Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

Published by Www.Prapasara, 2021-04-04 05:10:29

Description: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

ภาษาจีน เป็นภาษาที่สำคัญมากภาษาหนึ่ง และมีแนวโน้มที่จะสำคัญยิ่งขึ้นในอนาคต
เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 5,000 ปี มีการสั่งสม
องค์ความรู้ด้านต่างๆ และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาถึงปัจจุบัน สาธารณรัฐประชาชนจีนยังเป็นประเทศ
มหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก เป็น
ประเทศที่มีความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก และประชากรชาวจีนยังมาก
เป็นอันดับ 1 ของโลก ดังนั้น หากคนไทยมีความรู้ภาษาจีนจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ค้นคว้า
และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สามารถสร้างความร่วมมือด้านธุรกิจการค้าการพัฒนาด้านต่างๆ ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้ประเทศไทยได้เปรียบในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้

Keywords: รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน,การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Search

Read the Text Version

ตารางท่ี 5-9 ความถี่ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากสถานศกึ ษาด้านหลักสตู ร (ต่อ) ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นหลักสตู ร 21. ใหค้ วามรู้กับครูจนี ใหช้ ัดเจนเกย่ี วกบั เน้ือหาของหลกั สูตรภาษาจนี 1 2 2. ควรมีการทดสอบวัดระดบั ความรู้ทางด้านภาษาจีนท่ีต่อเนอ่ื งและชัดเจนแกโ่ รงเรยี น 1 ระดบั ประถมโรงเรยี นสอนภาษาจนี ความคดิ เห็น ความถ ่ี 1. หลักสูตรองิ ของสพฐ. ประยุกตใ์ ช้จากภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 2 2. ขาดผเู้ ช่ียวชาญในการจดั ทำหลักสตู รภาษาจีนทเ่ี หมาะสมกบั ริบทของโรงเรียน 2 3. หลักสตู รรวมถึงมาตรฐานการเรียนรูก้ ับหนงั สือเรียนมเี นอ้ื หาไม่สอดคลอ้ งกัน ทำใหผ้ ้สู อน 1 ต้องมีบทเรยี นเพิม่ เตมิ เพื่อให้สอดคลอ้ งกับตัวช้วี ดั 4. เนอ่ื งด้วยปัจจุบนั การเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรยี นไทยส่วนใหญ่ผลการเรยี นภาษาจีน 1 ยังไม่นำไปรวมกับผลการเรยี นรวมทม่ี ีผลต่อการศึกษาต่อในระดบั ท่ีสงู ขน้ึ ทำใหน้ ักเรียน รวมถงึ ผูป้ กครองไมเ่ หน็ ความสำคญั กับการเรียนภาษาจีน 1 5. หลักสูตรปัจจุบนั ใช้ของประเทศจนี ส่งมา 1 6. โรงเรียนไมไ่ ดร้ ับหลักสูตรจากรฐั บาล ขอ้ เสนอแนะ ความถ ่ี 7. ควรมหี ลักสตู รเนอ้ื หาท่ีสอดคลอ้ งกับแบบเรียนและความเหมาะสมกบั นักเรียนไทย 2 8. ควรมีการจัดประชุมเพ่อื สร้างหลกั สูตรภาษาจนี รว่ มกันเปน็ หลักสตู รแกนกลางทีช่ ดั เจน 5 เพอื่ ประสิทธภิ าพในการสอน 5 9. หลักสตู รจดั หลกั สตู รทเ่ี หมาะสมที่ทกุ โรงเรยี นนำไปใช้ได ้ 2 10. ให้นักเรยี นมีการทดสอบการแข่งขันภาษาจีนนักเรีย ป.3 ตอ้ งสอบ HSK 3 1 1 1. ควรมีข้อสอบกลางด้านภาษาจีน 2 1 2. ควรการให้มกี ารจัดอบรมด้านการวางแผนการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนจากผเู้ ช่ยี วชาญ 1 เรมิ่ ต้ังแตพ่ ้นื ฐาน เนื่องจากส่วนใหญ่ท่ีทำอย่กู ย็ งั ไมช่ ัดเจนตอ้ งปฏบิ ตั ไิ ปในแนวทางใด และการบริหารจดั การการเรยี นการสอนภาษาจนี ควรไปในแนวทางเดยี วกันทง้ั ประเทศ 2 เพือ่ ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หากบั ผู้เรยี นเน่อื งจากมีนักเรียนของทางโรงเรยี นเม่อื จนป.6แลว้ ไปศกึ ษาต่อ ระดับม.ตน้ ก็สอนเนอ้ื หาวิชาซ้ำซ้อนกับเน้ือหาวิชาระดับประถมท่เี รียนไปแลว้ ดังนนั้ ควรจะมกี ารปรับปรุงเนือ้ หาให้มีการต่อเน่อื งแบ่งชัน้ เรยี นเปน็ ระดบั พืน้ ฐานต้นกลางสูง เพ่ือระโยชน์ตอ่ นกั เรียนไทยในการพฒั นาตนดา้ นคุณภาพการเรยี นภาษาจนี มากยงิ่ ๆ ขึ้นไป 13. จดั ให้มคี า่ ยภาษาจีนเพ่อื กระตุน้ ความสนใจและความชอบในการเรียนภาษาจีน ทัง้ ในและตา่ งประเทศ รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 129

ตารางท่ี 5-9 ความถี่ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากสถานศกึ ษาดา้ นหลักสูตร (ตอ่ ) ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นหลักสูตร โรงเรยี นเอกชน ความคดิ เห็น ความถี่ 1. โรงเรียนมกี ารติดต่อบริษัทเอกชนที่มหี ลักสูตรในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี 2 ให้กบั โรงเรยี นโดยมคี รูภาษาจนี เปน็ ส่อื กลางในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน (2) 2. หลักสตู รในแต่ละระดบั ไม่ตอ่ เนอ่ื ง 3 3. ขาดผเู้ ชยี่ วชาญในการจดั ทำหลกั สตู รภาษาจนี สถานศกึ ษาทเี่ หมาสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา 2 4. จัดทำหลักสูตรภาษาจีนองิ ตามหลกั สตู รแกนกลาง 2551 หมวดภาษาตา่ งประเทศ 3 ขอ้ เสนอแนะ ความถ่ ี 5. ควรมีหลกั สตู รการเรยี นภาษาจีนแกนกลางทช่ี ดั เจนและเป็นแนวทางเดียวกัน 7 6. การเรียน 1 คาบ/สัปดาห์ น้อยเกนิ ไปควรเพม่ิ จำนวนเรยี นมากกว่า 1 ชม. 3 7. หลักสูตรการเรยี นควรสอดคล้องกบั สภาพแวดลอ้ มของผเู้ รยี นจะได้นำไปใช้ไดจ้ รงิ และ 1 ทำใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิท์ างการศกึ ษา 8. หลกั สตู รควรมีเนอ้ื หาทีไ่ ม่ยากเพื่อจูงใจใหน้ ักเรียนสนใจ 1 9. ควรจดั หลักสูตรที่ตรงตามระดบั ช้ัน 1 10. ควรมีกจิ กรรมเสริมนอกหอ้ งเรยี น 1 1 1. ขอใหส้ ง่ หลักสตู รแกนกลางตามโรงเรยี นที่เปิดสอนภาษาจนี 1 1 2. ควรเสนอให้ทกุ โรงเรยี นมกี ารจดั สปั ดาหก์ ารแขง่ ขันภาษาจีนประจำเทอม 1 โรงเรียนในสงั กดั กทม. ความคดิ เห็น ความถ่ ี 1. ควรทำหลกั สตู รให้งา่ ยตอ่ ผเู้ รยี น 2 2. หลักสูตรขาดการตอ่ เนอื่ ง เน่อื งจากสถานศกึ ษาไม่ได้จดั ทำหลกั สูตรเองเปน็ หลกั สูตร 2 ทีบ่ รษิ ทั ไดก้ ำหนดขึ้น 3. หลกั สูตรบางอย่างอาจไมเ่ หมาะกับชวี ิตประจำวันชมุ ชนภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ 1 4. ไมม่ ีการบรรจุในหลกั สูตรสถานศึกษา 1 5. หลักสตู รสำนักงานกทม. มีความเหมาะสมด ี 3 6. มีหลกั สตู รที่ชดั เจนเนน้ การปฎิบตั ิ 1 7. โรงเรยี นใช้การวัดผลตามวัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรมซ่ึงปรบั ใช้มาจากตัวชีว้ ดั ในระดบั 1 ช้ัน ป.1 ป.3 และยงั ไม่สามารถจัดทำหลักสตู รของโรงเรยี นทสี่ มบูรณ์ได้ เนื่องจากขาด บคุ ลากรทม่ี ีความสามารถดา้ นภาษาจนี ควบคูก่ ับการจัดทำหลกั สูตร 130 รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา

ตารางท่ี 5-9 ความถ่คี วามคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากสถานศกึ ษาด้านหลกั สตู ร (ตอ่ ) ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้านหลกั สูตร 8. การจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ตอ้ งดสู ภาพของชุมชนและนกั เรยี น สำหรบั โรงเรียน 1 สงั กดั กรงุ เทพมหานคร ทไี่ ด้รบั นโยบายตามโครงการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในระดบั ช้นั ป.4 –ป .6 นัน้ จดั เป็นกิจกรรมเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรูก้ ารพดู และเขยี นภาษาจีนงา่ ยๆ ในชวี ติ ประจำวนั จงึ ไมส่ ามารถสอนภาษาจนี ได้เตม็ รปู แบบไดเ้ ชน่ เดียวกบั โรงเรยี นท่อี ยูใ่ น 1 ชุมชนคนจนี และมหี ลกั สูตรการจัดการเรยี นการสอนสองภาษาต้ังแตร่ ะดับชนั้ ป.1 ถึงป.6 9. สำนักการศึกษากรงุ เทพมหานครโดยศกึ ษานิเทศก์ไดใ้ ห้ตวั แทนครขู องโรงเรียนทีเ่ ปิด 1 ทำการสอนภาษาจีนร่วมทำหลักสูตรโดยนำหลกั สูตรแกนกลางสาระภาษาตา่ งประเทศ ปี พ.ศ. 2551 มาเปน็ ตวั อย่างซงึ่ ปจั จบุ ันจะมีแตภ่ าษาอังกฤษมาเทียบและจดั เนื้อหาภาษาจนี ไปรองรบั ตามมาตรฐานต่างๆ และใหต้ ามโรงเรยี นกรุงเทพมหานครใชเ้ ปน็ แนวทาง 10. ความพร้อมและเวลาเรียนน้อยเกินไป ข้อเสนอแนะ ความถี ่ 11. ควรมีการทำความเข้าใจกบั หนว่ ยงานที่จดั ทำหลกั สตู รภาษาจีนเพอื่ ใหส้ อดรบั กับ 1 การนำไปใช้และทำความเข้าใจกับครูชาวไทยท่ีเปน็ ผรู้ ว่ มสอนในแนวทางกานสอนหรอื หลักสูตรใหเ้ ปน็ ไปแนวทางเดียวกนั 2 12. ควรจดั ให้มีคาบเรียนภาษาจีนเพิม่ ขึ้น 2 13. ควรไดเ้ รยี นภาษาจีนตั้งแต่ ป.1 1 1 4. ควรพฒั นาหลักสตู รใหเ้ หมาะสมกบั สภาพบริบทของนักเรยี น ข้อมูลจากตารางความถี่ข้างต้นในด้านหลักสูตรเป็นประเด็นท่ีมีการให้ความสำคัญมากท่ีสุด เนื่องจากปัจจบุ นั กระทรวงศึกษามีหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ซ่ึงเป็น หลักสูตรในภาพรวม โดยทางโรงเรียนต้องใช้หลักสูตรแกนกลางฯ ในส่วนของสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไปประยุกต์และปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน จึงส่งผลให้หลักสูตรการ จดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ของโรงเรยี นแตล่ ะแหง่ มีความแตกต่างกันอย่างมาก โรงเรียนในสังกัด สพฐ. และโรงเรียนเอกชนส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าหลักสูตรแกนกลางฯ มี เนื้อหาที่ไม่สมบูรณ์ชัดเจนและสอดคล้องกับระดับความรู้ของผู้เรียน รวมท้ังยังขาดความต่อเนื่องของ เนื้อหาในการเรยี นในแต่ละระดับชั้น โรงเรียนสอนภาษาจีน ส่วนใหญ่มีการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนของสถานศึกษาเองโดยได้มี การอ้างอิงจากหลักสูตรแกนกลางฯ ในส่วนของสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ซ่ึงโรงเรียน ส่วนใหญ่มีความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนของสถานศึกษา แต่เนื่องจากขาดผู้เชี่ยวชาญใน ด้านการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา จึงทำให้ หลักสตู รทีจ่ ดั ทำขึ้นนั้นยังไม่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับชัน้ รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา 131

โรงเรียนในสังกัด กทม. ได้จัดทำหลักสูตรภาษาจีนโดยสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ซ่ึง เป็นการร่วมกันจัดทำหลักสูตรจากตัวแทนครูผู้สอนในโรงเรียนท่ีทำการเปิดสอนภาษาจีน ท้ังน้ี หลักสูตรท่ีจัดทำขึ้นน้ันได้อ้างอิงจากหลักสูตรแกนกลางฯ ในส่วนของสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษา อังกฤษ) ซึ่งหลักสูตรฯ ดังกล่าวมีเน้ือหาสาระการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ไม่เหมาะกับผู้เรียนในแต่ละ ระดับช้ัน ประกอบกับชวั่ โมงในการเรียนการสอน 1 ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์นอ้ ยเกินไป จึงทำให้หลกั สตู รที่ จดั ทำขึ้นนัน้ ไมส่ อดคล้องกบั บริบทของผูเ้ รยี นและสถานศึกษา จากประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น กระทรวงศึกษาธิการควรจัดให้มีการจัดทำหลักสูตร การเรยี นการสอนภาษาจนี ขน้ึ มาโดยเฉพาะ และควรมตี วั อยา่ งในการจดั ทำแผนการสอน คมู่ อื ครู และ ส่ือการสอนที่สอดคล้องต่อเนื่องกันในแต่ละระดับช้ันเรียน เพื่อให้โรงเรียนแต่ละแห่งสามารถ นำหลักสูตรฯ ไปใช้เป็นแนวทางเดียวกันและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของ สถานศึกษาได้ นอกจากนี้ ควรจัดให้มีการอบรมการใช้หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีน เพ่ือให้ ครผู สู้ อนสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นการเรียนการสอนอยา่ งเหมาะสม ตารางที่ 5-10 ความถค่ี วามคดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากสถานศึกษาด้านส่อื การสอน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านสื่อการสอน โรงเรยี นในสังกัด สพฐ. ความคิดเห็น ความถ ่ี 1. โรงเรยี นยงั ขาดสอื่ การสอนภาษาจนี ท่หี ลากหลาย 4 2. หนงั สอื เรยี นไม่เพียงพอตอ่ นักเรยี นแต่ละระดบั ชน้ั 1 3. ขาดงบในการจัดทำสอ่ื การสอนส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ต่างๆ 1 4. ส่วนหนังสือเรยี นจัดทำขึ้นเองเพราะจะไดส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของโรงเรียนเนน้ ทกั ษะ 1 การฟังพูดภาษาจีนของนักเรยี นเป็นสว่ นมาก โรงเรียนสอนภาษาจีน ความคดิ เห็น ความถ ่ี 1. โรงเรยี นขาดสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกสท์ ท่ี นั สมัย 7 2. สื่อการเรียนการสอนไมเ่ หมาะสบกบั ผเู้ รียน 5 3. โรงเรียนขาดงบประมาณการจัดซือ้ หนังสือ 2 4. สอื่ การเรยี นการสอนภาษาจีนมีไมเ่ พียงพอ 3 5. ไดร้ บั การสนบั สนนุ สอื่ การเรยี นการสอนจากองคก์ ร Hanban, Qiaoban และสถาบนั ขงจ่อื 5 6. เนอ่ื งจากยงั ไมม่ กี ารจดั การเรยี นการสอนไปในแนวเดียวกันทว่ั ประเทศจึงทำใหแ้ ต่ละโรงเรียน 2 เลือกหนังสอื เรยี นไม่ตรงกนั จงึ เกิดความแตกตา่ งกนั ในหลายๆ ด้าน 132 รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา

ตารางท่ี 5-10 ความถค่ี วามคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากสถานศึกษาด้านสือ่ การสอน (ตอ่ ) ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะด้านสอื่ การสอน 7. ส่อื การสอนภาษาจนี มีราคาแพงเพราะนำเข้าจากจีนเสียสว่ นมาก 2 8. จดั ทำเนอื้ หาทส่ี อนและผลิตสอ่ื เอง 1 โรงเรียนสอนภาษาจนี 9. ในฐานะท่ีเปน็ ครูสอนภาษาจนี มากอ่ นแบบเรยี นทก่ี รมวชิ าการจดั ทำจะมคี มู่ ือการสอน 1 ประกอบ สอนแล้วได้ผลมากๆ ข้อเสนอแนะ ความถี่ 10. อยากใหม้ สี อ่ื การสอนทสี่ อดคลอ้ งกบั หนงั สอื ทเ่ี รยี นและเหมาะสมสำหรบั นกั เรยี นแตล่ ะชว่ งชนั้ 5 11. สื่อการเรียนการสอนในปจั จบุ นั ของภาษาจนี จะมีน้อยมาก และทม่ี ใี นปัจจุบนั 1 ราคาสูงมาก จึงอยากใหส้ นับสนนุ เรื่องสือ่ การเรยี นการสอนใหม้ ากขนึ้ ไม่ว่าจะเป็น ส่ือทางดา้ นมัลตมิ ีเดยี หรือสิง่ พมิ พเ์ พราะมีประโยชนต์ ่อการเรียนการสอนในปจั จบุ ันน ี้ มากกวา่ การใหน้ ักเรยี นจนิ ตนาการเอง จงึ ควรสนบั สนุนใหอ้ ยา่ งจรงิ จงั กว่าที่เปน็ อยู่ 1 1 2. ควรมหี อ้ งสำหรบั เรยี นภาษาจนี เชน่ ห้องโสตฯ พรอ้ มด้วยสอ่ื ทกุ ประเภทภายในหอ้ งเดียวกัน ใชส้ ำหรบั การเรยี นการสอนทตี่ ้องพง่ึ พาสื่อเหล่านี้ เพราะการเรยี นในหอ้ งเรียนจะทำไดแ้ ค่ 1 อ่านเขยี นเทา่ นั้น 1 3. ใหม้ กี ารแข่งขนั การคิดสอ่ื การเรยี นการสอนด้านภาษาจีน เพ่ือสง่ เสริมใหค้ รไู ด้นำเสนอเทคนคิ 1 การสอนและแลกเปล่ยี นเรยี นร้รู ะหว่างกนั 1 14. ควรจัดให้มีการอบรมการสร้างสอ่ื ดว้ ยตนเองและใชเ้ ทคโนโลยีมาช่วยในการทำสื่อ 1 15. สนบั สนุนสอ่ื การสอนให้กบั แตล่ ะโรงเรียน (ท่สี ามารถนำไปใชไ้ ด้จรงิ ) 16. ควรมีกรมวชิ าการทำแบบเรียนภาษาจีนเช่นเดยี วกบั ท่ีทำมาในอดีต โรงเรยี นเอกชน ความคิดเหน็ ความถ่ ี 1. ขาดแคลนสือ่ การเรยี นการสอนท่ีทนั สมยั และหลากหลาย 6 2. จัดทำส่อื การสอนทีเ่ หมาะกับระดบั ช้นั ของนกั เรยี น 2 3. ขาดการสนับสนนุ จากต้นสังกดั สช. 1 4. ขาดแคลนห้องปฏบิ ตั กิ าร 1 5. หนังสือจีนแต่ละบทไมค่ อ่ ยต่อเนอ่ื งและรูปประโยคบางประโยคไมเ่ ปน็ ที่นยิ มใชก้ นั 1 และมบี างสว่ นทีพ่ มิ พ์ผิดแต่หนังสือชุดนก้ี ็เปน็ ทีน่ ยิ มใช้กนั ในระดับประถมศกึ ษา 6. มกี ารจัดทำสอ่ื การสอนโดยให้บรษิ ัทเอกชนเข้ามาดำเนนิ การซึ่งเป็นหลักสตู รของบริษัท 1 มาจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหก้ ับนักเรียนโดยมสี ื่อการสอนภาษาจนี ทห่ี ลากหลาย 7. เวลาจดั กจิ กรรมเรยี นภาษาจนี ถา้ เปน็ การใช้สอื่ นกั เรยี นจะสนใจเรยี นดแี ละใหค้ วามสนใจ 1 รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 133

ตารางที่ 5-10 ความถค่ี วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากสถานศึกษาดา้ นสื่อการสอน (ต่อ) ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านสอื่ การสอน ข้อเสนอแนะ ความถี่ 8. ควรมีการพฒั นาและสนับสนุนงบประมาณในการผลติ และสร้างสรรคส์ ื่อการสอนมากกวา่ น้ ี 4 จัดส่ือการสอนทีม่ ีความหลากหลาย โรงเรียนในสงั กดั กทม. ความคิดเหน็ ความถ ่ี 1. สือ่ การสอนไมห่ ลากหลาย 4 2. ไดร้ ับการสนบั สนนุ ด้านส่อื แบบเรยี น และแบบฝกึ หดั จาก สำนักงานการศึกษา กทม. 2 อยา่ งสม่ำเสมอและเพยี งพอ 3. มีสือ่ การสอนท่หี ลากหลาย และเพยี งพอสร้างความสนใจนกั เรยี นไดด้ ี ข้อเสนอแนะ ความถี่ 4. ควรมีสอื่ การสอนทห่ี ลากหลายมากกว่านี้ 2 ข้อมูลจากตารางความถีข่ ้างต้นในด้านส่ือการสอน พบว่า โรงเรียนโดยสว่ นใหญ่ขาดแคลนสอื่ การเรยี นการสอนทม่ี คี วามหลากหลายและทนั สมยั และมโี รงเรยี นบางแหง่ พบวา่ สอ่ื การเรยี นการสอน ไมม่ คี วามสอดคลอ้ งกบั ผเู้ รยี น เชน่ หนงั สอื ทน่ี ำมาใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนมเี นอื้ หาทไ่ี มเ่ หมาะสม กับผู้เรียน เปน็ ต้น จากประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น กระทรวงศึกษาธิการควรมีการผลิตสื่อที่หลากหลาย เพื่อให้โรงเรียนสามารถนำไปใช้ได้ตามความเหมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรียน รวมท้ังมีการผลิตสื่อ ท่ีมคี วามน่าสนใจและทนั สมัยเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผเู้ รยี นสนใจเกิดการเรยี นรูม้ ากย่ิงขนึ้ 134 รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

ตารางท่ี 5-11 ความถ่ีความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากสถานศึกษาด้านครผู ูส้ อน ความถ ่ี ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นผ้สู อน 3 4 โรงเรียนในสงั กัด สพฐ. 6 ความคดิ เหน็ 1. ครอู าสาสมัครชาวจีนเปลยี่ นบ่อย จงึ ทำใหก้ ารเรยี นการสอนไมต่ ่อเนอ่ื ง 1 2. ครชู าวจนี มปี ระสบการณก์ ารเรยี นการสอนนอ้ ย และไมส่ ามารถควบคมุ หอ้ งเรยี นไดด้ เี ทา่ ทคี่ วร 3. การส่ือสารของครภู ายในโรงเรียนกบั ครูอาสาสมัครยงั ไมส่ ามารถสื่อสารกนั ไดช้ ัดเจน 1 จึงเปน็ อปุ สรรคในการจดั การเรียนการสอน 1 4. ครูผ้สู อนจะเป็นครูอัตราจา้ งและครอู าสาสมคั รชาวจีน ครปู ระจำการท่ีบรรจเุ อกภาษาจนี มนี อ้ ยมากส่วนใหญ่จะอยู่ในโรงเรยี นมธั ยม ความถ ่ี 5. ครูยังไม่เพยี งพอตอ่ จำนวนนกั เรยี น 2 6. ยงั ขาดการสง่ ครูไปอบรมในเร่อื งของการสอนภาษาจีน ขอ้ เสนอแนะ 1 7. ครจู ีนควรคัดเลอื กครทู ส่ี อื่ สารภาษาองั กฤษได้เนื่องจากการทำงานขาดการประสานงานกัน 6 เพราะพดู และฟงั ภาษาอังกฤษไมไ่ ด้ (ใน รร.ทไ่ี มม่ คี รจู ีนเป็นคนไทย) 8. อยากใหม้ ีการคัดเลอื กครูท่ีอยากสอนเด็กประถมเด็กเล็ก เพราะครูบางคนไม่ชอบเด็ก 1 9. จัดอบรมครผู ูส้ อนท้ังชาวไทยและชาวจนี เพือ่ ให้มีความเขม้ แขง็ มีเทคนคิ การสอนมีการใชส้ อื่ และเพ่มิ ศกั ยภาพในการจัดการเรียนการสอน 10. ควรจะกระจายการอบรมมายังกรมการปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในส่วนทเี่ ป็นครไู ดม้ โี อกาส ความถี่ ไปศึกษาหาความรมู้ าพฒั นาภาษาจีนในองค์กรตอ่ ไป 7 4 โรงเรยี นสอนภาษาจีน ความคิดเหน็ 3 1. ครอู าสาสมัครชาวจีนเปลี่ยนบอ่ ย การเรียนการสอนไมต่ อ่ เนอ่ื ง 1 2. ครผู ู้สอนชาวจีนไม่มปี ระสบการณใ์ นการเรียนการสอน ยงั ควบคุมช้นั เรยี นได้ไมด่ จี ึงทำให ้ 1 ไมส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนได้มีประสิทธภิ พ 1 3. ครชู าวจนี สอ่ื สารกบั นกั เรยี นและครชู าวไทยไมร่ เู้ รอื่ งจงึ เปน็ อปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอน 1 4. ครชู าวจนี ไม่ใส่ใจในการเรยี นการสอนนักเรยี น 5. ครูอาหาสมคั รไม่ได้จัดเตรียมการสอนจะเรยี นภาษาไทย 6. ครสู อนภาษาจนี ชาวไทยสามารถควบคมุ ชน้ั เรียนได ้ 7. ครูผู้สอนสว่ นใหญจ่ ะเป็นครูสญั ชาติไทยแตอ่ ยูไ่ ม่ตอ่ เนือ่ งมกี ารลาออกเกอื บทกุ ปี รายงานการวจิ ัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา 135

ตารางที่ 5-11 ความถีค่ วามคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากสถานศึกษาด้านครผู ู้สอน (ต่อ) ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นผู้สอน 8. โครงการพัฒนาครูภาษาจนี มนี อ้ ยมากแทบจะไม่ได้รบั การอบรมพฒั นาเทา่ ทีค่ วร 1 9. ครอู าสาสมคั รชาวจีนท่ดี ำเนนิ การผา่ น สช. ไมเ่ ปน็ ระบบเชน่ ไม่ได้ครคู รบตามจำนวน 1 ท่ีขอจากทาง สช. ไม่แจง้ ล่วงหน้าทำให้เกดิ ปัญหาวา่ เปิดเรยี นแล้วครูไมค่ รบ ต้องชว่ ยกัน สอนแทน ทำใหท้ างโรงเรยี นจำเป็นตอ้ งจดั หาครูจีนจากหนว่ ยงานอน่ื ในประเทศจีนท่ไี ม่ใช่ ฮัน่ ป้นั ควรมรี ะบบการจดั การชดั เจน ข้อเสนอแนะ ความถ ่ี 1. ควรมกี ารจัดอบรมครูสอนภาษาจีนเรอ่ื งการจัดการเรียนการสอน เทคนคิ การสอนและ 11 ความเป็นครูอยา่ งต่อเน่อื งเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพใหแ้ ก่ครผู สู้ อน 2. ควรมีการคัดเลอื กครูผ้สู อนชาวจนี ทม่ี คี วามเป็นครแู ละมีคุณภาพในการสอนภาษาจนี 3 3. ครตู า่ งชาตคิ วรเขา้ ใจชวี ติ การเปน็ อยขู่ องเดก็ ไทยและวฒั นธรรมไทยใหด้ กี อ่ นมาสอนทเี่ มอื งไทย 5 4. สช. ควรมีระบบในการจดั การส่งครูจากฮั่นปนั่ ใหโ้ รงเรียนสอนภาษาจนี ทชี่ ดั เจน 1 5. ทางมหาวิทยาลยั ชว่ ยเปดิ หลกั สตู รการเรยี นการสอนภาษาจนี คุรุศาสตร)์ เพราะปัจจบุ ัน ครสู อนภาษาจนี กำลังขาดแคลนอยา่ งมาก 1 6. ควรมีเงินเดือนครูสูงจะได้ไม่เปลย่ี นอาชีพครจู นี 1 7. ควรมีการจัดอบรมครจู ากประเทศจีน (ครูอาสา) ใหร้ ูห้ ลักสตู รและตำราเรียน ตำราเสรมิ การใช้ส่ือการสอนกอ่ นท่ี รร.จะรบั มาสอน 1 8. ดา้ นครผู ูส้ อนควรจบเอกจนี ด้านการสอนโดยตรง 1 9. เชญิ บคุ ลากรทม่ี คี วามรูค้ วามสามารถภายนอกมาสอน โดยสร้างความเช่ือมน่ั ใหค้ รูมกี ำลงั ใจ ในการทำงาน โรงเรยี นเอกชน ความคิดเหน็ ความถ ่ี 1. ครจู นี ประสบการณ์น้อยและไมส่ ามารถควบคุมชั้นเรียนไดต้ ้องมคี รคู นไทยทสี่ อนภาษาจนี 4 เข้าสอนด้วย 2. การเปล่ยี นครผู ูส้ อนชาวจนี เปลย่ี นบ่อยทำขาดความต่อเนอื่ งดา้ นการเรียนการสอน 3 3. ครูยงั ไม่เพียงพอตอ่ จำนวนนักเรยี น 3 4. ครไู ทยขาดความรอบร้เู ชีย่ วชาญด้านการสอน 1 5. ครูผู้สอนไม่มที กั ษะวชิ าชีพทำให้ไม่ได้รบั การฝึกประสบการเท่าท่คี วรและบางสว่ นก็มุ่งเน้น 1 ไปในการประกอบอาชีพอยา่ งอน่ื 1 6. หาครูทมี่ ีคุณภาพค่อนข้างยาก (ครทู ่เี ป็นเจ้าของภาษา) 1 136 รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา

ตารางที่ 5-11 ความถี่ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะจากสถานศกึ ษาดา้ นครูผ้สู อน (ตอ่ ) ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นผ้สู อน 7. โรงเรยี นเอกชนครูเข้า-ออกบอ่ ยทำใหเ้ นอ้ื หาขาดความตอ่ เน่ือง 1 8. ขาดครจู นี ทีเ่ ป็นเจา้ ของภาษาไมไ่ ดร้ บั การสนับสนนุ อำนวยความสะดวกจากภาครัฐ 1 9. ทางโรงเรียนตอ้ งการครูผสู้ อนโดยตรงจากประเทศจีน แต่มคี ่าใช้จา่ ยสูงและมีความยุ่งยาก 1 ในการจดั ทำเอกสารการรบั ครูชาวตา่ งประเทศ ขอ้ เสนอแนะ ความถี่ 1 0. ควรมกี ารจัดฝึกอบรมเทคนคิ การเรียนการสอนภาษาจนี ใหแ้ กค่ รูสอนภาษาจีน อยา่ งต่อเนอื่ ง 7 1 1. ครูอาสาสมัครท่ีฮั่นป้นั สง่ มาชว่ ยสอนภาษาจีน ควรเลอื กคนทีม่ ีพูดภาษาไทยได้บ้าง 5 เพราะครไู ม่รู้ภาษาไทยนกั เรยี นเรยี นไมร่ ู้เรอ่ื งเลย 1 2. ครูควรมีเทคนคิ ทห่ี ลากหลายในการสอนเพ่อื กระตนุ้ ผ้เู รียนใหม้ ีความสนใจในภาษาจนี 4 และเหน็ ความสำคญั ของการใช้ภาษาจีน 1 3. สง่ เสรมิ การผลิตครูเอกภาษาจีนชาวไทยใหม้ าก 1 1 4. ควรจัดอบรมครชู าวจีนใหเ้ ขา้ ใจวัฒนธรรมของคนไทย 1 1 5. ครคู วรคำนึงถึงประโยชน์ทเี่ ดก็ ไดร้ บั จากการเรียนการเรยี นภาษาจีนเป็นหลกั 1 16. ควรหาครูผู้สอนท่จี บปริญญาตรีและจบสาขาจีนการเรียนการสอนโดยตรง 1 โรงเรยี นในสงั กดั กทม. ความคิดเห็น ความถี่ 1. การเปล่ยี นครูผู้สอนบอ่ ยทำใหน้ ักเรียนขาดความต่อเน่ืองในการเรยี น 2 2. ครผู ้สู อนชาวจีนควบคมุ ชัน้ เรยี นไม่คอ่ ยได้ จึงไมเ่ ป็นไปตามแผนที่วางไว ้ 3 3. ครูผูส้ อนมีการเขา้ รับอบรมจากหลายหน่อยงานที่เกี่ยวขอ้ งเพือ่ ส่งเสริมศกั ยภาพ 3 ในการสอนภาษาจีน 3 4. มีการคดั เลอื กบุคลากรเข้ามาทำหนา้ ทีใ่ นการสอน 1 5. สำนกั การศึกษา กทม. จัดครูผู้สอนใหพ้ อเพยี งตอ่ ความตอ้ งการของ โรงเรียนและตอ่ เนอ่ื ง 1 6. มีงบประมาณครจู ีนใหแ้ ตก่ ารคัดเลือกข้ึนอยกู่ บั ผูบ้ ริหารของแต่ละโรงเรียนเมอ่ื เปลี่ยน 1 ผบู้ รหิ าร ก็จะเปล่ียนครู ทำให้มีการเปลี่ยนครูบ่อย บางครั้งครูทสี่ อนมไิ ด้จบการสอนมา 1 ครูผ้ดู ูแลในโรงเรียนตอ้ งคอยดูแลวางแผน พอครเู ร่มิ ชำนาญ กไ็ ม่ต่อสญั ญา โดยไม่สอน หรือทำอย่างอื่น (ท่ไี ดร้ ายได้มากกวา่ ) ขอ้ เสนอแนะ ความถ ่ี 1. ควรมคี รูผูส้ อนชาวไทยเปน็ ข้าราชการประจำ 2 2. ครผู สู้ อนควรมีความรู้ความเข้าใจภาษาไทยด้วย เพอ่ื การประสานงานหรอื ความร่วมมือ 1 ในการทำงาน หรืออาจเป็นภาษาอังกฤษ 1 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา 137

