศกึ ษา และสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา (โครงการโรงเรยี นสจุ ริต) ประจำปีงบประมาณ 2565 ผูเ้ ขา้ อบรม นางสาววนิดา ไหมพรม ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น นางสาธนี ประดินธิ ิ์ ตำแหนง่ ครู นายเฟาซีย์ ชายเหร็น ตำแหน่ง ครู หน่วยงานทจ่ี ดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล สถานท่ี ณ โรงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา วันท่ี วันเสาร์ ท่ี 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 เวลา 08.00 – 16.30 น. สรปุ การประชมุ / อบรม / สัมมนา 1. ผูน้ ำการประชมุ / อบรม / สัมมนา - ผอู้ ำนวยการ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู - ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู 2. จำนวนผู้เขา้ รับการประชุม / อบรม / สัมมนา - ผูบ้ ริหาร , ครู สหวิทยาเขตทักษิณ และนครหาดใหญ่ จำนวน 60 คน - ศึกษานิเทศ สพม.สขสต. จำนวน 6 คน - คร/ู เจ้าหน้ทีโ่ รงเรยี นนาทวีวทิ ยาคม จำนวน 10 คน 3. เนือ้ หาทส่ี ำคัญ ๑. ความเปน็ มาโครงการโรงเรียนสจุ ริต โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการ “โรงเรียนสุจริต”) เกิดข้ึนเนื่องจาก ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐)ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า “สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรมและร่วมกัน ป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล มีเป้าหมายหลัก เพ่ือลดปัญหาการทุจริต ใน สังคมไทยและยกระดับคุณธรรมจริยธรรมของคนไทยให้สูงข้ึน อันจะส่งผลต่อค่าดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (Corruption Perception Index : CPI) ของประเทศไทยให้สูงขึ้นโดยตั้งค่าเป้าหมายไว้ที่ร้อยละ ๕๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยในปี ๒๕๕๗ท่ีผ่านมา ประเทศไทยไดค้ ะแนนความโปร่งใสเพียงรอ้ ยละ ๓๘ อยอู่ ันดับท๘ี่ ๕ จากการจัด อันดับทั้งหมด ๑๗๕ ประเทศท่ัวโลก) นอกจากนี้ สำนักงานป.ป.ช. ยังได้กำหนดยุทธศาสตร์การ ดำเนินการไว้ ๕ ยทุ ธศาสตร์ เพ่อื นาํ ไปสกู่ ารบรรลเุ ป้าหมายใน ๔ กลุม่ คอื

๑) กลุ่มเด็กเยาวชน โดยการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ ส่วนตนให้เกดิ ความเข้มแขง็ มากทส่ี ุดเพราะเปน็ อนาคตของชาติ ๒) กลุ่มภาครัฐ เสริมสร้างและสนับสนุนให้ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กร ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ และผู้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมืองยึดถอื หลกั ปฏิบัตติ ามประมวลจรยิ ธรรม ในการปฏิบตั ิหน้าท่ี ๓) กลุ่มภาคเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กรและเข้ามามีส่วน รว่ มในการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ๔) กลุ่มภาคประชาสังคมและสื่อมวลชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกหมู่เหล่าใน การป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต นับเป็นความพยายามท่ีดีของ สำนักงาน ป.ป.