ความร่วมมือกับหน่วยงานของไทย จากผลการสำรวจ พบว่า โรงเรียนรัฐมีความร่วมมือกับโรงเรียน ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฯ มากทสี่ ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75 ซง่ึ นา่ จะเปน็ ผลมาจากการกำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี ปี พ.ศ. 2549-2553 ที่สง่ เสริมการจดั ตั้งโรงเรียนศนู ย์เครอื ข่ายฯ ในระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือช่วยเหลือพ่ึงพากันในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน รองลงมาคือ ความรว่ มมอื กบั โรงเรยี นในระดบั เดยี วกนั และมหาวทิ ยาลยั ตามลำดบั มเี พยี งสว่ นนอ้ ยทม่ี คี วามรว่ มมอื กบั บรษิ ทั เอกชน สำหรบั หนว่ ยงานอน่ื ทมี่ กี ารระบไุ ว้ เชน่ เทศบาลประจำตำบล สมาคมจนี และโรงเรยี น เอกชนสอนภาษาจีน ส่วนโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีนมีความร่วมมือกับโรงเรียนระดับเดียวกัน มากที่สุด รองลงมาคือมหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชนโดยมีความร่วมมือกับโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ ค่อนข้างน้อย สำหรับหน่วยงานอ่ืนท่ีมีการระบุไว้ เช่น โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ และสถาบัน การจัดการปัญญาภิวัฒน์ ถึงแม้ว่าโรงเรียนรัฐส่วนมากจะมีความร่วมมือกับโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ แต่แท้ที่จริงแล้วก็คือโรงเรียนในระดับเดียวกันท่ีมีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน และได้รับการจัดตั้งขึ้นมาเป็นโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ นั่นเอง ซึ่งก็มีลักษณะคล้ายกับโรงเรียนเอกชน และโรงเรียนจีนที่ส่วนใหญ่มีความร่วมมือกับโรงเรียนระดับเดียวกันค่อนข้างมาก เพียงแต่โรงเรียนใน สังกัด สช. ส่วนมากจะมีลักษณะเป็นโรงเรียนในเครือ ซึ่งมีความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนในเครือ ไม่ได้มีการจัดต้ังเป็นโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ เหมือนโรงเรียนรัฐในสังกัด สพฐ. ฉะนั้น โรงเรียน ทุกประเภทจึงถือวา่ มีความรว่ มมอื กับโรงเรียนในระดับเดยี วกันและในกลุม่ โรงเรยี นประเภทเดียวกนั ส่วนความร่วมมือกับหน่วยงานของจีน พบว่า โรงเรียนทุกประเภทมีความร่วมมือกับ สำนักงาน HANBAN ห้องเรียนขงจ่ือ และสถาบันขงจ่ือในสัดส่วนท่ีสูงมาก โดยเฉพาะในโรงเรียนจีน แสดงให้เห็นว่าสำนักงาน HANBAN ห้องเรียนและสถาบันขงจ่ือมีบทบาทอย่างมากในการส่งเสริม การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย แทท้ จี่ รงิ แลว้ หอ้ งเรยี นและสถาบันขงจ่อื ถอื เปน็ หน่วยงาน ในสังกัดของสำนักงาน HANBAN ดังน้ัน การร่วมมือกับห้องเรียนขงจ่ือและสถาบันขงจื่อก็เท่ากับ ร่วมมือกับสำนักงาน HANBAN แต่เน่ืองจากในประเทศไทยมีห้องเรียนขงจื่อและสถาบันขงจ่ืออยู่ จำนวนมาก และกระจายอยู่ท่ัวทุกภูมิภาค สามารถให้การช่วยเหลือและส่งเสริมการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนแก่โรงเรียนท่ีอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน ซ่ึงน่าจะมีความใกล้ชิดกับโรงเรียนในแต่ละ ทอ้ งถิ่นมากกว่าสำนกั งาน HANBAN ทีม่ สี ำนกั งานในกรงุ เทพฯ เทา่ นน้ั ดงั น้นั จงึ ต้องแยกออกมาเพอื่ ให้เห็นความแตกต่างของหน่วยงานใหญ่และหน่วยงานย่อย แต่จากผลในตารางข้างต้น พบว่า มีสัดส่วนไม่แตกต่างกันมากนัก แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนทุกประเภทมีความร่วมมือกับท้ังสำนักงาน HANBAN ห้องเรียนขงจ่ือและสถาบันขงจ่ือเหมือนกัน รองลงมาคือความร่วมมือกับโรงเรียนระดับ เดียวกันในประเทศจีน เช่น การจับคู่เป็นโรงเรียนพ่ีโรงเรียนน้องกับโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของ ประเทศจีน เป็นต้น สำหรับหน่วยงานอื่นท่ีมีการระบุไว้ เช่น มหาวิทยาลัย Jimei มหาวิทยาลัย Yunnan Normal และมหาวทิ ยาลยั อน่ื ๆ ในประเทศจีน แต่สัดส่วนคอ่ นข้างนอ้ ย รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศกึ ษา 83
นอกจากการสำรวจหน่วยงานที่มีความร่วมมือด้วยแล้ว ยังมีการสำรวจการสนับสนุนท่ีได้รับ จากหน่วยงานของไทยและจีน เพื่อศึกษาว่าได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นในด้านใดบ้าง ผลสำรวจ พบว่า โรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชนได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายในประเทศ ในด้านส่ือการสอนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60 และ 48 ตามลำดับ เช่น ได้รับการสนับสนุนหรือ การแนะนำสื่อท่ีใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน รวมท้ังหนังสือและส่ืออิเล็กทรอนิกส์ รองลงมาคือ ด้านผู้สอน คิดเป็นร้อยละ 55 และ 37 ตามลำดับ เช่น ได้รับการสนับสนุนผู้สอนและการจัดอบรม ครูสอนภาษาจีน ส่วนอีกด้านท่ีมีสัดส่วนรองลงมาก็คือด้านหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 36 และ 22 ตามลำดบั ซง่ึ เปน็ การสนบั สนนุ ความรว่ มมอื ในการจดั ทำหลกั สตู ร แสดงใหเ้ หน็ วา่ ความรว่ มมอื ในดา้ น สอื่ การสอน ผสู้ อน และหลกั สตู รของหนว่ ยงานไทยกม็ คี วามเขม้ แขง็ ในระดบั หนงึ่ ในขณะทด่ี า้ นผเู้ รยี น และด้านทุนการศึกษาได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของไทยค่อนข้างน้อย ส่วนโรงเรียนจีนมี สัดส่วนของการได้รับการสนับสนุนด้านหลักสูตรและส่ือการสอนจากหน่วยงานของไทยมากท่ีสุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 เทา่ กนั รองลงมาคอื ดา้ นผสู้ อน สว่ นดา้ นผเู้ รยี นและทนุ การศกึ ษาไดร้ บั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานของไทยคอ่ นขา้ งนอ้ ยเช่นเดียวกบั โรงเรยี นรัฐและโรงเรยี นเอกชน สำหรับความร่วมมือกับหน่วยงานของจีน ท่ีเห็นได้ชัดเจนที่สุดก็คือการได้รับการสนับสนุนใน ด้านผู้สอน เน่ืองจากมีสัดส่วนมากที่สุดในโรงเรียนทุกประเภท ตัวเลขดังกล่าวสอดคล้องกับผลการ สำรวจด้านผู้สอนข้างต้นท่ีพบว่ามีครูอาสาสมัครชาวจีนในสัดส่วนที่สูงมาก ซึ่งครูอาสาสมัครเหล่านี้ได้ รับการสนับสนุนจากสำนักงาน HANBAN รองลงมาคือด้านสื่อการสอนและด้านทุนการศึกษา ซ่ึง ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงาน HANBAN หรือห้องเรียนขงจ่ือสำหรับโรงเรียนรัฐและ โรงเรียนเอกชน ด้านผู้เรียนและหลักสูตรได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของจีนค่อนข้างน้อย ส่วน โรงเรียนจีนได้รับการสนับสนุนในทุกๆ ด้านค่อนข้างมาก ยกเว้นด้านผู้เรียนเท่านั้นที่ได้รับการ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงานจีนค่อนข้างน้อย กลา่ วโดยสรปุ โรงเรยี นทกุ ประเภทสว่ นใหญม่ คี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอนื่ หากเปน็ หนว่ ยงาน ของไทยจะเป็นความร่วมมือกับโรงเรียนในประเภทเดียวกัน แต่ต่างกันท่ีรูปแบบ ในส่วนของโรงเรียน รัฐจะเป็นโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ แต่โรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีนเป็นโรงเรียนในเครือ และได้รับ ความร่วมมือและการสนับสนุนด้านส่ือการสอน ผู้สอน และหลักสูตรค่อนข้างมาก ส่วนความร่วมมือ และการสนับสนุนด้านผู้เรียนและทุนการศึกษามีค่อนข้างน้อย หากเป็นหน่วยงานของจีน โรงเรียนรัฐ และโรงเรียนเอกชนมีความร่วมมือกับสำนักงาน HANBAN ห้องเรียนขงจ่ือและสถาบันขงจ่ือมากที่สุด และได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนด้านสื่อการสอน ผู้สอน และทุนการศึกษาค่อนข้างมาก ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนด้านผู้เรียนและหลักสูตรมีค่อนข้างน้อย ส่วนโรงเรียนจีนได้รับการ สนบั สนุนในทกุ ๆ ด้านจากหน่วยงานของจนี คอ่ นขา้ งมาก เม่ือเทยี บกบั โรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชน ยกเว้นด้านผเู้ รียนเทา่ นั้นทไ่ี ด้รบั การสนบั สนนุ คอ่ นข้างน้อย 84 รายงานการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
4.8 ปญั หาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ระดบั มัธยมศกึ ษา นอกจากการสำรวจสภาพปัจจุบันและสภาพท่ัวไปของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใน ด้านต่างๆ ที่กล่าวไปข้างต้นแล้ว ยังมีการสำรวจระดับของปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษา รวมทั้งมีคำถามปลายเปิด เพ่ือให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสามารถอภิปรายปัญหาและข้อเสนอแนะได้อย่างเต็มท่ี โดยจะแบ่ง ผลการสำรวจออกเป็น 2 ส่วนได้แก่ ระดับปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน และความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน ดงั นี ้ 4.8.1 ระดับปญั หาและอปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน การสำรวจระดับปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน แบ่งออก เป็น 6 ด้านตามหัวข้อในส่วนก่อนหน้า ได้แก่ ด้านบริหารจัดการ ด้านหลักสูตร ด้านส่ือการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน และด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน โดยจำแนกตามประเภทของโรงเรียน สำหรับการแปลความหมายค่าเฉล่ียจากแบบสอบถามมาตรวัดแบบให้คะแนน เพ่ือจัดระดับคะแนน เฉล่ีย ใช้เกณฑ์ดงั ตอ่ ไปน้ ี คะแนนเฉลยี่ 4.51-5.00 แปลความวา่ มปี ัญหาในระดบั มากทส่ี ุด คะแนนเฉล่ยี 3.51-4.50 แปลความวา่ มีปญั หาในระดับมาก คะแนนเฉล่ีย 2.51-3.50 แปลความว่า มปี ัญหาในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ีย 1.51-2.50 แปลความวา่ มีปัญหาในระดบั นอ้ ย คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.50 แปลความวา่ มีปัญหาในระดับน้อยทสี่ ดุ รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา 85
ตาราง 30 แสดงระดับปญั หาโดยรวมของการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ด้านตา่ งๆ ระดบั ปญั หา โรงเรียนรัฐ โรงเรียนเอกชน โรงเรียนจีน ในด้านตา่ งๆ χ SD ระดบั χ SD ระดับ χ SD ระดบั 1. ดา้ นบริหารจัดการ 2.67 1.16 กลาง 1.93 1.08 นอ้ ย 2.29 1.02 น้อย 2. ด้านหลกั สูตร 3.06 1.21 กลาง 2.50 1.27 นอ้ ย 2.66 1.01 กลาง 3. ด้านสอื่ การสอน 3.31 1.31 กลาง 2.53 1.35 กลาง 2.57 1.07 กลาง 4. ด้านผสู้ อน 3.04 1.38 กลาง 2.60 1.44 กลาง 2.67 1.16 กลาง 5. ดา้ นผเู้ รยี น 3.64 1.19 มาก 3.25 1.42 กลาง 3.14 1.12 กลาง 6. ดา้ นความร่วมมอื กับ 2.92 1.25 กลาง 3.00 1.43 กลาง 2.66 1.14 กลาง หน่วยงานอื่น รวม 3.09 1.29 กลาง 2.61 1.39 กลาง 2.66 1.10 กลาง จากตารางข้างต้น แสดงให้เห็นว่าระดับปัญหาในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ของโรงเรียนแตล่ ะประเภท ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลางทง้ั หมด โดยโรงเรียนรฐั มคี า่ เฉลี่ยท่ี 3.09 โรงเรียนเอกชนมีค่าเฉล่ียที่ 2.61 และโรงเรียนจีนมีค่าเฉลี่ยท่ี 2.66 เม่ือแยกดูเป็นรายด้านของแต่ละ โรงเรียน พบว่า โรงเรียนรัฐ มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 5 ด้านได้แก่ ด้านบริหารจัดการ ด้านหลักสูตร ด้านสื่อการสอน ด้านผู้สอน ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น มีเพียงด้านเดียวที่ มีปัญหาอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านผู้เรียน โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.64 โรงเรียนเอกชน มีปัญหาอยู่ใน ระดับน้อย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารจัดการและด้านหลักสูตรโดยมีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 1.93 และ 2.50 ตามลำดับและมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 4 ด้านได้แก่ ด้านสื่อการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน และด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน โดยด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงกว่าด้านอื่นๆ คือด้านผู้เรียน มีค่าเฉล่ีย อยู่ท่ี 3.25 ส่วนโรงเรยี นจีน มีปญั หาอยูใ่ นระดับน้อย 1 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารจัดการ มคี ่าเฉลีย่ อยูท่ ่ี 2.29 มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 5 ด้านได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านส่ือการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน และด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนโดยด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงกว่าด้านอ่ืนๆ คือด้านผู้เรียน เช่นเดียวกับโรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชน โดยภาพรวมจะเห็นว่าโรงเรียนทุกประเภทมีปัญหา ด้านผู้เรียนมากท่ีสุด ส่วนปัญหาด้านการบริหารจัดการมีปัญหาน้อยที่สุด นอกจากน้ี เพ่ือให้เห็น ปัญหาที่ชัดเจนในแต่ละด้านมากข้ึน ในแต่ละด้านจึงมีการแยกค่าเฉลี่ยออกเป็นรายข้อ ดังตาราง ตอ่ ไปน้ ี 86 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษา
ตาราง 31 แสดงระดบั ของปญั หารายขอ้ ในดา้ นการบรหิ ารจดั การ ปัญหาดา้ นการบริหารจดั การ โรงเรยี นรฐั โรงเรยี นเอกชน โรงเรยี นจีน χ SD χ SD χ SD 1. สถาบันขาดระบบการบรหิ ารจดั การการเรียนการสอน 2.88 1.15 2.15 1.15 2.71 1.11 ภาษาจีนท่ีด ี 2. ผบู้ รหิ ารไมใ่ หค้ วามสำคัญกับการเรยี นการสอน 2.93 1.20 1.71 1.10 2.00 1.15 ภาษาจีนเทา่ ทค่ี วร 3. การดำเนินการตามแผนการจดั การเรยี นการสอน 2.32 1.07 2.02 1.06 2.43 1.13 ภาษาจีนยังขาดประสทิ ธภิ าพ 4. ผ้ทู เี่ กีย่ วข้องกบั การเรียนการสอนภาษาจนี 2.44 1.16 1.63 0.86 2.00 0.82 ไม่มีสว่ นรว่ มในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี 5. ระบบการประเมนิ การบรหิ ารจัดการการเรียน 2.80 1.08 2.12 1.14 2.29 0.95 การสอนภาษาจนี ยังขาดประสทิ ธภิ าพ จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรียน รัฐมีปญั หาอยูใ่ นระดับปานกลาง 3 ขอ้ และระดบั น้อย 2 ข้อ ขอ้ ทมี่ ีคา่ เฉลยี่ สงู สุดคือ ผ้บู รหิ ารไม่ให้ ความสำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีนเท่าที่ควร ข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุดคือ การดำเนินงานตาม แผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนขาดประสิทธิภาพ ในโรงเรียนเอกชนมีปัญหาในระดับน้อย ทั้งหมด 5 ข้อ แต่ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ สถาบันขาดระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอน ภาษาจีนท่ีดี ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุดคือ ผู้ที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนภาษาจีนไม่มีส่วนร่วม ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ในโรงเรียนจีนมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 1 ข้อ ได้แก่ สถาบันขาดระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีดี และมีระดับน้อย 4 ข้อ โดยขอ้ ทีม่ คี ่าเฉลยี่ นอ้ ยทีส่ ดุ คอื ผบู้ รหิ ารไม่ให้ความสำคัญกบั การเรยี นการสอนภาษาจนี เท่าทคี่ วร รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษา 87
ตาราง 32 แสดงระดับของปัญหารายข้อในด้านหลักสูตร ปัญหาด้านหลกั สูตร โรงเรยี นรัฐ โรงเรยี นเอกชน โรงเรยี นจีน χ SD χ SD χ SD 1. หลักสตู รแกนกลางภาษาจีนขาดความทันสมยั และ 2.80 1.11 2.17 1.12 2.57 0.98 ไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั 2. หลกั สตู รแกนกลางภาษาจนี ยงั ขาดการพฒั นาทกั ษะ 2.70 1.07 2.39 1.16 2.57 0.79 พน้ื ฐานด้านการฟัง พดู อ่าน และเขียน 3. หลกั สตู รแกนกลางภาษาจนี ไมส่ อดคล้องกับ 3.03 1.25 2.44 1.25 2.29 0.76 สภาพการจดั การเรียนการสอนจรงิ 4. หลักสตู รแกนกลางภาษาจนี ระดบั มธั ยมศึกษา 3.11 1.20 2.71 1.31 2.57 0.53 ยงั ไมเ่ ช่อื มโยงกับหลกั สตู รระดบั ประถมศกึ ษา และอดุ มศึกษา 5. ขาดผเู้ ชีย่ วชาญในการจดั ทำหลักสตู รภาษาจนี 3.42 1.15 2.73 1.41 3.29 1.38 ท่เี หมาะสมกับสถาบนั ของตนเอง 6. ไมม่ แี นวทางในการประเมนิ และปรบั ปรุงหลักสูตร 3.39 1.15 2.39 1.24 3.14 1.07 และรายวิชาอย่างต่อเน่อื ง 7. เนอ้ื หาการสอนยดึ ตามในหนงั สือเรยี นเปน็ หลกั 3.11 1.09 2.56 1.29 3.00 1.41 ไม่ได้อา้ งองิ จากในหลกั สูตรแกนกลางภาษาจนี เพื่อความสะดวกในการเรียนการสอน 8. จำนวนรายวิชาน้อยเกนิ ไปและไม่ค่อยหลากหลาย 2.88 1.20 2.56 1.30 2.57 0.53 9. จำนวนชว่ั โมงสอนนอ้ ยเกนิ ไป ทำใหก้ ารเรยี นไมค่ อ่ ย 3.01 1.30 2.63 1.28 1.86 0.90 มีประสทิ ธิผลเทา่ ท่ีควร 10. สถาบันขาดงบประมาณในการจัดกิจกรรม 3.15 1.32 2.39 1.38 2.71 1.11 เสรมิ หลักสตู ร จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าในโรงเรียนรัฐมีปัญหาด้านหลักสูตรอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งหมด 10 ข้อ แต่ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดใกล้เคียงกัน 2 ข้อคือ ขาดผู้เช่ียวชาญในการจัดทำหลักสูตร ภาษาจีนที่เหมาะสมกับสถาบันของตนเอง ไม่มีแนวทางในการประเมินและปรับปรุงหลักสูตรรายวิชา อย่างตอ่ เนื่อง ข้อที่มีคา่ เฉล่ียน้อยทส่ี ดุ คอื หลกั สูตรแกนกลางภาษาจีนยงั ขาดการพฒั นาทกั ษะพ้นื ฐาน ด้านการฟัง พดู อ่าน และเขยี น ในโรงเรยี นเอกชนมีปญั หาในระดับปานกลาง 5 ข้อ และระดับนอ้ ย 88 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษา
5 ข้อ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดใกล้เคียงกัน 2 ข้อคือ ขาดผู้เช่ียวชาญในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนท่ี เหมาะสมกับสถาบันของตนเอง และหลักสูตรแกนกลางภาษาจีนระดับมัธยมศึกษายังไม่เชื่อมโยงกับ หลักสูตรระดับประถมศึกษาและอุดมศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุดคือ หลักสูตรแกนกลางภาษาจีน ขาดความทนั สมยั และไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั ในโรงเรยี นจนี มปี ญั หาอยใู่ นระดบั ปานกลาง 8 ข้อ และระดับน้อย 2 ข้อ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ขาดผู้เชี่ยวชาญในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีน ที่เหมาะสมกับสถาบันของตนเองข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุดคือ จำนวนชั่วโมงสอนน้อยเกินไป ทำให ้ การเรียนไม่ค่อยมีประสทิ ธิผลเทา่ ที่ควร ตาราง 33 แสดงระดบั ของปญั หารายข้อในด้านสอ่ื การสอน ปญั หาดา้ นส่ือการสอน โรงเรียนรัฐ โรงเรยี นเอกชน โรงเรยี นจีน χ SD χ SD χ SD 1. หนงั สอื เรยี นท่ีใชไ้ ม่เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น 3.10 1.23 2.34 1.26 2.43 0.79 (เชน่ ยากเกินไป เน้อื หาไมส่ ามารถนำไปใชไ้ ดจ้ ริง) 2. หนงั สือเรยี นในแตล่ ะระดับช้ันไมต่ ่อเน่อื งกนั 3.01 1.22 2.41 1.32 1.86 0.90 และไมเ่ ป็นระบบ 3. ขาดสอื่ การเรียนการสอนภาษาจนี ท่ที นั สมยั และ 3.41 1.24 2.71 1.40 2.29 0.76 หลากหลาย 4. ขาดแคลนสอื่ การสอนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อปุ กรณ์ 3.51 1.36 2.76 1.43 2.71 1.25 และห้องปฏิบัติการสอนภาษาจนี 5. ไม่มงี บประมาณเพยี งพอในการจัดซอื้ สื่อการสอน 3.52 1.39 2.41 1.34 3.57 0.98 สื่อการสอนอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละอุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ งๆ จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าในโรงเรียนรัฐมีปัญหาด้านสื่อการสอนอยู่ในระดับมาก 2 ขอ้ ซงึ่ มคี า่ เฉลย่ี ใกลเ้ คยี งกนั มาก ไดแ้ ก่ ไมม่ งี บประมาณเพยี งพอในการจดั ซอ้ื สอื่ การสอน สอื่ การสอน อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ และขาดแคลนสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ และห้องปฏิบัติการสอนภาษาจีน และมีปัญหาในระดับปานกลาง 2 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ หนังสือเรียนในแต่ละระดับชั้นไม่ต่อเนื่องและไม่เป็นระบบ ในโรงเรียนเอกชนมีปัญหาในระดับ ปานกลาง 2 ข้อ ซ่ึงมีค่าเฉล่ียใกล้เคียงกันมาก ได้แก่ ขาดแคลนส่ือการสอนอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ และห้องปฏิบัติการสอนภาษาจีน และขาดส่ือการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีทันสมัยและหลากหลาย รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา 89
และมีปัญหาในระดับน้อย 3 ข้อ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ หนังสือเรียนที่ใช้ไม่เหมาะสมกับผู้เรียน ในโรงเรยี นจนี มีปญั หาอยูใ่ นระดบั มาก 1 ข้อ ไดแ้ ก่ ไม่มีงบประมาณเพยี งพอในการจัดซ้อื สื่อการสอน ส่ือการสอนอิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีปัญหาในระดับปานกลาง 1 ข้อ และมี ปัญหาในระดับน้อย 3 ข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุดคือ หนังสือเรียนในแต่ละระดับชั้นไม่ต่อเนื่องกัน และไมเ่ ป็นระบบ ตาราง 34 แสดงระดับของปญั หารายขอ้ ในดา้ นผู้สอน ปญั หาดา้ นผู้สอน โรงเรียนรฐั โรงเรยี นเอกชน โรงเรยี นจีน χ SD χ SD χ SD 1. สถาบนั ขาดระบบการรับและระบบการวดั ความรู้ 3.01 1.20 2.46 1.23 2.71 1.38 ผสู้ อนภาษาจนี 2. สถาบันขาดการจัดหลกั สตู รอบรมเทคนคิ การสอน 3.24 1.13 3.05 1.47 3.00 1.41 ภาษาจนี ให้แก่ครสู อนภาษาจนี ท้งั ชาวไทยและ ชาวตา่ งชาต ิ 3. ผสู้ อนมภี าระงานอย่างอน่ื มาก ทำให้ไม่สามารถ 3.31 1.39 2.66 1.42 1.86 0.69 ทุ่มเทกับการสอนภาษาจนี ได้เทา่ ท่ีควร 4. จำนวนผ้สู อนไมเ่ พียงพอต่อจำนวนนกั เรยี น 2.92 1.36 2.34 1.37 2.43 0.98 5. ผู้สอนลาออกบอ่ ย ทำให้การดำเนนิ งาน 2.14 1.35 2.10 1.43 2.00 1.53 ขาดความต่อเนื่อง 6. ผสู้ อนสญั ชาติไทยขาดประสบการณ์ ความชำนาญ 2.42 1.29 2.22 1.24 2.54 0.98 ความรคู้ วามสามารถทางวชิ าการในการสอนภาษาจนี 7. ผู้สอนชาวต่างประเทศไม่สามารถถ่ายทอดความรู ้ 3.12 1.28 2.90 1.45 3.14 1.21 ให้ผ้เู รยี นไดด้ เี ทา่ ทคี่ วรและไม่สามารถควบคมุ ชัน้ เรียนได ้ 8. การเปลี่ยนครอู าสาสมัครชาวจนี บ่อยคร้ังทำให ้ 3.65 1.29 2.90 1.59 3.29 1.25 ไม่สามารถพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีน ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง 9. สถาบนั พ่งึ พาครูอาสาสมคั รมากเกนิ ไป โดยไมไ่ ด้ 2.96 1.37 2.46 1.45 3.00 0.82 เนน้ การพัฒนาผูส้ อนสัญชาติไทย 10. ผู้สอนชาวตา่ งประเทศไม่สามารถชว่ ยงานดา้ นอ่ืนได้ 3.66 1.32 2.90 1.53 2.71 0.95 ภาระสว่ นใหญ่ตกอยู่กับผูส้ อนชาวไทย 90 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศกึ ษา
จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าในโรงเรียนรัฐมีปัญหาด้านผู้สอนอยู่ในระดับมาก 2 ข้อ ซ่ึงมีค่าเฉล่ียใกล้เคียงกันมาก ได้แก่ ผู้สอนชาวต่างประเทศไม่สามารถช่วยงานด้านอ่ืนได้ ภาระ ส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้สอนชาวไทย และการเปลี่ยนครูอาสาสมัครชาวจีนบ่อยคร้ังทำให้ไม่สามารถ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนได้อย่างต่อเน่ือง และมีปัญหาในระดับปานกลาง 6 ข้อ และระดับ นอ้ ย 2 ขอ้ โดยขอ้ ทมี่ ีคา่ เฉลย่ี นอ้ ยท่ีสดุ คือ ผสู้ อนลาออกบ่อย ทำให้การดำเนนิ งานขาดความต่อเนือ่ ง ในโรงเรียนเอกชนมีปัญหาในระดับปานกลาง 5 ข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ สถาบันขาดการจัด หลักสูตรอบรมเทคนิคการสอนภาษาจีนให้แก่ครูสอนภาษาจีนท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติ และมี ปญั หาในระดับนอ้ ย 5 ขอ้ เชน่ กัน ขอ้ ทมี่ ีค่าเฉลี่ยนอ้ ยท่สี ุดคอื ผ้สู อนลาออกบอ่ ย ทำใหก้ ารดำเนินงาน ขาดความต่อเนื่อง ในโรงเรียนจีนมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 7 ข้อ ข้อที่ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การเปลี่ยนครูอาสาสมัครชาวจีนบ่อยครั้ง ทำให้ไม่สามารถพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนได้อย่าง ต่อเนอื่ งมปี ัญหาในระดบั ปานกลาง 1 ขอ้ และมปี ัญหาในระดบั น้อย 3 ขอ้ ข้อทม่ี ีคา่ เฉล่ียน้อยท่สี ดุ คือ ผสู้ อนมีภาระงานอยา่ งอน่ื มาก ทำให้ไมส่ ามารถทุม่ เทกบั การสอนภาษาจีนไดเ้ ท่าทคี่ วร ตาราง 35 แสดงระดับของปญั หารายข้อในด้านผูเ้ รยี น ปญั หาดา้ นผู้เรยี น โรงเรียนรฐั โรงเรียนเอกชน โรงเรยี นจนี χ SD χ SD χ SD 1. ผู้เรยี นไมเ่ ห็นความสำคญั ในการเรยี นภาษาจนี 3.68 1.17 3.20 1.49 3.43 1.13 ทำให้ไมต่ ้ังใจเรยี น 2. ผเู้ รยี นมีระดับพ้ืนฐานความรูท้ ่ีไมเ่ ทา่ กนั 3.77 1.12 3.44 1.34 3.29 0.95 ทำใหก้ ารจัดการเรียนการสอนทำได้ยาก 3. ผู้เรยี นขาดสภาพแวดล้อมทางภาษาจนี และ 3.57 1.05 3.41 1.34 3.29 0.76 แหลง่ เรยี นรู้เพิม่ เตมิ 4. จำนวนผเู้ รยี นต่อหอ้ งมากเกนิ ไป ทำใหผ้ สู้ อน 3.28 1.37 2.78 1.44 2.29 1.25 ดูแลไดไ้ ม่ท่ัวถึง 5. ผเู้ รยี นคดิ วา่ ภาษาจนี ยากเกนิ ไป ทำใหไ้ มอ่ ยากเรยี นตอ่ 3.91 1.12 3.44 1.42 3.43 1.27 (และไมเ่ ลือกใช้ภาษาจีนในการสอบแอดมิดชนั สำหรบั นักเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนปลายแผนการเรยี น ศลิ ปภ์ าษาจีน) รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา 91
จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าในโรงเรียนรัฐมีปัญหาด้านผู้เรียนอยู่ในระดับมาก 4 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือผู้เรียนคิดว่าภาษาจีนยากเกินไป ทำให้ไม่อยากเรียนต่อ และมีปัญหา ในระดบั ปานกลาง 1 ขอ้ ไดแ้ ก่ จำนวนผเู้ รยี นตอ่ หอ้ งมากเกนิ ไป ทำใหผ้ สู้ อนดแู ลไดไ้ มท่ วั่ ถงึ ในโรงเรยี น เอกชนมีปัญหาในระดับปานกลางท้ังหมด 5 ข้อ ขอ้ ทีม่ ีค่าเฉลีย่ สูงสดุ มี 2 ข้อคอื ผเู้ รยี นมรี ะดบั พนื้ ฐาน ความรู้ที่ไม่เท่ากัน ทำให้การจัดการเรียนการสอนทำได้ยากและผู้เรียนคิดว่าภาษาจีนยากเกินไป ทำให้ไม่อยากเรียนต่อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุดคือ จำนวนผู้เรียนต่อห้องมากเกินไป ทำให้ผู้สอนดูแล ไดไ้ ม่ทว่ั ถงึ ในโรงเรียนจนี มีปญั หาอยู่ในระดับปานกลาง 4 ข้อ ข้อทค่ี ่าเฉลยี่ สูงสุดมี 2 ขอ้ คือ ผู้เรียน ไมเ่ ห็นความสำคญั ในการเรยี นภาษาจนี ทำให้ไมต่ ้งั ใจเรยี นและผูเ้ รียนคดิ ว่าภาษาจนี ยากเกินไป ทำให้ ไม่อยากเรียนต่อ และมีปัญหาในระดับน้อย 1 ข้อ ซึ่งเป็นข้อที่ค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุดคือจำนวนผู้เรียน ต่อห้องมากเกินไป ทำใหผ้ ้สู อนดูแลไดไ้ มท่ วั่ ถงึ ตาราง 36 แสดงระดบั ของปญั หารายข้อในด้านความรว่ มมอื กับหน่วยงานอ่ืน ปญั หาด้านความรว่ มมอื กับหน่วยงานอืน่ โรงเรยี นรัฐ โรงเรยี นเอกชน โรงเรียนจีน χ SD χ SD χ SD 1. สถาบันขาดความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอก 2.76 1.26 2.80 1.45 2.29 0.95 (เชน่ โรงเรียนศูนย์เครอื ข่ายสง่ เสริมการเรียน การสอนภาษาจีน, ห้องเรียนขงจ่ือ) 2. การสนับสนนุ ท่ีไดร้ บั จากหน่วยงานภายนอก 2.90 1.22 2.83 1.39 2.43 0.98 ไมต่ รงกับความต้องการทเี่ ปน็ จรงิ 3. สถาบนั ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานภายนอก 2.94 1.25 3.02 1.41 3.00 1.29 แต่ไม่ต่อเนอื่ ง 4. สถาบันขาดหนว่ ยงานกลางในการประสานงาน 3.02 1.25 3.07 1.42 2.86 1.46 เพอ่ื สรา้ งความรว่ มมอื กับภายนอก 5. กระทรวงศึกษาธกิ ารของประเทศไทยขาด 3.00 1.26 3.24 1.48 2.71 1.11 ความร่วมมือกบั กระทรวงศึกษาธิการของประเทศจีน ในการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจนี ทเี่ ปน็ รปู ธรรม จากตารางข้างต้นจะเห็นว่า ในโรงเรียนรัฐมีปัญหาด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น อยู่ในระดับปานกลางท้ังหมด 5 ข้อ โดยข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุดใกล้เคียงกันมาก 2 ข้อคือสถาบันขาด หน่วยงานกลางในการประสานงาน เพื่อสร้างความร่วมมือกับภายนอก และกระทรวงศึกษาธิการของ ประเทศไทยขาดความร่วมมือกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารของประเทศจนี ในการพฒั นาการเรยี นการสอน 92 รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา
ภาษาจีนท่เี ปน็ รูปธรรม ข้อทม่ี ีค่าเฉลยี่ นอ้ ยสุดคือ สถาบนั ขาดความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอก ใน โรงเรียนเอกชนมีปัญหาในระดับปานกลางทั้งหมด 5 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ กระทรวง ศึกษาธิการของประเทศไทยขาดความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการของประเทศจีน ในการ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาจนี ทเี่ ป็นรูปธรรม ขอ้ ทีม่ คี า่ เฉล่ียน้อยทสี่ ดุ คือ สถาบนั ขาดความรว่ มมือ กับหน่วยงานภายนอก ในโรงเรียนจีนมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 3 ข้อ ข้อท่ีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ สถาบันได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกแต่ไม่ต่อเน่ือง และมีปัญหาในระดับน้อย 1 ข้อ ซ่งึ เป็นขอ้ ทคี่ ่าเฉลย่ี นอ้ ยท่ีสุดคือสถาบันขาดความรว่ มมอื กบั หน่วยงานภายนอก 4.8.2 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ในส่วนสุดท้ายของแบบสอบถามเป็นคำถามปลายเปิดที่ถามความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนท้ัง 6 ด้าน เป็นที่น่าสังเกตว่าผู้ตอบ แบบสอบถามให้ความร่วมมือในการตอบคำถามในส่วนน้ีเป็นจำนวนมาก แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบ แบบสอบถามตอ้ งการสะทอ้ นปัญหาที่เกิดขน้ึ จรงิ ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ซง่ึ สามารถสรุป ได้ดังตอ่ ไปนี ้ ตาราง 37 แสดงความถ่ขี องความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นการบริหารจัดการ ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านการบรหิ ารจดั การ ความถ ่ี โรงเรยี นรฐั ความคดิ เหน็ 1. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผทู้ ่เี กี่ยวข้องกับภาษาตา่ งประเทศไมใ่ หค้ วามสำคัญกับการสอนภาษาจนี 14 เท่าท่ีควร 3 2. ผูบ้ รหิ ารส่วนใหญเ่ น้นการบริหารจดั การแผนการเรยี นวิทย์-คณิตไมค่ อ่ ยให้ความสำคัญ 4 กบั ภาษามากนกั 3. ผู้บริหารโรงเรยี นไมค่ อ่ ยใหค้ วามสำคญั กบั ภาษาจีนมากเท่าท่คี วร และไมเ่ ขา้ ใจธรรมชาต ิ 2 ของภาษาจีนทำใหน้ โยบายขาดความตอ่ เนื่อง นกั เรียนจงึ ไม่ได้เรยี นภาษาจีนอย่างต่อเนอื่ ง 4 และจัดการเรยี นการสอนไดไ้ ม่เต็มท่ี เช่น วชิ าภาษาจนี เป็นเพยี งวิชาเลอื กสำหรบั ม.1 เทา่ นั้น 5 เมอ่ื เด็กนกั เรียนเหล่าน้ีขึน้ ไป ม.2 ก็ไม่มีการเปดิ วิชาจีนใหเ้ รยี นแล้ว และทำใหก้ ารเรียน ภาษาจนี นอ้ ยกวา่ เมือ่ เทยี บกบั โรงเรยี นอ่ืน 4. ขาดการดแู ลเอาใจใส่ภาษาจนี เทา่ ท่ีควรทำให้การเรยี นการสอนขาดประสทิ ธิภาพ 5. การบริหารจัดการด้านการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ยงั ไม่ชดั เจนและไมเ่ ป็นระบบ 6. ฝ่ายบรหิ ารของโรงเรยี นไม่ได้วางแผนรว่ มมอื แลกเปลย่ี นความคิดเห็นกบั ครผู สู้ อน อยา่ งเปน็ รูปธรรม ในการวางนโยบายในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี รวมถึง การจดั หลักสูตรและกิจกรรมภาษาจนี และขาดความชดั เจนในการบรหิ าร รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา 93
ตาราง 37 แสดงความถี่ของความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะด้านการบริหารจดั การ (ตอ่ ) ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านการบรหิ ารจดั การ ความถ ี่ 7. การบริหารจดั การดา้ นการเรียนการสอนภาษาจนี ในโรงเรียนในบางเรื่องไมไ่ ด้รบั 1 การประสานงานจากสว่ นกลางโดยตรง ทำให้เขา้ ใจไมช่ ดั เจนในการปฏบิ ัติในบางเรื่อง 2 8. ขาดการสนบั สนุนและความช่วยเหลอื ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ดา้ นต่างๆ 5 เนื่องจากโรงเรยี นอย่ไู กล 2 9. ขาดงบประมาณท่ีใช้ในการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจีน เช่น การบรหิ ารจดั การ 3 การจา้ งครสู อน การพัฒนาหอ้ งเรยี นภาษาจีน และการจดั กจิ กรรมดา้ นภาษาจนี 5 10. ขาดผเู้ ชีย่ วชาญเข้ามาช่วยในด้านการบรหิ ารจัดการ 1 11. ผบู้ รหิ ารหรอื ครไู ทยพดู ภาษาจีนไม่ได้ จึงไมส่ ามารถส่อื สารกับอาสาสมัครชาวจนี ได้ 12. ฝ่ายบริหารและฝ่ายวชิ าการใหค้ วามสำคญั กบั การจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนรวมถึง 15 กจิ กรรมและโครงการต่างๆ เป็นอย่างด ี 4 13. มีการบริหารจัดการด้านการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ระดับมธั ยมศกึ ษาไว ้ 1 อย่างมเี สถียรภาพเพอ่ื นำนักเรยี นไปสู่การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 2 ข้อเสนอแนะ 2 1. ผบู้ ริหารควรให้ความสำคญั กบั การเรียนภาษาจนี และสง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาษาจนี ใหม้ ากกว่าน้ี 1 2. ควรมกี ารจดั อบรมใหผ้ บู้ รหิ ารมีความรแู้ ละทักษะการส่ือสารภาษาจีน เขา้ ใจถงึ ความสำคัญ 7 ของภาษาจีน และการเรยี นการสอนภาษาจนี วา่ มปี ระโยชน์อยา่ งไรต่อประชาคมอาเซยี น 3. ควรมีการวางนโยบายลงมายังผูบ้ รหิ ารโดยตรงถึงความสำคัญของการเรียนการสอนภาษาจนี 1 4. ควรไดร้ บั การสนบั สนุนจากผู้บริหารเพอื่ ให้เกดิ การพฒั นาที่ดแี ละรวดเรว็ 4 5. ควรมีการประชมุ ผูบ้ ริหารเพื่อชี้แจงรายละเอยี ดด้านการบรหิ ารจัดการและแบง่ หนา้ ที่ ดา้ นการบริหารจดั การใหช้ ัดเจน 4 6. ระบบการบรหิ ารควรมคี วามคล่องตวั และยืดหยนุ่ 7. ควรมีการจดั ทำนโยบายและดำเนนิ นโยบายการบรหิ ารจดั การการเรียนการสอนภาษาจนี ท่มี ีความชัดเจนเป็นรูปธรรม เพอ่ื ให้ทุกโรงเรียนได้มีแนวทางและมาตรฐานเดียวกันและ สามารถพัฒนาได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง 8. ผูบ้ รหิ ารควรปรึกษาหารอื แนวทางการจัดการศึกษากบั ผู้สอนเพ่อื ใหผ้ ลการจัดการศกึ ษา มปี ระโยชน์และเข้าถึงนกั เรยี นอย่างแทจ้ ริง 9. ให้ผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งกบั การเรยี นการสอนภาษาจนี ต้งั แต่ผู้บริหารโรงเรยี นฝ่ายวชิ าการ ครผู ู้สอนนกั เรียน ผปู้ กครอง และสถาบนั ทีจ่ ดั ส่งอาสาสมัครมารว่ มมอื กนั วางแผนการจัด การเรียนการสอนภาษาจนี อยา่ งจริงจังและเปน็ ระบบเพอื่ สร้างความเข้าใจทีต่ รงกนั และ พัฒนาการจดั การเรียนการสอนที่มปี ระสทิ ธิภาพตอ่ ไป 10. ผบู้ ริหารควรให้การสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณสถานทอ่ี ุปกรณส์ ่อื ต่างๆ และการจัดกิจกรรม ตา่ งๆ ของภาษาจนี ให้มากขนึ้ 94 รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