ขอ้ มลู จากตารางความถขี่ า้ งตน้ ในดา้ นผสู้ อน พบวา่ ครอู าสาสมคั รชาวจนี ทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง อยู่บ่อยครั้งจึงส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนไม่มีความต่อเนื่อง ประกอบกับครูอาสาสมัครชาวจีน ไม่มีประสบการณ์ในการสอนจึงขาดเทคนิคในการควบคุมช้ันเรียน รวมท้ังปัญหาด้านการสื่อสารกับผู้ เรียนเน่ืองจากครูอาสาสมัครชาวจีนส่วนใหญ่ไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษได้จึงทำให้ การสื่อสารเกดิ ความผดิ พลาดและมคี วามเข้าใจไมต่ รงกนั จากประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น กระทรวงศึกษาธิการควรมีการคัดเลือกครูอาสาสมัคร ชาวจีนที่มีประสบการณ์ในการสอน และควรสื่อสารภาษาไทยในระดับพื้นฐานได้ รวมท้ังควรจัดให้มี การให้ความรู้ศึกษาสภาพชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของคนไทยให้แก่ครูอาสาสมัครชาวจีน นอกจากน้ี ควรจัดให้มีการอบรมในด้านการจัดการเรียนการสอน และเทคนิคการสอนอย่างต่อเน่ือง เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลใหม้ ากทสี่ ุด ตารางท่ี 5-12 ความถี่ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากสถานศึกษาด้านผ้เู รยี น ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นผูเ้ รียน โรงเรียนในสังกดั สพฐ. ความคิดเหน็ ความถ่ี 1. ขาดแรงจงู ใจ ไมใ่ หค้ วามสำคญั และไมต่ ั้งใจในการเรียนภาษาจีน 3 2. นกั เรยี นบางคนยา้ ยเขา้ มาเรยี นใหมซ่ ง่ึ ไมเ่ คยเรยี นภาษาจนี มากอ่ นทำใหเ้ รยี นไดช้ า้ กวา่ นกั เรยี น 2 ที่เรยี นภาษาจีนตอ่ เนื่อง 2 3. เน่ืองดว้ ยบริบทบา้ นเมืองโดยส่วนใหญไ่ มไ่ ด้เปน็ คนเชือ้ ชาตจิ นี ประกอบเวลาเรียนในห้องเรียน 2 น้อยจงึ ไม่ได้ผลเทา่ ทีค่ วร 2 4. จำนวนนักเรยี นทม่ี ากเกนิ ไปทำใหค้ รูผสู้ อนจัดการเรียนการสอนยาก 2 5. นกั เรยี นขาดการต่อยอดในการเรยี น เมือ่ กลบั บา้ นกไ็ ม่ได้นำไปใช้ในสถานการณจ์ รงิ 1 โรงเรียนสอนภาษาจีน ความคดิ เหน็ ความถ ี่ 1. ผู้เรียนไมเ่ หน็ ความสำคญั ของการการเรียนภาษาจีนเน่ืองจากสงั คมและสภาพแวดลอ้ มรอบ 4 ของผ้เู รยี นไม่เออ้ื ตอ่ การเรียนการสอนภาษาจนี เกิดประสิทธิภาพเพราะเมอื่ ผูเ้ รยี น เรียนกลบั ถึงบา้ นผู้ปกครองไมส่ ามารถสอนได้และสอ่ื สารได้ 4 2. ผปู้ กครองส่วนใหญไ่ ม่มคี วามรูด้ า้ นภาษาจนี ทีจ่ ะคอยชว่ ยทบทวนหรือสนับสนนุ ผู้เรียน 3 ปัญหาพน้ื ฐานของผู้เรียนตา่ งกันจงึ ทำใหก้ ารจัดการเรยี นไมป่ ระสพผลสำเรจ็ เท่าท่คี าดหวัง 2 3. ผเู้ รียนสว่ นใหญไ่ ม่มีเช้อื สายจนี จึงไม่เนน้ เรียนภาษาจนี 138 รายงานการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา

ตารางที่ 5-12 ความถ่ีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากสถานศกึ ษาด้านผ้เู รียน (ตอ่ ) ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะดา้ นผ้เู รียน 4. ทกุ วนั นีอ้ าเซียนเข้ามามีบทบาทมากพอสมควรจงึ ทำใหผ้ ู้ปกครองเหน็ ความสำคญั สนับสนนุ 1 บตุ รหลานข้ันการศึกษาทางด้านภาษาจนี มากขน้ึ ประจวบเหมาะกับทาง รร.ได้รบั ครูชาวจนี โครงการครอู าสาสมคั รเขา้ มาทำการสอนนกั เรยี นทำใหน้ กั เรยี นมคี วามสนใจในภาษาจนี มากขนึ้ ขอ้ เสนอแนะ ความถ ่ี 1. ควรสร้างความตระหนักให้ผเู้ รียนมที ศั นคติทด่ี ีและสนใจเรยี นภาษาจีน 4 2. ควรการปลกู ฝังใหผ้ เู้ รียนเหน็ ความสำคญั ในการเรยี นภาษาจีนเพอ่ื ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน 1 และการประกอบวชิ าชีพในอนาคต โรงเรยี นเอกชน ความคดิ เหน็ ความถ่ ี 1. นักเรยี นสว่ นใหญไ่ ม่ค่อยเหน็ ความสำคัญในการเรยี นภาษาจีน 5 2. ขาดสิง่ แวดล้อมในการพัฒนาทางดา้ นภาษาจนี ผเู้ รยี นบางส่วนไม่ให้ความสำคญั 1 เนื่องจากเปน็ วิชาเสริม ไมม่ เี กรด 3. นกั เรยี นขาดความอดทนในการเรยี นภาษาจนี จงึ ตอ้ งมสี อ่ื การสอนทด่ี งึ ดดู ความสนใจนกั เรยี น 1 4. ผเู้ รยี นมคี วามรู้พืน้ ฐานท่แี ตกต่างกนั ทำใหต้ อ้ งเตรยี มการจดั การเรียนการสอนเยอะ 4 5. จำนวนนกั เรยี นต่อหอ้ งมีมากจนเกนิ ไปทำใหด้ ูแลนกั เรียนไดไ้ มท่ ่วั ถงึ 2 6. ผู้เรียนสนุกสนานกบั การเรียนภาษาจีน ตั้งใจเรยี นและให้ความรว่ มมอื ในการจัดกิจกรรม 2 เปน็ อยา่ งดี ขอ้ เสนอแนะ ความถ ่ี 1. ผเู้ รียนส่วนใหญม่ องว่าภาษาจีนไม่สำคญั และมคี วามคดิ วา่ ยากเกนิ ไปทำใหม้ ีทศั นคติ 2 ทไี่ มด่ คี วรส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนเห็นความสำคญั และสร้างแรงจงู ใจให้อยากเรยี น 2. ในแต่ละห้องควรมคี รผู ู้ชว่ ยเพอ่ื ชว่ ยเหลือครผู สู้ อนเนอื่ งจากเดก็ เล็กมีความซุกซนแ 2 ละเด็กแตล่ ะคนมีพื้นฐานไมเ่ ทา่ กนั 3. ควรมกี ารพัฒนาผเู้ รียนอย่างต่อเนอ่ื งเพราะหากผเู้ รยี นไม่มีการเรยี นหรือใช้อย่างประจำ 1 ก็จะลืมภาษาจีนไปได ้ โรงเรยี นในสังกัด กทม. ความคิดเห็น ความถ่ ี 1. เนือ่ งจากนักเรยี นมีพนื้ ฐานทางภาษาจีนไม่เทา่ กันมาก จงึ ตอ้ งมีการปูพื้นฐานเพม่ิ เติม 3 2. ผเู้ รยี นมาจากสภาพครอบครวั ทแี่ ตกตา่ งกนั ทำใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนไมไ่ ดผ้ ลดเี ทา่ ทค่ี วร 1 3. นักเรียนส่วนมากไมม่ เี ช้ือสายจีน ทำให้เป็นอปุ สรรคในการนำภาษาไปใช้ในชีวติ ประจำวนั 2 เพียงแคเ่ ปน็ พนื้ ฐานในการเรียนระดับต่อไป รายงานการวิจยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา 139

ตารางที่ 5-12 ความถ่คี วามคิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากสถานศกึ ษาดา้ นผเู้ รียน (ต่อ) 2 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นผเู้ รียน 1 1 4. นกั เรยี นขาดโอกาสในการฝกึ ฝนทกั ษะเพมิ่ เตมิ เมอื่ หมด ชม. เรยี น ทำใหล้ มื เนอ้ื หาของบทเรยี น 5. นกั เรยี นยงั ขาดความเขา้ ใจในการเรยี นเรอื่ งภาษาจนี ทำใหส้ บสนและไมม่ นั่ ใจในการใชภ้ าษาจนี 1 6. นกั เรียนมีพืน้ ฐานด้านภาษาจนี นอ้ ย มีจดุ ประสงค์ใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้พ้นื ฐานใชส้ นทนา ในชีวติ ประจำวัน มเี จตคตทิ ่ดี ตี อ่ ภาษาจนี 1 7. ผเู้ รียนสามารถเรยี นภาษาจนี (สนทนาได้ด)ี เน่อื งจากมีจำนวนผูเ้ รียนในแตล่ ะชัน้ นอ้ ย 1 ครสู อนเปน็ 8. ครูชาวจีน ทำให้นกั เรียนสนใจทจี่ ะเรยี นรมู้ ากยิ่งขน้ึ 9. ควรลดจำนวนผเู้ รียนตอ่ ห้องให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 30 คนต่อหอ้ ง ข้อมูลจากตารางความถี่ข้างต้นในด้านผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนขาดแรงจูงใจและไม่ให้ความ สำคัญต่อการเรียนภาษาจีน ประกอบกับผู้เรียนต่อช้ันเรียนมีจำนวนผู้เรียนที่มากเกินไปและผู้เรียนใน แต่ละช้ันเรียนมีพ้ืนฐานในภาษาจีนท่ีแตกต่างกันอย่างมาก จึงทำให้มีความยากต่อการจัดการเรียน การสอนในชั้นเรียน อีกท้ังปัญหาสำคัญอีกประเด็นคือจำนวนนักเรียนที่มากเกินไปทำให้ครูผู้สอน จดั การเรยี นการสอนยาก จากประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้นครูผู้สอนควรส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนให้เห็นความ สำคญั ตอ่ การเรียนภาษาจนี และการจัดการเรียนการสอนในชัน้ เรยี นควรมีการสร้างแรงจงู ใจให้ผเู้ รียน สนใจเรียนภาษาจีนมากขึ้น อีกทั้งในแต่ละห้องควรมีครูผู้ช่วยเหลือครูผู้สอนชาวจีน เน่ืองจากเด็กเล็ก มีความซกุ ซนและเด็กแต่ละคนมพี น้ื ฐานภาษาจีนไม่เทา่ กัน 140 รายงานการวจิ ยั เพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา

ตารางท่ี 5-13 ความถคี่ วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากสถานศกึ ษาดา้ นความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอนื่ ๆ โรงเรียนในสังกดั สพฐ. ความคดิ เหน็ ความถ ี่ 1. ได้รับการสนับสนนุ จากภายนอก และมสี อ่ื อปุ กรณ์ทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ การเรยี นการสอน 2 ให้นักเรียนเรยี นร้เู พิ่มเติมเพ่อื สรา้ งแรงจงู ใจและความสนใจในการเรยี นภาษาจีน 2. โรงเรยี นไดร้ บั ความรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดจี ากโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาทอี่ ยใู่ นเขตเดยี วกนั รวมถงึ สพฐ. 1 เขา้ มานิเทศติดตามผลการดำเนนิ งานเป็นระยะๆ 3. หนว่ ยงานเอกชนมกี ารสนับสนนุ อยา่ งดีจึงทำใหผ้ ้สู อนมีกำลังใจ 1 4. โรงเรยี นเปน็ โรงเรยี นศูนย์เครอื ข่ายสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจีน จงึ ได้การสนับสนนุ 1 จาก สพฐ. เป็นอย่างดี 5. ขาดงบประมาณท่ีเพียงพอจึงทำใหบ้ างครัง้ ความรว่ มมอื หรือข่าวสารไม่ทว่ั ถึงจึงขาดโอกาส 1 ทจี่ ะแลกเปล่ียนขอ้ มลู ขา่ วสารซ่งึ กนั และกนั โรงเรยี นสอนภาษาจีน ความคิดเหน็ ความถ ่ี 1. ได้รับการสนับสนนุ เร่อื งหนงั สือส่อื และการจดั กิจกรรมการแข่งทกั ษะภาษาจีนจากขงจื่อ 2 และฮ่ันปน้ั 2. จัดแข่งขันภาษาจนี ทุกปจี ากเฉยี วป้นั และไดร้ ับหนังสือเรยี นจากเฉียวปนั้ 2 3. ได้รบั ความร่วมมือจากชมรมโรงเรียนสอนภาษาจีนภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (แลกเปลี่ยน 1 ความคิดเห็น 4. ชมรม รร.สอนภาษาจีนภาคตะวนั ออกท่กี อ่ ตัง้ ขึน้ โดยการรวมตัวของ 14 แห่งของโรงเรียน 1 เอกชนสอนภาษาจีนในภาคตะวันออก ซ่ึงจะเวยี นกันเป็นเจ้าภาพจดั กจิ กรรมแขง่ ขัน ทกั ษะวิชาการภาษาจนี ปีละ 1 ครั้ง เพ่อื ใหน้ กั เรียนมีเวทีแสดงความสามารถดา้ นภาษาจนี โดยจดั แขง่ ขนั คัดลายมอื ท่องบทกวี เลา่ นิทาน รอ้ งเพลง เขยี นพกู่ ันจนี และเล่นละครสั้น 3 ภาษาจีน 5. ได้รับการสนับสนนุ ด้านการช่วยเหลือส่งครูอาสาสมคั รสอนภาษาจนี จากสำนกั งานฮัน่ ปนั้ 2 และเฉียวปั้น 1 6. ได้รบั การสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมจากหน่วยงานภายนอก 7. ปัจจบุ ัน รร. ได้รับการประสานงานจากต้นสังกดั และกลุ่ม รร.ที่สอนภาษาจนี ดว้ ยกนั 2 อย่างสม่ำเสมอตลอดมารว่ มกับหน่วยงานอนื่ ๆ ที่มีกจิ กรรมทางดา้ นภาษาจนี โดยผา่ น 1 หนว่ ยงานตน้ สงั กดั อย่างดเี สมอมา 8. ปัจจุบนั ไดร้ ับความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานภายนอกค่อนขา้ งด ี 9. ไดร้ บั ความรว่ มมือจากชมรม โรงเรียนสอนภาษาจนี ภาคเหนอื อยา่ งสมำ่ เสมอ รายงานการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา 141