ช. และภาคีทุกภาคส่วนโดยเฉพาะองค์กร ตามรัฐธรรมนูญ ในการดำเนินการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต เพื่อใช้เป็น กรอบชี้นําในการ ดำเนินการแก้ไขปัญหาการทุจริตของประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน จึงอนุมัติให้สำนกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา ดำเนิน โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการ โรงเรียน สุจริต)โดยให้ความสำคัญกับการเตรียมการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในถานศึกษา เพ่ือ วางรากฐานการปลูกจิตสํานึกซ่ึงเป็นกลไกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศชาติ ซ่ึงโครงการ โรงเรียนสุจริต เป็นโครงการท่ีสอดคล้องกับเจตนารมณ์เชิงกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน วา่ ด้วยการปอ้ งกนั การทุจริตโดยสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กำหนดจุดหมาย ปลายทาง ที่มงุ่ สู่การเปน็ “องคก์ รแห่งการเรียนรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง หลกี เล่ยี งอบายมขุ ทุกหนว่ ยงานรับผดิ ชอบ ตอบสนองการ ป้องกันการทุจริต” โดยมีขอบเขตของภารกิจและจุดมุ่งเน้นท่ี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐานต้อง ดำเนนิ การ คือ ๑. พัฒนาทุกหน่วยงานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีระบบและวถิ ีพอเพียง มีความสุจริต รับผิดชอบ ปลอดอบายมขุ ๒. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลง รวมทั้งปลูกจิตสํานึกให้นักเรียนสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง จติ สาธารณะยดึ มนั่ ในคุณธรรม จรยิ ธรรมและปอ้ งกนั การทุจริต ๓. พัฒนาครู ผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษาแบบบูรณาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องให้มีคุณภาพ ความพอเพียง สจุ รติ รบั ผดิ ชอบปลอดอบายมขุ บนฐานการเรียนรทู้ ี่เท่าทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง ๔. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมและต่อต้านการทุจริต อย่างเป็นระบบ และมีเครือข่ายระดับชาติและนานาชาตทิ ี่เขม้ แขง็ และก้าวหนา้ อย่างมีพลวัตร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้กำหนดเป็นวิสัยทัศน์พันธกิจ พันธกิจ แบบบูรณาการ ตวั ช้ีวดั หลัก ยทุ ธศาสตร์ มาตรการและแนวทางดำเนินการให้สถานศกึ ษานาํ ไปสู่ การปฏบิ ัติ ดังต่อไปน้ี วสิ ยั ทศั น์ “สพฐ. เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงหลีกเล่ียงอบายมุข ทุกหน่วยงานรับผิดชอบ ตอบสนองการปอ้ งกนั ทจุ รติ ”

๒. มาตรฐานการบรหิ ารงานโรงเรียนสจุ รติ ประกอบด้วย ๕ มาตรฐานการบรหิ ารงาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ ๑. การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การจัดการเรียนรู้การส่งเสริมนักเรียนให้พัฒนา ตนเอง ตามคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจริต โดยการจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ อย่าง หลากหลาย และประเมินผลนักเรียนแล้วนําผลการประเมินไปใช้ในการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนา พฤติกรรม นักเรียนให้มีคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจริต พร้อมทั้งจัดให้มีการนิเทศภายใน และ ให้บริการด้าน วชิ าการทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น มาตรฐานท่ี ๒. การบริหารงานงบประมาณ หมายถึง การดําเนินงานด้านการเงิน การบัญชีและพัสดุ ให้ ถูกตอ้ งตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ อยา่ งมีสว่ นร่วม ประหยดั คุ้มคา่ มีความโปรง่ ใสและ ตรวจสอบได้ มาตรฐานท่ี ๓. การบริหารงานบุคคล หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลอํานวยความสะดวกให้กับ บุคลากรในโรงเรียน