Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) คืออะไร?

ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) คืออะไร?

Published by Www.Prapasara, 2021-08-15 17:54:35

Description: Professional Learning Community (PLC) คืออะไร?
ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) คืออะไร?
PLC คืออะไร
วิจารณ์ พานิช (2554) ได้ให้นิยามของคำว่า ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) หมายถึง การรวมตัวกันของครูในสถานศึกษาหรือเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ศิษย์เรียนรู้ได้ทักษะ 21st Century Skills โดยที่ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาและผู้บริหารการศึกษาระดับประเทศ เข้าร่วมจัดระบบสนับสนุน ให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง มีการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของศิษย์อย่างต่อเนื่อง เป็นวงจรไม่รู้จบ หรือ CQI (Continuous Quality Improvement) หรืออาจเรียกว่าเป็น R2R ในวงการศึกษาก็ได้

Keywords: PLC คืออะไร,Professional Learning Community (PLC) คืออะไร?,ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) คืออะไร?

Search

Read the Text Version

Professional Learning Community (PLC) คอื อะไร? ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้เชิงวชิ าชีพ(PLC)คอื อะไร? https://pubhtml5.com/homepage/zdig

แ น วคิ ด ชุ ม ช น แ ห่ งการเรียน รู้เชิ งวิช าชี พ ( Professional Learning Community : PLC) 1. ความเปน็ มาของชมุ ชนแห่งการเรียนรู้เชงิ วชิ าชีพ (PLC) ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพหรือ Professional Learning Community (PLC) เป็น ชมุ ชนท่ีช่วยเติมองค์ความรู้ของบุคคลในกลุ่ม และสร้างความมั่นใจในการทางาน ให้ประสบผลสาเร็จ ตามเจตจานงค์ของการปฏิบัติงาน โดยมีนักวิชาการหลายท่าน กล่าวถึงความเป็นมาชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชพี ไว้ ดงั นี้ เสถียร อ่วมพรหม (2560) กล่าวว่า เหตุผลท่ีองค์กรจาเป็นที่ต้องมีการเรียนรู้เน่ืองมาจาก ระดับคุณภาพของการปฏิบัติงานและต้องมีการปรับปรุงงานอยู่เสมอ ต้องอาศัยการเรียนรู้เป็นฐานท่ี สาคัญย่ิง ประกอบกับองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ยังมีแนวทางสู่ความสาเร็จของตนเอง ตลอดจนแนวทางสาหรับผ้ปู ฏิบัติงานก็ยังขาดความชัดเจน ท่ีสาคัญหัวใจในการปฏิบัตงิ านนั้น มาจาก ฐานความเช่ือที่ว่าศักยภาพอันมหาศาลท่ีซ่อนอยู่ภายในบุคคลและบุคคลนั้นยังไม่ได้รับการพัฒนา และปฏิบัติกับองค์กรเท่าที่ควร ดังน้ัน ด้วยความเช่อื ดังกล่าวจึงเช่ือมั่นได้วา่ ถ้าบคุ คลทั้งหมดในองคก์ ร ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มท่ี และได้ใช้ศักยภาพสูงสุดเท่าท่ีตนมีเพื่อนในการปฏิบัติงานภายใต้การมี วิสัยทัศน์เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของตัวบุคคล องค์กรท่ีสอดคล้องกัน สมาชิกแต่ละคนก็จะทุ่มเท และปลดปลอ่ ยศกั ยภาพทต่ี นมีสงู สุดน้ันใหก้ บั งานท่ีทาอยา่ งเต็มทใี่ นทสี่ ุด นริศ ภอู าราม (2560) ได้ให้แนวคิดวา่ ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพม่งุ เน้นไปท่กี ารเรียนรู้ ของนักเรยี นมากกว่าการสอนของครู มีหลักการพื้นฐานที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. การสร้างความม่ันใจในการเรียนรู้ของนักเรียนชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเกิดจาก สมมติฐานที่ว่า ภารกิจหลักของการศึกษาในโรงเรียนไม่ได้เพียงนักเรียนได้รับการสอนแต่เป็นการทา ใหน้ กั เรียนเกดิ การ 2. วัฒนธรรมของการทางานร่วมกัน การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพน้ันต้องมี โครงสร้างท่ีส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมการทางานร่วมกัน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ สาหรับทุกคน 3. มุ่งเน้นไปท่ีผลลัพธ์ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพประเมินประสิทธิภาพได้จาก ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน ทุกคนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย การปรับปรุงและพัฒนาการเรียน การสอนเพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทีต่ ้องการ วรลักษณ์ ชกู าเนิด (2557) กลา่ ววา่ ชุมชนแห่งการเรียนรเู้ ชิงวิชาชีพมีแนวคดิ มาจากอุปมาให้ “โรงเรียน” เป็น “องค์กร” น้ันคงไม่เหมาะแต่แท้จริงแล้วโรงเรียนมีความเป็น “ชุมชน” มากกว่า ซึ่ง องค์กรซึ่งเป็นชุมชนทม่ี ีความแตกต่างกัน และเป็นชมุ ชนมีความผูกพันรว่ มกันของทุกคนท่ีเป็นสมาชิก แตกต่างจากองค์กร คือ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมาชิกท่ีเป็นลักษณะยึดลาดับการลดหล่นั อานาจกนั ลง มา