ตารางท่ี 5-13 ความถค่ี วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากสถานศกึ ษาดา้ นความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอนื่ ๆ (ตอ่ ) ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะดา้ นความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอืน่ ๆ 10. ไดร้ บั การสนบั สนนุ โควต้าใหน้ กั เรยี นไปเขา้ ค่ายภาษาจีน ณ ประเทศจีนโดยงบของเฉียวป้นั 1 11. ไดท้ นุ จาก Hanban สำหรับครผู ู้สอนภาษาจนี เพื่อไปศึกษาที่ประเทศจีนและกลบั มาเปน็ 1 ครสู อนภาษาจนี ทีม่ ีคุณภาพ 12. ได้รับการสนบั สนุนสง่ บคุ ลากรฝ่ายภาษาจนี ไปอบรมทกั ษะการสอนภาษาจีนอยูเ่ สมอ 2 13. Hanban มอบทนุ การศึกษาตอ่ กบั นกั เรียน และครูดูงานทป่ี ระเทศจนี 1 14. การสง่ นกั เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมกบั ทางเครือข่ายโรงเรยี นเอกชนสอนภาษาจนี เพื่อพฒั นา 1 ทกั ษะผู้เรยี นและใหผ้ ู้สอนรถู้ งึ ปญั หาและอุปสรรคจดุ ด้อยแล้วนำมาวเิ คราะหแ์ กไ้ ขต่อไป 1 5. หนว่ ยงานภายนอกได้ใหก้ ารสนับสนนุ ดใี นด้านกิจกรรมแต่ในด้านวิชาการมไี ม่มาก 1 1 6. ไดร้ บั การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ดว้ ยดใี นทกุ ดา้ นจากสมาคมโรงเรยี นสอนภาษาจนี แหง่ ประเทศไทย 1 1 7. ได้รบั ความร่วมมือกับองคก์ รภายนอกนั้นนอ้ ยมาก 1 18. ไม่ค่อยได้รบั ความร่วมมือเน่อื งจากอยใู่ นพ้ืนท่ีหา่ งไกล จึงขาดการประสานความรว่ มมือ 1 1 9. การอบรมครูแต่ละคร้งั ไม่ตรงกบั สภาพความเปน็ จริงของการเรียนการสอนในประเทศไทย 1 2 0. โรงเรียนเปน็ สมาชกิ เครอื ข่าย โรงเรียนเอกชนสอนภาษาจนี ภาคตะวันตกได้รบั คำแนะนำ 1 ในหลายๆ เรื่อง ข้อเสนอแนะ ความถี ่ 1. ควรจัดใหม้ คี วามรว่ มมอื กับสถาบนั ในระดบั เดยี วกันเพื่อจะได้มีการแลกเปลย่ี นเรียนรูก้ นั 1 2. รฐั บาลควรสง่ เสรมิ จรงิ จังและตอ้ งดูเด็กกรุงเทพกับเดก็ ต่างจังหวดั ในสภาพแวดล้อมทีผ่ ดิ กัน 1 ควรใหค้ วามรว่ มมือกบั โรงเรยี นต่างจงั หวดั มาก 3. ควรจะรว่ มมอื กับหนว่ ยงานภายนอกมากข้ึนนักเรยี นจะเกิดความสนใจพเิ ศษ 1 4. สนบั สนนุ ใหม้ กี จิ กรรมการใช้ภาษาจีนกลางแจ้ง เพ่ือเพิ่มทกั ษะการพูดและการกลา้ แสดงออก 1 การจดั การแข่งขนั ทกั ษะภาษาจีนภายในโรงเรียนและสนับสนุนนักเรยี นไปแขง่ ขันกบั โรงเรียน ในระดบั เดยี วกัน โรงเรียนเอกชน ความคดิ เหน็ ความถี่ 1. มคี วามรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกเพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาการเรียนการสอนภาษจนี 2 2. หนว่ ยงานภายนอกใหค้ วามรว่ มมอื ดมี ีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหก้ บั ครูทสี่ อน 2 ภาษาจนี เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของครูจนี 3. สถานศึกษาควรจัดให้เด็กมีโอกาสไปเยีย่ มชมสถานที่ของประเทศจีนเช่นศูนยว์ ัฒนธรรม 1 แหง่ ประเทศจีน เพื่อเด็กๆ จะไดม้ โี อกาสเรยี นรสู้ ่ิงต่างๆ จากภายนอกโรงเรียน 4. ขาดการติดต่อประสานงานจากตน้ สังกัด สช. 1 5. ไม่มกี ารร่วมมอื เพราะไม่มีองค์กรกลางในการประสานประสงคจ์ ะร่วมมือกบั องคก์ ร 1 ในประเทศจีนดา้ นครู 142 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

ตารางท่ี 5-13 ความถคี่ วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากสถานศกึ ษาดา้ นความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ (ต่อ) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะด้านความรว่ มมือกบั หน่วยงานอนื่ ๆ 6. แตล่ ะโรงเรียนตอ้ งช่วยตวั เองเป็นลำดบั แรกจงึ ไม่คอ่ ยได้สมั พันธ์กบั หนว่ ยงานภายนอก 1 7. ตอ้ งการความรว่ มมือจากหน่วยงานภายนอก (ขงจือ่ ) 1 ข้อเสนอแนะ ความถี ่ 8. ควรมกี ารสนบั สนุนจากหน่วยงานภายนอกมากข้ึนเช่นส่ือการสอนแบบเรยี นต่างๆ 1 ทม่ี ีความหลากหลาย 9. สำคัญมากความร่วมมอื กับหน่วยงานภายนอกทำใหน้ ักเรยี นเหน็ ความสำคัญของภาษาจนี 1 เช่นบริษัท ประเทศจนี เปน็ ต้น 10. เขา้ ร่วมการอบรมเมื่อมกี ารจัดอบรมจากหนว่ ยงานภายนอก แตใ่ นสว่ นของหน่วยงาน 1 ภายนอกควรมกี ารแจง้ ขา่ วสารใหท้ ั่วถึง โรงเรยี นในสังกดั กทม. ความคดิ เห็น ความถ ่ี 1. โรงเรียนไม่มกี ารรว่ มมือกับหน่อยงานภายนอกในการสอนภาษาจนี เนอ่ื งจาก 2 เปน็ การจดั การศึกษาตามนโยบายกรงุ เทพมหานคร 2. ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกที่เกยี่ วข้อง 4 3. ยังขาดหน่วยงานภายนอกท่มี ศี กั ยภาพการเรียนการสอนภาษาจนี มารว่ มจัดทำ 1 4. มาหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บ้านสมเดจ็ ฯ ใหก้ ารสนบั สนนุ อบรมครูไทยเพอื่ นำมาสอนนกั เรยี น 1 5. ไดร้ ับความร่วมมือจากองค์กรภายนอก เอกชน สนบั สนนุ สง่ เสริม 1 6. ความร่วมมอื กบั หน่วยงานภายนอกมบี า้ งตามแตห่ น่วยงานภายนอกเสนอเชิญเขา้ รว่ มงาน 1 7. นักเรยี นไดเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมท้งั ภายในโรงเรียนและสง่ เสริมนอกโรงเรียน 1 ข้อมูลจากตารางความถี่ข้างต้นในด้านความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก พบว่าโรงเรียน โดยส่วนใหญ่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกเป็นอย่างดี และมีโรงเรียนบางแห่งได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกไม่มีความต่อเน่ือง เน่ืองจากปัจจุบันไม่มีองค์กรกลางในการประสาน ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงานภายนอก ในการประสานงานด้านงบประมาณและข้อมูล ข่าวสารต่างๆ นอกจากนี้พบว่าโรงเรียนในสังกัด กทม. ไม่มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและ ภายนอกในด้านการสอนภาษาจีน เน่ืองจากโรงเรียนในสังกัด กทม. จัดการศึกษาตามนโยบายของ สำนักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร จากประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้นกระทรวงศึกษาธิการควรจัดให้มีองค์กรกลางเพื่อเป็น หน่วยงานในการประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงานภายในและภายนอกในด้านความ ร่วมมือด้านต่างๆ เช่น ด้านครูผู้สอน ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านสื่อการสอน และดา้ นทุนการศกึ ษาสำหรับครผู ู้สอนและผู้เรียนทั้งในและต่างประเทศ เปน็ ต้น รายงานการวิจยั เพือ่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา 143

บทที่ 6 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการจดั การเรยี นการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทยระดบั ประถมศกึ ษา บทนี้ เปน็ การสรปุ เกีย่ วกับการศกึ ษาและวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ควบคไู่ ปกับสภาพปัญหา 6 ด้าน ของการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในระดับประถมศกึ ษา นำผลจากการศึกษามาใช้เปน็ ข้อมูล เพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับประถม โดยจัดกลุ่มข้อเสนอ เชิงนโยบายเปน็ 6 กลุ่ม ได้แก่ ดา้ นการบริหาร ด้านหลักสตู ร ด้านส่ือการสอน ด้านผู้สอน ดา้ นผเู้ รียน และด้านความรว่ มมือกับหนว่ ยงานภายนอก ซงึ่ รายละเอยี ดในแต่ละดา้ นมดี งั ตอ่ 6.1 ด้านการบริหาร การบริหารจัดการเรียนการสอนภาษาจีน พบว่า โรงเรียนแต่ละประเภทส่วนใหญ่ มีการ วางแผนจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ตามวงจร PDCA ส่วนใหญ่ไดน้ ำนโยบายของสถานศกึ ษามาใช้ ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงโรงเรียนแต่ละแห่งมีการกำหนดนโยบายให้สอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียนและสถานการณ์ปัจจุบัน มีการมอบหมายให้ครูผู้สอนภาษาจีนมีส่วนร่วมในการ วางแผนการจดั การเรยี นการสอน มกี ารดำเนนิ งานตามแผนงานตา่ งๆ มกี ารประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ตามแผน และนำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอน จากแบบสอบถาม โรงเรียนในทุกประเภทต่างให้ความเห็นไปในทางเดียวกันว่าปัญหาด้าน การบริหารจัดการเป็นด้านท่ีมีปัญหาน้อยที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 2.03 ดังน้ัน การบริหารจัดการยัง ไม่ใช่ปัญหาที่เด่นชัด แต่ก็ยังมีสถานศึกษาบางแห่งขาดระบบและการประสานงานในการบริหาร จดั การการเรยี นการสอนภาษาจนี ทีด่ ี 144 รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาและพัฒนาด้านการบริหารจัดการการเรียนการสอน ภาษาจนี ดังนี ้ (1) กระทรวงศึกษาธิการควรมีนโยบายด้านการบริหารจัดการการเรียนการสอนภาษาจีน ใหม้ คี วามชัดเจน เพอ่ื นำมาใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ ารจัดการให้ดีย่งิ ขึ้น (2) ผู้บริหารในแต่ละระดับของสถานศึกษาควรให้ความสำคัญและสนับสนุนการเรียน การสอนภาษาจีนใหม้ ากขน้ึ (3) ผู้บริหารท่ีดูแลงานด้านภาษาจีนควรมีความรู้พ้ืนฐานด้านภาษาจีนในภาพรวม เพ่ือให้มี วิสัยทัศน์ในการกำหนดแนวทางและบริหารจัดการด้านภาษาจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับ บริบทของสถานศึกษา (4) ควรจัดให้มีผู้ประสานงานท่ีมีทักษะความรู้ด้านภาษาจีนในสถานศึกษา เพ่ืออำนวย ความสะดวกและชว่ ยใหก้ ารจดั การเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้ (5) ควรจัดให้มีการอบรมหรือสัมมนาการจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องใน สถานศกึ ษาไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารและผสู้ อน 6.2 ด้านหลักสูตร โรงเรียนทกุ ประเภทสว่ นใหญจ่ ัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาจนี เป็นหลัก เนน้ เรอ่ื งสอื่ สาร ภาษาจนี เปน็ วชิ าเสรมิ จดั วชิ าภาษาจนี เปน็ วชิ าบงั คบั แตก่ ม็ บี างแหง่ จดั เปน็ วชิ าเพมิ่ เตมิ มกี ารจดั แขง่ ขนั ทักษะภาษาจีนเพ่ือเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร/แผนการเรียน โรงเรียนในสังกัด สพฐ. และโรงเรียน เอกชนมีการจัดเวลาเรียนภาษาจีน 1-2 คาบต่อสัปดาห์ โรงเรียนสอนภาษาจีน 5-7 คาบต่อสัปดาห์ ส่วนโรงเรียนสังกัด กทม. 1 คาบต่อสัปดาห์ ทั้งน้ีการเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรียนที่มีจำนวน 1 คาบเรียนต่อสัปดาห์ ในแต่ละระดับช้ันจัดได้ว่าน้อยเกินไปสำหรับผู้เรียนภาษาต่างประเทศในการ พฒั นาทกั ษะดา้ นการฟงั พดู อ่าน และเขยี น เมือ่ เรยี นจบตามหลกั สูตรทท่ี างโรงเรยี นกำหนดแล้ว จะ พบว่าผเู้ รยี นไมส่ ามารถนำความรู้ทไี่ ดร้ บั ไปใช้ในการติดตอ่ ส่อื สารได้ นอกจากน้ี ในส่วนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนทุกประเภทส่วนใหญ่ได้นำ มาตรฐานตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรภู้ าษาจนี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 มาใช้อ้างอิงในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พบว่า หลักสูตรท่ีแต่ละโรงเรียนจัดทำขึ้นมานั้น มีความหลากหลายและมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมและบริบทของ แต่ละโรงเรียน เน่ืองจากหลักสูตรแกนกลางไม่สมบูรณ์และชัดเจนพอ เนื้อหาไม่สอดคล้องกับระดับ ความรู้ของผู้เรียนและไม่มีความต่อเน่ืองกัน โรงเรียนในสังกัด สพฐ. โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนใน สังกัด กทม. พบปัญหาสาระการเรียนรู้มากและยากเกินไป เวลาเรียนไม่พอ โดยโรงเรียนในสังกัด สพฐ. โรงเรยี นเอกชนสว่ นใหญจ่ ดั การเรยี นการสอนเพยี ง 1-2 คาบตอ่ สัปดาห์ โรงเรียนในสงั กดั กทม. รายงานการวิจยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 145

ส่วนใหญ่ให้บริษัทเอกชนเป็นผู้จัดทำและพัฒนาหลักสูตร โดยอิงหลักสูตรแกนกลางฯ และให้ครูสอน ภาษาจีนเปน็ ผู้จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน จดั การเรียนการสอนในระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 และ ใน 1 คาบต่อสัปดาห์น้จี ะเนน้ การสนทนาภาษาจีนเปน็ หลกั สว่ นโรงเรียนสอนภาษาจนี พบว่าหนังสือ และตำราท่ีเลือกใช้ไม่สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัดฯ นำมาตรฐานตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ ภาษาจีนมาประยุกต์ใช้ได้ยาก เนื่องจากมาตรฐานตัวชี้วัดง่ายเกินไป ไม่เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรยี น บางโรงเรียนจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาอิงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 โดยประยุกต์มาจากสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) แต่ก็มีบางโรงเรียนประสบ ปัญหาขาดผู้เช่ียวชาญในการจัดทำหลักสูตรภาษาจีนที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและ นกั เรียน บางแหง่ ทย่ี ังไม่มีความพร้อมในการจดั ทำหลักสตู รภาษาจนี จะใช้วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ตามเนือ้ หาในหนังสือเรียนที่ทางโรงเรียนกำหนด ในดา้ นเกณฑก์ ารวดั ระดบั ความรภู้ าษาจนี โรงเรยี นทกุ ประเภทสว่ นใหญใ่ ชเ้ กณฑท์ สี่ ถานศกึ ษา กำหนดข้ึนเอง หรือใช้มาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีนเป็นเกณฑ์ในการวัดระดับความรู้ ภาษาจีนของนักเรียน ทั้งนี้ ยังพบว่าโรงเรียนบางส่วนใช้เกณฑ์วัดระดับความรู้ภาษาจีน YCT และ HSK ซึง่ เป็นการวัดระดับสากลมาเปน็ เกณฑว์ ดั ระดบั ความรู้ภาษาจีนของนักเรยี นระดับประถมดว้ ย ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการแกป้ ญั หาและพัฒนาดา้ นหลักสูตร ดงั น ้ี (1) ปัจจุบันการเรียนการสอนภาษาจีนระดับประถมส่วนใหญ่จัดเป็นวิชาบังคับ หรือวิชา เพิ่มเติม ในโรงเรียนที่จัดเป็นวิชาเพิ่มเติมนั้น ผลการเรียนภาษาจีนจะไม่ได้นำไปรวมกับผลการเรียน วิชาอ่ืนๆ และไม่มีผลต่อการนำไปใช้ศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนไป ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ผู้เรียนและ ผู้ปกครองไม่ให้ความสำคัญกับการเรียนภาษาจีน ท้ังน้ี หากกระทรวงศึกษาธิการปรับเปล่ียนนโยบาย ให้ภาษาจีนเป็นวิชาบังคับท้ังหมด จะทำให้ผู้เรียนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการเรียน ภาษาจีนมากข้ึน (2) กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทำหลักสูตรการเรียนภาษาจีนแกนกลางที่ชัดเจนเหมาะสม กับนักเรียนและเป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ สามารถนำมาปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม และ ควรสอดคล้องกับส่ือการสอน พร้อมจัดทำแผนการสอน คู่มือครูที่ชัดเจนและนำไปใช้ได้จริงอีกท้ัง ควรจัดผู้เช่ียวชาญมาอบรมวิธีนำหลักสูตรแกนกลางฯ มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการจัดการเรียน การสอนให้แก่ครูผู้สอนต้ังแต่พ้ืนฐานและให้ความรู้กับครูชาวจีนอย่างชัดเจนเกี่ยวกับเน้ือหาของ หลักสูตรภาษาจีน มีการติดตามและตรวจสอบการใช้หลักสูตร หากมีการจัดทำและพัฒนาหลักสูตร แกนกลางด้านภาษาจีนที่มีมาตรฐานและชัดเจนขึ้นมาแล้ว จะช่วยให้การเรียนการสอนภาษาจีนใน ประเทศไทยมีทิศทางที่แน่ชัด โรงเรียนสามารถนำไปปรับใช้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ บริบทของโรงเรยี นต่อไปได้ 146 รายงานการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา

(3) หลงั จากมหี ลกั สตู รแกนกลางดา้ นภาษาจนี ทช่ี ดั เจนแลว้ ควรจดั ใหม้ กี ารจดั อบรมการจดั ทำ หลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนให้แก่ผู้สอนในแต่ละระดับ เพื่อให้การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เนื่องจากท่ี ผ่านมาผู้เรียนที่เรียนภาษาจีนในระดับช้ันประถมศึกษา เมื่อไปเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษากลับต้อง เรยี นเน้อื หาซ้ำกบั ทีเ่ คยเรียนมาแลว้ ทำใหผ้ ู้เรยี นไม่สนใจหรือเบ่อื หนา่ ยภาษาจนี (4) การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนควรเพิ่มช่ัวโมงเรียนให้มากกว่า 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพ่อื เพ่มิ ทกั ษะภาษาจนี ให้มากขน้ึ (5) กระทรวงศึกษาธิการควรมีข้อสอบกลางระดับชาติท่ีสอดคล้องกับแบบเรียนและ หลักสูตรแกนกลาง จัดทำเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ทว่ั ประเทศ (6) การประเมินผลควรใช้การสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน YCT และ HSK ซึ่งเป็นเกณฑ์ มาตรฐานสากลมาเป็นตัวช้ีวัดการประเมินผล 6.3 ดา้ นสื่อการสอน การเลือกใช้ส่ือการสอนของโรงเรียนแต่ละประเภทมีความหลากหลาย และแตกต่างกัน โรงเรยี นในสงั กดั สพฐ. และโรงเรียนเอกชน ส่วนใหญ่ใช้แบบเรยี น สมั ผัสภาษาจนี 《体验汉语》 ซึ่ง สพฐ. กับ Higher Education Press (HEP) ร่วมกันจัดทำขึ้น โดยแบบเรียนชุดน้ีมีการแปล ความหมายเป็นภาษาไทย เน้อื หาเข้าใจงา่ ย ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเองได้ ส่วนโรงเรียนสอนภาษาจีนส่วนใหญ่ใช้แบบเรียนที่ผลิตจากประเทศจีนของสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยจี้หนาน คือหนังสือ Hanyu《汉语》เป็นหลักและ Zhong wen《中文》เป็น แบบเรียนในวชิ าเสรมิ ซึ่งแบบเรยี นชุดนไี้ ดร้ ับการสนับสนุนจากสำนักงานกจิ การชาวจนี โพ้นทะเลหรอื เฉียวปน้ั เป็นแบบเรียนแจกฟรีให้กบั โรงเรยี นสอนภาษาจีน โดยหนังสือเรียนไมไ่ ดแ้ ปลความหมายเป็น ภาษาไทย จึงมีเน้ือหายากต่อการทำความเข้าใจ ส่วนโรงเรียนสังกัด กทม. ส่วนใหญ่ใช้แบบเรียน หนงั สือจีนประยกุ ต์ 《实用汉语》ซ่งึ เรียบเรยี งโดยทมี งานสถาบนั พัฒนาวิชาการและประเมนิ ผล (พวป.) และอาจารย์ศิริพร แจ่มมโนวงศ์ เป็นแบบเรียนที่สำนักการศึกษา กทม. กำหนดให้โรงเรียน สังกดั กทม. ใช้ แบบเรยี นชุดนมี้ กี ารแปลความหมายเปน็ ภาษาไทย มเี นือ้ หาเข้าใจงา่ ย ผเู้ รียนสามารถ เรียนร้ดู ้วยตวั เองได้ นอกจากน้ี ยงั มีโรงเรียนส่วนน้อยทีจ่ ัดทำหนังสือขึ้นใช้เอง โรงเรียนสอนภาษาจีน โรงเรียนเอกชน โรงเรียนในสังกัด กทม. ส่วนใหญ่มีส่ือการเรียน การสอนเสริมที่เพียงพอ และมีหนังสือเสริมความรู้ในห้องสมุด แต่โรงเรียนในสังกัด สพฐ. ส่วนใหญ่ มีหนังสือเสริมความรู้ภาษาจีนน้อยมาก จากการสำรวจปัญหาด้านส่ือการสอน พบว่า โรงเรียน ทุกประเภทขาดแคลนสื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัยและหลากหลาย โรงเรียนบางแห่งส่ือการสอน ไมเ่ พยี งพอ นอกจากน้ี โรงเรียนสอนภาษาจีนยังประสบปัญหาส่ือการสอนไม่เหมาะสมกับผเู้ รียน รายงานการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา 147

เนื่องจากนโยบายด้านภาษาจีนยังไม่มีความชัดเจน จึงทำให้ไม่มีหลักสูตรด้านภาษาจีนท่ีเป็น มาตรฐานและเฉพาะเจาะจง ส่งผลให้ทิศทางในการเลือกใช้แบบเรียนแตกต่างกันในทุกๆ ด้าน คณุ ภาพของผเู้ รยี นจึงไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานเดียวกัน ข้อเสนอเชงิ นโยบายในการแก้ปญั หาและพฒั นาด้านสื่อการสอน ดงั น ี้ (1) กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทำหลักสูตร และกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอน ในแตล่ ะระดับชัน้ ปีให้ชัดเจน โดยระบสุ ือ่ การสอนทใี่ ชป้ ระกอบการเรยี นการสอน (2) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรกำหนดแบบเรยี นทเ่ี ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั มคี วามตอ่ เนอื่ ง 12 ป ี และเน้ือหาหลากหลาย (3) ควรมีส่ือการสอนท่ีหลากหลาย ให้สถานศึกษาเลือกใช้หนังสือเรียนท่ีเหมาะสมกับระดับ ความร้ภู าษาจีนของผ้เู รียนได้ (4) เชิญผู้เช่ียวชาญ นักวิชาการด้านต่างๆ มาร่วมกันจัดทำส่ือการสอน แบบเรียน คู่มือครู อิงตามมาตรฐานสากลและสอดคล้องกบั บรบิ ทประเทศไทย (5) ภาครัฐควรสนับสนุนส่ือที่ทันสมัยเพิ่มเติม เนื่องจากภาษาจีนเป็นภาษาที่ยาก ส่ือท่ี หลากหลายและทันสมยั จะชว่ ยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนให้หนั มาตง้ั ใจเรยี นมากข้ึนได้ (6) โรงเรียนหลายแห่งขาดสื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัย ขาดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ กระทรวงศึกษาธิการควรสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัยให้ทั่วถึง เพื่อประโยชน์ในการ ศกึ ษาภาษาจนี ของนกั เรียนไทย 6.4 ด้านผ้สู อน ครูผู้สอนเป็นผู้มีบทบาทสำคัญมากในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน จากผลการสำรวจ สภาพปัจจุบันด้านผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนภาษาจีนระดับประถมในประเทศไทยมีทั้งครูชาวไทยและ ชาวจีน โดยครูชาวจีนส่วนใหญ่เป็นครูอาสาสมัคร ท่ีมาช่วยสอนในประเทศไทยด้วยสองช่องทาง ได้แก่ ช่องทางแรก ผ่านความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการของไทยกับสำนักงานส่งเสริม การเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ หรือฮั่นป้ัน (Hanban) เพ่ือจัดให้ครูอาสาสมัครชาวจีนมา ช่วยสอนในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศไทย และช่องทางท่ีสอง โครงการความร่วมมือจัดส่งครูชาวจีน ผ่านสมาคมครูสอนภาษาจีน ซึ่งเป็นความร่วมมือกับสำนักงานกิจการชาวจีนโพ้นทะเล หรือเฉียวป้ัน (Qiaoban) หากเปรียบเทียบสัดส่วนครูชาวไทยและจีน พบว่า มีจำนวนใกล้เคียงกัน แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนระดับประถมศึกษายังขาดแคลนครูชาวไทย จึงต้องขอความร่วมมือให้รัฐบาลจีน ชว่ ยสนับสนุนจดั หาครอู าสาสมัครชาวจีนมาชว่ ยสอนให้เพียงพอตอ่ ความต้องการ ครูผู้สอนชาวไทยและชาวจีนในสถานศึกษาทุกประเภทส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญา ตรี สาขาวิชาภาษาจีน ด้านภาษาที่ใช้ในการเรียนน้ัน ครูชาวไทยส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยและภาษาจีน ในการสอน ส่วนครูชาวจีนสว่ นใหญ่ใชภ้ าษาจีนในการสอน 148 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา

ภาระงานสอนของครูผู้สอนโรงเรียนสอนภาษาจีน โรงเรียนเอกชน โรงเรียนในสังกัด สพฐ. ส่วนใหญ่มีจำนวนชว่ั โมงการสอนเฉลี่ย 16-20 ชัว่ โมงตอ่ สัปดาห์ สว่ นโรงเรยี นในสงั กดั กทม. มชี วั่ โมง สอนเฉลี่ย 6-10 ช่ัวโมง นอกจากน้ี ในโรงเรียนสอนภาษาจีนมีจำนวนครูผู้สอนมากที่สุดประมาณ 10 คนต่อแห่ง โรงเรียนในสังกัด สพฐ. 3 คนต่อแห่ง โรงเรียนเอกชน 2 คนต่อแห่ง ส่วนโรงเรียน ในสังกัด กทม. 1 คนตอ่ แห่ง จากการสำรวจปญั หาครผู ู้สอน พบวา่ ส่ิงทีเ่ ป็นปญั หามากทส่ี ดุ คอื คุณภาพของครอู าสาสมคั ร ชาวจีน เนื่องจากรัฐบาลจีนช่วยสนับสนุนจัดหาครูอาสาสมัครชาวจีนมาช่วยสอนภาษาจีนในประเทศ ไทย สัญญาจ้างระยะเวลา 1 ปี จึงมีการเปลี่ยนครูอาสมัครชาวจีนบ่อยคร้ัง ส่งผลให้การจัดการเรียน การสอนไม่ต่อเนื่อง อีกท้ังครูอาสาสมัครชาวจีนส่วนใหญ่เพ่ิงจบการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต ยังขาดประสบการณ์เทคนิคในการสอนภาษาจีนให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงไม่สามารถควบคุม ชั้นเรียนได้ และครูอาสาสมัครชาวจีนโดยส่วนใหญ่ไม่สามารถส่ือสารภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษกับ ผสู้ อนชาวไทยและผเู้ รยี นได้ ทำให้เกิดอุปสรรคในการส่ือสาร นกั เรียนกเ็ รยี นไม่รเู้ ร่ือง ข้อเสนอเชงิ นโยบาย ในการแกป้ ญั หาและพัฒนาดา้ นผสู้ อน ดังน ้ี (1) ควรคัดเลือกครูอาสาสมัครชาวจีนท่ีมีประสบการณ์ในการสอนมาก่อน และควรพูด ภาษาไทยได้บ้าง อีกท้ังต้องทำความเข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กไทยและวัฒนธรรมไทยให้ดีก่อน มาสอนทเ่ี มอื งไทย (2) ภาครฐั ควรจดั อบรมเชงิ เทคนคิ ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ใหแ้ กผ่ สู้ อนภาษาจนี อย่างต่อเน่ือง เนื่องจากผู้สอนภาษาจีนส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในประเทศ ไม่ได้ เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครูโดยตรง จึงยังขาดเทคนิคในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสทิ ธิภาพ รวมทั้งสนบั สนุนทนุ ไปอบรมภาษาจนี ระยะสัน้ ท่ีประเทศจนี อย่างสม่ำเสมอ (3) ภาครัฐควรส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาผลิตบัณฑิตด้านผู้สอนภาษาจีนให้มากข้ึนผลิต ผู้สอนรุ่นใหม่ข้ึนมาทดแทนครูอาสาสมัครชาวจีนให้มากข้ึน พร้อมทั้งให้ทุนการศึกษาในประเทศไทย หรือประเทศจีนให้กับผู้ที่สนใจที่อยากเป็นครูสอนภาษาจีน เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้ผู้ท่ีสนใจมาเป็นครู สอนภาษาจีนมากขึน้ 6.5 ดา้ นผเู้ รียน ในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-ป.3) ส่วนใหญ่มีจำนวนชั้นเรียน 2-3 ห้อง มีนักเรียน เฉลี่ยห้องละ 30-40 คน โรงเรียนบางแห่งมีจำนวนนักเรียนต่อห้องมากเกินไป คือสูงถึง 40-50 คน และ 50 คนขนึ้ ไป และโรงเรยี นสอนภาษาจนี โรงเรยี นในสงั กดั กทม. โรงเรยี นในสงั กดั สพฐ. สว่ นใหญ ่ จัดให้วชิ าภาษาจีนเปน็ วชิ าบังคบั ส่วนโรงเรียนเอกชนส่วนใหญ่จดั ให้เปน็ วิชาเลอื ก รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 149

ในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-ป.6) ส่วนใหญ่มีจำนวนช้ันเรียน 1-2 ห้อง ซ่ึงเป็น จำนวนท่ีน้อยกว่าระดับประถมศึกษาตอนต้น มีนักเรียนเฉล่ียห้องละ 30-40 คน บางแห่งมีจำนวน นักเรียนมากเกนิ ไป คอื สูงถงึ ห้องละ 40-50 คน และ 50 คนขน้ึ ไป และโรงเรียนสอนภาษาจนี และ โรงเรียนในสังกัด กทม. ส่วนใหญ่จัดให้วิชาภาษาจีนเป็นวิชาบังคับ โรงเรียนในสังกัด สพฐ. และ โรงเรยี นเอกชน สว่ นใหญ่จัดใหเ้ ปน็ วชิ าเลือก และส่วนนอ้ ยจัดเปน็ วิชาเพิ่มเตมิ จากการสำรวจปัญหาด้านผู้เรียน ปัญหาท่ีพบมากที่สุดคือ เร่ืองนักเรียนให้ความสำคัญต่อ การเรียนภาษาจีนไม่มากพอ เหตุท่ีเป็นเช่นนี้อาจเนื่องมาจากบางโรงเรียนจัดให้ภาษาจีนเป็นวิชา เพ่ิมเติม ไม่มีการนำคะแนนมาคิดรวมกับคะแนนกลุ่มสาระวิชาอื่นๆ สำหรับนำมาเป็นเกณฑ์วัดผล ในการเลื่อนชั้นเรียน ประกอบกับภาษาจีนเป็นวิชาท่ีต้องท่องจำ ยากในการทำความเข้าใจและจดจำ จึงทำให้ผู้เรียนท้อและไม่อยากเรียน ปัญหาอีกประการหน่ึงท่ีพบมากคือพ้ืนฐานภาษาจีนของผู้เรียน ไม่เท่ากัน เน่ืองจากในแต่ละภาคการศึกษาจะมีนักเรียนใหม่ท่ีไม่มีพื้นฐานภาษาจีนมาแทรกช้ันเรียน เปน็ อกี ปญั หาหนึง่ ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการแกป้ ญั หาและพัฒนาดา้ นส่อื การสอน ดงั นี ้ (1) ควรให้ผู้สอนสร้างทัศนคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ภาษาจีน และชี้แนะให้ผู้เรียนตระหนักเห็น ความสำคัญในการเรียนภาษาจีน จัดการเรียนการสอนให้น่าสนใจ เช่น ทำหรือใช้สื่อประกอบ การเรยี นการสอนใหห้ ลากหลายและทันสมัย ง่ายต่อการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมท่ีหลากหลายและนา่ สนใจ สร้างแหล่งเรียนรู้ภาษาจีนท่ีน่าสนใจ นอกจากน้ี การเรียนวิชาภาษาต่างประเทศทุกภาษาควรจัดให้มี จำนวนผู้เรียนต่อหอ้ งไมม่ ากเกนิ ไป โดยจัดใหผ้ ูเ้ รยี นไมค่ วรมากกว่า 30 คน เพือ่ ใหผ้ สู้ อนสามารถดูแล ผู้เรียนไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ (2) เร่ืองระดับพ้ืนฐานภาษาจีนของผู้เรียนท่ีไม่เท่ากัน ควรให้ครูผู้สอนสอนเพิ่มเติมเป็น รายบุคคล หรือหากมีนักเรียนใหม่จำนวนมากควรใช้วิธีการจัดแบ่งช้ันเรียนเป็นห้องที่มีพื้นฐานและ ห้องที่ไม่มีพ้ืนฐาน การแบ่งช้ันเรียนดังกล่าวจะรวมถึงกลุ่มนักเรียนท่ีเรียนไม่ได้ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดกับ กลุ่มผู้เรียนที่เรียนไม่ทันเพ่ือนในช้ันเรียนด้วย หรือจัดสอนเพิ่มเติมวันเสาร์อาทิตย์ หรือช่วงปิดเทอม ภาคฤดูรอ้ น 6.6 ดา้ นความรว่ มมอื กบั หน่วยงานอ่นื ความร่วมมือจากหน่วยงานภายในประเทศ โรงเรียนสอนภาษาจีน โรงเรียนในสังกัด สพฐ. โรงเรียนเอกชน ส่วนใหญ่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายในประเทศ โดยมากเป็นความร่วมมือ กับสมาคมครูสอนภาษาจีน ศูนย์เครือข่ายส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน และโรงเรียนในระดับ เดียวกัน ส่วนใหญ่จะได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนด้านครูผู้สอน สื่อการสอนและหลักสูตร ส่วนโรงเรยี นโรงเรียนในสังกดั กทม. ไมค่ อ่ ยได้รบั ความรว่ มมือจากหนว่ ยงานภายในประเทศ 150 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา

ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ โรงเรียนสอนภาษาจีนส่วนใหญ่มีความร่วมมือ กบั ฮ่นั ป้ัน (Hanban) และ เฉียวปนั้ (Qiaoban) โรงเรยี นในสงั กัด สพฐ. สว่ นใหญ่มคี วามรว่ มมอื กับ ฮั่นปั้น (Hanban) โรงเรียนเอกชนส่วนใหญ่ไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก มีส่วนน้อย ร่วมมือกับฮ่ันปั้น (Hanban) โรงเรียนในสังกัด กทม. ส่วนใหญ่ไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน ภายนอก ส่วนใหญ่จะได้รับความร่วมมือและการสนับสนุน ด้านสื่อการสอน ครูผู้สอน ส่งครูอาสา สมัครชาวจีนมาสอนทป่ี ระเทศไทย มอบทนุ การศกึ ษาระยะสั้นและระยะยาวให้ครผู ูส้ อน จากการสำรวจปัญหาด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น พบว่า บางสถานศึกษาขาด งบประมาณที่เพียงพอ จึงทำให้บางครั้งความร่วมมือหรือข่าวสารไม่ท่ัวถึง เป็นเหตุให้ขาดโอกาส แลกเปลีย่ นขอ้ มูลข่าวสารซ่งึ กนั และกัน สถานศกึ ษาบางแห่งไมค่ อ่ ยไดร้ บั ความร่วมมอื เนื่องจากอยใู่ น พ้นื ทห่ี า่ งไกล นอกจากน้ี การขาดองค์กรกลางในการประสานงานก็เปน็ อกี สาเหตหุ นึ่งท่ีทำใหโ้ รงเรียน ขาดความรว่ มมอื กับหน่วยงานอนื่ ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาและพฒั นาด้านส่ือการสอน ดังน ้ี (1) ภาครัฐควรสำรวจโรงเรียนในพื้นท่ีห่างไกลและต้องการความช่วยเหลือในการจัดการ เรียนการสอนภาษาจีน และให้ความชว่ ยเหลอื อยา่ งเร่งด่วน (2) รัฐบาลควรให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนโรงเรียนที่ขาดความช่วยเหลือจากหน่วยงาน ภายนอกและภายใน โดยเฉพาะโรงเรยี นในสงั กดั กทม. และ โรงเรยี นเอกชนทสี่ ว่ นใหญข่ าดความรว่ มมอื จากหน่วยงานอ่ืน (3) สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (สพฐ.) สำนกั งานคณะกรรมการการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน (สช.) และสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ควรร่วมมือกันจัดตั้งหน่วยงานกลาง เพ่ือประสานความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับด้านภาษาจีนในทุกๆ ด้าน โดยเป็น การทำงานลักษณะภาคีเครือข่าย ซึ่งมีการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานกลาง หน่วยงานภายใน สงั กัดโรงเรยี นในสังกดั และการประสานความรว่ มมือกับการสนับสนนุ จากหน่วยงานของประเทศจีน (4) ควรมีการประสานงานความร่วมมือเพ่ือสนับสนุนการทำงานด้านต่างๆ ร่วมกัน โดยเฉพาะศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาจีนกับสมาคมครูสอนภาษาจีนของแต่ละภูมิภาค ซ่ึงเป็น หน่วยงานท่ีมีบทบาทสำคัญในบูรณาการและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา 151

บรรณานุกรม ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. 2550. พัฒนาการของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย. วารสาร อกั ษรศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2550. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2551. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551. เอกสารสำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 14 กรกฎาคม 2551. อุทัยวรรณ เฉลิมชัย. 2550. สำนักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน.วารสารวิชาการ. ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 3 กรกฎาคม – กันยายน 2550. ศูนย์จีนศึกษาสถาบันเอเชียศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2551.การเรียนการสอนภาษาจีนใน ประเทศไทย ระดับประถม-มธั ยมศึกษา. 152 รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 กรณีศึกษา : โรงเรียนประชาวทิ ย์ ลำปาง

โรงเรียนประชาวิทย์เดิมชื่อ “โรงเรียนฮ่ัวเคี้ยว” ก่อตั้งเม่ือปีพุทธศักราช 2470 โดยพ่อค้า คหบดีชาวจีนโพ้นทะเลในจังหวัดลำปาง รวบรวมทุนทรัพย์ก่อสร้างโรงเรียนจีน เพ่ือเป็นสถานศึกษา แก่เยาวชนและลูกหลานชาวจีนในจังหวัดลำปาง โดยมีคุณโหวจ่ือกวง เป็นกรรมการบริหารโรงเรียน ชุดแรก ในปีพุทธศักราช 2483 โรงเรียนได้ปิดทำการสอนในระยะเวลาหน่ึง ภายหลังสงครามโลก ครั้งท่ี 2 โรงเรียนได้เปิดสอนอีกคร้ัง เม่ือปีพุทธศักราช 2489 ภายใต้ช่ือ “โรงเรียนประชาวิทย์” ดำเนินการสอนอย่างต่อเน่ือง กระท่ังปีพุทธศักราช 2519 คณะกรรมการบริหารโรงเรียนร่วมกับ คณะศิษย์เก่าฯ ได้ประชุมมีมติ เห็นชอบให้รวมการบริหารโรงเรียนจีนอีกแห่งหน่ึงในจังหวัดลำปาง ไว้ดว้ ยกนั คอื โรงเรยี น “ยกส่าย” หรือโรงเรียนมัธยมวทิ ยา ในนาม” มลู นิธิเพือ่ การศกึ ษาประชาวทิ ย–์ มัธยมวิทยา” ภายใต้วัตถุประสงค์ส่งเสริมการศึกษาและอุปการะนักเรียนของโรงเรียนประชาวิทย์ และโรงเรียนมัธยมวิทยาท่ีเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้มีโอกาสได้รับการศึกษา และบำเพ็ญ ประโยชน์ ด้านสาธารณกศุ ลอื่นๆ โดยมี คุณณัฐิ วนชยางคก์ ลู เปน็ ประธานกรรมการบรหิ ารฯ โรงเรียนประชาวิทย์ เป็นโรงเรียนสังกัด สำนักงานการศึกษาเอกชน ท่ีเปิดสอนภาษาจีน ตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาลถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัจจุบันมีนักเรียนจำนวน 1,300 คน บุคลากรผู้สอน และ ฝ่ายสนับสนุนการสอน 145 คน ในปีพุทธศักราช 2541 ภายใต้การนำของ คุณนิคม เชาว์กิตติโสภณ ประธานมูลนิธิเพ่ือการศึกษาประชาวิทย์–มัธยมวิทยา คนปัจจุบัน ได้ม ี นโยบายให้โรงเรียนเปิดโปรแกรมจีน-อังกฤษ ซ่ึงจัดการเรียนการสอนโดยครูเจ้าของภาษา และเปิด แผนการเรยี นวิทย์-คณติ เพิ่มขนึ้ เพ่อื เปิดโอกาสให้นักเรียนไดม้ ที างเลือกในศาสตร์ท่ีใช้การคดิ วเิ คราะห์ โดยสง่ เสรมิ การเรียนภาษาต่างประเทศควบคู่กันไป ในปีพทุ ธศกั ราช 2548 โรงเรียนประชาวิทยไ์ ดร้ ับเลอื กให้เป็นศูนยส์ อบวัดระดับความรูภ้ าษา จีน (HSK) แห่งแรกของภาคเหนือ และได้รับรางวัลศูนย์สอบดีเด่นในปีพุทธศักราช 2551 ต่อมาในปี พทุ ธศักราช 2552 โรงเรยี นประชาวิทย์ ได้รบั รางวลั “โรงเรยี นต้นแบบการสอนภาษาจนี ” ซงึ่ เป็น 1 ใน 55 โรงเรียน จาก 21 ประเทศท่ัวโลก จากการประเมินของสำนักงานกิจการชาวจีนโพ้นทะเล สำนกั นายกรฐั มนตรี สาธารณรัฐประชาชนจนี รายงานการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา 155

ในดา้ นบรหิ ารจัดการและด้านหลกั สูตร โรงเรียนประชาวิทย์มีการจัดต้ังโครงการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาจีน โดยมอบให้ ครูผู้สอนเป็นผู้จัดทำหลักสูตร มีการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน กำหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร เน้น การเรยี นภาษาเพอื่ การสอื่ สาร กำหนดเนอ้ื หาสาระและกจิ กรรม จดั ทำเอกสารประกอบการเรยี นการสอน มีเกณฑ์ในการกำหนดวิธีวัดและประเมินผลทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครูผู้สอนวัดผลโดยเน้น การวัดผลตามสภาพจริง โรงเรียนเปิดสอนภาษาจีนสัปดาห์ละ 10 ชั่วโมง จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้นักเรียนได้มีโอกาสสัมผัสกับสถานการณ์จริง จำนวน 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จัดสอนซ่อมเสริมให้ นักเรียนเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล มีวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนที่หลากหลาย ท้ังในด้าน การฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้นสาระการเรียนรู้ท่ีเป็นประโยชน์กับนักเรียน และสามารถนำไป ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันมีการจัดรายการเสียงตามสายในโรงเรียน จัดการสอนด้านศิลปวัฒนธรรม จีน ดนตรีจีน จัดติวเข้มการสอบวัดระดับความรู้ทางด้านภาษาจีน การสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทศั นศึกษาแหลง่ เรยี นรทู้ ้งั ในและต่างประเทศ ใหค้ ำแนะนำเก่ียวกับการศึกษาตอ่ ประเทศจนี เปน็ ต้น ในด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนกำหนดและจัดทำมาตรฐานหลักสูตรและ แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในแตล่ ะระดบั โดยนำหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ มาปรับใชใ้ ห้สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรยี น มีการจัดเตรียมบุคลากรโดยจัดส่งครูเข้าอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการและเชิญนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิร่วมวิเคราะห์และจัดทำหลักสูตรตามบริบทและอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ ภาษาจีนเด่น เน้นกล้าแสดงออก มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่เก่ียวข้องในโรงเรียนผู้บริหาร มกี ารนิเทศตดิ ตามผลการใชห้ ลกั สูตร โดยนเิ ทศการสอนในชนั้ เรยี น เป็นตน้ 156 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

ด้านครูผู้สอน โรงเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาบุคลกรให้ทันต่อความต้องการของสภาพ ปัจจุบัน ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนมาก จึงจัดต้ัง โครงการอบรมครูไทยท่ีสอนภาษาจีนเพื่อพัฒนาครูไทยที่สอนภาษาจีนและเป็นการแก้ไขปัญหา การขาดแคลนครูสอนภาษาจีน โดยการส่งครูศึกษาดูงานด้านการจัดการการเรียนการสอน อบรม เทคนิคการสอนและการใช้ส่ือ อบรมภาษาจีนระยะส้ันและระยะยาวทั้งในและต่างประเทศ ปัจจุบัน มคี รูไทยสอนภาษาจนี โรงเรยี นไดส้ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหไ้ ปศึกษาต่อและสำเร็จการศึกษาจากสาธารณรฐั ประชาชนจนี จำนวน 10 คน ปริญญาเอก 1 คน ปริญญาโท 2 คน และปริญญาตรี 7 คน โรงเรยี น มีการจัดอบรมความรู้ภาษาจีนเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ให้แก่ครูสอน ภาษาจีนในช่วงปดิ ภาคเรยี นเป็นประจำทุกปี เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาไปพรอ้ มๆ กัน โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐานครูไทยท่ีสอนภาษาจีน โดยกำหนดระดับความรู้ข้ันต่ำของครู ผู้สอนภาษาจีนชาวไทย HSK (汉语水平考试, Hanyu Shuiping Kaoshi) ไม่ต่ำกว่าระดับ 4 สำหรับครูที่สอนระดับประถมศึกษา ไม่ต่ำกว่าระดับ 5 สำหรับครูที่สอนระดับมัธยมศึกษา และมี แผนการนำระบบการทดสอบมาตรฐานการสอนภาษาจีน (教师资格证书, Jiaoshi zige zhengshu) ซึ่งเป็นมาตรฐานครูสอนภาษาจีนของสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่สอนภาษาจีนให้แก ่ ชาวตา่ งประเทศมาเทยี บเคยี งและปรบั ใชเ้ ปน็ มาตรฐานของครไู ทยทสี่ อนภาษาจนี ในโรงเรยี นประชาวทิ ย์ ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน โรงเรียนประชาวิทย์เน้นการสอนภาษาโดยใช้หลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ การใช้ สื่อสารในชีวิตประจำวัน โดยผู้เรียนจะต้องคุ้นเคยกับภาษาได้โดยธรรมชาติ โดยผ่านกิจกรรมในชีวิต ประจำวัน ตามความสนใจในการใช้ภาษาในกิจกรรม ซึ่งได้เรียนรู้โดยไม่รู้ตัวในชีวิตประจำวัน เม่ือ ผู้เรียนใช้ภาษาท่ีผิดก็ไม่กล่าวตำหนิเลยทันที ค่อยๆ พัฒนาภาษาโดยผ่านกระบวนการด้านต่างๆ ตามลำดับ ใหก้ ลมกลนื กบั ธรรมชาติการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมทีผ่ เู้ รียนสนใจ การพัฒนาทักษะทางภาษาสำหรับผู้เรียน ผู้เรียนจะเรียนรู้ภาษาได้จากการเรียนรู้ทางสังคม โดยผ่านทางกิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆ รอบตัวผู้เรียน มีแม่แบบที่ดีที่จะให้ผู้เรียนได้สังเกตและ เลยี นแบบการใชภ้ าษาจากบคุ คลแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และถกู ตอ้ งโดยผา่ นกระบวนการเสรมิ แรง ทงั้ ทางบวกและทางลบ การฟงั เปน็ ทกั ษะพน้ื ฐานทสี่ ำคญั ทำหนา้ ทใี่ นการรบั ขา่ วสารขอ้ มลู ทไ่ี ปสกู่ ารพดู การอ่าน และการเขียนต่อไป ดังนั้น โรงเรียนจึงเน้นการจัดการเรียนการสอนโดยการฝึกให้ผู้เรียน เกิดทกั ษะการฟงั และทกั ษะการพูดต้งั แตว่ ัยเด็ก ครจู ดั ประสบการณ์โดยเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดค้ ุน้ เคย กับภาษาในการสื่อสารให้มาก โดยผ่านกระบวนการท่ีผู้เรียนสนใจ เช่น คำคล้องจอง การฟังนิทาน ร้องเพลง และโดยการโต้ตอบคำถามจากครูถึงความหมายหรือเนื้อหาสาระในกิจกรรมน้ันๆ ซ่ึง ลักษณะกิจกรรมเหลา่ นี้ เป็นการฝึกทกั ษะการพดู และการฟงั ไปพร้อมๆ กัน รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา 157

ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครองชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง โรงเรียนประชาวิทยไ์ ดจ้ ดั ใหผ้ ู้ปกครอง ชุมชนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี น มกี าร แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ปกครอง โดยการพบปะ ประชุมอบรม เพ่ือสร้างสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน เชญิ วทิ ยากรภายนอกมาใหค้ วามรู้แกผ่ ้ปู กครอง และนักเรยี น โรงเรียนได้จัดตั้งศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน ศูนย์การเรียนรู้ภาษาจีน เพ่ือส่งเสริม การเรียนการสอนภาษาจีน เผยแพร่วัฒนธรรมจีนให้แก่นักเรียนและบุคคลทั่วไป นอกจากน้ี โรงเรียน ยังได้รับเลือกให้เป็นศูนย์เครือข่ายภาษาจีนในเขตภาคเหนือ โดยเป็นพ่ีเล้ียงให้แก่โรงเรียนท่ีเปิดสอน ภาษาจนี เพอื่ สรา้ งความพรอ้ มและความเขม้ แขง็ ใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาภายในจงั หวดั ลำปางและเขตภาคเหนอื โรงเรียนมีการจัดทำโครงการโรงเรียนพ่ีโรงเรียนน้องระหว่างโรงเรียนในประเทศไทยและจีน เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีน โดยโรงเรียนได้รับความร่วมมือด้านบุคลากร สื่อการเรียนการ สอนจากสำนักงานกิจการชาวจีนโพ้นทะเล (เฉียวป้ัน) สำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน นานาชาติ (ฮั่นปั้น) สาธารณรัฐประชาชนจีน และได้ทำความร่วมมือ (M.O.U.) ด้านวิชาการ ด้านวัฒนธรรม ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจนี ) กบั โรงเรียนและมหาวิทยาลยั ใน ประเทศจนี ในฐานะโรงเรียนพี่โรงเรยี นนอ้ ง อาทิ วทิ ยาลัยภาษาปกั กิง่ มหาวิทยาลัยยูนนานนอรม์ อล มหาวิทยาลัยกว่างซีนอร์มอล มหาวิทยาลัยหวาเฉียว เซ่ียเหมิน และมหาวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีหหู นาน รางวลั เกยี รติยศของนกั เรยี นโรงเรียนประชาวทิ ย ์ 1. เดก็ หญงิ พรปวณี ์ ฐติ ชิ ยั วรภทั ร นกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 และนางสาวเพชรรศั ม ์ ศุภเชฏฐ์สกุล นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ได้รับรางวัลถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากการแข่งขัน “ทักษะภาษาจีนนานมี คร้ังที่ 3” ประจำปี 2556 158 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา

2. นายพรี วฒั น์ ตงั้ ตวั นกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เปน็ ตวั แทนประเทศไทย ไปแขง่ ขนั ทกั ษะภาษาจีน ในโครงการ “สะพานสู่ภาษาจีน” ระดับมธั ยมศึกษา คร้ังที่ 8 ประจำปี 2558 จดั โดย สำนักงานส่งเสรมิ การเรียนการสอนภาษาจนี นานาชาติ (HANBAN) สาธารณรัฐประชาชนจนี เม่ือวันที่ 20-31 ตุลาคม 2558 ณ นครคุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ซ่ึงมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 400 คน จาก 81 ประเทศทั่วโลกสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขันสุนทรพจน์ และแสดงความสามารถ ภาษาจนี นำความภาคภูมิใจมาสู่โรงเรียน จงั หวัดลำปางและประเทศไทย นบั จากวนั กอ่ ตง้ั สถานศกึ ษาถงึ บดั นี้ คณะกรรมการบรหิ ารมลู นธิ ฯิ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นประชาวทิ ย ์ พร้อมด้วยคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายต่างตระหนักถึงภาระหน้าที่ต่อสังคมในการอบรมส่ังสอนเยาวชน ซึ่งเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ ให้เพียบพร้อมไปด้วยความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และ ร่วมกันทำนุบำรุงโรงเรียนเพ่ือความเจริญก้าวหน้าให้สมดังเจตนารมณ์ของบรรพชนผู้ก่อตั้ง สถานศกึ ษาแหง่ น ้ี รายงานการวิจยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา 159

ภาคผนวก 2 รายชื่อโรงเรยี นในสงั กดั สพฐ. ที่ตอบแบบสอบถาม

ลำด ับ ชอ่ื โรง เรียน เปิดสอนภาษาจนี ภาค จังหวดั 1 อนุบาลพิบูลเวศม์ เมื่อปี พ.ศ. 2 อนบุ าลกำแพงแสน 3 บ้านบางเลน (บางเลนวิทยาคาร) - กลาง กทม. 4 บ้านบางมว่ ง 5 สกลวิทยา 2552 กลาง นครปฐม 6 ปญั ญาประเสริฐวิทยา 7 อนุบาลเมอื งอทุ ัยธานี 2556 กลาง นครปฐม 8 บา้ นทา่ มะกา 9 อนบุ าลงาว (ภาณนุ ยิ ม) 2558 กลาง นครปฐม 10 บ้านดอน (ศรเี สริมกสกิ ร) 11 วดั เมธงั กราวาส - กลาง นครปฐม (เทศรัฐราษฎรน์ กุ ลู ) 12 อนุบาลกาฬสินธ์ ุ 2549 กลาง สพุ รรณบุรี 13 อนุบาลศรสี ะเกษ 14 อนุบาลจนั ทบรุ ี 2556 กลาง อุทัยธานี 15 อนุบาลดา่ นชา้ ง 16 เทศบาลบ้านคหู าสวรรค ์ 2556 กลาง กาญจนบรุ ี 17 อนุบาลศรีขรภมู ิ 2555 เหนอื ลำปาง 2556 เหนือ น่าน 2554 เหนือ แพร ่ - ตะวนั ออกเฉียงเหนอื กาฬสนิ ธ ุ์ 2549 ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ศรสี ะเกษ 2558 ตะวันออก จนั ทบรุ ี 2555 ใต ้ สพุ รรณบรุ ี 2547 ใต ้ พทั ลงุ 2556 ใต ้ สรุ ินทร ์ รายงานการวิจัยเพื่อพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา 161

ภาคผนวก 3 รายชื่อโรงเรียนสอนภาษาจีนทตี่ อบแบบสอบถาม

กรุงเทพมหานคร ลำดับ ชอื่ โรงเรียน เปดิ สอนภาษาจนี กทม. เม่ือปี พ.ศ. 1 กทม. 2 ไทยครสิ เตียนสะพานเหลือง 2489 กทม. 3 กทม. 4 ยุหมินพัฒนา 2464 กทม. 5 กทม. 6 สหี บุตรบำรุง - กทม. 7 กทม. 8 หนองจอกกงลิบฮัวเคียว 2524 กทม. 9 กทม. 10 ประสาทวุฒิ - กทม. 11 กทม. กงลจ้ี งซัน 2491 ลำดบั จังหวัด พร้อมมติ รพิทยา 2491 1 เชยี งใหม่ 2 คลองเตยวิทยา 2490 ลำปาง 3 แพร่ 4 สิงฟา้ 2490 นครสวรรค์ 5 นครสวรรค์ 6 ปัญญวทิ ยา 2491 พจิ ติ ร 7 สโุ ขทัย 8 ซินไตท้ง 2491 พิษณโุ ลก ภาคเหนอื ชอ่ื โรงเรยี น เปดิ สอนภาษาจนี เมื่อปี พ.ศ. ช่องฟา้ ซินเซงิ วาณชิ บำรงุ (สหศึกษา) 2444 ประชาวทิ ย์ 2470 เจริญศลิ ป์ 2491 จงซนั เซียะเซ่ียว - พาณชิ สงเคราะห์ 2523 หัวเฉยี ว 2491 ป้วยมิง้ สวรรคโลก 2489 สิ่นหมิน - รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 163

ภาคกลาง ลำดับ ชอื่ โรงเรยี น เปดิ สอนภาษาจนี จงั หวดั เมอ่ื ปี พ.ศ. 1 นครปฐม 2 สว่างวทิ ยา 2490 นครปฐม 3 สมทุ รสงคราม 4 ราษฎ์บำรุงวทิ ยา - นนทบรุ ี 5 สมทุ รปราการ 6 กงหล้เี จีย้ นหมนิ 2471 ปทมุ ธานี 7 สระบรุ ี 8 บางบวั ทองราษฎรบ์ ำรงุ 2496 กาญจนบุร ี 9 ประจวบคีรขี ันธ ์ 10 ป้วยฮว้ั 2495 ราชบุรี 11 ราชบุรี ธญั วทิ ยา (ตงมน้ิ ) 2491 ลำดับ จงั หวัด จิน่ เตอ๊ ะแก่งคอย 2491 1 นครพนม 2 ยูเ่ ฉยี วเซียะเสี้ยว 2470 สุรินทร ์ 3 สุรนิ ทร ์ 4 หว้ ยหนำ 2489 ศรสี ะเกษ 5 บุรีรมั ย ์ 6 เจี้ยไช้ - ขอนแก่น 7 นครราชสีมา ฮกเฮง 2488 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ชอ่ื โรงเรียน เปิดสอนภาษาจีน เม่ือปี พ.ศ. ตงเจ่ยี 2490 แงงกวง 2490 วาณิชย์นุกลู 2467 เคียวนำ 2547 บำรุงวิทยา 2489 ซู่เอง็ 2480 วานชิ วิทยา 2491 164 รายงานการวิจัยเพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา

ชอ่ื โรงเรยี น ภาคตะวนั ออก จงั หวดั เปดิ สอนภาษาจนี ลำดับ เมื่อปี พ.ศ. ชลบรุ ี จน้ิ ฮวั้ - ชลบุร ี 1 บญุ ญวทิ ยาคาร 2487 ชลบรุ ี 2 เฮงฮว้ั 2489 ชลบรุ ี 3 วฒุ วิ ทิ ยา 2491 ปราจีนบรุ ี 4 จงหมนิ - ระยอง 5 กวงฮั้ว 2469 ฉะเชิงเทรา 6 รุ่งโรจน์วทิ ยา 2548 7 จังหวัด ภาคใต ้ ลำดบั ชอื่ โรงเรียน เปิดสอนภาษาจนี สพุ รรณบุร ี เมือ่ ปี พ.ศ. ตรัง 1 2489 สตูล 2 คีต่ ี้ 2490 นราธิวาส 3 ทบั เท่ยี งฮ่วั เฉียว 2525 ภูเก็ต 4 จงหัว 2497 สงขลา 5 บางนราวิทยา 2444 6 ภเู กต็ ไทยหัวอาเซยี นวิทยา 2472 สงขลาวิทยามลู นิธ ิ รายงานการวิจยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 165

ภาคผนวก 4 รายชือ่ โรงเรยี นเอกชนทีต่ อบแบบสอบถาม

ช่อื โรงเรยี น กรงุ เทพมหานคร กทม. เปดิ สอนภาษาจนี ลำดับ เม่อื ปี พ.ศ. กทม. เมตตาวทิ ยา 2539 กทม. 1 ราชนิ บี น 2558 กทม. 2 ประเสรฐิ ธรรมวิทยา 2507 กทม. 3 เทพสัมฤทธ์วิ ทิ ยา 2550 กทม. 4 อนุบาลทานตะวนั 2540 กทม. 5 จติ รลดา 2549 กทม. 6 กุหลาบวิทยา 2550 กทม. 7 เซนตห์ ลยุ สศ์ ึกษา 2550 กทม. 8 เซนต์เทเรซา - กทม. 9 โกศลภัทรวทิ ย ์ - กทม. 10 มาเรยี ลัย 2545 กทม. 11 ทวิ ไผ่งาม 2556 กทม. 12 อัสสัมชญั ธนบุร ี 2550 กทม. 13 สารสาสน์วิเทศมนี บรุ ี - กทม. 14 ซางตาครสู้ คอนแวนท ์ 2550 กทม. 15 ปัญจทรพั ย์มนี บรุ ี 2548 16 จังหวัด ภาคเหนือ ลำดับ ชื่อโรงเรยี น เปดิ สอนภาษาจนี เชยี งราย เมอ่ื ปี พ.ศ. เชียงราย 1 2553 เชียงใหม ่ 2 เด็กดพี ทิ ยาคม - เชยี งใหม ่ 3 พรพิกุลพทิ ยา 2557 เชยี งใหม่ 4 วชิรวิทย์ 2548 เชียงใหม ่ 5 ธรรมราชศกึ ษา 2548 6 ดาราวิทยาลัย 2538 มงฟอร์ตวิทยาลยั รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา 167

ภาคเหนอื ลำดบั ชอ่ื โรงเรยี น เปดิ สอนภาษาจนี จงั หวดั เมื่อปี พ.ศ. 7 เชยี งใหม่ 8 ปรนิ สร์ อยแยลส์วทิ ยาลัย 2548 เชียงใหม ่ 9 เชียงใหม ่ 10 รตั นาเอื้อวิทยา - เชียงใหม่ 11 12 เรยีนาเชลวี ทิ ยาลัย - แพร่ พะเยา ลำดับ สายอักษร 2551 จงั หวดั 1 เทพนารี 2542 2 สมุทรสาคร 3 พงศอ์ มั พรพทิ ยา (จุนวทิ ยา) 2550 นครปฐม 4 สมทุ รปราการ 5 ภาคกลาง สมุทรปราการ 6 สมุทรปราการ 7 ชื่อโรงเรียน เปิดสอนภาษาจีน ประจวบครี ีขนั ธ ์ เมื่อปี พ.ศ. ราชบุร ี ลำดับ ประชินนุสรณ ์ 2548 จังหวดั 1 ยอแซฟอปุ ถมั ภ ์ 2548 อุบลราชธานี เซนต์โยเซฟบางนา 2545 เฉลมิ ไฉไลวทิ ยา - อสั สมั ชญั 2547 หัวหินวทิ ยาลยั 2548 วนั ทามารีอา 2548 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ชอ่ื โรงเรยี น เปดิ สอนภาษาจนี เมอื่ ปี พ.ศ. อาเวมารีอา 2554 168 รายงานการวิจัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา

ชอ่ื โรงเรียน ภาคตะวนั ออก จงั หวัด เปิดสอนภาษาจนี ลำดบั เม่อื ปี พ.ศ. ชลบรุ ี มารวี ทิ ย์ 2548 ชลบุร ี 1 ประภสั สรวทิ ยา 2549 ปราจีนบุรี 2 มารีวทิ ยา 2548 ฉะเชิงเทรา 3 เซนต์หลยุ ฉะเชิงเทรา 2546 4 จงั หวัด ภาคใต ้ ลำดบั ชื่อโรงเรียน เปดิ สอนภาษาจีน สุราษฎร์ธาน ี เมอ่ื ปี พ.ศ. สงขลา 1 2558 สงขลา 2 พทุ ธยาศรม 2555 สงขลา 3 วงศ์วทิ ย ์ - สงขลา 4 สหศาสตร์วทิ ยาคาร - สงขลา 5 กฤษณาวิทยา - ชลบุร ี 6 พลวิทยา 2546 7 สวุ รรณวงศ ์ 2534 นครศรีธรรมราช 8 อัสสมั ชญั ศรชี า 2548 ตรัง 9 ตันตวิ ตั ร 2547 บรู ณะรำลึก รายงานการวิจยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 169

ภาคผนวก 5 โรงเรียนในสงั กดั กทม. ท่ีตอบแบบสอบถาม และโทรศัพทส์ ัมภาษณ ์

กรุงเทพมหานคร ลำดับ ชื่อโรงเรียน เปิดสอนภาษาจีน กทม. เมอื่ ปี พ.ศ. 1 กทม. 2 โรงเรยี นวดั ดอกไม้ - กทม. 3 กทม. 4 โรงเรยี นวัดชอ่ งนนทรี 2550 กทม. 5 กทม. 6 โรงเรียนวัดศรีบญุ เรือง 2548 กทม. 7 กทม. 8 โรงเรยี นสำสาลี (ราษฎรบ์ ำรุง) 2548 กทม. 9 กทม. 10 โรงเรียนสุเหร่าวงั ใหญ ่ 2553 กทม. 11 กทม. 12 โรงเรียนคลองกะจะ (พงษ์สมบตั ิบำรงุ ) - กทม. 13 กทม. 14 โรงเรยี นเทพวิทยา 2553 กทม. 15 กทม. 16 โรงเรียนวัดยานนาวา 2548 กทม. 17 กทม. 18 โรงเรียนวัดหัวลำโพง 2551 กทม. 19 กทม. 20 โรงเรยี นวดั พระเชตพุ น 2550 กทม. 21 กทม. 22 โรงเรยี นวดั ราธนนั ดา - กทม. 23 กทม. 24 โรงเรียนสเุ หรา่ สามอิน 2550 กทม. โรงเรยี นวดั พระพเิ รนทร์ 2552 โรงเรยนประชาราษฎรบ์ ำเพญ็ 2553 โรงเรียนวดั ทองใบ 2549 โรงเรียนวัดสิตาราม - โรงเรยนวัดประชาศรทั ธาธรรม - โรงเรยนวดั ราชบรู ณะ 2549 โรงเรียนเพชรถนอม - โรงเรยี นวดั คลองเตย 2547 โรงเรียนศนู ย์รวมนำ้ ใจ - โรงเรยี นวัดปทมุ วนาราม 2550 โรงเรยี นอยเู่ ป็นสขุ อนสุ รณ ์ - โรงเรียนวดั ปทุมคงคา 2553 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา 171

กรุงเทพมหานคร ลำดบั ช่ือโรงเรียน เปิดสอนภาษาจีน กทม. เม่ือปี พ.ศ. 25 กทม. 26 โรงเรียนสวนลมุ พนิ ี - กทม. 27 กทม. 28 โรงเรยี นสฤษดเิ ดช 2549 กทม. 29 กทม. 30 โรงเรยี นวัดสวนพลู 2554 กทม. 31 กทม. 32 โรงเรยี นวดั สรอ้ ยทอง - กทม. 33 กทม. 34 โรงเรยี นวัดกระทุ่มเสอื ปลา? 2550 กทม. โรงเรียนวดั เสมยี นนารี 2547 โรงเรยี นวัดสามคั คธี รรม - โรงเรยี นสามเสนนอก (ประชาราษฎรอ์ นุกลู ) - โรงเรียนประชานกุ ลู (สาสนิทอนเุ คราะห)์ 2551 โรงเรยี นวดั จนั ทร์ประดิษฐาราม 2551 172 รายงานการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

ภาคผนวก 6 แบบสอบถาม โครงการวจิ ยั เพอ่ื การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา

   แบบสอบถามน้ีเป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย โดยทำการ ศกึ ษาเกีย่ วกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนระดบั ประถมศกึ ษาใน ประเทศไทย และนำผลจากการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลเพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี ระดับประถมศึกษา ซ่งึ ข้อมูลทไ่ี ด้จากการตอบแบบสอบถามน้จี ะนำไปใช้เพอื่ ประโยชน์ในการวจิ ยั เทา่ นัน้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม คำช้แี จง : โปรดกรอกขอ้ ความลงในชอ่ งว่าง 1. ชือ่ สถานศึกษา......................................................................................................................................................... 2. ทอ่ี ยู่ เลขที.่ ....................หมู่ที่.............ตรอก/ซอย..........................................ถนน.......................................................... ตำบล/แขวง......................................อำเภอ/เขต..........................................จงั หวัด............................................... รหสั ไปรษณยี .์ ........................โทรศัพท.์ ..........................................อีเมล.์ ............................................................... 3. เปิดสอนภาษาจีนเมอ่ื ปี พ.ศ. ................................... ตอนที่ 2 สภาพปจั จุบนั ของการจดั การเรียนการสอนภาษาจีน............. คำช้แี จง : โปรดกรอกข้อความลงในช่องว่าง และใสเ่ ครอื่ งหมาย P ลงในช่องท่ตี รงกบั สภาพความเป็นจรงิ 1. ด้านการบริหารจัดการ 1.1 สถานศกึ ษาของท่านมกี ารวางแผนการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี หรอื ไม่ £ มี £ ไมม่ ี 1.2 สถานศึกษาของท่านมีการกำหนดตัวบุคคลผู้รับผิดชอบการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน อย่างชดั เจนหรอื ไม ่ £ มี £ ไม่ม ี 1.3 ถ้ามี ใครคือผู้รับผิดชอบการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของสถานศึกษาของท่าน(ตอบได้ เพียง 1 ข้อ) £ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา £ ฝา่ ยวิชาการ £ หวั หน้ากลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ £ ครูสอนภาษาจีน £ อาสาสมัครชาวจนี £ อ่ืนๆ............................................ 1.4 ผูท้ มี่ สี ่วนร่วมในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ของสถานศกึ ษาของท่านคือใครบ้าง (ตอบได้ หลายขอ้ ) £ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา £ ฝา่ ยวชิ าการ £ หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ £ ครสู อนภาษาจีน £ อาสาสมัครชาวจนี £ อ่นื ๆ............................................ 1.5 สถานศกึ ษาของท่านใชข้ อ้ มูลใดในการวางแผนการจดั การเรียนการสอนภาษาจีน (ตอบได้หลายข้อ) £ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ £ นโยบายของ สพฐ. หรือ สช. £ นโยบายของกลุม่ สถานศกึ ษา (รร.ศูนยเ์ ครือขา่ ย) £ นโยบายของสถานศึกษาของท่านเอง £ อ่ืนๆ............................................ 174 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

1.6 สถานศกึ ษาของท่านดำเนนิ การตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนหรอื ไม ่ £ ใช่ £ ไมใ่ ช ่ 1.7 สถานศกึ ษาของท่านมีการดำเนินการตามแผนการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี อย่างไร (ตอบไดห้ ลายข้อ) £ จัดให้มีการประชมุ ผู้ที่มีสว่ นเกีย่ วข้องเพือ่ รว่ มกนั แก้ไขปัญหาการเรยี นการสอน £ มกี ารกำหนดตัวบคุ คลผ้รู ับผดิ ชอบในสว่ นตา่ งๆ £ มีการติดตามผลการดำเนนิ การในสว่ นต่างๆ เปน็ ระยะ £ มีการวิเคราะห์ปัญหาในดา้ นต่างๆ ของการจดั การเรียนการสอน £ มกี ารจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการ £ ใหค้ รูทำแผนการสอนและบันทึกการสอน £ อื่นๆ............................................ 1.8 สถานศกึ ษาของทา่ นดำเนินการตามแผนการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในสว่ นใดบ้าง (ตอบได้หลายข้อ) £ หลักสตู ร £ สื่อการเรยี นการสอน £ ผูส้ อน £ ผเู้ รียน £ อ่ืนๆ............................................ 1.9 สถานศึกษาของท่านประเมนิ ผลการดำเนนิ การตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี หรอื ไม่ £ ใช่ £ ไม่ใช่ 1.10 สถานศึกษาของท่านประเมินผลการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนอย่างไร (ตอบได้ หลายข้อ) £ สำรวจความคดิ เหน็ ของผทู้ มี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั การดำเนนิ การตามแผนการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี £ จดั ประชุมเพ่ือสรุปผลการดำเนนิ งานและวิเคราะห์ปญั หาตา่ งๆ £ มีการทำรายงานเพื่อสรุปผลการดำเนนิ งาน £ สำรวจความคดิ เห็นของนกั เรียน £ สำรวจความคดิ เหน็ ของผู้ปกครองนักเรยี น 1.11 สถานศึกษาของท่านนำผลการประเมินมาปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอนภาษาจนี หรอื ไม่ £ ใช่ £ ไม่ใช่ 2. ด้านหลกั สูตร 2.1 สถานศกึ ษาของท่านเปดิ สอนรายวชิ าภาษาจนี ใดบา้ ง 2.1.1 ระดบั ประถมศึกษาต้น (ป. 1 – ป.3) เปิดสอนรายวชิ าใดบ้าง £ ภาษาจีน £ สนทนาภาษาจีน £ ศิลปวัฒนธรรมจนี โปรดระบุ……………………………….. £ อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ............................................................................................................. จำนวนรายวิชา/ภาคเรยี น £ 1  £ 2  £ 3  £ อ่นื ๆ โปรดระบ.ุ ................... จำนวนคาบเรียน/รายวิชา/สปั ดาห์ £ 1  £ 2  £ 3  £ อน่ื ๆ โปรดระบุ.................... รายงานการวิจัยเพ่อื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา 175

2.1.2 ระดับประถมศึกษาปลาย (ป. 4 – ป.6) เปดิ สอนรายวชิ าใดบา้ ง £ ภาษาจีน £ สนทนาภาษาจนี £ ศลิ ปวัฒนธรรมจีน โปรดระบ…ุ …………………………….. £ อ่ืนๆ โปรดระบุ.............................................................................................................. จำนวนรายวิชา/ภาคเรียน £ 1  £ 2  £ 3  £ อน่ื ๆ โปรดระบุ.................... จำนวนคาบเรยี น/รายวชิ า/สัปดาห์ £ 1  £ 2  £ 3  £ อ่นื ๆ โปรดระบุ.................... 2.2 สถานศึกษาของท่านมกี จิ กรรมเสริมหลักสตู ร/แผนการเรียนใดบา้ ง £ ไมม่ ี £ กจิ กรรมตามเทศกาลของจีน £ กจิ กรรมการแขง่ ขนั ทักษะดา้ นภาษาจีน £ อ่ืนๆ โปรดระบุ............... 2.3 สถานศึกษาของทา่ นใชม้ าตรฐานตัวชี้วดั และสาระการเรียนรภู้ าษาจนี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หรือไม ่ £ ใช้อา้ งอิงทง้ั หมด (ข้ามไปขอ้ 2.8) £ ใช้อา้ งอิงบางส่วน £ ไม่ใชเ้ ลย 2.4 สืบเน่ืองจากข้อ 2.4 เหตุใดสถานศึกษาของท่านจึงไม่ใช้มาตรฐานชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีนในการ อา้ งอิงหรือใช้อา้ งอิงบางส่วน (ตอบได้หลายข้อ) £ สาระการเรียนรู้ยากเกนิ ไป £ ไมม่ ีตำราท่ีควบคกู่ ับมาตรฐานชี้วดั ฯ £ สาระการเรียนรมู้ ากเกนิ ไป เวลาเรียนไม่พอ £ นำมาประยุกต์ใชไ้ ดย้ าก £ อืน่ ๆ โปรดระบ.ุ .......................................... 2.5 สถานศกึ ษาของทา่ นมหี ลักสูตรภาษาจนี ของสถานศกึ ษาเป็นของตนเองหรือไม่ £ มี £ ไม่มี (ขา้ มไปข้อ 2.8) 2.6 หลักสูตรภาษาจนี ของสถานศกึ ษาของทา่ นแตกต่างจากมาตรฐานช้วี ัดและสาระการเรยี นรูภ้ าษาจีนอยา่ งไร £ สอดคล้องกับสภาพการเรยี นการสอน £ จดั ทำขน้ึ ตามตำราท่ีเลอื กใช ้ £ มีสาระการเรียนร้ทู เี่ หมาะสมกบั นกั เรียน £ อืน่ ๆ โปรดระบุ........................................... 2.7 สถานศึกษาของทา่ นมีการกำหนดจำนวนตวั อักษรจีนทต่ี อ้ งเรยี นในแตล่ ะระดบั หรอื ไม่ £ ไมม่ ี £ มี โปรดระบุ................................................................ 2.8 สถานศกึ ษาของทา่ นใช้เกณฑ์ใดในการวดั ความร้ภู าษาจีนของนกั เรียน (ตอบได้หลายข้อ) £ มาตรฐานตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาจีน £ การสอบ YCTหรอื HSK £ เกณฑ์ทีก่ ำหนดขึ้นเอง £ อนื่ ๆ โปรดระบุ........................................... 3. ดา้ นสอ่ื การเรยี นการสอน 3.1 สื่อการเรยี นการสอนท่ีใช้(ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) 3.1.1 หนังสอื ท่ีใชใ้ นระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น( ป.1 – ป.3 ) £ Hanyu《汉语》 £ Zhongwen《中文》 £ Kuaile Hanyu《快乐汉语》£ สมั ผสั ภาษาจนี 《体验汉语》 £ Huayu Keben《华语课本》£ เรียบเรยี งเอง (โปรดระบ)ุ ......................................... £ อนื่ ๆ (โปรดระบุ) ......................................................... 176 รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา

3.1.2 หนงั สือทใ่ี ช้ในระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย ( ป.4 – ป.6 ) £ Hanyu《汉语》 £ Zhongwen《中文》 £ Kuaile Hanyu《快乐汉语》£ สัมผัสภาษาจีน《体验汉语》 £ Huayu Keben《华语课本》£ เรียบเรยี งเอง (โปรดระบุ) ......................................... £ อ่ืนๆ (โปรดระบุ) ......................................................... 3.1.3 สอื่ การเรียนการสอนทีใ่ ช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) £ คอมพวิ เตอร ์ £ สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี เชน่ พาวเวอร์พอยท์ (Power Point) £ ส่ือออนไลน ์ £ แผ่นซดี ี (CD) วซี ดี ี (VCD) หรือดีวีดี (DVD) £ อื่นๆ (โปรดระบ)ุ ............................................ 3.2 ตวั อกั ษรจนี ท่ีใช้สอน £ เฉพาะตัวย่อ £ เฉพาะตัวเต็ม £ ทง้ั ตวั เตม็ และตวั ยอ่ 3.3 หอ้ งปฏบิ ัตทิ างภาษาเพ่ือใช้ในการเรยี นการสอนภาษาจีน £ มี £ ไมม่ ี 3.4 หอ้ งสมดุ มหี นังสอื เสริมความรูภ้ าษาจีนหรือไม ่ £ ม ี £ ไมม่ ี £ อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ........................................................... 4. ด้านผู้สอน 4.1 สญั ชาติ คณุ วฒุ ิสูงสดุ และจำนวนของผ้สู อนภาษาจีน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 4.1.1 ผสู้ อนสญั ชาติไทย (ครปู ระจำ) จำนวน......................คน £ ประกาศนียบตั ร.................คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไม่ตรงวุฒิ...............คน £ ระดบั ปรญิ ญาตร.ี ...............คน สาขาวชิ าภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวุฒิ...............คน £ ระดับปริญญาโท................คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไม่ตรงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดับปริญญาเอก..............คน สาขาวชิ าภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวฒุ .ิ ..............คน ประสบการณ์สอน 1-5 ปี ...........คน 6-10 ปี ............คน 10 ปขี ึ้นไป ............คน ภาษาท่ีใชส้ อนส่วนใหญ่ £ ภาษาไทย £ ภาษาจีน £ ภาษาไทย-ภาษาจนี 4.1.2 ผสู้ อนสญั ชาตจิ ีนที่โรงเรียนจดั หาเอง จำนวน......................คน £ ประกาศนียบตั ร.................คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไม่ตรงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดับปริญญาตรี................คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดบั ปรญิ ญาโท................คน สาขาวชิ าภาษาจนี ..............คน ไมต่ รงวฒุ ิ...............คน £ ระดับปริญญาเอก..............คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไม่ตรงวฒุ .ิ ..............คน ประสบการณ์สอน 1-5 ปี ...........คน 6-10 ปี ............คน 10 ปขี น้ึ ไป ............คน ภาษาท่ีใชส้ อนสว่ นใหญ่ £ ภาษาจีน £ ภาษาจนี -ไทย £ ภาษาจีน-องั กฤษ รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 177

4.1.3 ครูอาสาสมัครสัญชาติจีน จำนวน......................คน £ ประกาศนยี บตั ร.................คน สาขาวชิ าภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดบั ปริญญาตร.ี ...............คน สาขาวชิ าภาษาจนี ..............คน ไมต่ รงวฒุ ิ...............คน £ ระดบั ปริญญาโท................คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวุฒิ...............คน £ ระดบั ปรญิ ญาเอก..............คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวุฒิ...............คน ประสบการณ์สอน 1-5 ปี ...........คน 6-10ปี ............คน 10 ปีขนึ้ ไป ............คน ภาษาทใี่ ชส้ อนสว่ นใหญ่ £ ภาษาจีน £ ภาษาจีน-ไทย £ ภาษาจนี -อังกฤษ 4.1.4 ผสู้ อนสัญชาติอื่น (เช่น สิงคโปร์ มาเลเซยี เปน็ ต้น) จำนวน......................คน £ ประกาศนยี บตั ร.................คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวฒุ ิ...............คน £ ระดบั ปรญิ ญาตรี................คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไมต่ รงวุฒิ...............คน £ ระดบั ปรญิ ญาโท................คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวุฒิ...............คน £ ระดับปริญญาเอก..............คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวุฒ.ิ ..............คน ประสบการณ์สอน 1-5 ปี ...........คน 6-10ปี ............คน 10 ปีขน้ึ ไป ............คน ภาษาทใี่ ชส้ อนส่วนใหญ่ £ ภาษาจนี £ ภาษาจนี -ไทย £ ภาษาจนี -องั กฤษ 4.1.5 ผู้สอนสญั ชาติไทย (ครูพเิ ศษ) จำนวน......................คน £ ประกาศนยี บัตร.................คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวุฒ.ิ ..............คน £ ระดับปรญิ ญาตรี................คน สาขาวชิ าภาษาจีน..............คน ไม่ตรงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดบั ปริญญาโท................คน สาขาวชิ าภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดับปริญญาเอก..............คน สาขาวิชาภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวุฒ.ิ ..............คน ประสบการณ์สอน 1-5 ปี ...........คน 6-10ปี ............คน 10 ปขี ้ึนไป ............คน ภาษาทีใ่ ชส้ อนสว่ นใหญ่ £ ภาษาไทย £ ภาษาจนี £ ภาษาไทย-ภาษาจีน 4.1.6 ผูส้ อนสญั ชาติจนี (ครพู ิเศษ) จำนวน......................คน £ ประกาศนียบัตร.................คน สาขาวิชาภาษาจนี ..............คน ไม่ตรงวฒุ ิ...............คน £ ระดับปริญญาตรี................คน สาขาวชิ าภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวฒุ .ิ ..............คน £ ระดับปรญิ ญาโท................คน สาขาวชิ าภาษาจีน..............คน ไมต่ รงวุฒิ...............คน £ ระดบั ปริญญาเอก..............คน สาขาวชิ าภาษาจีน..............คน ไม่ตรงวฒุ ิ...............คน ประสบการณ์สอน 1-5 ปี ...........คน 6-10ปี ............คน 10 ปีขน้ึ ไป ............คน ภาษาที่ใชส้ อนส่วนใหญ่ £ ภาษาจนี £ ภาษาจนี -ไทย £ ภาษาจีน-อังกฤษ 4.2 ชัว่ โมงสอน £ ผู้สอนสญั ชาตไิ ทย สอนสปั ดาหล์ ะประมาณ ……. ชวั่ โมง £ ผ้สู อนสัญชาตจิ นี (รวมครูอาสาสมัครสญั ชาตจิ ีน) สอนสปั ดาหล์ ะประมาณ ……. ชวั่ โมง £ ผู้สอนสัญชาตอิ ื่น สอนสปั ดาห์ละประมาณ ……. ช่ัวโมง 178 รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถมศกึ ษา