สร้างขวัญกําลังใจดูแลการรักษาสิทธิประโยชน์อันพึงมีพึงได้ของบุคลากร ด ำเนินการจัด กจิ กรรมส่งเสริมและพฒั นาความรคู้ วามสามารถใหก้ บั บคุ ลากร มาตรฐานท่ี ๔. การบรหิ ารงานท่วั ไป หมายถึง การจดั บริการดา้ นอาคารสถานท่ีแก่ครู นักเรยี นและ ชุมชน โดยจัดบรรยากาศภายในโรงเรียนให้สะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัย พร้อมทั้งดูแล บำรุงรักษา อาคาร เรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน หอ้ งพิเศษตา่ งๆ ให้อยู่ในสภาพดีพรอ้ มใช้งานและเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๕. ผลลัพธ์และภาพแห่งความสำเร็จ หมายถึง ผลท่ีเกิดจากการพัฒนาผู้บริหาร ครู นักเรียน ตามคุณลักษณะของโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกัน การทุจรติ ” (โครงการโรงเรียนสุจริต) ที่ส่งผลให้โรงเรียนและชุมชนเป็นสังคมท่ีสุจริต ไม่คอร์รัปชั่น โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ เปน็ มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ ๓.โรงเรยี นสุจริตดำเนนิ การอยา่ งไร ๑. จัดทำคำสงั่ ๑.๒ จดั ทำคำสงั่ ผู้รับผิดชอบในโรงเรียน โรงเรียนที่ได้เข้าร่วมโครงการ ดำเนินการจัดทำคำส่ังแต่งต้ัง ผู้รับผิดชอบโครงการ ระดับโรงเรียน เพื่อทำหน้าท่ี รับผิดชอบและประสานงานระหว่างสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาข้ัน พ้ืนฐานให้ผู้ท่ีได้รับการอบรมการดําเนินงานจากสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดำเนินการขยาย ผลแนวทางการ ดําเนินงานโครงการให้กับครู นักเรียน และบุคลากร ภายในโรงเรียน ให้มี ความเข้าใจโครงการ ร่วมกนั ๑.๒ จัดทำคำสั่งแตง่ ตั้ง ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย โรงเรียนที่ได้เข้าร่วมโครงการ ดำเนินการจัดทำคำส่ังแต่งต้ัง อนุกรรมการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต สำหรบั นักเรียน (ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย) ดังน้ี ๑.๒.๑ แต่งตั้ง ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย โดยมวี าระ ๑ ปีการศึกษา ตามขนาดของโรงเรียน (แบ่งตาม สพฐ.) โดย เป็นนักเรยี นระดับชั้นใดก็ได้ ท่ีได้มาโดยการเลือกตั้ง หรือสรรหามาจากนักเรียนที่มี คุณลักษณะสุจริต ๕ ประการ โรงเรยี นขนาดเลก็ จำนวน ๕ คน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน ๑๐ คน โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน ๑๕ คน ๑.๒.๒ ส่งคำสั่งแต่งต้ัง ป.ป.ช. สพฐ. น้อย มายังสำนักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

๑.๒.๓ โรงเรียนประสานงานกับสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ร่วมกันดำเนินการจัดอบรม ป.ป.ช. สพฐ. น้อย เพ่ือให้ทราบบทบาทหน้าท่ีของตนเอง พร้อมรายงานผลการดำเนินการโครงการไปยัง สำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาและสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐาน ตามแบบฟอร์มที่กำหนด หากอนุกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย พ้นสภาพการศึกษาหรือ หมดวาระใหโ้ รงเรยี น ดำเนินการแต่งต้งั ใหม่ และส่ง คำส่ังใหมม่ ายังสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาและสำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ๑.๓ จัดทำคำส่งั แต่งต้งั ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน โรงเรียนท่ีได้เขา้ รว่ มโครงการฯ ดำเนินการจดั ทำคำส่ัง แตง่ ต้งั อนุกรรมการการป้องกนั และ ปราบปรามการทุจริต สำหรบั ชมุ ชน (ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน) ดงั นี้ ๑.