เรวณี ชัยเชาวรัตน์ (2556) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ว่าหมายถึง กระบวนการสร้างการ เปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมกันเพอ่ื ทางานรว่ มกนั และสนับสนุน ซงึ่ กันและกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรียน ร่วมกันวางเปา้ หมายการเรยี นรขู้ อง ผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติท้ังในส่วนบุคคลและผลท่ีเกิดข้ึนโดยรวม ผ่าน กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์ การทางานร่วมกัน การร่วมมือรวมพลัง โดย มงุ่ เนน้ และสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรอู้ ย่างเปน็ องค์รวม พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์ (2555) ได้ให้ความหมาย ชุมชนการเรียนรู้ ไว้ว่าเป็นชุมชนสายจิต ปัญญาศึกษา ที่มองหาคนท่ีมีความคิดเหมือนกันใช้พ้ืนท่ี (Space) ในการสร้างชุมชนที่รองรับความ หลากหลายของปัจเจกบุคคล การสร้างชุมชนทาให้เกิดความภูมิใจที่ได้ทาด้วยตนเอง เป็นเหมือน (Container) ที่ทาให้เติมเต็ม คนที่ฝึกฝนเรื่องน้ี จะมีความโดดเด่ียวค่อนข้างมาก ไม่เป็นเป้าประสงค์ ในการประสบความสาเร็จหรือมีอะไรเหมือนคนอื่น หากเพียงอยากรู้ว่ามีอะไรในตัวเราซึ่งจะนาไปสู่ การเกิดคุณค่าที่แท้จริงในตัวเรา (Individuality) เป็นตัวของตัวเรา ชุมชนต้องมีพ้ืนท่ีให้มากเพ่ือเปิด โอกาสให้แต่ละคนได้คน้ หาตัวเอง ได้มีแนวทางของตนเองเห็นคณุ ค่าในตัวเองชุมชนควรมกี ารเดินทาง เปน็ ท่ีต้งั มกี ารสนทนา ไม่มีการตัดสนิ ผดิ ถกู แสงรุนีย์ มีพร (2563) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หมายถึง การร่วมมือรวมพลังของครูใน การทา งานเพ่ือสะท้อนผลการปฏิบัติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ซ่ึงจะต้อง พัฒนาอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง มุ่งไปสู่ความสาเร็จภายใต้เป้าหมายเดยี วกัน โดย การพ่ึงพาอาศัย ซึ่งกันและกัน การร่วมมือรวมพลัง และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิก ในชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ ต้องอาศัยความซ่ือสัตย์ และมีมนุษยสัมพันธ์ มีทางเลือก และมีความจริงใจ เปิดเผย มีความ อดทน ความเพียรพยายาม ความมีประสิทธิภาพ และความกระตือรือร้น ซึ่งครผู ู้สอนที่เป็นสมาชิกใน กลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพต้องเช่ือเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน โดยเช่ือว่านักเรียนทุกคน สามารถเรียนรู้ได้ มีการกาหนดเป้าหมายร่วมกัน ร่วมกันสะท้อนผลการปฏิบัติการสอน และร่วมกัน ตัดสินใจเลือกแนวทางที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนร้ไู ด้ดีที่สุด ซึ่งกระบวนการที่ใช้ในการสร้างชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพน้ันมีหลายกระบวนการด้วยกัน เป็นต้นว่า การจัดการความรู้ การพัฒนา บทเรียนร่วมกัน กล่มุ ศึกษาท้ังคณะ การชี้แนะ ระบบพ่ีเลี้ยง และชมุ ชนแห่งการปฏิบัติ ทั้งน้ี ผู้บรหิ าร สถานศึกษาต้องสนับสนุนส่งเสริมให้ครูผู้สอนท่ีเป็นสมาชิกในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มี โอกาสสังเกตการสอน วิพากษ์วิจารณ์ และสะท้อนการปฏิบัติการสอนอย่างต่อเนื่อง จึงจะเกิดชุมชน การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ อันจะสง่ ผลให้ครผู ู้สอนเกดิ การพฒั นาในวิชาชีพครูที่ย่งั ยนื วิจารณ์ พานิช (2554) ได้ให้นิยามของคาว่า ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) หมายถึง การรวมตวั กนั ของครูในสถานศกึ ษาหรอื เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ศิษย์เรียนรู้ได้ทักษะ 21st Century Skills โดยท่ี ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาและ

ผู้บรหิ ารการศึกษาระดบั ประเทศ เข้าร่วมจัดระบบสนับสนุน ให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตอ่ เนื่อง มี การพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของศิษย์อย่างต่อเน่ือง เป็นวงจรไม่รู้จบ หรือ CQI (Continuous Quality Improvement) หรอื อาจเรยี กวา่ เป็น R2R ในวงการศกึ ษาก็ได้ Sergiovanni (1998) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ว่าการเปรียบเทียบให้ โรงเรียนเป็นองค์การนั้น น่าจะไม่เหมาะสมและถูกตอ้ งที่เดียวนัก โดยเขาเห็นว่าควรเป็นโรงเรียนเป็น ชุมชนจะมีความเหมาะสมมากกว่าโดยเรียกร้องให้เปล่ียนมุมมองโรงเรียนในฐานะท่ีเป็นองค์การแบบ ทางการไปสู่ความเป็นชุมชนแทนความเป็นชุมชนจะยึดโยงภายในต่อกันด้วยค่านิยม แนวคิด และ ความผูกพันร่วมกันของทุกคนที่เป็นสมาชิก ซ่ึงเป็นแนวคิดตรงกันข้ามกับความเป็นองค์การท่ีมี ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในลักษณะที่ยึดตามระดับที่ลดหลั่นกันลงมามีกลไกการควบคุมและมี โครงสร้างแบบตึงตัวท่ีเต็มไปด้วยกฎระเบียบและวัฒนธรรมของการใช้อานาจเป็นหลัก ในขณะที่ ชุมชนใช้อิทธิพลท่เี กิดจากการมีค่านิยมและวัตถุประสงค์ร่วมกัน เป็นความสมั พันธ์ระหว่างสมาชิกเชิง วชิ าชีพ มีความเป็นกลั ยาณมิตรเชงิ วชิ าการหรือวทิ ยสัมพันธ์ต่อกนั และยดึ หลักต้องพึ่งพาอาศัยซ่ึงกัน และกันในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้องค์การยังทาให้เกิดคุณลักษณะบางอย่างข้ึน เช่น ลดความเป็น กันเองต่อกันลงมีความเป็นราชการมากข้ึน และถูกควบคุมจากภายนอกให้ต้องรักษาสถานภาพเดิม ของหน่วยงานไว้ดังน้ัน ถ้ามองโรงเรียนในฐานะแบบองค์การดังกล่าวแล้ว ก็จะทาให้โรงเรียนมีความ เปน็ แบบทางการท่ีสร้างความรู้สึกเป็นระหว่างบคุ คลมีมากย่ิงขึ้น มกี ลไกท่ีบังคับควบคุมมากมาย และ มกั มีจดุ เนน้ ในเรื่องทเ่ี ป็นงานด้านเทคนิคเป็นหลัก แต่ทางตรงข้ามถ้ายอมรับวา่ โรงเรียนมีฐานะแบบที่ เป็นชุมชนแล้วบรรยากาศที่ตามมาก็คือ สมาชิกมีการผูกพันต่อกันด้วยวัตถุประสงค์ร่วม มีการสร้าง สัมพันธภาพท่ีใกล้ชิดสนิทสนม และเกิดการร่วมสร้างบรรยากาศท่ีทุกคนแสดงออกถึงความห่วงหา อาทรต่อกันและชว่ ยดู และสวัสดิภาพร่วมกันจากแนวคิดและความเปน็ มาของนกั วชิ าการ มาร์การ์ด และเรย์โนล (Marguardt and Reynolds, 1994) ให้ความหมายว่า เป็นที่ซึ่งมี บรรยากาศของการเรียนรู้รายบุคคลและกลุ่ม มีการสอนคนของตนเองให้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ เพ่อื ช่วยใหเ้ ข้าใจในสรรพส่งิ ขณะเดยี วกันก็ช่วยชุมชนเรยี นรู้จากความผิดพลาดและความสาเร็จซ่งึ ผล ทาให้ทุกคนตระหนักในการเปลีย่ นแปลงและการปรับตัวได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ Hord (1997) ได้กล่าวว่า ชุม ชน การเรียน รู้ท างวิช าชีพ (Professional Learning Community : PLC) คือ มองในมุมมองเดียวกัน โดยมองการรวมตัวกันดังกล่าว มีนัยแสดงถึงการ เปน็ ผนู้ าร่วมกนั ของ ครู หรือเปิดโอกาสใหค้ รเู ปน็ “ประธาน” ในการเปลย่ี นแปลง