ตาราง 37 แสดงความถ่ขี องความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นการบรหิ ารจดั การ (ตอ่ ) ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะดา้ นการบริหารจัดการ ความถี่ 11. อยากให้จดั งบประมาณในการสนบั สนนุ เพือ่ ใช้ในการพฒั นาหรอื เสริมสร้างใหผ้ สู้ อนและ 1 ผ้เู รยี นเหน็ ความสำคญั ของภาษาจีนยงิ่ ข้นึ 1 12. ควรสร้างบรรยากาศท่ีดีในการเรยี นการสอนภาษาจนี 1 13. ควรมีการประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอนภาษาอยา่ งมรี ะบบและปรบั ปรงุ /พัฒนา 1 การเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธิภาพย่งิ ขึ้น 1 14. ควรมผี ูท้ รี่ ับผดิ ชอบการบริหารจัดการ 1 ทา่ นเพื่อใหร้ ะบบการบริหารเป็นไปอยา่ งตอ่ เน่ือง 15. แตล่ ะโรงเรียนไม่สามารถจัดการไดเ้ หมอื นกนั เพราะความแตกต่างของสภาพแวดลอ้ ม 1 และสังคม 4 โรงเรยี นเอกชน ความคิดเหน็ 1 1. มีการบรหิ ารจัดการทีช่ ดั เจนและสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการเรยี นการสอน 2. ระบบการบริหารจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ยงั อยใู่ นเกณฑ์ทพ่ี อใช้ เพราะขาดบคุ ลากร 3 ทมี่ ีความรูค้ วามเข้าใจในแผนการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนทีด่ ีสำหรบั นกั เรียนมธั ยมศกึ ษา 1 ของประเทศไทย ข้อเสนอแนะ 1. โรงเรยี นควรสง่ เสริมบุคลากรใหม้ ีความรู้ด้านภาษาและเฉพาะทางเพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ และผลการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในทกุ ด้าน โรงเรยี นจีน ความคิดเห็น - ขอ้ เสนอแนะ 1. โรงเรยี นควรมผี นู้ ำท่มี คี วามรู้ในการบริหารจดั การเรยี นการสอนท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ควรมกี ารพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การให้มคี ุณภาพมากข้นึ รายงานการวจิ ัยเพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา 95
จากตารางข้างต้น โรงเรียนรัฐมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านการบริหารจัดการ ท้ังหมด 92 ข้อ ในจำนวนนี้ ความคิดเห็นท่ีมากที่สุด 2 อันดับแรกตรงกับข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2 อันดับในส่วนของระดับปัญหา อันดับแรกคือปัญหาเร่ืองการไม่ให้ความสำคัญกับภาษาจีนของ ผู้บริหาร จากความคิดเห็นท้ังหมดในงานวิจัยน้ีมีมากกว่าคร่ึงท่ีเห็นว่าผู้บริหารหรือฝ่ายบริหารของ โรงเรียนไม่ให้ความสำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีนเท่าท่ีควร ซ่ึงทำให้นโยบายขาดความต่อเน่ือง และส่งผลให้การเรียนการสอนภาษาจีนไม่ต่อเน่ืองและขาดประสิทธิภาพ สอดคล้องกับผลการวิจัย ของ ซานซาน เปา (2555) ทพ่ี บวา่ ผบู้ รหิ ารไมใ่ หค้ วามสำคญั ในดา้ นนโยบายการเรยี นการสอนภาษาจนี ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในด้านต่างๆ จากปัญหาดังกล่าวมีข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญของภาษาจีนและให้จัดการเรียนมีความต่อเนื่องมากข้ึน ควรจัด อบรมความรู้เก่ียวกับประเทศจีนและความสำคัญของภาษาจีนให้แก่ผู้บริหาร เพื่อให้ผู้บริหารเข้าใจ และตระหนักถงึ แนวโน้มของอิทธิพลประเทศจีนและความสำคัญของภาษาจีนมากขนึ้ รองลงมาคือปัญหาของระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนที่ยัง ไม่ชัดเจน และไม่เป็นระบบ เช่น ผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการเรียนการสอนภาษาจีนไม่ได้มีส่วนร่วม ในการบรหิ ารจัดการเท่าที่ควร และปญั หาการประสานงานกบั หน่วยงานกลาง สว่ นใหญ่โรงเรียนตา่ งๆ เสนอแนะว่าควรจะมีการจัดทำแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนท ่ี เปน็ ระบบชดั เจน และเปน็ มาตรฐานเดียวกันทกุ โรงเรียน โดยใหผ้ ู้มีส่วนเกยี่ วขอ้ งกับการเรียนการสอน ภาษาจนี เข้ามามสี ว่ นร่วมทง้ั หมด และมีผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นการบรหิ ารจัดการเข้ามาชว่ ยเหลือ นอกจากนี้ ยงั มบี างสว่ นทีม่ ีปัญหาเรือ่ งของการขาดงบประมาณในการบริหารจดั การการเรยี นการสอนภาษาจนี สำหรับโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีนไม่มีข้อคิดเห็นในเร่ืองผู้บริหารท่ีไม่ให้ความ สำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีน ซึ่งตรงกับค่าเฉล่ียในข้อดังกล่าวในส่วนหน้าท่ีอยู่ในระดับน้อย ดังน้ัน ปัญหาในด้านนี้จึงไม่มาก โดยเฉพาะโรงเรียนจีนซึ่งเป็นโรงเรียนท่ีเน้นการสอนภาษาจีนอยู่แล้ว ผู้บริหารจึงให้ความสำคัญเป็นธรรมดา แต่ความคิดเห็นส่วนใหญ่เสนอแนะว่าโรงเรยี นควรมีบคุ ลากรท่ี มีความรู้ท้ังทางด้านการบริหารจัดการและด้านภาษาจีน ถึงแม้ว่าความถ่ีของข้อเสนอแนะอาจไม่มาก แต่ก็ถือว่าสอดคล้องกับปัญหาที่ค่าเฉล่ียสูงสุดในส่วนของระดับปัญหา นั่นก็คือสถาบันขาดระบบการ บริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนที่ดี ซ่ึงสาเหตุเกิดจากการขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี น่ีเอง จึงจำเป็นต้องมีบุคลากรท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการบริหารจัดการมาช่วยให้ระบบ การบรหิ ารจัดการมปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึน 96 รายงานการวิจยั เพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
ตาราง 38 แสดงความถ่ีของความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะด้านหลกั สูตร ความถี่ ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะด้านหลกั สตู ร โรงเรียนรฐั ความคดิ เหน็ 1. ใช้หลกั สตู รแกนกลางฯ ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี 3 2. ใชห้ ลกั สตู รแกนกลางฯ แตม่ กี ารปรบั ใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั และความเหมาะสม 4 ของผเู้ รยี น 3 3. หลกั สูตรแกนกลางฯ ดี สามารถใช้ไดท้ ุกโรงเรียนทีม่ ีความพร้อมและความสามารถ 3 ทางการเรียนไม่เท่ากัน 4 4. ไมไ่ ด้ใช้หลักสูตรแกนกลางฯ เนอ่ื งจากแต่ละโรงเรียนทส่ี ภาพการเรยี นการสอนท่ไี มเ่ หมอื นกนั 2 5. ไม่ได้ใชห้ ลักสตู รแกนกลางฯ สอนตามหนังสอื เป็นหลัก 4 6. ครอู าสาสมัครใช้หลักสตู รทอ่ี า้ งอิงจากรฐั บาลจนี หรอื กำหนดเนอื้ หาไมเ่ หมือนกนั 1 7. ไม่มหี ลกั สูตรภาษาจีน 3 8. มกี ารปรบั เปลีย่ นหลักสตู รภาษาจีนอยู่เสมอ แตล่ ะปีการศึกษาไมแ่ น่นอน 4 9. หลักสูตรแกนกลางฯ ไมไ่ ด้ปรับปรุงให้ทนั กบั เหตุการณ์ปจั จุบนั 5 10. หลักสตู รแกนกลางฯ มเี นอ้ื หาและแนวทางการสอนทีไ่ ม่ชดั เจน 18 11. หลกั สตู รไม่มีความตอ่ เนือ่ ง ไม่เช่ือมต่อกัน ตอ้ งเร่ิมใหม่เมอ่ื จบช้ันปที ำให้นกั เรยี นเรยี นซ้ำ 5 เร่ืองเดมิ ทุกชว่ งช้นั 8 12. หลกั สูตรแกนกลางฯ มีสาระการเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั ทย่ี ากเกินไป นำมาปรบั ใช้ยาก 3 13. หลักสตู รแกนกลางฯ ยังไม่มีความสมบรู ณ์ 1 14. หลก้ สตู รแกนกลางฯ มีเนอ้ื หาทไี่ ม่สอดคล้องกบั ระดบั ความรแู้ ละความต้องการของผเู้ รยี น 3 15. หลักสูตรแกนกลางฯ ไมเ่ หมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มและนกั เรยี นท่ีแตกต่างกนั ไมส่ ามารถ 7 ทำใหผ้ เู้ รียนมสี มรรถนะตามท่หี ลักสตู รต้องการได ้ 16. หลกั สูตรเน้นใหผ้ เู้ รียนทำข้อสอบมากกวา่ ฝกึ ทักษะในด้านการสื่อสาร 2 17. มาตรฐานและตัวชี้วดั ในหลักสูตรแกนกลางฯ นำบริบทของภาษาองั กฤษมาเปน็ ต้นแบบ 1 แตบ่ างสถานการณไ์ ม่สามารถใชไ้ ด้จรงิ ในวฒั นธรรมจีน 9 18. ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลยั pat 7.4 ยากเกนิ ไปและเน้อื หาในข้อสอบไมส่ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร แกนกลางฯ เชน่ ไวยากรณ์ในข้อสอบยงั ไม่เคยเรียน ข้อสอบวัฒนธรรมจำนวนมาก ทำให้นักเรียนไม่มกี ำลงั ใจทจ่ี ะใช้ภาษาจีนสอบ และขอ้ สอบไม่สามารถวัดระดบั ความรภู้ าษาจนี ของนักเรยี นได้จรงิ 19. ไม่มีการประเมินเพื่อปรับปรงุ การใช้หลกั สูตร 20. ครอู าสาสมัครหรือครชู าวจีนไม่เขา้ ใจหลกั สตู รฉบับภาษาไทย 21. ครภู าษาจีนและฝ่ายวชิ าการไมม่ ีความชำนาญในการเขยี นหลักสูตรภาษาจีน และขาดผเู้ ชีย่ วชาญในการแนะนำการจัดทำและตรวจสอบหลักสูตร รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศึกษา 97
ตาราง 38 แสดงความถี่ของความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านหลักสตู ร (ตอ่ ) ความถี ่ 1 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านหลกั สูตร 1 22. ไมม่ กี ารวางแผนเก่ียวกับการเปดิ หลักสตู รแผนการเรยี นสายศลิ ปอ์ ย่างชัดเจน 1 23. นกั เรียนตอ้ งจ่ายคา่ เรียนเพ่อื เรยี นภาษาจีนรัฐควรสนบั สนุนใหเ้ รียนพ้ืนฐานฟร ี 8 24. เปดิ การเรยี นการสอนภาษาจนี มากเกินไปทำให้ขาดประสทิ ธภิ าพในการเรียนการสอน 1 25. จำนวนชวั่ โมงท่โี รงเรียนเปิดสอนไม่เพียงพอ ทำให้การเรียนการสอนไม่ไดผ้ ลเท่าทคี่ วร 1 26. จำนวนคาบในการเรียนการสอนแต่ละปีการศึกษาไมเ่ ทา่ กนั 27. ไม่มงี บประมาณจดั ทำเลม่ หลักสูตร 5 ขอ้ เสนอแนะ 4 1. ควรมีการปรับปรงุ หลกั สูตรเสมอเพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลยี่ นแปลงในปจั จบุ ัน 10 และประชาคมอาเซยี น 5 2. ควรใชห้ ลกั สูตรและแผนการสอนที่เหมือนกนั ท่วั ประเทศโดยให้ความยากง่ายอยู่ในระดบั 2 กลางๆ ครูสามารถเพิม่ ลดและยดื หยุ่นใหเ้ หมาะกบั นกั เรยี นของตัวเองได้ 11 3. ควรจัดการดา้ นหลักสตู ร-แบบเรยี น-แผนการสอนทีเ่ หมาะสม สำเร็จรปู ชัดเจน 6 และเปน็ แบบเดียวกันทุกโรงเรยี น-ทกุ สังกดั 4. หลกั สตู รควรมคี วามตอ่ เน่อื งและเน้นตามความต้องการของนักเรยี น 1 5. อยากให้หลกั สตู รมคี วามหลากหลายตง้ั แต่ระดบั พน้ื ฐานไปจนถงึ ระดบั สงู 4 6. อยากให้กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ทำหลักสูตรที่สอดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมและสภาพจริง 2 ของผ้เู รยี นจีนพร้อมกบั มหี นงั สอื และสอ่ื ทีเ่ หมาะสมกับผูเ้ รียน 7. ควรจดั ทำหลักสตู รทมี่ สี าระการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัดหรือผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวังในแต่ละระดับ 1 ให้เหมือนกนั ท้งั ประเทศเพอ่ื ให้นักเรียนได้เรยี นเนอื้ หาทเ่ี หมอื นกัน มคี วามรู้และสามารถ 3 ไปสอบแขง่ ขันในระดับประเทศไดอ้ ยา่ งเท่าเทยี ม 1 8. สพฐ.ควรมีหลกั สตู รแกนกลางดา้ นภาษาจีนแยกตา่ งหากจากภาษาอังกฤษเพราะภาษาจีน 1 เริ่มสอนทรี่ ะดับมัธยมไมไ่ ด้สอนมาตั้งแต่ระดับประถม 2 9. ควรมีหลกั สตู รกลางเฉพาะส่วนภาษาจีนจากกระทรวงศึกษาธิการตั้งแตร่ ะดบั ม.ต้นและ ม.ปลายทั้งวชิ าเลือกและวิชาแผนการเรียนภาษาจนี 10. ควรจัดทำ 2 หลกั สตู รคอื หลักสตู รสำหรับผู้เรียนทไ่ี มม่ พี นื้ ความรู้ภาษาจีนและหลักสตู ร สำหรับผู้เรยี นท่เี คยเรียนภาษาจีน 11. ควรทำหลักสูตรสำหรับวิชาเพมิ่ เติม 12. หลักสตู รควรเนน้ การเนื้อหาทน่ี ำไปใช้ได้จรงิ ในชีวิตประจำวนั 13. ควรกำหนดจำนวนคำศัพทส์ ำหรบั ผเู้ รียนในแต่ละระดับชั้นใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกนั 14. ควรมีคมู่ อื การสอนใหโ้ รงเรยี นท่เี ปดิ สอนภาษาจีน 15. ควรจดั ทำหลกั สูตรฉบบั ภาษาจนี เพอื่ ใหค้ รชู าวจีนเข้าใจหลักสตู รมากข้ึน และได้ศึกษาก่อนสอนจรงิ 98 รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
ตาราง 38 แสดงความถี่ของความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นหลกั สตู ร (ตอ่ ) ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นหลักสตู ร ความถ่ ี 16. ควรมีการประชุมรว่ มกันทุกฝา่ ยเช่น ผ้สู อนฝา่ ยวชิ าการและฝ่ายบริหารเรอ่ื งการจัดทำหลกั สตู ร 1 17. ควรทำหลักสูตรรว่ มกันในแตล่ ะศูนย์เครือขา่ ยส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน 1 เพ่ือใหเ้ ป็นไปในแนวทางเดยี วกัน 8 18. ควรมกี ารสมั มนาและอบรมการจดั ทำหลกั สูตรภาษาจีนให้แเก่ครเู พอ่ื พฒั นาและแลกเปลย่ี น 2 เรยี นร้ใู นดา้ นการจดั ทำหลกั สูตร 3 19. ควรได้รับการพัฒนาและใหผ้ เู้ ชีย่ วชาญตวรจสอบเพ่ือทำการปรับปรุงให้ไดม้ าตรฐาน 1 20. ตอ้ งการครูไทยเอกจีนเพือ่ ช่วยดแู ลการจดั ทำหลักสูตรใหเ้ หมาะสม 4 21. ควรมที มี จัดทำหลกั สตู รวางแผนต่อเนอื่ งเพ่ือเปน็ แนวทางใหค้ รูผู้สอนได้นำไปใช้ 2 เป็นแนวทางเดยี วกัน 22. ควรพัฒนาหลักสตู รในด้านการฟังและการสนทนา 4 23. ในระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลายควรสอดแทรกวชิ า HSK กบั วิชา HSKK เขา้ ไปด้วย 1 และควรกำหนดใหน้ ักเรยี นตอ้ งสอบผา่ น HSK หรอื HSKK เพอ่ื ประโยชนใ์ นการนำไปใช้ 4 และความมนั่ ใจ 5 24. การจดั การเรียนการสอนภาษาจีนไมค่ วรบังคบั ทกุ คนหรอื ทกุ ระดับช้นั ควรใหต้ ามความสนใจ มฉิ ะน้นั นกั เรยี นจะไมส่ นใจเรยี น 25. แผนการเรยี นศิลป์ภาษาจีนควรมกี ารจัดการเรยี นการสอนอย่างน้อย8 คาบ/สปั ดาห ์ 2 26. ควรจดั เวลาเรียนใหเ้ พียงพอตามสภาพความเปน็ จริง 1 27. กระทรวงศึกษาธิการควรเผยแพรห่ ลกั สตู รให้มากขึ้น ควรแจกเลม่ หลกั สตู รตามโรงเรยี น 1 ทกุ โรงเรยี นอย่างท่ัวถึง 1 โรงเรียนเอกชน ความคดิ เห็น 1 1. หลักสตู รท่ีใชส้ อดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 มีความชดั เจนเข้าใจงา่ ยและครอบคลมุ การฝกึ ทกั ษะท้งั 4 ดา้ น 2. มกี ารใชห้ ลักสูตรในการจดั การเรียนการสอนโดยบรษิ ทั ทรู คลกิ ไลนท์ ีม่ ีความสามารถ มคี วามเหมาะสมกับชว่ งชน้ั และวยั ของนกั เรียน 3. หลกั สูตรมีความต่อเนื่องดี 4. หลกั สูตรมกี ารจดั ทำในหมวดภาษาต่างประเทศและนำมาปรับใช้กบั รายวชิ าภาษาจีน ข้อเสนอแนะ 1. หลกั สตู รแกนกลางฯ ควรมีเนอ้ื หาในหลักสูตรเพม่ิ เตมิ สำหรับภาษาตา่ งประเทศในเร่อื งของ วฒั นธรรมประวตั ิของภาษานน้ั ๆ เป็นตน้ เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้เขา้ ใจและเรียนรขู้ นบประเพณ ี และวัฒนธรรมของชาตนิ นั้ ๆ เพื่อความเข้าใจในการเรยี นภาษาดีขนึ้ รายงานการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา 99
ตาราง 38 แสดงความถี่ของความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะดา้ นหลักสูตร (ตอ่ ) ความถี ่ 1 ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านหลักสูตร 1 2. ควรมผี ูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นหลักสตู รภาษาจีนในสถานศึกษาเพ่อื การปรบั ปรงุ หลกั สูตรใหเ้ ข้ากับ สถานศกึ ษานัน้ ๆ 3. ควรมีงบประมาณในการไปจดั กจิ กรรมภาษาจีนนอกโรงเรียน โรงเรียนจีน 1 ความคิดเห็น 1 - 1 ข้อเสนอแนะ 1 1. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรมหี ลักสูตรภาษาจนี ในแต่ละระดบั ชน้ั ใหช้ ดั เจนมากกว่าน้ี 2. ควรมีเนอื้ หาที่ทันสมัยนักเรยี นสามารถนำไปต่อยอดได ้ 3. ร่วมกนั พัฒนาหลักสตู รอบรมสถานศกึ ษาในการใชห้ ลกั สตู รนเิ ทศ-ติดตามการพฒั นา ทีต่ ่อเน่ืองและเช่ือมโยงกับการศึกษาต่อในระดับสงู ขน้ึ 4. การเรียนภาษาจนี ควรได้รับการสง่ เสริมและสนับสนนุ เทยี บเทา่ ภาษาอังกฤษ จากตารางข้างต้น โรงเรียนรัฐมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรจำนวน 200 ข้อ ซ่ึงส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาของหลักสูตรแกนกลางฯ เน่ืองจากหลักสูตร แกนกลางฯ ท่ีมีสาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ียากเกินไป นำไปปรับใช้ได้ยากไม่สอดคล้องกับระดับ ความรู้ที่แตกต่างกัน และความต้องการของนักเรียน มีแนวทางการสอนท่ีไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับ แบบเรียนที่ใช้ และมีการนำบริบทของภาษาอังกฤษมาเป็นต้นแบบซ่ึงไม่เหมาะสมกับการเรียน การสอนภาษาจีน จึงไม่สามารถทำให้ผู้เรียนมีสมรรถนะตามที่หลักสูตรต้องการได้ อีกทั้งยัง ไมส่ อดคล้องกับเนอื้ หาในขอ้ สอบ PAT 7.4 วชิ าภาษาจนี และไม่ได้มีการประเมินการใชห้ ลกั สตู รเพอ่ื ปรบั ปรงุ ใหท้ นั สมยั โรงเรยี นบางสว่ นจงึ ไมไ่ ดใ้ ชห้ ลกั สตู รแกนกลางฯ ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี และไม่มีการจัดทำหลักสูตรของตนเอง ดังนั้น จึงมีข้อเสนอแนะว่าควรมีการปรับปรุงหลักสูตรเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน หลักสูตรควรเน้นความต้องการของ ผู้เรียนเน้นทักษะการสื่อสาร และเนื้อหาที่สามารถนำไปใช้จริง ซ่ึงอยู่ในระดับกลางๆ ที่ครูแต่ละ โรงเรียนสามารถเพ่ิมลด และยืดหยุ่นให้เหมาะกับนักเรียนของตัวเองได้ และมีแบบเรียนคู่มือครู แผนการสอน และส่ือการสอนที่เหมาะสม สำเร็จรูป ชัดเจน และเป็นแบบเดียวกันทุกโรงเรียน ทุกสังกัด และควรจัดทำหลักสูตรเฉพาะของแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีน หรือของวิชาเลือกเพ่ิมเติม โดยเฉพาะ พร้อมท้ังแปลเป็นภาษาจีนเพ่ือให้ครูชาวจีนมีความเข้าใจในหลักสูตรมากขึ้น และเผยแพร่ 100 รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา
แก่โรงเรียนทุกแห่งอย่างท่ัวถึง เช่นเดียวกับงานวิจัยของ อรอนงค์ รัศมีรังสีเหลือง (2546) และ มุขรินทร์ หวง (2551) ที่เสนอให้มีหลักสูตรแกนกลางฯ ท่ีโรงเรียนสามารถนำไปใช้ในการเรียน การสอนได้จริง พร้อมจัดทำคู่มือ อบรมการใช้หลักสูตรแกนกลางฯ และควรมีข้อสอบท่ีสอดรับกับ หลักสูตรแกนกลางฯ นอกจากน้ี ยังมีข้อเสนอแนะในการจัดทำหลักสูตรของโรงเรียนเองหรือของ โรงเรียนกลุ่มเครือข่าย โดยจะต้องเป็นความร่วมมือของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง มีการอบรมสัมมนาเร่ือง การจัดทำหลักสูตรให้แก่ครู และต้องมีผู้เช่ียวชาญมาช่วยแนะนำและตรวจสอบ ท้ังน้ี ข้อเสนอแนะ ดังกล่าวตรงกับปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในส่วนของระดับปัญหา ซึ่งก็คือขาดผู้เช่ียวชาญในการจัดทำ หลกั สตู รภาษาจนี ทเ่ี หมาะสมกบั สถาบนั ของตนเอง ดงั นน้ั จงึ กลา่ วไดว้ า่ เนอื่ งจากหลกั สตู รแกนกลางฯ ค่อนข้างมีปัญหา โรงเรียนจำนวนมากจึงต้องการพัฒนาหลักสูตรของตนเอง แต่โรงเรียนก็ขาด ผเู้ ชย่ี วชาญทจ่ี ะใหค้ ำแนะนำในการจดั ทำหลกั สตู ร ผลการสำรวจของทง้ั สองสว่ นจงึ ถอื วา่ สอดคลอ้ งกนั ส่วนปัญหาด้านอื่นๆ เช่น จำนวนชั่วโมงเรียนท่ีน้อยเกินไปไม่เพียงพอต่อการเรียน การสอน และปัญหาการจัดรายวิชาภาษาจีนเป็นวิชาบังคับ ได้มีข้อเสนอแนะว่าควรจะเพิ่มจำนวน ช่ัวโมงให้เหมาะสมตามสภาพความเป็นจริง และไม่ควรจัดรายวิชาภาษาจีนเป็นวิชาบังคับ ควรให้ นกั เรียนเลือกเรยี นตามความสนใจ สำหรับโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีนโดยรวมมองว่าหลักสูตรแกนกลางฯ ไม่มี ปัญหาอะไรมากนัก ส่วนใหญ่ก็ยังคงมุ่งเน้นไปท่ีเรื่องการพัฒนาหลักสูตรของตนเอง ซึ่งการพัฒนา หลักสูตรเองจำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญให้การแนะนำเพื่อให้ได้หลักสูตรท่ีเหมาะสมกับสภาพการเรียน การสอนของโรงเรียนตนเอง ดังนั้น ผู้วิจัยพิจารณาแล้วเห็นว่าความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในส่วนนี้ สอดคล้องกับปัญหาที่ค่าเฉล่ียสูงสุดในส่วนของระดับปัญหา คือขาดผู้เช่ียวชาญในการจัดทำหลักสูตร ภาษาจีนท่เี หมาะสมกับสถาบนั ของตนเอง รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา 101
ตาราง 39 แสดงความถข่ี องความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดา้ นสอ่ื การสอน ความถ่ ี ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านสื่อการสอน 1 โรงเรยี นรัฐ 3 ความคิดเห็น 2 1. หนงั สอื ทใี่ ชส้ ำหรบั สอนเนอ้ื หายงั ไมส่ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู รทกี่ ระทรวงศกึ ษาไดว้ างไวเ้ นอ้ื หา 2 ตรงกบั ตวั ชว้ี ดั คอ่ นขา้ งนอ้ ย 3 2. หนงั สอื ไมส่ อดคลอ้ งกบั สภาพการเรยี นการสอนจรงิ 5 3. หนงั สอื เรยี นในทกุ ระดบั ชน้ั ไดจ้ ากการคน้ หาทางอนิ เตอรเ์ นต็ โดยครผู สู้ อนเปน็ คนจดั ทำเอง 1 เลอื กหาบทเรยี นเนอื้ หาใหเ้ ขา้ กบั ความรคู้ วามเหมาะสมของเดก็ 10 4. หนงั สอื เรยี นราคาแพงมากเกนิ ไป 13 5. หนงั สอื เรยี นมไี มเ่ พยี งพอกบั จำนวนนกั เรยี น นกั เรยี นตอ้ งถา่ ยเอกสารเอง ทำใหไ้ มน่ า่ สนใจ 1 6. ขาดหนงั สอื คน้ ควา้ เพมิ่ เตมิ และหอ้ งสมดุ คน้ ควา้ ดา้ นภาษาจนี 14 7. สอื่ การสอนภาษาจนี ไมน่ า่ สนใจ 1 8. สอ่ื การสอนภาษาจนี ในประเทศไทยมนี อ้ ยมาก หาซอ้ื คอ่ นขา้ งลำบาก 5 9. ขาดสอื่ การสอนทที่ นั สมยั และเปน็ ประโยชนโ์ ดยตรงจรงิ ๆ 19 10. ขาดสอ่ื การสอนทเ่ี หมาะกบั ชว่ งวยั ของผเู้ รยี น 4 11. ขาดสอื่ การสอนทห่ี ลากหลาย ซงึ่ จะชว่ ยเพมิ่ ความสนใจในการเรยี นการสอนภาษาจนี 3 12. ขาดสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ช่ี ว่ ยในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองเพอ่ื พฒั นาภาษาจนี ตามศกั ยภาพ 15 ของนกั เรยี นแตล่ ะคน 1 13. ขาดสอื่ การสอนและอปุ กรณก์ ารสอนและการทำกจิ กรรมดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมจนี เชน่ ชดุ จนี 15 พดั จนี พกู่ นั จนี 1 14. สอ่ื การสอนและอปุ กรณก์ ารสอนไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ 1 15. ไดร้ บั สอ่ื การสอนไมท่ ว่ั ถงึ ไดเ้ ฉพาะโรงเรยี นประจำจงั หวดั 16. ครตู อ้ งเปน็ คนผลติ และจดั หาสอ่ื การสอนตา่ งๆ เอง เนอื่ งจากฝา่ ยบรหิ ารไมใ่ หค้ วามสนใจและ 7 ไมไ่ ดใ้ หง้ บประมาณสนบั สนนุ 3 17. ขาดหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาทมี่ สี อ่ื มลั ตมิ เี ดยี 18. ไมม่ หี อ้ งศนู ยภ์ าษาจนี จงึ ขาดสอ่ื การสอนและสถานทใี่ นการดแู ลการจดั การเรยี นการสอน 19. ขาดงบประมาณในการสนบั สนนุ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ชน่ โปรเจกเตอรค์ อมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งเสยี ง 20. ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก HANBAN 21. ไดร้ บั งบประมาณจาก สพฐ. และโรงเรยี นบางสว่ น ขอ้ เสนอแนะ 1. กระทรวงควรใหท้ กุ โรงเรยี นใชห้ นงั สอื เรยี นแบบเดยี วกนั ทวั่ ประเทศเพอ่ื จะไดส้ ามารถวดั ระดบั ความรขู้ องผเู้ รยี นไดเ้ หมอื นๆ กนั 2. ควรมหี นงั สอื ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพการเรยี นการสอนจรงิ 102 รายงานการวิจัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศึกษา
ตาราง 39 แสดงความถ่ีของความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะด้านสอ่ื การสอน (ตอ่ ) ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นสือ่ การสอน ความถ ี่ 3. ควรมหี นงั สอื ทนี่ า่ สนใจและเนน้ การนำไปใชไ้ ดจ้ รงิ 1 4. ควรผลติ สอ่ื การเรยี นการสอนทหี่ ลากหลายมากกวา่ นี้ เชน่ ดา้ นทกั ษะตา่ งๆ ดา้ นวฒั นธรรม 10 5. ควรผลติ สอ่ื การเรยี นการสอนภาษาจนี ทที่ นั สมยั มากขนึ้ เชน่ สอื่ ICT 12 6. ควรผลติ สอื่ การสอนทเ่ี หมาะสมกบั ชว่ งวยั ของผเู้ รยี น 5 7. ควรปรบั ปรงุ สอ่ื การสอนใหส้ มั พนั ธก์ บั หลกั สตู ร 1 8. ควรสนบั สนนุ ใหม้ หี อ้ งเรยี นปฏบิ ตั กิ ารสำหรบั ภาษาจนี โดยเฉพาะ และมสี อ่ื และอปุ กรณ ์ 8 ทที่ นั สมยั เพอ่ื ใชแ้ หลง่ เรยี นรแู้ ละสบื คน้ ขอ้ มลู 1 9. อยากไดศ้ นู ยภ์ าษาจนี 2 10. อยากไดง้ บประมาณสนบั สนนุ สอ่ื การเรยี นการสอนทจ่ี ำเปน็ ในโรงเรยี นทข่ี าดแคลน 15 11. อยากใหก้ ระทรวงหรอื สพฐ. สง่ สอื่ การสอน ไมว่ า่ จะเปน็ หนงั สอื เรยี นสอื่ การสอนหรอื 5 สนบั สนนุ งบประมาณใหท้ กุ โรงเรยี นบา้ งอยา่ งทวั่ ถงึ และเปน็ ไปในทางเดยี วกนั ทงั้ ระบบ 1 12. อยากใหร้ ฐั บาลจนี Hanban หรอื สถาบนั ขงจอื่ สนบั สนนุ ดา้ นสอื่ การสอนอยา่ งสมำ่ เสมอ 1 13. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรมกี ารสำรวจการใชส้ อ่ื การสอนของสถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ กอ่ นสนิ้ ป ี การศกึ ษาประมาณ 2 เดอื นเพอ่ื เตรยี มการจดั สรรงบประมาณใหท้ นั กอ่ นเปดิ ภาคเรยี น 1 14. ผบู้ รหิ ารตอ้ งสง่ เสรมิ สอื่ การสอนอเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารอปุ กรณท์ างเทคโนโลยตี า่ งๆ 1 ในการสอนภาษาจนี เชน่ ใหง้ บประมาณครเู พอื่ ผลติ และจดั หาสอ่ื การสอนทไ่ี มเ่ พยี งพอ ตอ่ ความตอ้ งการของผเู้ รยี น 15. ควรจดั การอบรมเรอื่ งสอื่ การเรยี นการสอนใหค้ รผู สู้ อนทกุ ภาคเรยี นระยะสน้ั และมกี ารจดั เวท ี 2 แลกเปลยี่ นเรยี นรงู้ านสอ่ื นวตั กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภาษาจนี 1 16. อยากใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งมกี ารจดั ทำสอ่ื การเรยี นการสอนใหแ้ กโ่ รงเรยี นในเครอื ขา่ ยเพอ่ื 1 ให้ รร. ในเครอื ขา่ ยสามารถนำสอื่ การสอนแนวใหม่ หรอื สอ่ื การเรยี นทส่ี ามารถนำไปสอนเพม่ิ เตมิ จากเนอื้ หาในบทเรยี นทมี่ อี ยไู่ ดเ้ พม่ิ มากขนึ้ 1 โรงเรยี นเอกชน 1 ความคดิ เหน็ 1. ไมม่ สี อ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละอปุ กรณส์ อื่ มลั ตมิ เี ดยี เชน่ สอื่ Powerpoint VDO ในการจดั การเรยี นการสอน 2. สอ่ื การเรยี นการสอนภาษาจนี ไมเ่ พยี งพอตอ่ ผเู้ รยี นใหผ้ เู้ รยี นขาดความสนใจในการเรยี นร ู้ 3. มหี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารและมสี อื่ การสอนทเี่ หมาะสมและเพยี งพอตอ่ ผเู้ รยี น ขอ้ เสนอแนะ 1. ตอ้ งการหนงั สอื เกย่ี วกบั สอบวดั ระดบั YCT เพราะในประเทศไทยหายากและมนี อ้ ยมาก 2. ควรมหี อ้ ง Sound lab สำหรบั เนน้ ดา้ นการฟงั รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา 103
ตาราง 39 แสดงความถ่ีของความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นส่อื การสอน (ตอ่ ) ความถ่ ี 5 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดา้ นส่อื การสอน 3. ควรพฒั นาสอ่ื ทที่ ำใหผ้ เู้ รยี นรสู้ กึ สนใจและสนกุ กบั การเรยี นภาษาจนี โดยเนน้ ความหลากหลาย และความสอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาทเี่ รยี นและวยั ของผเู้ รยี น 2 โรงเรยี นจนี 1 ความคดิ เหน็ - ขอ้ เสนอแนะ 1. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรผลติ สอ่ื การสอนภาษาจนี ทห่ี ลากหลาย และสอื่ การสอนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ เพม่ิ เตมิ 2. ควรสนบั สนนุ สอ่ื เทคโนโลยแี ละอนิ เทอรเ์ นต็ ทสี่ ามารถดาวโหลดสอ่ื ตา่ งประเทศมาเสรมิ กจิ กรรมการเรยี นได ้ จากตารางขา้ งต้น โรงเรยี นรัฐมีความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะด้านสื่อการสอนจำนวน 194 ข้อ ซ่ึงส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่ามีปัญหาเร่ืองส่ือการสอนที่มีน้อย หายาก ไม่หลากหลาย ไม่ทันสมัย ไม่น่าสนใจ ไม่เหมาะกับช่วงวัยของผู้เรียน และไม่เพียงพอต่อความต้องการ ซ่ึงส่งผลต่อ ความสนใจในวิชาภาษาจีนของผู้เรียน ดังนั้น จึงให้ข้อเสนอแนะว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะมี การพัฒนาและผลิตส่ือการสอนอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยและหลากหลาย โดยเน้นเน้ือหาด้านภาษา ดา้ นทักษะ ดา้ นวฒั นธรรมแบ่งตามช่วงวยั ของผูเ้ รียน และสมั พันธ์กับหลักสูตรแกนกลางฯ และเปน็ ไป ในแนวทางเดียวกันทั้งประเทศ หรือให้งบประมาณให้ผลิตส่ือแก่โรงเรียนหรือครู เนื่องจากโรงเรียน ส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า ส่ือการสอนที่ดีเป็นปัจจัยทำให้นักเรียนเข้าใจภาษาจีนได้ดีย่ิงข้ึน และช่วยเพ่ิม ความสนใจในการเรยี นการสอนภาษาจนี มากข้ึน นอกจากนี้ ปัญหาที่สำคัญอีกประการก็คือ ขาดห้องปฏิบัติการทางภาษา อุปกรณ์ การสอน อุปกรณ์ทำกิจกรรม และอุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ หลายโรงเรียนจึงเสนอว่าหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องหรือโรงเรียนควรสนับสนุน หรือจัดงบประมาณสำหรับการจัดสร้างห้องปฏิบัติการทางภาษา อปุ กรณก์ ารสอน อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม และอปุ กรณเ์ ทคโนโลยตี า่ งๆ เพราะสงิ่ สนบั สนนุ การเรยี น การสอนเหล่าน้ีมีส่วนช่วยพัฒนาและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเช่นเดียวกัน ซึ่งสอดคล้องกับ งานวจิ ยั ของ ภาวิณี บุญทา (2545) และเฝิง บินบนิ (2554) ทเ่ี สนอให้เพิม่ งบประมาณในการจัดซ้อื ส่ือการสอนให้มากขึ้น นอกจากนี้ จากความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังกล่าวจะเห็นว่าตรงกับปัญหา 104 รายงานการวิจัยเพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
ทีม่ ีค่าเฉล่ยี สงู สดุ 3 อนั ดบั แรกในสว่ นของระดบั ปัญหา ไดแ้ ก่ ไมม่ ีงบประมาณเพียงพอในการจดั การ ซ้ือสื่อการสอน ขาดแคลนส่ือการสอนอิเล็กทรอนิกส์ และขาดส่ือการสอนภาษาจีนที่ทันสมัยและ หลากหลาย ซึง่ มีปญั หาในระดับกลางถึงมาก สำหรับโรงเรียนเอกชนส่วนใหญ่ยังขาดแคลนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเห็นว่าควร พัฒนาสื่อการสอนภาษาจีนท่ีทำให้ผู้เรียนสนใจและสนุกกับการเรียนภาษาจีน ซึ่งตรงกับงานวิจัยของ จินตนา ภู่ธนานุสรณ์ (2552) ที่เห็นว่าส่ือการสอนควรดึงดูดความสนใจของผู้เรียน เพ่ือทำให้ บรรยากาศการเรียนไม่น่าเบื่อ ผลดังกล่าวตรงกับปัญหาท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2 อันดับแรกในส่วนของ ระดบั ปญั หา ไดแ้ ก่ ขาดแคลนสอ่ื การสอนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และขาดสือ่ การสอนภาษาจนี ท่ีทนั สมยั และ หลากหลาย ซ่งึ เป็นปัญหาในระดับกลางถงึ มากเชน่ กนั สำหรับโรงเรียนจีน มีข้อเสนอแนะที่เน้นเรื่องส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออินเทอร์เน็ต เพ่ือเสริมการเรียนการสอน ซ่ึงก็สอดคล้องกับระดับปัญหาที่มีค่าเฉล่ียอันดับที่ 2 ในส่วนของระดับ ปัญหาเชน่ เดยี วกนั สว่ นข้อที่มีค่าเฉลีย่ อนั ดับแรกคือ ไมม่ ีงบประมาณในการจัดซอ้ื สอ่ื การสอน ตาราง 40 แสดงความถขี่ องความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นผู้สอน ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นผูส้ อน ความถ ่ี โรงเรยี นรฐั ความคดิ เหน็ 1. ขาดอตั รากำลงั ครู ทำใหค้ รผู สู้ อนไมเ่ พยี งพอตอ่ การจดั การเรยี นการสอน 5 2. ขาดครผู สู้ อนชาวไทย 6 3. ตอ้ งการครชู าวจนี แตย่ งั ไมไ่ ดร้ บั การจดั สรร 1 4. จำนวนผสู้ อนไมเ่ หมาะสมกบั จำนวนผเู้ รยี น 2 5. ขาดครชู าวไทยประจำ ทำใหก้ ารประสานงานและการเรยี นการสอนไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 5 6. ขาดครชู าวไทยทจ่ี บทางดา้ นภาษาจนี โดยตรง 5 7. ครชู าวไทยขาดความรแู้ ละเทคนคิ ในการสอน และไมไ่ ดร้ บั การอบรมเพอื่ พฒั นาความรใู้ นดา้ น 12 การสอนภาษาจนี 3 8. ครผู สู้ อนยงั ขาดประสบการณใ์ นการสอนเนอ่ื งจากเพง่ิ จบปรญิ ญาตรแี ละยงั ควบคมุ นกั เรยี นไมไ่ ด้ 2 9. ผสู้ อนบางคนขาดความใสใ่ จและขาดประสบการณ์ จงึ สอนโดยไมพ่ จิ ารณาถงึ ระดบั ความแตกตา่ ง 17 ของผเู้ รยี น 15 10. ครชู าวไทยมภี าระงานอน่ื ๆ ทน่ี อกเหนอื จากภาษาจนี ทำใหค้ รไู มม่ เี วลาในการเตรยี มการสอน และคดิ สรา้ งสรรคว์ ธิ พี ฒั นาการสอน หรอื ไมม่ แี มเ้ วลาในการรว่ มอบรมพฒั นาตนเอง 11. ครชู าวไทยไมม่ โี อกาสในการลาศกึ ษาตอ่ เนอื่ งจากมคี รนู อ้ ย รายงานการวิจยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมธั ยมศกึ ษา 105
ตาราง 40 แสดงความถข่ี องความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะดา้ นผ้สู อน (ตอ่ ) ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านผสู้ อน ความถ ่ี 12. ครชู าวไทยไมส่ ามารถสอ่ื สารหรอื ประสานงานกบั ครอู าสาสมคั รได้ เนอ่ื งจากมขี อ้ จำกดั 7 ดา้ นภาษาจนี ทำใหม้ ปี ญั หาการสอื่ สาร และครอู าสาสมคั รกไ็ มส่ ามารถเขา้ ใจเรอื่ งหลกั สตู ร การวดั และประเมนิ ผล 1 13. ครชู าวไทยลาออกบอ่ ย เพราะไปทำงานบรษิ ทั เอกชนไดเ้ งนิ เดอื นมากกวา่ ทำใหข้ าดความตอ่ เนอ่ื ง 27 14. เปลย่ี นครอู าสาสมคั รบอ่ ยทกุ ภาคการศกึ ษาหรอื ทกุ ปกี ารศกึ ษา ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอน 2 ไมต่ อ่ เนอ่ื ง และแตล่ ะคนตอ้ งใชเ้ วลาในการปรบั ตวั 2 15. ครอู าสาสมคั รขาดชว่ งหรอื มปี ญั หาตอ้ งกลบั ประเทศจนี กลางคนั ทำใหห้ าคนทดแทนใหมไ่ มท่ นั 2 และการจดั การเรยี นการสอนขาดชว่ ง 2 16. การจดั ครอู าสาสมคั รใหม้ าสอนในโรงเรยี นขาดการกลนั่ กรองขาดการใหค้ วามร ู้ 3 17. การรบั ครชู าวจนี เองของแตล่ ะโรงเรยี นขาดการกลน่ั กรอง จงึ ไดผ้ ทู้ ไี่ มม่ ปี ระสบการณส์ อน 6 และไมม่ กี ารเตรยี มการสอน 3 18. ครอู าสาสมคั รมปี ระสบการณใ์ นการสอนไมม่ ากพอ 6 19. ครอู าสาสมคั รไมไ่ ดจ้ บทางดา้ นการเรยี นการสอนภาษาจนี โดยตรง ทำใหก้ ารสอน 2 ไมเ่ กดิ ประสทิ ธภิ าพ 1 20. ครอู าสาสมคั รไมส่ ามารถควบคมุ ชน้ั เรยี นได ้ 3 21. ครอู าสาสมคั รไมส่ ามารถถา่ ยทอดความรใู้ หน้ กั เรยี นเขา้ ใจได้ โดยเฉพาะดา้ นหลกั ไวยากรณ์ 2 22. ครอู าสาสมคั รไมม่ เี ทคนคิ ในการสอน ไมเ่ อาใจใสแ่ ละไมท่ มุ่ เทกบั การสอน 2 23. ครอู าสาสมคั รทมี่ าสอนในแตล่ ะปมี คี วามแตกตา่ งในดา้ นศกั ยภาพการเรยี นการสอน 1 24. ครอู าสาสมคั รสว่ นใหญม่ าเพอ่ื ทอ่ งเทย่ี วประเทศไทย 8 25. ครอู าสาสมคั รจนี ไมค่ อ่ ยมมี นษุ ยสมั พนั ธก์ บั คณะครแู ละนกั เรยี น 1 26. ครอู าสาสมคั รจนี ไมค่ อ่ ยมจี ติ อาสา 2 27. ครอู าสาสมคั รจนี ขาดประสบการณใ์ นการสอน 2 28. ครอู าสาสมคั รมจี ดุ เดน่ เพยี งสามารถเสรมิ ทกั ษะการฟงั -พดู ใหก้ บั นกั เรยี นไดเ้ ทา่ นนั้ 29. ครอู าสาสมคั รไมส่ ามารถสอ่ื สารกบั นกั เรยี นได้ เนอ่ื งจากพดู ไทยไมไ่ ด้ หรอื เมอื่ สอื่ สาร ดว้ ยภาษาองั กฤษ แตน่ กั เรยี นไทยกไ็ มเ่ ขา้ ใจภาษาองั กฤษ ทำใหเ้ กดิ ปญั หาการเรยี นการสอน 30. โรงเรยี นยงั มคี วามตดิ ขดั ในขนั้ ตอน กระบวนการดา้ นเอกสารการทำงานของครอู าสาสมคั รชาวจนี ทำใหโ้ รงเรยี นตอ้ งเสยี เวลาในการจดั การมากเกนิ ไป 31. หากไดค้ รชู าวจนี มคี วามรภู้ าษาไทยบา้ ง ทำใหง้ า่ ยตอ่ การดแู ลประสานงาน 32. ครชู าวจนี บางคนตง้ั ใจสอนดมี าก ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรผลติ อตั รากำลงั ครภู าษาจนี ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของโรงเรยี น 4 2. ควรจดั สรรครสู อนภาษาจนี ชาวไทยเพมิ่ ขน้ึ 5 106 รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