๓.๑ แต่งต้ัง ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน โดยมีวาระ ๔ ปี ประกอบ ด้วยบุคลากร ระหวา่ ง ๔ ถงึ ๑๕ คน ๑.๓.๓ โรงเรียนประสานงานกับสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ร่วมกันดำเนินการจัดอบรม ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน เพ่ือให้ทราบบทบาทหน้าท่ีของตนเอง พร้อมรายงานผลการดำเนินการโครงการไปยัง สำนักงาน เขตพ้ืนที่ การศกึ ษาและสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตามแบบฟอร์มทีก่ ำหนด ๒. การจดั ค่ายเยาวชน “คนดีของแผ่นดนิ ” เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียนโดยเน้น ไปที่คุณลักษณะที่สำคัญของโรงเรียน สุจริต ๕ ประการ คือ ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และจิตสาธารณะ ซึ่งได้ ดำเนินการ ในโรงเรียนสุจรติ ๓. การรายงานผลการดาํ เนินงานโรงเรียนสจุ รติ โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการต้องดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจน กิจกรรมตามมาตรฐานโรงเรียน สุจริตและ กจิ กรรมอ่ืนๆ ที่โรงเรียนได้ดำเนินการ และสนับสนุน ส่งเสริม ปลูกฝัง ป้องกัน ทำให้นักเรียนเกิด คุณลักษณะ ทั้ง ๕ ประการ และให้โรงเรียนรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามไตรมาส ตามแบบรายงานที่ สพฐ. กำหนด ๔. การจัดกจิ กรรมเพอ่ื ให้เกิดคุณลกั ษณะสุจริต ๔.๑ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ในโรงเรยี นสุจริต มุ่งเน้นการพัฒนานักเรยี นให้ มีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคใ์ น ศตวรรษท่ี ๒๑ การจัดการเรยี นการสอน ของครูโรงเรยี นสุจรติ ต้องยดึ หลักการจัดการเรียนรู้ หลักการสอนท่ีดี และ ต้องสอน ให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสุจรติ คือ ทักษะกระบวนการคิด มวี ินัย ซอื่ สัตย์สจุ รติ อยอู่ ย่าง พอเพยี ง และ จิตสาธารณะ ซง่ึ การจัดการเรียนการสอนให้นกั เรียนเกิดคุณลกั ษณะ ดังกลา่ ว การประเมินผลการเรียนการสอน คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสุจริต จากการสอนในแต่ ละครั้ง นักเรียนอาจจะเกิด คุณลักษณะ สุจริต ตัวใดตัวหน่ึงหรือเกิดสองหรือสามคุณลักษณะก็ได้ แต่เม่ือสอน ครบ ทุก แผนจัดการเรียนรู้ นักเรียนจะเกิดคุณลักษณะสุจริต ๕ ประการ โดยครู สามารถนําไปใช้เป็นส่วนหนึ่ง ของการ ประเมินคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของนักเรียนตามหลักสูตรปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ และหลักสูตร การศึกษา ข้ัน พน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ได้ ๔.๒ จดั ทำ Best Practice จากผลการจัดการเรียนการสอน ท่ีมีคุณภาพนักเรียนเกิดคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียน สุจริต ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ผู้บริหารโรงเรียน สามารถถอดบทเรียน (Best Practice) ผลงานดีเด่นท่ีเกิดจากการบริหารจัดการ โรงเรยี นสุจรติ หรือการนิเทศแนะนํา ช่วยเหลือครูให้ดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย แล้วนํามาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ครู สามารถนํากระบวนการ หรือเทคนิควิธีการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน มาถอดบทเรียน เพ่ือใช้ใน การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และเผยแพร่ ให้สาธารณชนได้ศกึ ษาเรยี นรู้ ศึกษานิเทศก์ สามารถถอดบทเรียน (Best Practice) ผลงานดี เด่น ที่เกิดจากการนิเทศแนะนํา ช่วยเหลือครูให้ ดําเนนิ งานบรรลผุ ลสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์และนาํ มาแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ นักเรียน เมื่อมีผลการดําเนินงานส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตอย่างมีคุณภาพสามารถถอดบทเรียน (Best Practice) ผลงานดีเด่น จัดทำผลงาน ดเี ด่น เพ่อื นeเสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ๔.๓ กระบวนการจัดทำงานวิจัยโรงเรยี นสุจริต โรงเรียนท่ีร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ ป้องกันการ ทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต )จะต้องขับเคลื่อนโครงการโดยการส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ได้จัดทำงานวิจัย เพื่อใหน้ ักเรยี นและผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งเกดิ คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ ริต ๕. กจิ กรรมที่ สพฐ. กำหนดขนึ้ ในแต่ละปี ในแต่ละปีงบประมาณ โครงการโรงเรียนสุจริต โดยสำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา จะ ดำเนินการพัฒนานวัตกรรม เพ่ือส่งเสริมสนับสนุน ให้บุคลากร ครู นักเรียน ในโครงการโรงเรียนสุจริต ได้ พัฒนา ตามวัตถุประสงคข์ องโครงการในรูปแบบกิจกรรมใหมๆ่ ที่ได้กำหนดขึ้นแนวทางการดําเนนิ งานโรงเรียน สุจริต ๖๓ ในแตล่ ะปี เช่น กจิ กรรมสร้างสรรค์ภาพยนตร์ส้ันต่อต้านการทุจริตบริษัทสรา้ งการดี และสํานึก พลเมอื ง (Project Citizen) เปน็ ตน้ กิจกรรมที่พัฒนาขึ้นในแต่ปี จะกำหนดขึ้นเพื่อพัฒนาให้โรงเรียนในโครงการโรงเรียนสุจริตดําเนินงาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ กิจกรรม และสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ซ่ึงการจัดกิจกรรมบาง กิจกรรมอาจจะไม่สามารถพัฒนาได้ทุกโรงเรียนเช่น กิจกรรมสร้างสรรค์ภาพยนตร์สั้นต่อต้านการทุจริต จะเน้น พฒั นาเฉพาะโรงเรยี นท่ีมีนกั เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาขึ้นไป โครงการ “จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต” โครงการ “จิตพอเพียงต้านทุจริต” เป็นโครงการท่มี ีความสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติว่าดว้ ยการป้องกัน และปราบปรามการทุจรติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การสร้างสงั คมทไ่ี ม่ทนต่อ การ ทุจริต ซึ่งประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยตง้ั แต่ปฐมวยั ใหส้ ามารถแยกแยะ ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม (2) ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทาง สังคม เพ่ือต้านทุจริต (3) ประยุกต์หลักพอเพียงเป็นเคร่ืองมือต้านทุจริต และ (4) เสริมสร้างพลังการมีส่วนร่วม ของชุมชน และทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต จากกลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นท่ีมาของโครงการ “จิต พอเพียงต้านทุจริต” ในชุดโครงการสหยุทธ์ (รศ.ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ, 2560) ที่สำนักงานคณะกรรมการ ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้ดำเนินการโครงการดงั กลา่ วใน 27 จังหวดั ในปงี บประมาณ 2561 และครบทั้ง 76 จงั หวัดและกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ 2562