กล่าวไว้สรุปได้ว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพหรือ Professional Learning Community (PLC) เป็นการสร้างความสมั พันธ์ของกลุ่มบุคคล เพ่ือพัฒนาความรู้ ความสามารถตาม ศักยภาพของบุคคลน้ัน โดยให้กลุ่มบุคคลเป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลง และสร้างความ เชื่อมั่นหรือความมั่นใจให้กับบุคคลน้ันและต่อมาโรงเรียนในหลาย ๆ ประเทศได้นาชุมชนแห่งการ เรียนรู้เชิงวิชาชีพ โดยนาแนวทางการดาเนินชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ดังกล่าว มาประยุกต์ใช้ เพ่ือหวังให้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ นี้พัฒนาครูให้มีกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายสู่การจัดการเรียนรู้ ใหผ้ ้เู รยี นมปี ระสทิ ธผิ ล 2. ความหมายของชมุ ชนแห่งการเรยี นร้เู ชงิ วิชาชีพ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Communities : PLC) มี วรรณกรรมทางการศึกษาจากการวิจัยหรือโครงการศึกษาต่าง ๆ สามารถเรียบเรียงสรุปเป็น ความหมายชุมชนเรียนรู้ทางวิชาชีพท่ีสามารถให้ความหมายทั้งด้านการรวมกัน กระบวนการเรียนรู้ และการพฒั นาชุมชนวชิ าชพี ดงั น้ี Sergiovanni (1994) ได้กล่าวว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) คือ สถานที่สาหรับ “ปฏิสัมพันธ์” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของโรงเรียนในการทางาน เพ่ือ ปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียน หรืองานวิชาการ โรงเรียนมาร์การ์ด และเรย์โนล (Marguardt and Reynolds, 1994) ให้ความหมายว่า เป็นที่ซ่ึงมีบรรยากาศของการเรียนรู้รายบุคคลและกลุ่ม มี การสอนคนของตนเองให้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์เพื่อช่วยให้เข้าใจในสรรพสิ่ง ขณะเดียวกันก็ช่วย ชุมชนเรียนรู้จากความผิดพลาดและความสาเร็จซ่ึงผลทาให้ทุกคนตระหนักในการเปลี่ยนแปลงและ การปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มาร์การ์ด และเรย์โนลด์ (Marguardt and Reynolds, 1994) ให้ความหมายว่า เป็นที่ซึ่งมี บรรยากาศของการเรยี นรู้รายบุคคลและกลุ่ม มีการสอนคนของตนเอง ให้มีกระบวนการคิดวเิ คราะห์ เพื่อช่วยให้เข้าใจในสรรพสิ่ง ขณะเดียวกันก็ช่วยชุมชนเรียนรู้ จากความผิดพลาดและความสาเร็จซ่ึง ผลทาใหท้ ุกคนตระหนกั ในการเปลีย่ นแปลงและการปรบั ตวั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ Hord (1997) ได้กล่าวว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คือ มองในมุมมองเดียวกัน โดยมองการ รวมตัวกันดังกล่าวมีนัยแสดงถึงการ เปน็ ผู้นารว่ มกันของ ครู หรือเปิดโอกาสใหค้ รูเปน็ “ประธาน” ในการเปล่ยี นแปลง DuFour (2004) ระบุว่า ชุมชนแห่งการเรียนร้เู ชิงวิชาชีพ คือแนวคิดของการพัฒนาโรงเรียน ในปัจจุบันโดยเป็นการรวมตัวกันทางานร่วมแรงร่วมใจของบุคคลในวิชาชีพครูที่มีความสนใจและมี ความรู้ในการศึกษา เชน่ คณะครูผูส้ อนระดบั ช้นั ประถมศึกษา คณะครูผสู้ อนระดับช้ันมธั ยมศึกษา

คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรการศึกษาระดับชาตแิ ละอนื่ ๆ เรยี นรู้และทางานสู่เป้าหมายอย่างมี วุฒิภาวะและความรับผิดชอบด้วยการพัฒนาทางวิชาชีพสู่วุฒิภาวะความเป็นครูของชุมชนแห่งการ เรียนรู้เชิงวิชาชีพ มีลักษณะสาคัญคือเน้นการพัฒนาบนฐานงานจริงมากกว่าการพัฒนานอกหน้างาน จรงิ จากการศึกษา ณรงค์ฤทธ์ิ อินทนาม (2553) ได้สรุปความหมายของ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพว่า ประกอบด้วย 2 ส่วนท่ีสาคัญ คือ ส่วนที่เป็นกระบวนการ เช่น การแลกเปลี่ยนและพูดคุย สอบถาม เชิงวิพากษ์วิจารณ์ การสะท้อนผล และร่วมมือรวมพลังในการปฏิบัติงาน เป็นต้น และส่วนท่ีเป็น ผลลัพธ์ที่คาดหวัง คือ การเป็นครูมืออาชีพท่ีมุ่งสู่ผลประโยชน์ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ของนักเรียนเป็น สาคญั วจิ ารณ์ พานิช (2554) ไดใ้ ห้นยิ ามของคาว่า ชุมชนแห่งการเรยี นรเู้ ชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) หมายถึง การรวมตัวกันของครูในสถานศึกษาหรือเขตพ้ืนที่การศกึ ษา เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ศิษย์เรียนรู้ได้ทักษะ 21st Century Skills โดยท่ี ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ระดับประเทศ เข้าร่วมจัดระบบสนับสนุน ให้เกิดการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ต่อเนื่อง มีการพัฒนาวิธีการ เรียนรู้ของศิษย์อย่างต่อเนื่อง เป็นวงจรไม่รู้จบ หรือ CQI (Continuous Quality Improvement) หรืออาจเรียกว่าเปน็ R2R ในวงการศกึ ษากไ็ ด้ วรลกั ษณ์ ชูกาเนดิ , เอกรนิ ทร์ สังข์ทอง และชวลิต เกดิ ทิพย์ (2557) ชุมชนแห่งการเรยี นรู้เชิง วิชาชีพ (PLC) หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศกึ ษา บนพ้ืนฐานวฒั นธรรมความสมั พันธ์แบบกัลยาณมติ ร ท่ีมวี ิสัยทัศน์ คณุ คา่ เปา้ หมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้ท่ีครูเป็นผู้นาร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแล สนับสนุน สู่การเรียนรู้และพฒั นาวิชาชพี เปล่ียนแปลงคณุ ภาพตนเองสูค่ ณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ท่เี น้น ความสาเร็จหรือประสิทธิผลของ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ และความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชกิ ใน ชมุ ชน ปองทิพย์ เทพอารีย์ (2557) ได้สรุปความหมาย ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community) หมายถงึ กลมุ่ ครูที่รวมตวั กัน เพอ่ื แลกเปล่ียนประสบการณ์ ความรู้ เกี่ยวกับการจดั การเรียนการสอน ใหค้ ุณค่ากับการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนอื่ งโดยครใู นชุมชนทางาน ร่วมกันเพื่อสร้างองค์ความรู้ รวมทั้งสร้างความสามารถในระดับปัจเจก ระดับกลุ่ม และระดับ สถานศึกษา เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและการเรยี นรู้ของนักเรยี น