ตาราง 40 แสดงความถี่ของความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นผูส้ อน (ตอ่ ) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดา้ นผสู้ อน ความถี่ 3. ตอ้ งการครชู าวจนี เพมิ่ เพอื่ พฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นไทย 3 4. ควรพฒั นาครชู าวไทยใหส้ อนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและลดการพง่ึ พาครอู าสาสมคั รชาวจนี 8 5. ควรผลติ ครสู อนภาษาจนี ทมี่ คี วามชำนาญ มเี ทคนคิ และวธิ กี ารสอนทหี่ ลากหลาย 3 6. ควรใหค้ รจู นี สอนควบคกู่ บั ครไู ทยในเบอื้ งตน้ เมอื่ นกั เรยี นมคี วามรพู้ นื้ ฐานดแี ลว้ ควรใหค้ รจู นี สอน 4 7. หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ควรสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณหรอื บคุ ลากรสำหรบั สอนภาษาจนี 1 8. ควรมกี ารจดั อบรมสมั มนาดา้ นเทคนคิ การสอน และเปดิ โอกาสใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นเรยี นร ู้ 41 เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการสอนภาษาจนี เพอื่ พฒั นาครอู ยา่ งตอ่ เนอื่ ง 1 9. จดั อบรมใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั สงิ่ ใหมๆ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในประเทศจนี 2 10. ครชู าวไทยควรผา่ นการคดั กรองระดบั ความรภู้ าษาจนี โดยผา่ น HSK ระดบั 5 ขนึ้ ไป 11 11. ควรใหท้ นุ สนบั สนนุ ครไู ปเขา้ รว่ มอบรมระยะสนั้ หรอื ศกึ ษาดงู านในสถานศกึ ษาอน่ื 1 หรอื ไปศกึ ษาตอ่ ทป่ี ระเทศจนี 1 12. ควรลดภาระงานใหค้ รปู ระจำในสว่ นทไ่ี มเ่ กยี่ วกบั การเรยี นการสอน 10 13. สรา้ งแรงจงู ใจในการใหผ้ มู้ คี วามสามารถเขา้ สอู่ าชพี ครู เชน่ คา่ วชิ าชพี ขาดแคลน เปน็ ตน้ 3 14. สพฐ. ควรทำหนา้ ทก่ี ลน่ั กรองหรอื นเิ ทศครอู าสาสมคั รทสี่ ง่ มาสอน ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ 1 ในบรบิ ทของประเทศไทยเปน็ การเบอ้ื งตน้ กอ่ นสง่ ถงึ โรงเรยี น 4 15. ควรมแี นวทางในการรบั อาสาสมคั รทชี่ ดั เจน เชน่ วฒุ ทิ จ่ี บการศกึ ษา แมว้ ฒุ ไิ มต่ รงแตส่ อนด ี 4 กต็ อ้ งมแี นวทางการทดสอบวดั ระดบั 16. จดั หาตำแหนง่ ครผู สู้ อนภาษาจนี มาบรรจเุ ปน็ ครตู วั จรงิ เนอื่ งจากการรบั สมคั รครอู ตั ราจา้ ง 1 จะประสบปญั หาการถา่ ยทอดความรไู้ มต่ อ่ เนอื่ ง 1 17. ครอู าสาสมคั รควรใหอ้ ยมู่ ากกวา่ 2 ปี เพอ่ื ความตอ่ เนอ่ื งและทำใหน้ กั เรยี นเกดิ ความคนุ้ เคย 1 18. ครอู าสาสมคั รควรมคี วามรดู้ า้ นภาษาองั กฤษหรอื ภาษาไทยบา้ ง เพราะการควบคมุ ชน้ั เรยี น 1 คอ่ นขา้ งลำบากสอื่ สารกนั ไมเ่ ขา้ ใจ 1 โรงเรยี นเอกชน 2 ความคดิ เหน็ 1. จำนวนผสู้ อนไมเ่ พยี งพอตอ่ จำนวนนกั เรยี น 2. มกี ารกำหนดบคุ คลทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถ และมคี วามเชยี่ วชาญในวชิ าทสี่ อน และจดั ชว่ งระยะเวลาเรยี นทเี่ หมาะสมดแี ลว้ 3. ผสู้ อนมภี าระงานอยา่ งอน่ื ทำใหม้ กี ารเตรยี มการสอนเตรยี มกจิ กรรมไดน้ อ้ ย 4. หาครผู สู้ อนทเี่ ปน็ เจา้ ของภาษาจนี ทจ่ี บดา้ นการสอนยาก 5. สว่ นใหญค่ รผู สู้ อนเปน็ เจา้ ของภาษาทำใหข้ าดความรใู้ นเรอ่ื งวฒั นธรรมของคนไทย และทำใหจ้ ดั การเรยี นการสอนไมเ่ หมาะสม 6. ครชู าวจนี ควบคมุ ดแู ลชน้ั เรยี นไดไ้ มท่ ว่ั ถงึ ทำใหผ้ เู้ รยี นขาดระเบยี บวนิ ยั รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมธั ยมศกึ ษา 107
ตาราง 40 แสดงความถีข่ องความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านผู้สอน (ต่อ) ความถี่ 1 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านผสู้ อน 1 7. ครชู าวจนี มกี ารเปลย่ี นแปลงบอ่ ยทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนไมต่ อ่ เนอ่ื ง 1 ขอ้ เสนอแนะ 1 1. ตอ้ งการครผู สู้ อนไทยทมี่ คี วามรรู้ ะดบั ปรญิ ญาตรสี าขาภาษาจนี โดยตรง 2 2. ตอ้ งการมคี รชู าวตา่ งชาตทิ เี่ ปน็ เจา้ ของภาษา 4 3. ตอ้ งการครไู ทยทพี่ ดู ภาษาจนี ไดช้ ดั เจน เพอื่ เปน็ แมพ่ มิ พท์ ด่ี ี 1 4. บคุ ลากรควรมวี ชิ าชพี ครู ซง่ึ จะมเี ทคนคิ วธิ กี ารถา่ ยทอดความรทู้ ด่ี ี และจงู ใจใหน้ กั เรยี น 1 เกดิ ความสนใจใฝเ่ รยี นรมู้ ากกวา่ ทเี่ ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั 5. ควรมกี ารอบรมดา้ นความรแู้ ละเทคนคิ การสอนใหค้ รเู พอ่ื นำมาพฒั นาการสอน 6. ควรใหค้ รไู ทยไดม้ โี อกาสไปอบรมศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ความรู้ และเทคนคิ การเรยี นการสอน 1 เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของครใู หด้ ยี ง่ิ ขนึ้ 1 7. ควรมกี ารตดิ ตามการสอนเพอื่ ทำการประเมนิ ครผู สู้ อนเปน็ ระยะ โรงเรยี นจนี ความคดิ เหน็ - ขอ้ เสนอแนะ 1. สถานศกึ ษาในประเทศไทยควรจะผลติ บคุ ลากรทจ่ี บเอกภาษาจนี โดยตรงและมวี ฒุ คิ ร ู 2. ควรจดั การเรยี นการสอนใหส้ นกุ สนาน จากตารางข้างต้น โรงเรียนรัฐมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านผู้สอนมากถึง 266 ข้อ ซึ่งส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่ามีปัญหาเร่ืองคุณภาพของครูอาสาสมัครชาวจีนมากที่สุด ไมว่ ่าจะเป็นปญั หาด้านการสอน เช่น มปี ระสบการณ์การสอนน้อย ไม่สามารถควบคุมชั้นเรียนได้ ไมม่ ี เทคนิคในการสอน ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนเข้าใจได้ และไม่สามารถส่ือสารกับนักเรียน ได้ ปัญหาด้านคุณวุฒิที่ไม่ได้จบมาทางด้านการสอนภาษาจีนโดยตรง ปัญหาการขาดการกล่ันกรอง จากหน่วยงานที่รับครูอาสาสมัคร ปัญหาด้านการทำงานในโรงเรียน เช่น ไม่ค่อยมีมนุษย์สัมพันธ์กับ คณะครูและนักเรียนไม่ค่อยมีจิตอาสาและที่สำคัญก็คือการเปล่ียนครูอาสาสมัครชาวจีนทุกปี หรือ มปี ญั หาตอ้ งกลบั ประเทศจนี กลางคนั ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนไมต่ อ่ เนอ่ื ง ซง่ึ มจี ำนวนความคดิ เหน็ มากท่ีสุด ดังน้ัน จึงมีการเสนอให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องมีแนวทางในการรับครูอาสาสมัครท่ีชัดเจน มีการกลัน่ กรองคุณสมบตั ิดา้ นตา่ งๆ เช่น วุฒิการศึกษา ระดับความร้ภู าษาไทยและภาษาอังกฤษ และ 108 รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมธั ยมศกึ ษา
อบรมครูอาสาสมัครในเร่ืองต่างๆ ท่ีจำเป็นก่อนปฏิบัติหน้าที่ และมีการนิเทศครูอาสาสมัครท่ีส่ง มาสอนอย่างเคร่งครัด และพิจารณาเพิ่มระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าที่สอนของครูอาสาสมัครให ้ มากกวา่ 2 ปี เพื่อใหก้ ารเรียนการสอนเกิดความต่อเนอ่ื ง สำหรับปัญหาดังกล่าวตรงกบั ข้อทมี่ คี ่าเฉลี่ย สูงสุด 2 อันดับแรกในส่วนของระดับปัญหา ซ่ึงเป็นปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับครูอาสาสมัคร และมีปัญหา ในระดับมากทั้ง 2 ข้อ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผลการสำรวจตรงกันทง้ั 2 ส่วน รองลงมาคือปัญหาเร่ืองจำนวนและคุณภาพของครูชาวไทย เช่น ไม่มีครูชาวไทย ประจำทช่ี ว่ ยประสานงานในดา้ นการเรยี นการสอนภาษาจนี ครชู าวไทยนอ้ ยภาระงานทงั้ หมดทเ่ี กยี่ วกบั ภาษาจนี จงึ ตกอยกู่ บั ครชู าวไทย ประกอบภาระงานดา้ นอน่ื ๆ ทมี่ ากมายทำใหค้ รไู มม่ เี วลาในการเตรยี ม การสอนและการคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทางด้านการสอน รวมทั้งการไปอบรมพัฒนาตนเองครูขาด ความรู้และเทคนิคการสอน หรือแม้แต่การลาไปศึกษาต่อ สอดคล้องกับงานวิจัยของภาวิณี บุญทา (2545) และพวงพร แซ่คู (2553) นอกจากน้ี ครูชาวไทยส่วนหนึ่งไม่ได้จบมาทางด้านการสอน ภาษาจีนโดยตรง ขาดประสบการณ์ในการสอนควบคุมนักเรียนไม่ได้ และระดับความรู้ภาษาจีนยังไม่ เพียงพอ บางคร้ังไม่สามารถส่ือสารหรือประสานงานด้านต่างๆ กับครูอาสาสมัครชาวจีนได้ สำหรับ ปัญหาครูชาวไทย มีข้อเสนอแนะจำนวนมากว่าควรมีการจัดอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนา เพิ่มพูนความรู้ และเทคนิคการสอนภาษาจีน แลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสอนภาษาจีนให้ครูอย่าง ต่อเน่อื งและทวั่ ถงึ เช่นเดียวกบั ข้อเสนอในงานวจิ ัยของ ลี ซนุ (2550) เฝงิ บนิ บิน (2554) และสุวรรณ เลยี งหริ ญั ถาวร (2556) นอกจากน้ี ยงั เสนอใหล้ ดภาระงานทไี่ มเ่ กย่ี วกบั การเรยี นการสอน ควรตง้ั เกณฑ ์ ระดับความรู้ของครูชาวไทยว่าควรผ่านการสอบ HSK ระดับ 5 ขึ้นไป และควรให้ทุนสนับสนุนครูไป เขา้ รว่ มอบรมระยะสนั้ หรอื ศกึ ษาดงู านในสถานศกึ ษาอนื่ หรอื ไปศกึ ษาตอ่ ทป่ี ระเทศจนี สว่ นขอ้ เสนอแนะ ด้านอื่นๆ เช่นควรพัฒนาครูชาวไทยให้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดการพึ่งพาครูอาสาสมัคร ชาวจีน ทงั้ น้ี ปัญหาในส่วนนก้ี ็สอดคล้องกับผลในสว่ นก่อนหน้าเชน่ กนั สำหรบั โรงเรยี นเอกชนมคี วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะมากกวา่ ดา้ นอนื่ ๆ ในขอ้ คดิ เหน็ ส่วนใหญ่อยากได้ครูเจ้าของภาษาไปสอน และเสนอให้มีการจัดการอบรมด้านความรู้และเทคนิค การสอนให้ครู เพ่ือนำมาพัฒนาการสอนให้ดียิ่งข้ึน ซ่ึงตรงกับข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในส่วนของระดับ ปัญหา ซึ่งก็คือ สถาบันขาดการจัดหลักสูตรอบรมเทคนิคการสอนภาษาจีนให้แก่ครูสอนภาษาจีน ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าในส่วนนี้จะไม่ค่อยมีความคิดเห็นเก่ียวกับครูชาวจีน แต่ปัญหาท่ีมีค่าเฉลี่ยอันดับต้นๆ ในส่วนของระดับปัญหาส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับครูอาสาสมัคร ชาวจีน สำหรับโรงเรียนจีนมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะค่อนข้างน้อย และไม่สอดคล้อง กับผลในส่วนก่อนหน้านี้ ซึ่งในส่วนของระดับปัญหา ปัญหาส่วนมากจะอยู่ท่ีครูอาสาสมัครชาวจีน เชน่ เดียวกับโรงเรียนรัฐ เช่น การเปล่ียนครูอาสาสมคั รบอ่ ย และครูชาวจีนไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ ใหผ้ ูเ้ รียนได้ และไม่สามารถควบคุมช้นั เรียนได้ รายงานการวิจัยเพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษา 109
ตาราง 41 แสดงความถข่ี องความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นผูเ้ รยี น ความถ่ี ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะดา้ นผเู้ รยี น 7 โรงเรยี นรฐั 3 ความคดิ เหน็ 10 1. จำนวนนกั เรยี นตอ่ หอ้ งมากเกนิ ไป ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนไมท่ ว่ั ถงึ 2. ผเู้ รยี นสว่ นใหญไ่ มม่ พี น้ื ฐานภาษาจนี มากอ่ น 4 3. ผเู้ รยี นมรี ะดบั ความรแู้ ละพน้ื ฐานทแี่ ตกตา่ งกนั ทำใหย้ ากตอ่ การจดั การเรยี นการสอน 1 (จงึ ตอ้ งลดมาตรฐานลง ทำใหไ้ มส่ ามารถยกระดบั ความรขู้ องนกั เรยี นได้ สดุ ทา้ ยกไ็ มเ่ รยี น 4 ภาษาจนี ตอ่ หรอื ทำใหไ้ มเ่ หน็ ความสำคญั ของภาษาจนี ) 30 4. ระดบั ความรขู้ องนกั เรยี นสว่ นใหญไ่ มส่ ามารถตอ่ ยอดความรใู้ นระดบั ชนั้ ทสี่ งู ขน้ึ ได ้ 16 5. ระดบั ความรขู้ องนกั เรยี นไมค่ อ่ ยมคี วามเปน็ เลศิ เขา้ แขง่ ขนั ในรายการตา่ งๆ 16 ไมป่ ระสบความสำเรจ็ เทา่ ทค่ี วร 4 6. นกั เรยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ และสนใจเรยี นภาษาจนี เปน็ อยา่ งมาก 3 7. ผเู้ รยี นขาดความกระตอื รอื รน้ และไมเ่ หน็ ความสำคญั ในการเรยี นภาษาจนี 8 8. นกั เรยี นไมต่ งั้ ใจและสนใจเรยี นภาษาจนี เทา่ ทค่ี วรเพราะคดิ วา่ ไมส่ ามารถนำมาใช้ 4 ในชวี ติ ประจำวนั ได้ หรอื ไมม่ เี ปา้ หมายวา่ เรยี นภาษาจนี ไปเพอ่ื อะไร 3 9. นกั เรยี นสว่ นใหญค่ ดิ วา่ ภาษาจนี ยากทำใหไ้ มต่ งั้ ใจเรยี นและไมส่ นใจเรยี นภาษาจนี เทา่ ทคี่ วร 7 10. นกั เรยี นไมส่ นใจ เนอื่ งจากจำนวนชว่ั โมงไมม่ าก มวี นั หยดุ และกจิ กรรมอน่ื คอ่ นขา้ งมาก 1 ทำใหเ้ รยี นไมต่ อ่ เนอื่ ง 11. ผเู้ รยี นไมต่ งั้ ใจเรยี นเนอ่ื งจากไมม่ สี อ่ื การสอนทนี่ า่ สนใจ 2 12. นกั เรยี นจำตอ้ งเลอื กเรยี นภาษาจนี สาเหตทุ ไ่ี มร่ จู้ ะเลอื กเรยี นอะไร หรอื เพราะเรยี น 1 แผนวทิ ยาศาสตรไ์ มไ่ ด้ ทำใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธท์ิ ไี่ มค่ อ่ ยด ี 3 13. นกั เรยี นมเี จตคตทิ ไี่ มด่ ตี อ่ ภาษาจนี 14. นกั เรยี นไมช่ อบหรอื ไมอ่ ยากเรยี นแตน่ โยบายบงั คบั ใหเ้ รยี นทกุ คน 15. ขาดสภาพแวดลอ้ มและแหลง่ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั ภาษาจนี ในประเทศไทย ทจ่ี ะชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นสนใจและไดใ้ ชภ้ าษาจนี 16. ผเู้ รยี นสว่ นใหญไ่ ดเ้ รยี นรภู้ ายในโรงเรยี นคอ่ นขา้ งนอ้ ย ขอ้ เสนอแนะ 1. การจดั กลมุ่ ของนกั เรยี นควรอยใู่ นปรมิ าณพอเหมาะเพราะจำนวนนกั เรยี นทมี่ ากเกนิ ไปจะทำให้ ผลการเรยี นไมไ่ ดผ้ ลเทา่ ทค่ี วร 2. ควรมกี ารปรบั พน้ื ฐานใหเ้ ทา่ กนั ในกรณที ผ่ี เู้ รยี นมรี ะดบั ความรไู้ มเ่ ทา่ กนั 3. ควรแยกชนั้ เรยี นตามพน้ื ฐานความรู้ เชน่ ชนั้ เรยี นสำหรบั ผทู้ เี่ คยเรยี นมาแลว้ และชน้ั เรยี นสำหรบั คนทไ่ี มเ่ คยเรยี นมากอ่ น 110 รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมธั ยมศึกษา
ตาราง 41 แสดงความถ่ีของความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านผ้เู รยี น (ต่อ) ความถ่ี ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะดา้ นผเู้ รยี น 4. ควรมคี ดั เลอื กผเู้ รยี นอยา่ งมรี ะบบเหมอื นกนั เชน่ จดั สอบเพอ่ื แบง่ แยกพนื้ ฐาน เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี น 2 ไดเ้ รยี นรใู้ นระดบั ทเ่ี หมาะสม 1 5. ควรพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามสามารถในทกั ษะทงั้ 4 ดา้ น 3 6. ควรกระตนุ้ ความสนใจของผเู้ รยี นดว้ ยกจิ กรรมการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายและสภาพแวดลอ้ ม 15 แหลง่ เรยี นร ู้ 5 7. สรา้ งทศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นภาษาจนี แรงจงู ใจในการเรยี นภาษาจนี และความตระหนกั ถงึ 8 ความสำคญั ของภาษาจนี 8 8. ควรเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นไดเ้ ลอื กเรยี นตามความสมคั รใจและความสนใจ จงึ จะเตม็ ใจเรยี น 3 และกอ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ล และประโยชนม์ ากกวา่ น ้ี 2 9. ควรจดั กจิ กรรมหรอื การแขง่ ขนั ทกั ษะทหี่ ลากหลายใหน้ กั เรยี นไดม้ เี วทใี นการแสดงความสามารถ ทางภาษา และสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการเรยี น 4 10. ควรจดั สรรทนุ การศกึ ษาตอ่ ดา้ นภาษาจนี ในประเทศ และนอกประเทศใหก้ บั นกั เรยี นและ 3 ประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งทว่ั ถงึ เพอ่ื เปน็ แรงจงู ใจและทำใหน้ กั เรยี นเหน็ ความสำคญั 2 11. กำหนดเกณฑก์ ารวดั ผลสมั ฤทธทิ์ แี่ นน่ อนเชน่ การสอบ HSK หรอื YCT ประจำทกุ ภาคปกี ารศกึ ษา 12. หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งควรสนบั สนนุ งบประมาณใหน้ กั เรยี นแผนการเรยี นศลิ ปภ์ าษาจนี แตล่ ะ โรงเรยี นไดส้ มคั รสอบวดั ระดบั ภาษาจนี ทกุ คนทกุ โรงเรยี นเพมิ่ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความตระหนกั ถงึ ความสำคญั ในการเรยี นภาษาจนี 13. สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี ตง้ั แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ งทกุ สถานศกึ ษา 14. ควรเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นไดไ้ ปศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากภายนอกโรงเรยี นหรอื รว่ มกบั โรงเรยี นอนื่ หรอื โรงเรยี นในศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฯ 15. ตอ้ งการใหส้ ถาบนั ขงจอ่ื ใหค้ วามสนบั สนนุ ทนุ ใหน้ กั เรยี นไดไ้ ปแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นประเทศจนี โรงเรยี นเอกชน ความคดิ เหน็ 1. ผเู้ รยี นมคี วามพรอ้ มตง้ั ใจเรยี น มคี วามสนใจ และใหค้ วามรว่ มมอื ในการรว่ มกจิ กรรม เชน่ 2 การสนทนาการถาม-ตอบ 2 2. ผเู้ รยี นมรี ะดบั ความรแู้ ละพน้ื ฐานทแ่ี ตกตา่ งกนั ทำใหย้ ากตอ่ การจดั การเรยี นการสอน 2 3. นกั เรยี นสว่ นมากไมม่ คี วามชอบในภาษาจนี และไมใ่ สใ่ จในการเรยี น เพราะเหน็ วา่ ภาษาจนี 1 ไมส่ ำคญั และไมร่ วู้ า่ เรยี นแลว้ จะไปใชส้ อ่ื สารกบั ใคร ทไ่ี หน อยา่ งไร 4. นกั เรยี นคดิ วา่ ภาษาจนี เปน็ ภาษาทย่ี ากอกั ษรจนี มจี ำนวนมาก จงึ ไมส่ นใจ รายงานการวจิ ยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา 111
ตาราง 41 แสดงความถขี่ องความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะด้านผเู้ รยี น (ต่อ) ความถ่ ี ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นผเู้ รียน 1 1 ขอ้ เสนอแนะ 1. ฝา่ ยวชิ าการตอ้ งชว่ ยแกไ้ ขเรอ่ื งความตง้ั ใจเรยี น การรจู้ กั เกรงใจใหเ้ กยี รตคิ ร ู 1 2. ควรมกี ารปรบั พน้ื ฐานใหเ้ ทา่ กนั ในกรณที ผ่ี เู้ รยี นมรี ะดบั ความรไู้ มเ่ ทา่ กนั 1 โรงเรยี นจนี 1 ความคดิ เหน็ - ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดไ้ ปทศั นศกึ ษาทปี่ ระเทศจนี 2. มกี ารสอบวดั ระดบั ความรแู้ ละนำไปประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา 3. ผเู้ รยี นควรไดเ้ รยี นตอ่ เนอื่ งในแตล่ ะระดบั ชน้ั จากตารางข้างต้น โรงเรียนรัฐมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านผู้เรียนจำนวน 184 ข้อ ซ่ึงส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่ามีปัญหาเรื่องทัศนคติเก่ียวกับภาษาจีน และพฤติกรรม การเรียนภาษาจีนของผู้เรียนมากที่สุด กล่าวคือ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ส่วนมากไม่ต้ังใจเรียน และขาดความกระตือรือร้นในการเรียนภาษาจีน โดยไม่เห็นความสำคัญ ในการเรยี นภาษาจนี ซงึ่ มสี าเหตมุ าจากหลากหลายปจั จยั เชน่ นกั เรยี นคดิ วา่ ไมส่ ามารถนำมาใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ไมม่ เี ปา้ หมายวา่ เรยี นภาษาจนี ไปเพอ่ื อะไร อาศยั อยหู่ า่ งไกลจากแหลง่ ชมุ ชนทใี่ ชภ้ าษาจนี รู้สึกว่าภาษาจีนยากมาก ไม่มีส่ือการสอนท่ีน่าสนใจ จำนวนชั่วโมงเรียนน้อยทำให้เรียนไม่ต่อเน่ือง นักเรียนถูกบังคับให้เรียน และขาดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาจีนในประเทศไทย ทจี่ ะชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นสนใจและไดใ้ ชภ้ าษาจนี สว่ นนกั เรยี นทเ่ี ลอื กเรยี นแผนการเรยี นศลิ ปภ์ าษาจนี ท่ีไม่ค่อยตั้งใจเรียนน้ัน เป็นเพราะเลือกเรียนแผนวิทย์-คณิตไม่ได้ และไม่รู้จะเลือกเรียนอะไร จึงเรียน ภาษาจีนด้วยความจำใจ ซ่ึงส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิในการเรียนไม่ดี จากการสัมภาษณ์เพ่ิมเติมก็ยังพบว่า ครูผู้สอนส่วนใหญ่สะท้อนปัญหาด้านผู้เรียนในลักษณะเดียวกัน แสดงให้เห็นว่าปัญหาด้านทัศนคติ เก่ียวกับภาษาจีนและพฤติกรรมการเรียนภาษาจีนของผู้เรียนน้ัน เป็นปัญหาท่ีพบในหลายโรงเรียน ขอ้ เสนอแนะสำหรบั ปัญหานคี้ อื หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งควรสร้างทัศนคติทีด่ ตี อ่ การเรียนภาษาจนี สรา้ ง แรงจูงใจในการเรียนภาษาจีน และสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของภาษาจีนให้แก่นักเรียน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย แหล่งเรียนรู้ภาษาจีน การแข่งขันทักษะท่ีหลากหลาย 112 รายงานการวิจัยเพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา
การให้ทุนศึกษาต่อด้านภาษาจีนในประเทศและต่างประเทศ และควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เลือก เรียนตามความสมัครใจ และความสนใจ เน่ืองจากเม่ือนักเรียนเต็มใจเรียน ก็จะก่อให้เกิดประสิทธิผล และประโยชนม์ ากกวา่ น้ี ซ่งึ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของ Zhang Qingling และสทิ ธิพร นิยมศรสี มศักด์ิ (2556) ท่ีพบว่าเจตคติและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อวิชาภาษาจีนมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรยี นวิชาภาษาจีนอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ ปัญหารองลงมาก็คือปัญหาระดับความรู้และพื้นฐานของผู้เรียนที่แตกต่างกัน ทำให้ ยากต่อการจัดการเรียนการสอนซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ ซานซาน เปา (2555) สำหรับปัญหาน้ ี มีข้อเสนอแนะว่าควรมีการเรียนปรับพ้ืนฐานให้เท่ากันโดยบางโรงเรียนมีการจัดเรียนเพ่ิมเติมต่างหาก ตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น หรือจัดสอบเพื่อแบ่งแยกช้ันเรียนพื้นฐานความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ในระดับที่เหมาะสม นอกจากน้ี ส่วนน้อยท่ีมีปัญหาจำนวนนักเรียนต่อห้องมากเกินไป ซ่ึงทำให้ การจัดการเรียนการสอนไม่ทั่วถึง และมีข้อเสนอแนะว่าควรจัดกลุ่มของนักเรียนควรอยู่ในปริมาณ พอเหมาะ ทั้งสองปัญหาข้างต้นถือเป็นปัญหาท่ีมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะค่อนข้างมาก ซ่ึงตรง กบั ผลในส่วนของระดับปัญหาทมี่ ปี ัญหาอยูใ่ นระดับมากเหมือนกัน สำหรับโรงเรยี นเอกชน มีลักษณะของปญั หาและข้อเสนอแนะเชน่ เดียวกับโรงเรียนรฐั แต่ความคิดเห็นในส่วนน้ีมีไม่มาก ซึ่งตรงกับผลในส่วนของระดับปัญหาที่มีปัญหาอยู่ในระดับ ปานกลางเหมือนกนั ส่วนโรงเรียนจีน จากความคิดเห็นไม่ปรากฏปัญหาเรื่องทัศนคติและพฤติกรรมของ ผู้เรียน แต่ในส่วนของระดับปัญหา ปัญหาดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกับโรงเรียนเอกชน ในส่วนน้ีข้อเสนอส่วนมากจะเกี่ยวกับการส่งเสริมให้มีการยกระดับความรู้ภาษาจีนของนักเรียนให ้ สงู ยง่ิ ข้นึ เชน่ สง่ เสรมิ ให้สอบวดั ระดับความรู้ เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้ไปทศั นศึกษาท่ีประเทศจีน และ ผูเ้ รียนควรไดเ้ รยี นต่อเนื่องในแตล่ ะระดับช้ัน รายงานการวิจัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศึกษา 113
ตาราง 42 แสดงความถีข่ องความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอน่ื ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ความถ่ ี โรงเรยี นรฐั ความคดิ เหน็ 1. ขาดความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกอนื่ ๆ (เนอ่ื งจากอยใู่ นพนื้ ทหี่ า่ งไกล) 10 2. ไมม่ คี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานตา่ งประเทศ 2 3. ไมม่ หี นว่ ยงานภายนอกเขา้ มาชว่ ยเหลอื อยา่ งเปน็ รปู ธรรม เพอื่ ผลกั ดนั การเรยี นการสอนภาษาจนี 4 ใหเ้ กดิ ขน้ึ หรอื มปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ ทเ่ี ปน็ อยู ่ 12 4. ไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมอื และสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานภายนอกเทา่ ทคี่ วรในปจั จบุ นั หนว่ ยงาน 1 ทช่ี ว่ ยเหลอื มนี อ้ ย หรอื ชว่ ยเหลอื แตไ่ มท่ วั่ ถงึ 1 5. การประสานงานกบั หนว่ ยงานทจี่ ะใหค้ ำปรกึ ษายงั ขาดความชดั เจนและไมท่ นั ทว่ งที โรงเรยี น 1 ตอ้ งพง่ึ พาตนเอง 1 6. ไมม่ หี นว่ ยงานกลางทช่ี ว่ ยประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอก 1 7. ขาดการประสานความรว่ มมอื ของโรงเรยี นศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฯ เพอื่ ประชมุ หรอื แลกเปลย่ี น 7 ประสบการณแ์ นวทางการแกไ้ ขปญั หาระหวา่ งกนั 9 8. ความชว่ ยเหลอื มกั จะไดเ้ ฉพาะโรงเรยี นประจำจงั หวดั หรอื โรงเรยี นทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลาง 2 9. ศนู ยป์ ระสานงานประจำจงั หวดั ไมม่ บี ทบาททเี่ ขา้ มาชว่ ยเหลอื มากนกั 6 10. มคี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในระดบั ดี เชน่ HANBAN สพฐ. สำนกั งานประสานงาน 1 ในภมู ภิ าค และหอ้ งเรยี นขงจอ่ื เปน็ ตน้ 2 11. เปน็ สมาชกิ เครอื ขา่ ยและมคี วามรว่ มมอื กบั โรงเรยี นศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฯ เปน็ อยา่ งด ี 2 12. มกี ารทำ MOU รว่ มกบั หนว่ ยงานระดบั มหาวทิ ยาลยั ในประเทศจนี 13. มคี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในลกั ษณะของการจดั และเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ คา่ ยภาษาจนี และการแขง่ ขนั ทกั ษะความสามารถทางภาษาจนี 14. ไมค่ อ่ ยไดร้ ว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ทห่ี นว่ ยงานอน่ื จดั เนอื่ งจากโรงเรยี นอยใู่ นพนื้ ทห่ี า่ งไกล 15. การจดั กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี ของหนว่ ยงานภายนอกยงั ไมห่ ลากหลาย สว่ นใหญเ่ ปน็ การแขง่ ขนั ควรมกี จิ กรรมพฒั นาครแู ละนกั เรยี นดว้ ย 16. การประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมจากหนว่ ยงานภายนอกลา่ ชา้ และไมท่ ว่ั ถงึ ทำใหค้ รแู ละนกั เรยี น ขาดโอกาส ขอ้ เสนอแนะ 1. หนว่ ยงานตา่ งๆ ควรใหค้ วามสำคญั กบั โรงเรยี นทอี่ ยหู่ า่ งไกล และเขา้ ไปชว่ ยเหลอื 1 เพราะโรงเรยี นยงั ขาดแคลนหลายดา้ น เชน่ สอ่ื การสอน หนงั สอื และทนุ ทรพั ย์ 1 2. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรขอความรว่ มมอื กบั ประเทศจนี การพฒั นาการเรยี นการสอน ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้ 114 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา
ตาราง 42 แสดงความถี่ของความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะด้านความร่วมมอื กบั หน่วยงานอน่ื (ตอ่ ) ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านความรว่ มมอื กับหน่วยงานอื่น ความถ่ ี 3. สพฐ. ควรดแู ลเรอ่ื งการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ใหช้ ดั เจน และมากกวา่ นเ้ี นอ่ื งจาก 2 ภาษาจนี เปน็ ภาษาหนง่ึ ทม่ี คี วามสำคญั มาก 3 4. ควรเพมิ่ ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานในตา่ งประเทศ เชน่ ทำ MOU กบั โรงเรยี นในตา่ งประเทศ 3 เพอื่ ใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นนกั เรยี นครู และสอื่ เรยี นรรู้ ว่ มกนั 5. ควรมคี วามรว่ มมอื ดา้ นภาษาจนี ในทกุ ภาคสว่ น ทงั้ สถาบนั ขงจอ่ื โรงเรยี นศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฯ 2 โรงเรยี นทส่ี อนภาษาจนี เปน็ ประจำอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ รว่ มกนั หาแนวทางพฒั นาความกา้ วหนา้ 13 ดา้ นการเรยี นภาษาจนี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป 11 6. ควรมหี นว่ ยงานกลางทชี่ ว่ ยประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกและมผี รู้ บั ผดิ ชอบโดยตรง 7. ควรมหี นว่ ยงานทงั้ ในและตา่ งประเทศเขา้ มาสนบั สนนุ ในทกุ ๆ ดา้ น เชน่ บคุ ลากร วชิ าการ 9 กจิ กรรม สอื่ การสอน และทนุ การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 4 8. ตอ้ งการใหห้ นว่ ยงานภายนอกสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมดา้ นภาษาและวฒั นธรรมจนี 8 อยา่ งตอ่ เนอื่ งและทวั่ ถงึ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นและครไู ดม้ โี อกาสแลกเปลย่ี นเรยี นรนู้ อกสถานศกึ ษา 1 เชน่ กจิ กรรมจนี สมั พนั ธ์ คา่ ยภาษาจนี 9. ตอ้ งการใหห้ นว่ ยงานภายนอกสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษาใหน้ กั เรยี นและคร ู 10. ตอ้ งการใหห้ นว่ ยงานภายนอกสนบั สนนุ สอื่ การสอน 11. ตอ้ งการใหห้ นว่ ยงานภายนอกจดั อบรมหรอื สมั มนาทางดา้ นวชิ าการใหค้ รแู ละนกั เรยี น เพอื่ แลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาการเรยี นการสอนภาษาจนี 12. ควรมเี ปน็ โรงเรยี นคพู่ ฒั นาดา้ นการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี โรงเรยี นเอกชน ความคดิ เหน็ 1. ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานภายนอกเปน็ อยา่ งดใี นการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ 1 สถาบนั ภาษา มธ. สถาบนั ขงจอื่ 3 2. มคี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในลกั ษณะของการไปรว่ มแขง่ ขนั ทกั ษะและความสามารถ 1 ทางภาษาจนี 1 3. ยงั ไมร่ ว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกเทา่ ทคี่ วร 1 4. เกดิ ปญั หาการประสานงานกบั หนว่ ยงานอนื่ เรอื่ งการขอครอู าสาสมคั ร ทำใหเ้ กดิ อปุ สรรค ตอ่ การจดั การเรยี นการสอน 5. ขาดการประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารอยา่ งทวั่ ถงึ ทำใหไ้ ดร้ บั ความรว่ มมอื ไมท่ ว่ั ถงึ เทา่ ทค่ี วร ขอ้ เสนอแนะ 1. ตอ้ งการความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานภายนอก เพอ่ื ใหม้ กี ารพฒั นาอยเู่ สมอ 3 2. ควรมคี วามรว่ มมอื กบั หอ้ งเรยี นขงจอื่ และสถาบนั ขงจอื่ 1 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษา 115
ตาราง 42 แสดงความถีข่ องความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะดา้ นความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานอน่ื (ต่อ) ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะดา้ นความรว่ มมอื กับหน่วยงานอ่ืน ความถ่ ี 3. หนว่ ยงานภายนอกทจ่ี ดั กจิ กรรมควรมกี จิ กรรมทม่ี ากและหลากหลายกวา่ ทเี่ ปน็ อย ู่ 1 4. ควรสรา้ งเครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี นทางวชิ าการและทำกจิ กรรมรว่ มกนั กบั หนว่ ยงานหรอื องคก์ ร 3 ภาครฐั หรอื เอกชนทง้ั ในและตา่ งประเทศในรปู แบบเชงิ ประจกั ษ ์ โรงเรยี นจนี ความคดิ เหน็ - ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมคี วามรว่ มมอื กบั หอ้ งเรยี นขงจอื่ และสถาบนั ขงจอ่ื มากขนึ้ 2 จากตารางข้างต้น โรงเรียนรัฐมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านความร่วมมือกับ หน่วยงานอ่ืนจำนวน 119 ข้อ ซ่งึ ส่วนใหญแ่ สดงความคิดเห็นว่ามปี ญั หาเร่อื งการขาดความร่วมมอื กับ หน่วยงานอ่ืน เนื่องจากโรงเรียนส่วนหน่ึงอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกล ความช่วยเหลือเข้าไปได้ไม่ทั่วถึง หรือ เป็นเพราะไม่ใช่โรงเรียนขนาดใหญ่ หรือโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ แต่ก็มีโรงเรียนอีกจำนวนหนึ่งที่มี ความรว่ มมือกับหนว่ ยงานภายนอก ซงึ่ ยงั ไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมือหรอื สนบั สนนุ มากเท่าท่ีควร ขาดความ ต่อเน่ือง ขาดระบบการประสานงานและความร่วมมือท่ีดีและชัดเจน และความร่วมมือกับหน่วยงาน ภายนอกของโรงเรียนสว่ นมากจะเปน็ ลักษณะของการจดั และเขา้ รว่ มกิจกรรมตา่ งๆ เช่น คา่ ยภาษาจนี และการแข่งขันทักษะความสามารถทางภาษาจีน เป็นต้น สำหรับข้อเสนอแนะเพ่ือแก้ไขปัญหา ดังกล่าว ส่วนใหญ่ให้ข้อเสนอแนะว่าควรเพ่ิมความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ซึ่งทุกภาคส่วนที่ เกยี่ วข้องกบั การเรียนการสอนภาษาจีนควรต้องร่วมมอื กนั เพื่อสง่ เสรมิ ความร่วมมือในทุกๆ ดา้ น เช่น ดา้ นบคุ ลากร ด้านวชิ าการ ดา้ นกิจกรรม ดา้ นส่ือการสอน และดา้ นทุนการศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง โดยให้ หนว่ ยงานกลางเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบช่วยประสานความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานทงั้ ในและต่างประเทศ สำหรบั ผลในส่วนนี้มีความขัดแย้งกับในส่วนของระดับปัญหา เนื่องจากในส่วนของระดับปัญหา ปัญหาเรื่อง การขาดความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นมีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด แต่จากการวิเคราะห์ ผู้ตอบแบบสอบถาม อาจจะเข้าใจว่าการร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนคือการไปเข้าร่วมกิจกรรมหรือการแข่งขัน ซึ่งจะเห็นได้ชัด ว่าในส่วนน้ีมีผู้แสดงความคิดเห็นว่าร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในลักษณะของการเข้าร่วมกิจกรรม หรอื การแขง่ ขนั และจากการสมั ภาษณเ์ พมิ่ เตมิ ครสู ว่ นใหญต่ า่ งกก็ ลา่ วกนั วา่ มคี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน ภายนอกในลักษณะของการเข้าร่วมการแข่งขันหรือการขอรับครูอาสาสมัคร ดังนั้น จึงเป็นไปได้ที่ ค่าเฉลี่ยของปัญหาดังกล่าวในส่วนของระดับปัญหาจึงต่ำท่ีสุด แต่ผู้วิจัยเห็นว่าความร่วมมือไม่ได้มี 116 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา
เพียงแค่ด้านเดียว จะต้องประกอบไปด้วยหลายด้าน ดังข้อเสนอแนะท่ีกล่าวไปแล้วข้างต้น ฉะน้ัน โรงเรียนส่วนใหญ่จึงยังถือว่าขาดความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในอีกหลายด้าน ซึ่งยังไม่ม ี หน่วยงานกลาง หรือหน่วยงานด้านการศึกษาของไทยชว่ ยประสานงาน สำหรับโรงเรียนเอกชนมีความคิดเห็น และข้อเสนอแนะไม่มาก แต่โดยรวมมีปัญหา ขาดความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนเช่นเดียวกับโรงเรียนรัฐ ส่วนโรงเรียนจีน และโรงเรียนเอกชนไม่มี ความคิดเห็นเก่ียวกับความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น มีเพียงข้อเสนอแนะที่ว่าอยากมีความร่วมมือกับ ห้องเรียนขงจื่อ และสถาบันขงจื่อมากขึ้น แต่เน่ืองจากความถี่น้อย จึงต้องยึดผลจากส่วนของระดับ ปญั หาเป็นหลัก 4.8.3 สรุปปัญหาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีน จากค่าเฉลี่ยของปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี และความถี่ ของความคิดเหน็ เพ่มิ เติมทโ่ี รงเรียนตา่ งๆ ไดส้ ะทอ้ นออกมานนั้ สามารถสรปุ ได้ว่า ในภาพรวมโรงเรยี น ระดับมัธยมศึกษามีปัญหาในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในแต่ละด้านมากน้อยแตกต่างกันไป โดยดา้ นที่มปี ญั หาในระดับมากมี 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นผเู้ รียนและผู้สอน ซึ่งท้งั สองด้านถือไดว้ า่ เปน็ กลไก สำคัญท่ีมีบทบาทในการขับเคล่ือนการเรียนการสอนภาษาจีน ด้านท่ีมีปัญหาในระดับปานกลางม ี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านสื่อการสอน และด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ซึ่งถือเป็น เครื่องมือและส่วนท่ีช่วยสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนส่วนด้านท่ีมีปัญหาในระดับน้อย คือดา้ นการบรหิ ารจัดการ ซงึ่ ถอื เปน็ ระบบของการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกจากนี้ ในแต่ละ ดา้ นยงั มปี ระเด็นปัญหาท่แี ตกตา่ งกันไปอีกด้วย สามารถสรุปได้ ดงั น้ ี (1) ด้านการบริหารจดั การ สำหรบั โรงเรยี นรัฐ มีปญั หาสำคญั 2 ประการ ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหารของโรงเรียนไม่ให้ ความสำคัญกบั การเรียนการสอนภาษาจนี เท่าที่ควร และการบรหิ ารจดั การการเรยี นการสอนภาษาจนี ที่ยังไม่ชัดเจนและไม่เป็นระบบ สำหรับโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีน ปัญหาสำคัญคือระบบ การบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนยังขาดประสิทธิภาพ ซึ่งต้องการบุคลากรที่มีความร ู้ ทงั้ ทางด้านการบริหารจดั การและดา้ นภาษาจีนมาช่วยบริหารจัดการ (2) ด้านหลักสตู ร สำหรับโรงเรียนรัฐ ปัญหาสำคัญคือปัญหาของหลักสูตรแกนกลางฯ ที่ไม่ สอดคล้องกับสภาพการเรียนการสอนจริง และในกรณีท่ีต้องการจัดทำหลักสูตรของตนเอง ยังขาด ผู้เช่ียวชาญในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนท่ีเหมาะสมกับสถาบันของตนเอง สำหรับโรงเรียนเอกชน และโรงเรียนจีน ก็ขาดผู้เชี่ยวชาญในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนที่เหมาะสมกับสถาบันของตนเอง เช่นเดียวกบั โรงเรียนรฐั รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษา 117
(3) ดา้ นสือ่ การสอน สำหรบั โรงเรยี นรัฐและโรงเรยี นจีน มปี ญั หาเหมือนกันคือ โรงเรยี นขาดแคลนสอื่ การสอนอิเล็กทรอนิกส์ และส่ือการสอนที่ทันสมัยและหลากหลาย และไม่มีงบประมาณในการจัดซ้ือ สือ่ การสอนประเภทต่างๆ สำหรบั โรงเรียนเอกชน ไมไ่ ด้มปี ญั หาเร่ืองงบประมาณมากนัก แต่ส่วนใหญ่ มีปัญหาการขาดแคลนสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ จึงต้องการให้มีการพัฒนาและผลิตสื่อการสอน อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้หลากหลายข้ึน (4) ดา้ นผ้สู อน โรงเรียนทุกประเภทมีปัญหาเหมือนกัน 2 ประการคือ ปัญหาด้านคุณภาพและ การทำงานของครูอาสาสมัครชาวจีน รวมถึงการเปลี่ยนอาสาสมัครบ่อยคร้ัง ซ่ึงทำให้ไม่สามารถ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนได้อย่างต่อเนื่อง และปัญหาเรื่องการจัดอบรมความรู้และเทคนิค การสอนใหแ้ ก่ครูสอนภาษาจนี ชาวไทย และชาวจนี ซงึ่ ครูส่วนใหญต่ ้องการเขา้ รว่ ม แตไ่ มค่ อ่ ยมกี ารจัด อบรม (5) ดา้ นผู้เรยี น โรงเรียนทุกประเภทมีปัญหาเหมือนกัน 2 ประการคือ ปัญหาเร่ืองทัศนคต ิ เก่ียวกับภาษาจีน และพฤติกรรมการเรียนภาษาจีนของผู้เรียน ผู้เรียนไม่เห็นความสำคัญกับภาษาจีน ขาดความกระตือรือร้นและความต้ังใจในการเรียนภาษาจีน ซ่ึงส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผู้เรียน และปัญหาระดับความรู้และพ้ืนฐานของผู้เรียนที่แตกต่างกัน ซึ่งทำให้ยากต่อการจัดการเรียน การสอน อย่างไรกต็ าม โรงเรียนรัฐมรี ะดบั ของปญั หาดังกลา่ วมากกว่าโรงเรยี นเอกชนและโรงเรยี นจีน (6) ด้านความร่วมมือกับหนว่ ยงานอน่ื สำหรับโรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชนมีปัญหาเหมือนกันคือ ขาดความร่วมมือ กบั หนว่ ยงานอนื่ ในดา้ นตา่ งๆ และตอ้ งการใหร้ ฐั บาลหรอื หนว่ ยงานกลางเขา้ มามสี ว่ นในการประสานงาน เพ่ือสร้างความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรมกับหน่วยงานภายนอก โดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการของ ประเทศจีน สำหรับโรงเรยี นจนี สว่ นใหญ่ไดร้ ับความรว่ มมือจากหน่วยงานภายนอกอยู่แลว้ แต่ปญั หา อยู่ที่ความรว่ มมอื ท่ไี ม่ตอ่ เน่อื ง 118 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศึกษา
บทที่ 5 บทสรปุ การวจิ ัยและขอ้ เสนอเชิงนโยบาย ในการพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอน ภาษาจีนระดบั มัธยมศกึ ษา จากการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพปัญหาต่างๆ ของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ในระดับมัธยมศึกษา สามารถสรุปผลและเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบการจัด การเรยี นการสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาในแตล่ ะดา้ นได้ ดงั น้ี 5.1 ดา้ นการบริหารจัดการ จากการศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีน พบว่า สถานศึกษาทุกประเภทส่วนใหญ่มีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนตามวงจร PDCA อย่างครบถ้วน ทุกด้านมีการวางแผนการจัดการเรียนสอนภาษาจีนตามนโยบายของ สพฐ. หรือ สช. เป็นหลัก ประกอบกับนโยบายของสถานศึกษาเองและกลุ่มสถานศึกษา และมีการกำหนดผู้รับผิดชอบไว้อย่าง ชัดเจน ซ่ึงส่วนใหญ่ครูสอนภาษาจีนจะเป็นผู้รับผิดชอบหลัก มีการดำเนินงานตามแผนในด้านต่างๆ และมีการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการต่างๆ ส่วน การสำรวจปัญหาในด้านการบริหารจัดการ พบว่า ผู้บริหารของสถานศึกษาจำนวนหนึ่งยังคงไม่ให้ ความสำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีนเท่าที่ควร โดยเฉพาะโรงเรียนรัฐ ทั้งน้ี อาจเป็นเพราะ ผู้บริหารยังไม่เข้าใจบริบทและความสำคัญของภาษาจีนในสังคมปัจจุบัน ซ่ึงส่งผลให้การพัฒนา การเรียนการสอนภาษาจีนของสถานศึกษาขาดความต่อเนื่อง แม้ในช่วงไม่ก่ีปีท่ีผ่านมา กระทรวง ศึกษาธิการและ สพฐ. จะมีการออกนโยบายและยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการให้ความสำคัญกับการเรียนการสอนภาษาจีนของหน่วยงานรัฐ รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา 119
แต่จากปัญหาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่านโยบายหรือยุทธศาสตร์ดังกล่าว ยังไม่ได้ถูกนำไปปฏิบัติให้เป็น รูปธรรมอย่างทั่วถึง นอกจากน้ี แม้สถานศึกษาส่วนมากจะมีระบบการบริหารจัดการการเรียน การสอนภาษาจีนตามวงจร PDCA แต่บางส่วนยังมีปัญหาระบบการบริหารจัดการไม่มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร ซึ่งพบได้ในสถานศึกษาทุกประเภทหากท้ังสองปัญหาดังกล่าวไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง อาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจนี ของประเทศไทยทัง้ ระบบในระยะยาว สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาการบริหารจัดการการเรียน การสอนภาษาจีน นอกจากการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านภาษาจีนท่ีหน่วยงานภาครัฐ ทำเป็นประจำแล้ว ควรจะมีหน่วยงานท่ีศึกษาและติดตามผลจากการดำเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ ต่างๆ หากไม่เป็นไปตามนโยบายท่ีกำหนดไว้ ก็จะต้องทบทวนนโยบายและปรับปรุงให้สอดคล้องกับ สภาพความเป็นจริงอยู่เสมอ ท้ังน้ี ควรมีบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาจีนเข้ามา ส่วนร่วมทุกข้ันตอน โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อให้ผู้บริหารตระหนักถึงปัญหาในด้านการ บริหารจัดการ และตระหนักถึงความสำคัญของการเรยี นการสอนภาษาจนี มากข้นึ นอกจากน้ี เพือ่ ให้ นโยบายต่างๆ เกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง หน่วยงานภาครัฐควรจะจัดทำแนวทางปฏิบัติใน การบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนในสถานศึกษาที่ละเอียดและชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อให้ สถานศึกษาต่างๆ ได้ยึดเป็นแนวปฏิบัติที่เหมือนกันโดยให้สถานศึกษาท่ีมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี โดยเฉพาะโรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ เป็นต้นแบบและแนะแนวให้กับสถานศึกษาในเครือข่ายหรือ ใกล้เคียง เพ่ือพัฒนาระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีนให้ชัดเจนและเป็นระบบ ให้ดยี ง่ิ ขนึ้ 5.2 ดา้ นหลกั สูตร จากการศึกษาสภาพปัจจุบันในด้านหลักสูตรภาษาจีน พบว่า โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ทุกประเภทส่วนใหญ่เปิดสอนภาษาจีน ซ่ึงมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงช้ัน และประเภทของ สถานศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีสถานศึกษาท่ีเปิดสอนภาษาจีนมากกว่าร้อยละ 85 และ ส่วนใหญเ่ ปิดครบทกุ ช้ันปี โรงเรียนรฐั สว่ นใหญเ่ นน้ วชิ าภาษาจีนพื้นฐาน โดยจัดเป็นวชิ าเลือก จำนวน 1-2 คาบ/สัปดาห์ โรงเรียนเอกชนส่วนใหญ่เน้นวิชาภาษาจีนพื้นฐาน โดยจัดเป็นวิชาบังคับ จำนวน 1-2 คาบ/สัปดาห์ ส่วนโรงเรียนจีนทุกแห่งเน้นวิชาภาษาจีนพ้ืนฐานควบคู่กับวิชาทักษะทางภาษา โดยจัดเป็นวิชาบังคับ จำนวน 3-10 คาบ/สัปดาห์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สำหรับแผน การเรียนศิลป์ภาษาจีน มีสถานศึกษาที่เปิดสอนมากกว่าร้อยละ 68 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนรัฐและ เอกชน วิชาที่เรียนมีความหลากหลาย แต่เน้นภาษาจีนพื้นฐานควบคู่กับวิชาทักษะทางภาษา จำนวน 5-10 คาบ/สัปดาห์ สำหรับแผนการเรียนอ่ืนๆ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีการเปิดสอนภาษา จีนน้อยลง โดยเฉพาะโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีน ส่วนมากเป็นโรงเรียนรัฐที่เปิดสอน ซึ่งเน้น 120 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมธั ยมศกึ ษา
วิชาภาษาจีนพ้ืนฐาน โดยจัดเป็นวิชาเลือก จำนวน 1-2 คาบ/สัปดาห์ และจากจำนวนของโรงเรียน ที่เปิดสอนภาษาจีนท่ีลดน้อยลงตามช่วงช้ันที่สูงขึ้น แสดงให้เห็นถึงปัญหาการขาดความต่อเนื่อง ในการเรยี นภาษาจนี ระหวา่ งชว่ งชน้ั อยา่ งไรกต็ าม สถานศกึ ษาทกุ ประเภทสว่ นใหญม่ กี ารจดั กจิ กรรรม ดา้ นภาษาจีนที่หลากหลายเพื่อเสรมิ หลกั สูตรใหแ้ กน่ ักเรียนทุกชว่ งชน้ั นอกจากน้ี ในส่วนของหลักสูตรแกนกลางฯ สถานศึกษาทุกประเภทส่วนใหญ่มีการอ้างอิง มาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางฯ แต่จากการนำไปใช้จริง พบว่า หลักสูตรแกนกลางฯ กลับมีปญั หาอย่มู าก ทัง้ ๆ ทหี่ ลกั สตู รแกนกลางฯ แบ่งออกเป็นหลักสูตรตอ่ เน่ือง 3 ปี 6 ปี และ 12 ปี มสี าระการเรียนรู้และแยกตวั ช้วี ดั ไวอ้ ยา่ งชดั เจน จากการสำรวจปญั หาในดา้ น หลักสูตร พบว่า ส่วนใหญ่ยังคงเห็นว่าหลักสูตรแกนกลางฯ ยากเกินไป และไม่สอดคล้องกับสภาพ การเรียนรู้จริงของแต่ละโรงเรียน ประกอบกับไม่ใช่ทุกโรงเรียนที่จะสามารถเปิดสอนภาษาจีนได้ทุก ชว่ งชน้ั และทกุ ระดบั ชน้ั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากผลการศกึ ษาจำนวนโรงเรยี นทเี่ ปดิ สอนภาษาจนี ในแตล่ ะชว่ งชน้ั ขา้ งต้น ดงั นน้ั แมจ้ ะมหี ลกั สตู รต่อเนอื่ ง แต่หากโรงเรียนไมเ่ ปดิ สอนนักเรยี นก็ไมส่ ามารถเรยี นไดอ้ ย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ สถานศึกษาทุกประเภทยังเห็นพ้องกันว่าปัญหาในปัจจุบันคือ ขาดผู้เชี่ยวชาญ ในการจดั ทำหลกั สตู รภาษาจนี ทเี่ หมาะสมกบั สถานศกึ ษาของตนเอง แสดงใหเ้ หน็ วา่ หลกั สตู รแกนกลางฯ ยังคงมีปัญหาอยู่ค่อนข้างมาก จึงต้องการพัฒนาหลักสูตรเป็นของตนเอง แต่ในความเป็นจริงหาก สถานศึกษาแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรของตนเองโดยแยกจากหลักสูตรแกนกลางฯ แม้จะสอดคล้อง กับสภาพการเรียนการสอนของแต่ละสถานศึกษา แต่ในภาพรวมก็อาจจะทำให้การเรียนการสอน ภาษาจีนของท้งั ประเทศขาดความต่อเนื่องและไม่เปน็ มาตรฐานเดยี วกนั สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาหลักสูตรภาษาจีน หน่วยงาน ภาครัฐควรส่งเสริมให้โรงเรียนที่มีความพร้อมเปิดสอนภาษาจีน ให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายที่ไม่ได้เลือกแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีน เพื่อไม่ให้การเรียนภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นต้องสูญเปล่า และช่วยส่งเสริมให้เกิดความต่อเนื่องในการเรียนภาษาจีน นอกจากน้ี ยังควร ปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางฯ โดยคำนึงถึงสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของสถานศึกษา ส่วนใหญ่ ซึ่งควรมีสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดที่สามารถยืดหยุ่นได้อยู่ในระดับปานกลาง ไม่ยากและง่ายจนเกินไป เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถปรับลดและเพิ่มสาระการเรียนรู้และมาตรฐาน ตัวช้ีวัดได้ตามสภาพความเป็นจริง พร้อมกับจัดทำตัวอย่างแผนการสอนและคู่มือครูท่ีมีรายละเอียด ชัดเจนควบคู่กับหลักสูตรเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน ที่สำคัญควรจะต้องมีแบบเรียนท่ี สอดคล้องกับหลักสูตรด้วย เพ่ือให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามมาตรฐานของหลักสูตร นอกจากนี้ ควรพิจารณาจัดทำหลักสูตรเฉพาะของแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีน ซึ่งจำเป็นต้องเน้น การเรียนภาษาจีน โดยกำหนดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับเนื้อหาของ การสอบเข้ามหาวิทยาลัยและต่อเนื่องกับการเรียนในระดับอุดมศึกษา นอกจากน้ี หน่วยงานภาครัฐ ยังควรเชญิ ผเู้ ชีย่ วชาญมาอบรมวธิ กี ารปรบั ใช้หลักสูตรให้แก่ครใู หม่ หรอื สถานศึกษาทเ่ี พิ่งเร่ิมเปิดสอน รายงานการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั มัธยมศกึ ษา 121
ภาษาจีนด้วย เพื่อให้สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถไปปรับใช้ได้เองตามสภาพการเรียนการสอนจริง โดยยังอยภู่ ายใตม้ าตรฐานเดียวกนั 5.3 ด้านสือ่ การสอน จากการศึกษาสภาพปัจจบุ นั ในด้านสือ่ การสอนภาษาจีน พบว่า ในส่วนของแบบเรียนมีความ แตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงชั้นและประเภทของสถานศึกษา ในโรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชน นิยม ใช้แบบเรียน “สัมผัสภาษาจีน” เป็นหลักในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (แผนการเรียน อ่ืน) แต่แผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนจะเลือกใช้แบบเรียนหลายเล่มควบคู่กัน เนื่องจากมีรายวิชาและ จำนวนคาบเรียนค่อนข้างมาก สำหรับโรงเรียนจีนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีการเลือกใช้แบบ เรียนที่แตกต่างกันไปตามแต่ละโรงเรียน ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีน ส่วนใหญ่จะเลือกใช้แบบเรียนหลายเล่มควบคู่กัน ในส่วนของสื่อการสอนอ่ืนๆ พบว่า สถานศึกษา ส่วนมากมีความพร้อมในด้านสื่อการเรียนการสอนเสริม และมีหนังสือเสริมความรู้ในห้องสมุด แต่ก็มี สถานศึกษาอีกจำนวนหนึ่งท่ียังขาดแคลนส่ือการเรียนการสอนเสริม และจากการสำรวจปัญหาด้าน สื่อการสอนภาษาจีนยังพบอีกว่า สถานศึกษาทุกประเภทส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องขาดแคลนส่ือการสอน อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และห้องปฏิบัติการสอนภาษาจีนมากที่สุด เน่ืองจากไม่ม ี งบประมาณในการจัดซื้อ โดยเฉพาะโรงเรียนรัฐและโรงเรียนจีน แสดงให้เห็นว่าการขาดแคลนส่ือ การเรยี นการสอนเสรมิ ยงั คงเปน็ ปญั หาสำคญั อยา่ งมาก นอกจากนี้ จากการสำรวจยงั พบวา่ สอ่ื การสอน ที่มีอยู่ในปัจจบุ นั ไม่สามารถสนองตอบผ้เู รยี นไดเ้ ทา่ ที่ควร ในขณะท่ีผสู้ อนเหน็ วา่ ส่ือการสอนเปน็ ปัจจัย สำคัญท่ีทำให้ผู้เรียนรู้สึกสนใจในการเรียนภาษาจีนมากข้ึน และช่วยให้เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาจีนได้ดีย่ิงข้ึนด้วย ในอีกแง่มุมหน่ึง ส่ือการสอนที่ดีและทันสมัยจะมีส่วนช่วยให้ผู้สอนสามารถ สอนภาษาจนี ไดย้ ่ิงขึน้ เชน่ กัน สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสื่อการสอนภาษาจีนอันดับแรก หน่วยงานภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณ ในการสร้างห้องปฏิบัติการทางภาษาจีนท่ีมีอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานให้แก่โรงเรียนที่มีการเปิดสอนภาษาจีน เพื่อให้ทุกโรงเรียนสามารถพัฒนา การเรียนการสอนภาษาจีนได้อย่างเท่าเทียมและมีคุณภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็ควรร่วมมือกับ หน่วยงานด้านการศึกษาของประเทศจีนเพ่ือผลิตส่ือการสอนภาษาจีนท่ีทันสมัย มีความหลากหลาย น่าสนใจ สอดแทรกวัฒนธรรมจีน และเข้ากับบริบทของผู้เรียนชาวไทย โดยควรจะเป็นสื่อการสอนที่ ประกอบแบบเรียนที่สอดคลอ้ งกบั สาระการเรียนรู้ และมาตรฐานตัวช้วี ดั ของหลักสตู รแกนกลางฯ 122 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา
5.4 ดา้ นผสู้ อน จากการศึกษาสภาพปัจจุบันในด้านผู้สอนภาษาจีน พบว่า ในส่วนของจำนวนและประเภท ของผู้สอน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาทุกประเภทท่ีมีการเรียนการสอนภาษาจีน ส่วนมากจะมีท้ัง ครูชาวไทยและครูชาวจีน ในจำนวนน้ีครูชาวไทยส่วนใหญ่เป็นครูประจำ ครูชาวจีนส่วนใหญ่เป็น ครูอาสาสมัคร และสัดส่วนของครูชาวไทยจะน้อยกว่าครูชาวจีน แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาทุกประเภท ส่วนใหญข่ าดแคลนครชู าวไทย และมีการพึง่ พาครชู าวจนี มากกว่า นอกจากน้ี ในโรงเรียนรัฐและเอกชน 1 แหง่ จะมคี รูสอนภาษาจนี ประมาณ 1-3 คน ส่วนโรงเรยี นจีนสว่ นมากจะ มีครูสอนมากกว่า 10 คน และภาระงานสอนของครูในแต่ละโรงเรียนจะแตกต่างกันไปตามจำนวนครู ที่มี แต่โดยรวมแล้วภาระงานสอนของครูส่วนมากต่ำกว่าหรือเท่ากับ 18 คาบต่อสัปดาห์ แสดงว่า ครสู อนภาษาจนี ในโรงเรยี นมจี ำนวนเพยี งพอตอ่ การจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในสว่ นของคณุ ภาพ ผู้สอน ครูชาวไทยและครูชาวจีนในสถานศึกษาทุกประเภทส่วนมากจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาจีน อย่างไรก็ตาม จากการสำรวจปัญหาในดา้ นผู้สอนกลบั พบวา่ ปัญหาที่พบมากทีส่ ุด คือปัญหาเร่ืองคุณภาพของครูอาสาสมัครชาวจีน ท้ังทางด้านการสอนและคุณวุฒิ รวมถึงการเปลี่ยน ครูอาสาสมัครบ่อย ซ่ึงส่งผลให้การเรียนการสอนภาษาจีนขาดความต่อเนื่อง และไม่ได้ประสิทธิภาพ เท่าที่ควร โดยเฉพาะในโรงเรียนรัฐ นอกจากน้ัน ยังมีปัญหาครูชาวไทยที่มีภาระงานอ่ืนในโรงเรียน ค่อนข้างมาก จนไม่มีเวลาพัฒนาด้านงานสอน และสถานศึกษาบางแห่งก็มีปัญหาเรื่องคุณภาพ การสอน และคุณวฒุ ิของครูชาวไทยด้วย สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้สอนภาษาจีนหน่วยงานภาครัฐ ต้องเร่งผลิตครูสอนภาษาจนี ชาวไทยให้มจี ำนวนมากขนึ้ โดยการสนบั สนุนและสร้างแรงจูงใจในการมา เป็นครูสอนภาษาจีน โดยเฉพาะกับบัณฑิตที่จบสาขาวิชาภาษาจีนหรือการสอนภาษาจีน และ ในโรงเรียน 1 แห่ง ควรต้องมีครูชาวไทยประจำอยู่อย่างน้อย 1-2 คน หรือมีสัดส่วนมากกว่า ครูอาสาสมัคร เพื่อลดภาระงานของครูชาวไทย ในขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐก็ควรลดการพึ่งพา ครูอาสาสมัครลง และพยายามต่อรองกับหน่วยงานของจีนให้ครูอาสาสมัครอยู่ปฏิบัติงานสอน อย่างน้อย 2 ปี เพื่อลดปัญหาการขาดความต่อเน่ืองในการจัดการเรียนการสอน ท้ังนี้ จะต้องม ี การตรวจสอบคุณสมบัติของครูอาสาสมัครอย่างเข้มงวด โดยหน่วยงานภาครัฐและสถานศึกษาท่ี ประสงคจ์ ะรับครอู าสาสมคั ร จะต้องร่วมมอื กนั และมมี าตรการทช่ี ดั เจน นอกจากน้ี หนว่ ยงานภาครัฐ ควรร่วมกับหน่วยงานของจีน เพ่ือจัดอบรมความรู้และเทคนิคการสอนให้แก่ครูชาวไทยและชาวจีน อยา่ งสมำ่ เสมอ และให้ทนุ สนบั สนุนไปอบรมระยะส้ันหรอื ไปศกึ ษาตอ่ ทีป่ ระเทศจนี เพอ่ื เปิดโอกาสให้ ครูไดพ้ ัฒนาตัวเองในเชงิ วิชาการอย่างต่อเนื่อง รายงานการวจิ ยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมธั ยมศึกษา 123
5.5 ด้านผเู้ รียน จากการศึกษาสภาพปัจจุบันในด้านผู้เรียนภาษาจีน พบว่า จำนวนผู้เรียนมีความแตกต่าง กันไปตามแต่ละช่วงชั้น และประเภทของสถานศึกษา ในโรงเรียนรัฐ ภาษาจีนจัดเป็นวิชาเลือกใน ทุกช่วงช้ัน และมีนักเรียนมากกว่าคร่ึงหน่ึงเลือกเรียนภาษาจีน โดยมีขนาดชั้นเรียน 30-40 ต่อห้อง สว่ นแผนการเรยี นศลิ ปภ์ าษาจนี สว่ นมากมี 1 หอ้ ง นกั เรยี นในแตล่ ะชว่ งชน้ั มพี น้ื ฐานภาษาจนี ทไ่ี มเ่ ทา่ กนั จึงต้องจัดให้เร่ิมต้นเรียนใหม่ ในโรงเรียนเอกชน ภาษาจีนจัดเป็นวิชาบังคับในทุกช่วงชั้น โดยมีขนาด ชั้นเรียน 20-30 คนต่อห้อง ส่วนแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนส่วนมากมี 1 ห้อง แม้นักเรียนในแต่ละ ช่วงช้ันจะมีพ้ืนฐานต่างกัน แต่ส่วนมากจัดให้เรียนต่อเนื่องจากช่วงช้ันก่อนหน้า ส่วนโรงเรียนจีน ภาษาจีนจัดเป็นวิชาบังคับในทุกช่วงช้ันเช่นกัน โดยมีขนาดชั้นเรียน 20-30 คนต่อห้อง ในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และ 30-40 คนต่อห้อง ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทุกแผนการเรียน ส่วนแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนส่วนมากมี 1 ห้อง แม้นักเรียนในแต่ละช่วงช้ันจะมีพื้นฐานต่างกัน แตส่ ่วนมากจดั ให้เรียนตอ่ เน่อื งจากชว่ งชน้ั ก่อนหนา้ เชน่ เดียวกบั โรงเรยี นเอกชน จากการสำรวจปัญหา ด้านผู้เรียน ปัญหาที่พบมากท่ีสุดคือปัญหาเร่ืองทัศนคติต่อภาษาจีนและพฤติกรรมการเรียนภาษาจีน ของผู้เรียน ซ่ึงเป็นปัญหาในทุกประเภทสถานศึกษา สาเหตุหลักของปัญหาคือคิดว่าภาษาจีนยาก เกินไป ไม่มีเป้าหมายของการเรียนภาษาจีน จึงไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาจีน เป็นผลให้ ไม่มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี น นอกจากนี้ อีกปญั หาท่มี คี วามสำคัญมากเชน่ กันกค็ อื ปัญหาระดับ ความรู้และพ้นื ฐานของผู้เรยี นที่แตกตา่ งกัน ซ่งึ ทำใหย้ ากตอ่ การจัดการเรียนการสอน เนอ่ื งจากหากจะ เร่ิมต้นใหม่ ก็จะทำให้นักเรียนท่ีมีพ้ืนฐานรู้สึกเบื่อและไม่อยากเรียน แต่ถ้าหากเรียนต่อเน่ืองจาก ช่วงชั้นก่อนหน้า นักเรียนที่ไม่มีพ้ืนฐานมาก่อนก็จะตามไม่ทัน เรียนไม่รู้เร่ืองและท้ายที่สุดก็ไม่อยาก เรียนต่อเช่นเดียวกัน ดังน้ัน ทั้งสองปัญหาดังกล่าวจึงถือเป็นปัญหาท่ีมีความสำคัญมากที่ควรได้รับ การแกไ้ ขโดยเรง่ ดว่ น สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนภาษาจีน ผู้มีส่วนสำคัญของ การแก้ไขปัญหาดงั กลา่ วก็คอื ผ้ทู ีใ่ กลช้ ดิ นกั เรยี นมากท่สี ุด นน่ั ก็คอื ครู ในการสอนภาษาจนี นอกจากครู จะสอนความรู้และทักษะทางภาษาให้นักเรียนแล้ว อีกหน้าที่หนึ่งที่มีความสำคัญไม่แพ้กันก็คือ การสร้างทัศนคติ และแรงจูงใจท่ีดีต่อการเรียนภาษาจีน พร้อมทั้งสร้างความตระหนักถึงความสำคัญ ของภาษาจีนให้แก่นักเรียน ซ่ึงสามารถทำได้โดยใช้กิจกรรมหรือการฝึกปฏิบัติจริง ท้ังน้ี หน่วยงาน ภาครัฐต้องช่วยสนับสนุนด้วยอีกด้านหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงส่ือและอุปกรณ์การสอนให ้ ทันสมัยน่าสนใจ การสร้างแหล่งเรียนรู้ภาษาจีนที่ให้นักเรียนได้มาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ หรือการจัด มหกรรม หรือการแข่งขันทางด้านภาษาจีนให้เป็นที่รู้จักของคนท่ัวไปในสังคม เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียน รู้สึกว่าภาษาจีนสำคัญและอยากเรียนรู้ นอกจากน้ี ควรให้นักเรียนได้เลือกภาษาจีนตามความสนใจ และความถนัดที่แท้จริง เพ่ือให้เกิดประสิทธิผลในการเรียนท่ีดี และควรจะมีการสอบวัดระดับ 124 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมธั ยมศึกษา
ภาษาจีนของผู้เรียน แล้วแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มตามระดับความรู้ โดยไม่ต้องจำกัดว่าจะต้องเรียนใน ช้ันเรยี นปกติ เพ่ือใหค้ รสู ามารถจดั การเรยี นการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.6 ด้านความรว่ มมือกับหน่วยงานอ่ืน จากการศึกษาสภาพปัจจุบันในด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น พบว่า สถานศึกษา ทุกประเภทส่วนมากมีความร่วมมือกับหน่วยงานของไทยและหน่วยงานของจีน หากเป็นหน่วยงาน ของไทย จะเป็นความร่วมมือกับโรงเรียนในประเภทเดียวกัน โดยโรงเรียนรัฐจะเป็นโรงเรียนศูนย ์ เครือข่ายฯ แต่โรงเรียนเอกชนและโรงเรียนจีนเป็นโรงเรียนในเครือเดียวกัน และได้รับความร่วมมือ และการสนับสนุนด้านสื่อการสอน ผู้สอน และหลักสูตรค่อนข้างมาก ส่วนความร่วมมือและ การสนับสนุนด้านผู้เรียนและทุนการศึกษามีค่อนข้างน้อย หากเป็นหน่วยงานของจีนโรงเรียนรัฐและ โรงเรียนเอกชนมีความร่วมมือกับสำนักงาน HANBAN ห้องเรียนขงจ่ือ และสถาบันขงจ่ือมากที่สุด โดยได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนด้านสื่อการสอน ผู้สอน และทุนการศึกษาค่อนข้างมาก ส่วนความร่วมมือและการสนับสนุนด้านผู้เรียนและหลักสูตรมีค่อนข้างน้อย สำหรับโรงเรียนจีนได้รับ การสนับสนุนในทุกๆ ด้านจากหน่วยงานของจีนค่อนข้างมาก เมื่อเทียบกับโรงเรียนรัฐและโรงเรียน เอกชน ยกเวน้ ด้านผเู้ รียนเทา่ นัน้ ที่ได้รับการสนบั สนนุ คอ่ นขา้ งนอ้ ย เนื่องจากความร่วมมือด้านผู้เรียน กับหน่วยงานอื่นส่วนมากจะเป็นการส่งตัวแทนนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ซ่ึงไม่ได้ประโยชน์กับ นักเรียนทุกคน ดังนั้น สถานศึกษาส่วนใหญ่จึงมองว่าความร่วมมือด้านผู้เรียนยังไม่มากเท่าท่ีควร นอกจากนี้ จากการสำรวจปัญหาด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น พบว่า สถานศึกษาบางแห่งยัง ขาดความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน โดยเฉพาะสถานศึกษาท่ีอยู่ห่างไกลและไม่ใช่สถานศึกษาชั้นนำ แสดงว่าความร่วมมือและความช่วยเหลือในด้านการเรียนการสอนภาษาจีนยังกระจายไม่ท่ัวถึง ในส่วนของสถานศึกษาที่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนอยู่แล้ว ส่วนมากจะเห็นว่ายังไม่ได้รับ ความรว่ มมือมากเท่าที่ควร ยังขาดความตอ่ เน่อื ง ขาดหนว่ ยงานท่ชี ว่ ยประสานงาน และความรว่ มมอื ยังไม่หลากหลายแสดงให้เห็นว่า สถานศึกษาที่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นยังคงมีปัญหา และ ต้องการใหม้ ีความร่วมมอื กับหนว่ ยงานอื่นในทกุ ด้านๆ ให้มากข้ึน สำหรับข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาความร่วมมือด้านภาษาจีนกับ หน่วยงานอ่ืน ภารกิจเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาคือ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรมีการสำรวจโรงเรียนท่ี ต้องการความช่วยเหลือ และให้ความช่วยเหลือในเบ้ืองต้น แต่ในระยะยาวหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ ไทยควรจะสร้างความร่วมมือระหว่างกันให้เข้มแข็ง ซ่ึงเป็นโรงเรียนในระดับเดียวกัน โรงเรียน ศูนย์เครือข่ายฯ ถือว่ามีบทบาทอย่างมาก เนื่องจากกระจายอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ท่ัวประเทศ ดังนั้น โรงเรียนศูนย์เครือข่ายฯ ควรจะขยายความร่วมมือไปยังโรงเรียนต่างๆ ให้มากขึ้นอีกทั้งต้องสร้าง ความเขม้ แข็งภายในเครือขา่ ย โดยการเพิ่มความร่วมมือให้มีความหลากหลายและตอ่ เน่ือง นอกเหนือ รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมธั ยมศึกษา 125
จากการจัดการแข่งขัน และอาจขยายความร่วมมือไปยังโรงเรียนต่างสังกัด เช่น โรงเรียนเอกชนและ โรงเรียนจีน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและแลกเปลี่ยนทรัพยากรด้านภาษาจีนระหว่างกัน เพื่อร่วมกัน พัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนระดบั มธั ยมศึกษา ในส่วนของความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานของจนี เชน่ สำนักงาน HANBAN กระทรวงศึกษาธกิ าร สพฐ. และ สช. ควรมบี ทบาทในการเปน็ หน่วยงานกลาง ของการประสานความร่วมมือกับโรงเรียนต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ทั่วถึง และส่งเสริมความร่วมมือใน ทกุ ๆ ดา้ น โดยเนน้ ในด้านทีย่ ังขาดการสนับสนุน กล่าวโดยสรุป จากข้อเสนอเชิงนโยบายในแต่ละด้านท่ีเสนอไว้ข้างต้น จะเห็นว่าการแก้ไข ปัญหาในแต่ละด้านนั้น ไม่สามารถแยกดำเนินการโดยเด็ดขาดได้ เนื่องจากการจัดการเรียนการสอน ในแต่ละด้านมีความเชื่อมโยงกัน หากด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้รับการแก้ไข อีกด้านหนึ่งก็จะไม่สามารถ แก้ไขได้เช่นกัน ดังนั้น สิ่งสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษาก็ คือ ทุกภาคส่วนท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องจะต้องบูรณาการข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาเข้าด้วยกัน และจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและจริงจัง เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใน ระดบั มธั ยมศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้ 126 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมธั ยมศกึ ษา
บรรณานุกรม Zhang Qingling, ดร.สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์. (2556). การศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธิ ์ ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 9(1), pp. 66-79. จินตนา ภู่ธนานุสรณ์. (2552). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนสอนภาษาจีน สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ธนบุรี. ชลาลัย อานามวัฒน์. (2556). การบริหารการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนเอกชน สอนภาษาจีน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. สารนพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา. มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. ซานซาน เปา. (2555). การจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ของครอู าสาสมัครจนี จากสำนกั งานส่งเสรมิ การเรียนการสอนนานาชาติแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (ฮ่ันป้ัน) ณ จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภูมิภาคศึกษา. มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ บุญเสริม สัมนาวงศ์. (2553). การศึกษาการใช้หลักสูตรภาษาต่างประเทศท่ี 2 (ภาษาจีน) ของ โรงเรียนท่ีมีผลการสอบวิชาความถนัดทางภาษาจีนสูง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ านิเทศการศกึ ษาและการพฒั นาหลกั สตู ร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2550). พัฒนาการของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย. วารสาร อกั ษรศาสตร,์ 36(2), หนา้ 64-82. ผอ่ งพรรณ เสาวภาคพฤกษ.์ (2548). สภาพ ปญั หา และความตอ้ งการการใช้ส่อื การสอนของครูสอน ภาษาจีนในโรงเรียนเอกชนกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ ผู้จัดการ 360º สุดสัปดาห์. (2550). เจาะลึก สัมผัสภาษาจีน ตำราเรียนจีนเล่มแรกสอดแทรก วฒั นธรรมไทย. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.manager.co.th/mgrWeekly/ViewNews.aspx? NewsID=9500000062919. รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับมธั ยมศึกษา 127
เฝิง บิน บิน. (2554). ปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับการศึกษา ข้ันพื้นฐานของโรงเรียนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา การบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั บูรพา. พรหทัย จันทรกานตานนท์. (2549). การศึกษาสภาพการจัดการโรงเรียนเอกชนที่สอนภาษาจีน ในหลักสูตรระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจดั การการศกึ ษา. มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์. พวงพร แซค่ ู. (2553). กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครผู สู้ อนภาษาจีนในสถานศกึ ษาสังกดั สำนกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาเชียงราย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและ การสอน. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย. ภาวิณี บญุ ทา. (2545). การศกึ ษาการพฒั นาหลกั สูตรภาษาต่างประเทศที่ 2 (ภาษาจีน) : กรณีศกึ ษา โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและ พัฒนาหลักสูตร. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. มุขรินทร์ หวง. (2551). แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนกลางในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา ผใู้ หญ่และการศกึ ษาต่อเนื่อง. มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ลี ซุน. (2550). สภาพและแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับช่วงชั้นที่ 3-4 ในจังหวัด นครปฐม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ. มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. วารุณี จิวกิตติศักด์ิกุล. (2538). แนวทางพัฒนาการบริหารโรงเรียนเอกชนเพ่ือสอนภาษาจีน เขตการศึกษา 8. การคน้ คว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่ วิภาดา ขุนทองจันทร์. (2552). การประเมินโครงการการจัดการการเรียนรู้ภาษาจีนกลางกับเจ้าของ ภาษา โรงเรียนเมืองนครศรธี รรมราช สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนา. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช. ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). การเรียนการสอนภาษาจีนใน ประเทศไทย : ระดบั ประถม-มธั ยมศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: ศรีบูรณค์ อมพวิ เตอร์-การพิมพ์. สาลี วิบูลย์ชาติ. (2552). การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการอำนวยการโรงเรียน เอกชนในความดูแลของมูลนิธิที่สอนภาษาจีน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรบัณฑิต สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา. มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม. 128 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับมัธยมศึกษา
สำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2553). ความร่วมมือด้าน การศึกษากับสาธารณรัฐประชาชนจีน. เข้าถึงได้จาก http://www.bic.moe.go.th/ newth/index.php?option=com_k2&view=item&id=1989:2013-10-14-23-01-02& Itemid=294. สำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553). ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: หจก.บางกอกบลอ็ ก. สุคนธา อรุณภู่. (2554). รูปแบบการจัดการศึกษาภาษาจีนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท ี่ การศกึ ษามธั ยมศึกษา. เขา้ ถงึ ได้จาก http://sukonthaarunpoo.blogspot.com/p/blog- page_28.html. สุทธิษา รัตนมงคล. (2551). การพัฒนาแผนการสอนภาษาจีนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน. มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่ สุภัค ม่ันศรี. (2557). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนใน โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ระยอง). วทิ ยานพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั บรู พา. สุวรรณ เลียงหิรัญถาวร. (2556). การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย แมโ่ จ,้ 1(2), หน้า 43-59. อรอนงค์ รศั มรี งั สเี หลอื ง. (2546). สภาพและปัญหาการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรียนสอนภาษาจีน ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา. อุไรวรรณ ปฐมบูรณ์. (2556). การศึกษาสภาพปัญหาทรัพยากรการบริหารสำหรับการสอนภาษาจีน ในโรงเรียนประเภทการศึกษาสงเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชนในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา. มหาวิทยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณ.ี อุษณีย์ วัฒนพันธ์. (2550). รณรงค์ขยายผลการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน. เข้าถึงได้จาก http://sawangpattaya.org/sawangschool/index.php?topic=412.0 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั มัธยมศึกษา 129
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1 รายชื่อโรงเรยี นรฐั ทต่ี อบแบบสอบถาม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190