โครงการ “จิตพอเพียงต้านทุจริต” ในระยะต้นของการดำเนินการ แม้ว่าในโครงการได้กำหนด กระบวนการ ต่าง ๆ ไว้ แต่ผู้นำโครงการสู่การปฏิบัติมีความเข้าใจในความหมายแตกต่างกันไป ทำให้การนำสู่การ ปฏิบัติค่อนข้างสับสน จึงมีการคิดค้น STRONG model ขึ้นมาเพ่ืออธิบายโครงการ “จติ พอเพียงต้านทจุ ริต” ให้มี ระบบมากขึ้น และเรียกช่ือที่เชื่อมโยงระหว่าง STRONG model และจิตพอเพียงต้านทุจริต ว่า โครงการ “STRONG จติ พอเพยี งต้านทุจรติ ” การคิดค้น STRONG model เกิดขึ้นจากการตกผลึกทางความคิดของความหมายของ “จิตพอเพียงต้าน ทุจริต” ท่ีประกอบด้วยคำสำคัญ 3 คำ คือ จิต พอเพียง ต้านทุจริต จิตพอเพียงต้านทุจริต ต้องเป็นจิตที่มีความ แข็งแกร่ง ทำให้คิดถึงคำภาษาอังกฤษ คือ Strong ท่ีเป็นคำง่าย ๆ มีการใช้บ่อย ๆ ความหมายเป็นที่รับรู้กัน โดยท่ัวไป แต่ต้องคิดให้ตกผลึกในตัวอักษรทั้ง 6 ตัว ให้สามารถเชื่อมโยงกับคำว่า พอเพียง และคำว่า ต้านทุจริต จึงเป็นการต้ังต้นในการหาความหมายในตัวอักษรภาษาอังกฤษทั้ง 6 ตัว ที่มีความเชื่อมโยงกันและสามารถคิด กจิ กรรมทเ่ี ปน็ รปู ธรรมได้ S เป็นตัวอกั ษรตัวแรกของ Strong ทำให้คิดถึงคำ Sufficient ซึ่งแปลว่า พอเพียง เป็นคำสำคญั และเป็น หลักเป็นแกน่ ของจติ พอเพยี งต้านทจุ ริต คำสำคัญคำถัดไปคือ ต้านทุจริต ซึ่งจำเป็นต้องมีคำอธิบายหรือคำจำกัดความให้ชัดเจน เพื่อค้นหาคำท่ี เกย่ี วข้องและสอดคลอ้ งสำหรับใสใ่ นอักษรองั กฤษ t-r-o-n-g การทุจริตเกิดข้ึนจากระบบและคน ระบบที่เน้นความโปร่งใสและตรวจสอบได้จะทำให้การทุจริตยาก ย่ิงขึ้น คนสุจริตท่ีไม่นิ่งเฉย ไม่ยอมให้มีการทุจริตเกิดขึ้น ย่อมเป็นกลไกป้องกันการทุจริต และทำให้สังคม เจริญกา้ วหน้าได้ยง่ิ ขนึ้ การประกอบคำต่าง ๆ ในตวั อักษร t-r-o-n-g จงึ เกดิ ขน้ึ ดงั นี้ ตัว T จงึ ใช้คำ Transparent โปรง่ ใส R=Realise ตน่ื รู้ ร้สู ภาวะ รู้เหตุการณท์ ีจ่ ะเกดิ การทุจรติ และพร้อมจะต่อสู้ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดการทุจรติ O เปน็ ตัวอักษรทค่ี ดิ หาคำยากทส่ี ดุ แต่ในที่สดุ จึงเลอื กคำ Onward มุ่งไปขา้ งหน้า มุง่ สร้างความเจรญิ N เป็นคำควบกล้ำกับ K Knowledge ความรู้ เป็นปัจจัยจำเป็นสำหรับมนุษย์ มีอิทธิพลต่อทัศนคติความ ตระหนกั และพฤตกิ รรม การกระทำ G=Generosity เอ้ืออาทร เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ในฐานะของเพ่ือนมนุษย์ โดยมิใช่ต่างตอบแทนหรือต้องการ ผลประโยชน์ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ที่มีความพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น (S) มุ่ง อนาคตทเ่ี จริญทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พ้นื ฐานจติ ใจมีมนุษยธรรมเอื้อ อาทร ช่วยเหลือเพ่ือนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ประโยชนต์ ่างตอบแทน (G) ให้ความสำคัญต่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต เพ่ือ การดำรงชีวิตในทางที่ชอบ (N) แต่ตื่นรเู้ รื่องภัยทุจริตที่ร้ายแรงส่งผลต่อสงั คม รงั เกียจการทุจริตประพฤติมิชอบทั้ง ปวง ไม่ยอมทนตอ่ การทุจริตทกุ รูปแบบ (R) S=Sufficient พอเพยี ง เนื่องจากความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมท่ีระดับที่แตกต่างกันตามวิธีคิด สภาพความพร้อมและ ความสามารถ รวมท้ังตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของบุคคลและครอบครัว กลไกหลัก คอื ปรับวิธีคิดที่ แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นอัตโนมัติจะนำไปสู่จิตสำนึกท่ีพอเพียง