มารุต พัฒผล (2557) ให้ความหมายของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพครูว่าเป็นการ ผสมผสานแนวคิด 2 ประการ ได้แก่ความเป็นมืออาชีพ (Professional) และชุมชนแห่งการ เรียนรู้ (Learning Community) หมายถงึ การรวมกลุ่มกันของบุคคลผปู้ ระกอบวชิ าชีพครโู ดยมี จุดม่งุ หมาย เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงวิชาชีพ และคุณภาพของผู้เรยี นร่วมกัน ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ร่วมมือร่วม ใจ (Collaborative Learning) การเรียนรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานในพื้นท่ี (Field) และการ แลกเปลย่ี นเรียนรู(้ Sharing Learning) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เรวณี ชัยเชาวรัตน์ (2559) ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพว่า หมายถึง กระบวนการสร้าง การเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมกันเพ่ือทางานร่วมกันและ สนับสนุนซึ่งกันและกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกันวางเป้าหมายการ เรียนรู้ของผู้เรยี น และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติท้ังในส่วนบุคคลและผลที่เกิดขึ้นโดยรวม ผ่าน กระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การวิพากษว์ ิจารณ์ การทางานร่วมกันการรว่ มมือรวมพลัง โดยมงุ่ เน้น และส่งเสริมกระบวนการเรยี นร้อู ย่างเป็นองคร์ วม สานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2560) กล่าวว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิง วิชาชีพเป็นการรวมตัวร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องใน สถานศึกษา บนพ้ืนฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรท่ีมีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมายและ ภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นาร่วมกันและผู้บริหารแบบผู้ดูแล สนับสนุนสู่การเรยี นรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลีย่ นแปลงคุณภาพตนเองสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ความสาเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสาคัญและความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชิกใน ชมุ ชน ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ (2560) กล่าวว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ คือ การ รวมตัวร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทาและร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษาบนพื้นฐาน วัฒนธรรม ความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความ สาเร็จหรือ ประสิทธผิ ลของผเู้ รยี นเปน็ สาคญั และความสุขของการทางานรว่ มกนั ของสมาชิกในชุมชน เสถียร อ่วมพรหม (2560) กล่าวว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ หมายถึง ชุมชนท่ี สามารถเปล่ียนพฤติกรรมของชุมชน โดยกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของบุคคลท้ังหมดของชุมชน กล่าวคือ บุคลากรท้ังหมดในชุมชนมีอิสระการเรียนรู้ร่วมกัน มีการสร้างองค์ความรู้ที่หลากหลาย มี การคิดค้นและเปล่ียนแปลงการปฏิบัติงานร่วมกัน มีการแบ่งปันความรู้เพื่อเพิ่มพูนสมรรถนะและ ศกั ยภาพท่กี อ่ ใหเ้ กิดความก้าวหนา้ ในการดาเนินกิจการไปสู่เป้าหมายอยา่ งต่อเน่ือง

บังอร เสรีรัตน์, ชาริณี ตรีวรัญู และเรวณี ชัยเชาวรัตน์ (2559) ให้ความหมายของคาว่า ชมุ ชนแห่งการเรียนรเู้ ชิงวิชาชีพ หรือ Professional Learning Community (PLC) เป็นวิธีการสร้าง องค์กรให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยใช้วิธีการเรียนรจู้ ากการปฏิบัติงานในกลุ่มบุคคลมารวมตัวกัน เพ่ือ ทางานร่วมกัน สนับสนุนซึ่งกันและกันซ่ึง มีวัตถปุ ระสงค์ มีเป้าหมายและมกี ารตรวจสอบร่วมกัน เพื่อ สะทอ้ นการปฏิบตั ิงานของบุคคล ซ่ึงการปรับเปล่ยี นองคค์ วามรู้ได้จากการวิพากษ์วิจารณ์ และทางาน รว่ มกนั สรุปได้ว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC) หมายถึง สภาพการดาเนินงานของกลุ่มคน หรือความเป็นอยู่ของบุคคลในชุมชน ซึ่งมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันของบุคลากร โดยเฉพาะบุคลากรวิชาชีพที่มีเป้าหมายที่ชัดเจนและการยอมรับฟังความ คิดเห็นซึ่งกันและกัน เมื่อความรู้ดังกล่าวได้รับการปฏิสัมพันธ์แลกเปล่ียนกันเพื่อจะก่อให้เกิดความรู้ และความเชี่ยวชาญมีเป้าหมายสูงสุดของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพคือ การประสบผลสัมฤทธ์ิ หรือบรรลุเป้าหมายทีก่ ล่มุ ชุมชนตัง้ ไว้ 3. ความสาคญั ของชุมชนแหง่ การเรียนร้เู ชิงวชิ าชีพ ในการดาเนินงานชมุ ชนแห่งการเรียนรู้เชิงวชิ าชีพของสถานศึกษานั้น ผ้บู ริหาร ครู และผู้ท่ีมี สว่ นเกย่ี วข้องในการจัดการศกึ ษา จะไดร้ ับผลประโยชน์จากการเข้ารว่ มชุมชนนี้อยา่ งมาก ทาใหช้ ุมชน แห่งการเรยี นรู้เชิงวชิ าชพี มีความสาคัญตามนกั การศกึ ษาระบุ ไดด้ ังต่อไปนี้ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2554) กล่าวว่า องค์ประกอบของชุมชนแห่งการ เรียนรู้ท่ีสาคญั มี 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ผู้นาที่ดีจะต้องเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถในการ บรหิ ารจดั การ 2. มีกรรมการชุมชนที่มีจริยธรรม และมีการบริหารจัดการชุมชนท่ีดีต้องมีกรรมการชุมชนที่ เขม้ แขง็ มีความมงุ่ มั่น มีคุณธรรมจริยธรรม บรหิ ารงานโปร่งใส 3. มีความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน มีสมาชิกที่มีคุณภาพและมีจิตสานึกเพื่อส่วนรวมเข้า มาร่วมคิดรว่ มดาเนนิ รว่ มรบั ผิดชอบในทุกกระบวนการ 4. มีกระบวนการเรียนรเู้ พื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่องจะต้องมีการเรียนรู้เพื่อ ใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา รวมท้ังต้องมีการถ่ายทอดความรู้ ระหว่างชุมชนอย่าง สม่าเสมอ 5. มีศักยภาพความพร้อมในเร่ืองพื้นฐานอาชีพ จะต้องมีความเข้มแข็งในการพึ่งพา ตนเอง และมีความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ จึงต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะความ พร้อมในการประกอบอาชีพ โดยใช้ความรู้ในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงให้เกิดกรรมวิธีสิ่งใหม่ หรือ พัฒนาให้ดีกว่าเดมิ