ไม่กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไมเ่ บียดเบียนผู้อ่ืน ไมเ่ บียดบังรฐั ไม่รับอามสิ สนิ บนโดยมิต้องจำกดั ขอบเขตของ การประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตามความสามารถ ท้ังนี้ โดยไม่เดือดร้อนตนเองและ ผูอ้ นื่ T=Transparent โปร่งใสความโปร่งใส ทำให้เห็นภาพหรอื ปรากฏการณ์ชัดเจนกลไกหลัก คือ สร้างความร้คู วามเข้าใจ และ วิธีสงั เกตเกย่ี วกบั ความโปร่งใสของโครงการตา่ ง ๆ R=Realise ตืน่ รู้ เม่ือบุคคลรู้พิษภัยของการทุจริต และไม่ทนท่ีจะเห็นการทุจริตเกิดข้ึนกลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์ การทุจริตในพื้นที่ ในชุมชน หรือในกรณีท่ีปรากฏการทุจริตข้ึน หรือกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นมาแล้วและมีคำพิพากษา ถงึ ที่สุดแลว้ O=Onward มุ่งไปข้างหนา้ การไม่มีการทุจริตของภาครัฐ จะทำให้เงินภาษีถูกนำไปใช้ในการพัฒนาอย่างเต็มที่ กลไกหลัก คือ การ ป้องกันและการปอ้ งปราม ด้วยกระบวนการมสี ว่ นรว่ มในการเฝ้าระวังพื้นท่ที ่ีมีความเสี่ยง ในการทจุ ริต เช่น การบุก รกุ พ้นื ท่ีสาธารณะ หรอื เฝ้าระวงั โครงการให้ดำเนนิ การด้วยความโปรง่ ใส N Knowledge ความรู้ ความรู้ด้านต่าง ๆ มีความจำเป็นต่อการป้องกันและป้องปรามการทุจริต กลไกหลัก คือ การให้ความรู้ใน รูปแบบการฝึกอบรม หรือให้ส่อื เรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เชน่ (1) ความรเู้ กี่ยวกับรปู แบบการทุจริตแบบตา่ ง ๆ ทั้งแบบสมัยอดตี แบบปัจจุบนั และแบบท่ีอาจจะเกิดขึ้น ในอนาคต (2) ความรูเ้ กยี่ วกับการทุจริตในตา่ งประเทศ (3) วิธกี ารปอ้ งกัน – ปอ้ งปรามแบบตา่ ง ๆ (4) ความรู้เกี่ยวการเฝา้ ระวงั (5) ความรเู้ กีย่ วกับกฎหมายที่เกีย่ วข้อง G=Generosity ความเอื้ออาทร การพัฒนาสังคมไทยให้มีน้ำใจ โอบอ้อมอารี เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ โดยไม่มีผลประโยชน์ตอบแทนหรือหวัง ผลตอบแทน ในฐานะเพ่ือนมนุษย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือ การร่วมมอื ในการร่วมพัฒนาชมุ ชน ข้อมูลรายละเอียดเพ่มิ เตมิ : https://www.nacc.go.th/we/?c=learning_anglealldetails&f=id&id=16 ขอ้ มูลหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา

4. ประโยชน์ทไี่ ด้รับ - ความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา - แนวทางในการกิจกรรมเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล ในสถานศึกษา 5. แนวทางการพัฒนาตนเอง และโรงเรยี น - วางแผนการดำเนนิ การเกยี่ วกับเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล ในสถานศึกษา - ปรับปรงุ หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษาของสถานศกึ ษา ให้สอดคล้องตามแนวทางของ สพฐ. - เสนอโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล ในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 2566 6. ขอ้ เสนอแนะ - ใหโ้ รงเรยี นดำเนินการโครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา ให้เป็นรปู ธรรม และมีการนเิ ทศ ตดิ ตามอย่างต่อเนอื่ ง 7. เอกสารประกอบการประชมุ / อบรม / สัมมนา จำนวน 1 เล่ม - เอกสารประกอบการประชมุ ลงชือ่ (นายเฟาซยี ์ ชายเหร็น) ตำแหนง่ ครู ผู้รายงาน

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรมเพ่ิมเติม : https://www.spmsongkhlasatun.go.th/news/detail/751