6. มีการสร้างระบบการจัดเก็บและการนามาใช้ขององค์ความรู้ที่ดีต้องมีการสร้าง ระบบการ เก็บความรทู้ ัง้ ความรู้ทอี่ ย่ภู ายในชุมชนและความรูภ้ ายนอกชุมชน 7. มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือท้ังในและนอกชุมชนต้องมีความร่วมมือในด้านทุน กิจกรรมวิชาการ ฯลฯ บังอร เสรรี ัตน์, ชารณิ ี ตรีวรญั ู และเรวณี ชัยเชาวรตั น์ (2559) กลา่ วว่า ชุมชนการเรียนรทู้ าง วชิ าชีพจะเปล่ียนบรรยากาศของ “โรงเรียน” ช่วยใหส้ มาชิกอันได้แก่ครูผ้สู อน ผู้บริหาร นักการศกึ ษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ นักเรียนหรือแม้กระท่ังผู้ปกครอง มีความรู้สึกร่วมกันว่าเป็นเจ้าของ โรงเรียนหรือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างเท่าเทียมกัน โดยมุ่งเน้นที่การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น หลัก และเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ ครูผู้สอนและสมาชิกทุก คนในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพจึงต้องร่วมกันคิดหาวิธีการใหม่ ๆ ในการจัดการเรียนรู้แล้วนาผลท่ี เกิดขึ้นมาปรึกษาหารือหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โดยทุกคนมคี วามเช่ือมั่นในตนเองและเช่ือม่ันซ่ึงกัน และกันว่า จะสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ได้และสมาชิกทุกคนจะเกิดการพัฒนา เนื่องจาก คุณลักษณะสาคัญท่ีช่วยให้เกิดเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพนั้น ครูผู้สอนรวมทั้งสมาชิกในชุมชน จะต้องมีบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน รวมท้ังร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน โดย กระบวนการทีส่ มาชิกทุกคนตอ้ งดาเนนิ การ คอื การสบื สอบเพื่อสะท้อนผลเชิงวชิ าชีพ ซ่ึงกระบวนการ ทุกอย่างต้องอาศัยการร่วมมือรวมพลังกัน และจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนด้านการจัดลาดับ โครงสร้างและความสัมพันธ์ของบุคลากรในโรงเรียนให้เอ้ือต่อการวางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถสังเกตและสืบสอบเพ่ือสะท้อนผลเชิงวิชาชีพได้ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ จึง เปรียบเสมือน เครื่องมือสาหรับให้ครูรวมตัวกันเป็นชุมชน (Community) และก่อให้เกิดการ เปล่ยี นแปลงในระดบั “ปฏิรูป” การเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียนรวมทั้งพฒั นาวชิ าชีพครู สานักพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาแห่งชาติ (2560) กล่าวว่า การ ดาเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรเู้ ชิงวชิ าชีพสามารถแบ่งระดับได้ 3 ระดบั คอื ระดับสถานศึกษา ระดับ เครือข่าย และระดับชาติ โดยแต่ละลักษณะจะแบ่งตามระดับของ ความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิง วิชาชพี ย่อยดงั นี้ 1. ระดับสถานศึกษา (School Level) คือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพที่ขับเคล่ือนใน บริบทสถานศกึ ษาหรือโรงเรยี น สามารถแบง่ ได้ 3 ระดบั ยอ่ ย คอื 1.1 ระดับนักเรียน (Student Level) นักเรียนจะได้รับการส่งเสริมและร่วมมือให้เกิด การเรียนรู้ขึ้นจากครูและเพ่ือนนักเรียนอื่นให้ทากิจกรรมเพ่ือแสวงหาคาตอบที่สมเหตุสมผล สาหรับ ตน นักเรียน จะไดร้ ับการพัฒนาทักษะท่ีสาคัญ คือ ทักษะการเรยี นรู้ 1.2 ระดับผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional Level) ประกอบด้วยครูผู้สอนและผู้บริหาร ของโรงเรยี นโดยใช้ฐานของ “ชมุ ชนแห่งวิชาชีพ” เชือ่ มโยงกับการเรียนรู้ของชุมชนจึงเรยี กวา่ “ชุมชน การเรียนรูเ้ ชงิ วชิ าชีพ” ซงึ่ เป็นกลไกสาคัญอยา่ งย่ิงท่ที กุ คนในโรงเรียนรว่ มกัน พิจารณา ทบทวนเรื่อง

นโยบาย การปฏิบัติและกระบวนการบริหารจดั การต่าง ๆ ของโรงเรียนใหม่อกี คร้ัง โดยยึดหลักในการ ปรับปรุงแก้ไขส่ิงเหล่านี้เพื่อให้สามารถบริการด้านการเรียนรู้แก่นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล อีกท้ัง เพ่ือให้การปรับปรุงแก้ไขดังกล่าวนามาสู่การสนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาชีพของครูผู้สอน และ ผู้บริหารให้มีคุณภาพและประสิทธิผลสูงยิ่งขึ้น มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของการทางานท่ีดีต่อ กนั ของทกุ 1.3 ระดับการเรียนรู้ของชุมชน (Learning Community Level) ครอบคลุมถึง ผู้ปกครอง สมาชิกชุมชนและผู้นาชมุ ชน โดยบุคคลกลุม่ น้ีจาเป็นตอ้ งมีส่วนเขา้ มาร่วมสร้างและผลักดัน วิสัยทัศน์ของโรงเรียนให้บรรลุผลตามเป้าหมายกล่าวคือ ผู้ปกครองนักเรียน ผู้อาวุโสในชุมชน ตลอดจนสถาบันต่าง ๆ ของชุมชนเหล่านี้ต้องมีส่วนร่วมในการส่งเสริม เปา้ หมายการเรียนรู้ของชุมชน และโรงเรียน กล่าวคือ ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมทางการศึกษา ได้โดยการให้การดูแลแนะนาการเรียนท่ี บ้านของนักเรียน รวมท้ังให้การสนับสนุนแก่ครู และผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ ให้แก่ บุตรหลานของตน ผูอ้ าวุโสในชุมชนสามารถ เป็นอาสาสมคั รถา่ ยทอดความรู้ 2. ระดับกลุ่มเครือข่าย (Network Level) คือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพที่ขับเคลื่อน ในลักษณะการรวมตัวกันของกลุ่มวิชาชีพจากองค์กร หรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทม่ี ุ่งม่ันร่วมกันสร้างชุมชน เครือข่ายภายใต้วัตถุประสงค์ร่วม คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่งเสริม สนับสนุนให้กาลังใจ สร้าง ความสัมพันธ์และพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน อาจมีเป้าหมายท่ีเป็นแนวคิด ร่วมกันอย่างชัดเจน สามารถ แบง่ ได้ 2 ลักษณะ คอื 2.1 กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบัน คือ การตกลงร่วมมือกันในการ พัฒนา วชิ าชพี ครรู ะหว่างสถาบัน โดยมองว่าการรว่ มมอื กนั ของสถาบันต่าง ๆ จะทาให้เกดิ พลังการขับเคลอ่ื น การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ทางวชิ าชพี การแลกเปล่ียน หรือร่วมลงทุนด้านทรัพยากรและการเกือ้ หนุนเป็น กัลยาณมติ รคอยสะทอ้ นการเรียนรซู้ ่งึ กันและกัน 2.2 กลุม่ เครอื ข่ายความร่วมมือของสมาชิกวชิ าชีพครู คอื การจดั พน้ื ท่เี ปดิ กวา้ ง ให้สมาชิก วิชาชีพครูที่มีอุดมการณ์ร่วมกันในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเองเพื่อการ เปลี่ยนแปลงเชิง คุณภาพของผู้เรยี นเป็นหัวใจสาคัญ สมาชิกที่รวมตัวกันไมม่ ีเงือ่ นไขเก่ียวกับสังกัดแต่จะต้ังอยู่บนความ มงุ่ มัน่ สมัครใจ ใช้อุดมการณร์ ่วมเป็นหลกั ในการรวมกนั เป็นชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี 3. ระดับชาติ (The National Level) คือชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพท่ีเกิดขึ้น โดย นโยบายของรัฐที่มุ่งจัดเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพของชาติ19 เพื่อขับเคลื่อนการ เปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพของวิชาชีพ โดยความร่วมมือของสถานศึกษา และครูที่ผนึกกาลังร่วมกัน พฒั นาวิชาชีพ ภายใต้การสนับสนุนของรัฐ

สรุปได้ว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ มีความสาคัญต่อการศึกษา เน่ืองจากชุมชนแห่ง การเรียนรู้เชิงวชิ าชีพเป็นการปรับเปล่ียนองค์กรให้มีผู้นาท่ีดี มีการร่วมแสดงความคิดต่อนโยบายหรือ การบริหารจัดการร่วมกัน สร้างให้เป็นชุมชนที่เข็มแข็งภายใต้เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกัน ให้ การดาเนนิ งานชุมชนแห่งการเรยี นรู้เชิงวชิ าชีพมีคุณภาพ และต้องสนบั สนนุ ให้ทุกคนในชมุ ชนเกดิ การ เปลย่ี นแปลงไปในทางทด่ี ีรว่ มกนั 4. องค์ประกอบชุมชนแหง่ การเรยี นรูเ้ ชงิ วชิ าชีพ ผู้วิจัยได้นาสู่การสังเคราะห์องค์ประกอบการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพของ นกั วิชาการนักการศกึ ษาในประเทศและตา่ งประเทศ ดงั น้ี Hord (1997) ได้อธิบายว่า การใช้ชุมชนแห่งการเรียนรเู้ ชิงวิชาชีพ ส่งเสริมให้เกิดพลังในการ เรียนรู้ (Powerful Learning) ซงึ่ ประกอบด้วยกรอบการเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรวู้ ชิ าชีพ ดังน้ี 1. การสนบั สนนุ และการเปน็ ผู้นารว่ มกัน (Supportive and Shared Leadership) 2. การรวบรวมความคดิ สรา้ งสรรค์ (Collective Creativity) 3. การกาหนดวิสยั ทัศน์และค่านยิ มร่วม (Shared Values and Vision) 4. การจดั สภาพที่เอือ้ อานวย (Supportive Conditions) 5. การแบ่งปนั บทเรียนสว่ นบุคคล (Shared Personal Practice) ณรงค์ฤทธ์ิ อินทนาม (2553) ได้เสนอองค์ประกอบของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพใน โรงเรยี นประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบ 9 ตัวบง่ ชี้ ไดแ้ ก่ 1. องค์ประกอบด้านปจั จยั คือ 1.1 ทักษะทางวิชาการและกลไกการเรยี นรู้ และ 1.2 โครงสร้างและสงิ่ สนบั สนุน 2. องคป์ ระกอบดา้ นกระบวนการ คอื 2.1 การสรา้ งบรรทดั ฐานและคา่ นยิ มร่วมกนั 2.2 การปฏบิ ัตทิ ่ีมีเป้าหมายร่วมกนั เพือ่ การเรยี นร้ขู องนักเรียน 2.3 การรว่ มมอื รวมพลังกนั 2.4 การเปิดรับการชี้แนะในปฏิบตั ิงาน 2.5 การสนทนาทีม่ ุ่งสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิงาน 3. องค์ประกอบด้านผลลพั ธ์ คือ 3.1 ผลการปฏบิ ัติงานตามท่ีคาดหวัง 3.2 การเปน็ สมาชกิ และเครือข่าย

ครรชติ พทุ ธโกษา (2554) กลา่ วถึงองค์ประกอบชมุ ชนการเรียนรู้ ดงั น้ี 1. มีผู้นาที่ดี จะต้องมีผู้นาการเปล่ียนแปลงท่ีมีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถในการ บรหิ ารจดั การ การประสานงานและการกระตนุ้ ใหส้ มาชิกชุมชนมีสว่ นรว่ มในการพัฒนา 2. มีกรรมการชุมชนท่ีมีจริยธรรมและมีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี ต้องมีกรรมการชุมชนที่ เข้มแข็ง มีความมุง่ มั่น มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม บรหิ ารงานโปรง่ ใส 3. มีความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน มีสมาชิกชุมชนท่ีมีคุณภาพและมีจิตสานึกเพื่อ สว่ นรวมเขา้ มารว่ มคดิ ร่วมดาเนนิ การ รว่ มรบั ผดิ ชอบในทุกกระบวนการ 4. มีกระบวนการ เรียนรู้เพ่ือการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง จะต้องมีการ เรียนรู้ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งต้องมีการถ่ายทอดความรู้ ระหวา่ งชุมชนอยา่ งเสมอ 5. มีศักยภาพความพร้อมในเรื่องพื้นฐานอาชีพ จะต้องมีความเข้มแข็งในการพึ่งพาตนเอง และมีความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ จึงต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะความ พร้อมในการประกอบอาชีพ โดยใช้ความรู้ในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงให้เกิดกรรมวิธีสิ่งใหม่หรือ พฒั นาให้ดีกวา่ เดิม 6. มีการสร้างระบบการจัดเก็บและการนามาใช้ขององค์ความรู้ท่ีดี ต้องมีระบบการเก็บ ความรู้ท้ังความรู้ท่ีมีอยู่ภายในชุมชนและความรู้ภายนอกชมุ ชน รวมท้งั ต้องรู้จกั สรา้ งและนาความรูท้ ี่มี อยู่มาใช้ในการพัฒนาด้านตา่ งๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง เปน็ ระบบ โดยเข้าใจไดง้ า่ ย 7. มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือท้ังในและนอกชุมชน ต้องมีความร่วมมือในด้านทุน กิจกรรม วิชาการองค์ความรู้ การตลาด ฯลฯ มีการจัดการกลุ่มและเครือข่ายท่ีมีประสิทธิภาพให้เกิด การพฒั นาอย่างเชื่อมโยง ประสานเกย่ี วเนื่อง ครอบคลุมการพัฒนาในทกุ บรบิ ท วิจารณ์ พานชิ (2554) ได้สรปุ วา่ ชมุ ชนการเรียนรมู้ ี 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1. ชุมชน หมายถึง การอยู่ร่วมกนั ความเปน็ ชุมชนมีเป้าหมายทีก่ ารอยู่ร่วมกัน 2. เป็นสุข หมายถึง ความเป็นทั้งหมด ความเป็นปรกติ สมดุล บูรณาการของปัจจัยต่าง ๆ อย่างน้อย 8 ด้าน ได้แก่ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรมศาสนธรรม ครอบครัว และ ชมุ ชน 3. การเรียนรู้ หมายถงึ การเรยี นรรู้ ว่ มกันของคนในชุมชนนั้น ๆ ผา่ นการปฏบิ ตั ิ 4. การสร้างเสริม หมายถึง การเข้าไปเอ้ืออานวย ส่งเสริม เสริมพลัง (Empower) ไม่ใช่เข้า ไปสอนหรือถ่ายทอดความรู้ท้ัง 4 องค์ประกอบนี้ คือหัวใจของชุมชนการเรียนรู้ในทุกบริบท ไม่ใช่แค่ การจัดการความรู้ของชาวบ้านหรือของชุมชน ในเร่ืองชุมชนการเรียนรู้น้ีการเรียนรู้สาคัญกว่าตัว ความรู้เพราะถ้าไม่ระวังตัวความรู้จะเป็นความรู้ที่หยุดนิ่งตายตัว การเรียนรู้จะมีลักษณะด้ินได้ คือ มี ชีวิตเป็นพลวัต การเรียนรู้ท่ีดีที่สุดคือการเรียนรู้ร่วมกันเป็น Collective Learning และเป็นการ เรียนรรู้ ่วมกันผา่ นการปฏิบัติ (Interaction Learning Through Action)

สวิ รี พศิ ทุ ธ์ิสนิ ธพ (2554) กล่าวถงึ องคป์ ระกอบชุมชนการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ภาวะผู้นาแบบสนับสนนุ และภาวะผู้นาแบบมสี ่วนรว่ ม 2. ค่านิยมและวสิ ยั ทศั นร์ ว่ ม 3. การเรยี นรู้รว่ มกนั และประยกุ ตก์ ารเรียนรู้ 4. สภาพการณท์ สี่ นับสนนุ 5. แนวปฏบิ ัติทดี่ ีร่วมกนั 6. ความเป็นเลิศแหง่ ความเป็นมนษุ ย์ วรลักษณ์ ชูกาเนิด (2557) เสนอรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 บรบิ ทโรงเรียนในประเทศไทย ประกอบดว้ ย 1. วิสยั ทศั น์ร่วม (Share vision) 2. ทีมรว่ มแรงร่วมใจ (Collaborative Teamwork) 3. ภาวะผู้นาร่วม (Shared Leadership) 4. การเรียนรแู้ ละการพัฒนาวิชาชีพ (Learning and Professional Development) 4.1 การเรยี นรูเ้ พ่ือพัฒนาวิชาชพี 4.2 การเรียนรู้เพอื่ จิตวิญญาณความเปน็ ครู นิชาภัทร วิลเลี่ยมส์ (2559) ได้สรุปองค์ประกอบของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพไว้ 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. เครือขา่ ยความรว่ มมอื 2. การเรยี นร้รู ่วมกัน 3. ภาวะผู้นารว่ ม 4. เง่ือนไขการสนบั สนนุ 5. สะท้อนผลและประเมินการเรียนรู้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2550) ได้สรุปองค์ประกอบของชุมชนแห่ง การเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ไว้ 6 องคป์ ระกอบ ดังน้ี 1. วิสัยทัศน์ร่วม 2. ทมี ร่วมแรงรว่ มใจ 3. ภาวะผู้นารว่ ม 4. การเรยี นรู้และพฒั นาวชิ าชพี 5. ชุมชนกัลยาณมิตร 6. โครงสร้างสนบั สนนุ ชมุ ชน

ตารางที่ 1 การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบจากแนวคิดท่ีเกีย่ วขอ้ งกับชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ผู้นา แนวคดิ Hord (1997) ินชา ัภทร วิลเลี่ยมส์ (2559) มินตรา ลายส ินทเสรีกุล(2557) ครร ิชต พุทธโกษา(2554 ิวจารณ์ พา ินช(2554) รลักษณ์ ูชกาเ ินดและคณะ(2557) สิวรี ิวศุทธิ์สินธพ(2554 1. ค่านิยมและวิสัยทศั นร์ ว่ ม    2. ทีมรว่ มแรงร่วมใจ 3. ภาวะผูน้ าร่วม   4. การเรียนรู้ร่วม/พัฒนาวิชาชพี 5. ชุมชนกัลยาณมติ ร/พ้ืนท่เี รียนรู้แบบรว่ มแรงร่วมใจ   6. สภาพการณ์ทเ่ี ออ้ื อานวย 7. แนวปฏิบัติท่ดี ีรว่ มกัน/มีกระบวนการ   8. ความเปน็ เลศิ แห่งความเปน็ มนษุ ย/์ ความคิดสรา้ งสรรค์ 9. มกี ารบรหิ ารจดั การชุมชนที่ดี  10. สร้างระบบการจดั เก็บ/การนามาใชข้ ององค์ความรู้ 11. การแบง่ ปนั บทเรยี นสว่ นบคุ คล  12. ผนึกกาลงั มุ่งสผู่ เู้ รยี นทาใหเ้ กดิ การเผยตน 13. มีการสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือทัง้ ในและนอกชุมชน         จากการวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของชุมชนแห่งการ เรียนรูท้ างวิชาชีพ PLC โดยสังเคราะหก์ ระบวนการที่เหมอื นกนั เขา้ ด้วยกนั หัวข้อทตี่ ่างกนั มาจัดลาดับ ความสาคัญ ผู้วิจัยสรุปได้ว่า องค์ประกอบของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีองค์ประกอบที่ สาคญั อยู่ 6 องคป์ ระกอบ คอื 1. วสิ ัยทัศนร์ ่วม 2. ภาวะผ้นู ารว่ ม 3. ทีมรว่ มแรงรว่ มใจ 4. การเรียนร้แู ละพฒั นาวิชาชีพ 5. ชมุ ชนกัลยาณมติ ร 6. การบรหิ ารจัดการชุมชนที่ดี

บรรณานกุ รม ครรชิต พทุ ธโกษา. (2554). คู่มอื การพฒั นาชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ฉบบั สมบรู ณ.์ กรงุ เทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ. ณรงค์ฤทธิ์ อินทนาม. (2553). การพัฒนาหลกั เทียบส าหรับการสร้างชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี ใน โรงเรียน. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าการวัดและประเมนิ ผลการศึกษา วิทยานพิ นธป์ รญิ ญา บณั ฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศลิ ป์. (2560). นโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก : www.moe.go.th. [สืบค้นเมอ่ื วันท่ี 15 สิงหาคม 2564]. นริศ ภอู าราม. (2560). การพัฒนาระบบการจดั การเรียนรู้โดยใช้ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ สาหรบั เครือข่ายโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเลก็ . วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาการศึกษาดุษฎี บัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารและการพัฒนาการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. นิชาภัทร วลิ เลี่ยมส์. (2559). การพัฒนาการนเิ ทศภายในโดยใช้กระบวนการ สร้างชุมชนแห่งการ เรียนรทู้ างวชิ าชพี ในโรงเรยี นประถมศกึ ษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาการศึกษาดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. บังอร เสรีรตั น์, ชาริณี ตรีวรญั ู และเรวณี ชัยเชาวรตั น์. (2558). 9 วิธสี ร้างครูสู่ศิษย์ : เอกสาร ประมวลแนวคิด และแนวทางการพฒั นาวิชาชีพครูส าหรบั คณะทางาน. กรุงเทพฯ : สานกั งานสง่ เสรมิ สังคมแหง่ การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. ปองทิพย์ เทพอารีย์. (2557). การพฒั นารูปแบบชุมชนแห่งการเรยี นรเู้ ชงิ วิชาชีพสาหรบั ครู ประถมศึกษา. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาวิจยั และพัฒนา หลกั สูตร บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. มารุต พฒั ผล. (2557). การจัดการเรยี นร้ทู ่เี สรมิ สรา้ งการรู้คิดและความสขุ ในการเรยี นรู้. พมิ พ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จรลั สนิทวงศ์การพิมพ.์ เรวณี ชยั เชาวรัตน.์ (2557). กระบวนการเสริมสรา้ งความสามารถในการออกแบบการเรยี นการสอน ของนักศึกษาปฏิบัติการวชิ าชพี ครูตามแนวคิดชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี : การวิจัย กรณีศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน บัณฑิตวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เรวณี ชยั เชาวรัตน์. (2556). แนวคดิ ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพเพือ่ การพฒั นาวชิ าชีพครู (PLC for Teacher Professional Development). วารสารครศุ าสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุรินทร์, 10(1), 34-46. เรวณี ชยั เชาวรตั น์. (2559). ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. [ออนไลน]์ . ได้จากhttps://www.

facebook.com/shares/view?id=1562307200450169&overlay=1&pnref=story. [สืบค้นเมื่อ วนั ที่ 15 สงิ หาคม 2564]. วรลักษณ์ ชกู าเนดิ . (2557). รูปแบบชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชีพครสู ่กู ารเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 บริบท โรงเรยี นในประเทศไทย. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. วรลักษณ์ ชกู าเนดิ และคณะ. (2557). รปู แบบชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพครูสู่การเรยี นรูใ้ นศตวรรษ ที่ 21 บริบท โรงเรยี นในประเทศไทย. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์. วิจารณ์ พานชิ . (2554). วิถสี ร้างการเรียนร้เู พื่อศษิ ยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ตถาตาพลบั ลเิ คช่นั . วิจารณ์ พานชิ . (2555). การเรยี นรเู้ พือ่ ศิษย์ในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : มลู นิธสิ ดศรี-สฤษดิ์วงศ์. เสถียร อว่ มพรหม. (2560). แนวทางการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community : PLC. กรงุ เทพฯ : ชมรมเด็ก. สวิ รี พิศทุ ธิส์ นิ ธพ. (2554). รูปแบบการพฒั นาชุมชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วิชาชพี ในสถาบนั อุดมศึกษา คาทอลิก. วิทยานพิ นธ์ กศ.ม. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกุล. สานกั พฒั นาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2560). คมู่ ือการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สสู่ ถานศึกษา สาหรบั ศกึ ษานิเทศก์. กรุงเทพฯ : สานกั พฒั นาครูและบุคลกรทางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ. (2554). คู่มอื การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูฉ้ บับสมบรู ณ์. กรงุ เทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาต.ิ DuFour, R. (2004). What is professional learning community. Educational Leadership, 61(8), 6-11, May. Hord, S.M. (1997). Professional Learning Communities: Communities of Continuous Inquiry and Improvement. [online]. Available from : http//: www. sedl.org/siss/plccredit.html. [accessed 2 August 2021]. Marguardt and Reynolds, 1994 Marquardt, M. (1996) . Building the learning organization : A systems approach to quantum improvement and global success. USA.: McGraw-Hill Sergiovanni, T.J. (1994). Building community in schools. San Francisco Jossey-Bass. Sergiovanni, T.M. (1998). Organization, market and community as strategies for change: What works best for deep changes in schools. In A. Hargreaves, A. Lieberman, M. Fullan, & D. Hopkins (Eds.), International handbook of educational change. Dordrecht : Kluwer.

Professional Learning Community (PLC) คอื อะไร? ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้เชิงวิชาชพี (PLC)คอื อะไร? การเรยี นร้ปู ระภัสรา โคตะขุน เว็บไซต์ https://sites.google.com/site/prapasara/ https://prapasara.blogspot.com/ https://pubhtml5.com/homepage/zdig Email : [email protected] Line : pla-prapasara


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook