Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

Published by Www.Prapasara, 2020-06-15 16:56:09

Description: การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

Keywords: การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

Search

Read the Text Version

การจัดการเรียนรูเชงิ รุก (Active Learning) ความหมายของการจัดการเรยี นรูเชิงรกุ การจดั การเรยี นรูเชิงรุก ซึ่งมีนกั การศกึ ษา ไดใหความหมายไวดงั น้ี มารคส Marks. 1970 : 23) ใหความเหน็ วา การจัดการเรียนรูเชงิ รุก เปนการจดั กจิ กรรม การเรยี นการสอนท่มี จี ุดประสงคเพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดคนพบแนวคดิ ทางคณติ ศาสตร จากการลงมอื ปฏิบัติ เชน การวัด การช่ังนา้ หนัก การพบั กระดาษ กจิ กรรมที่ท้าดวยมือ ต่างๆ การสงั เกต และการทดลองแบบ วิทยาศาสตร สามารถสรุปขอเทจ็ จริงและกฏเกณฑ ตางๆได บอนเวล และไอสัน (Bonwell ; & Eison. 1991 : 2) กลาววา การจัดการเรียนรู เชิงรกุ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ผี ูเรียนคดิ และลงมือทา้ เก่ียวกับบางอยางท่ี พวกเขาก้าลังปฏิบัติ เพอื่ สรางองคความรูใหม่ เมเยอรส และโจนส Meyers; & Jones. 1993 : 6) กลาววา การจัดการเรยี นรู เชิงรกุ เปนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเปดโอกาสใหผูเรยี นไดแสดงออกเกยี่ วกับ การพูด การฟัง การอาน การเขยี น และการคิดวเิ คราะห ความรทู ่ีไดรบั เปนองคประกอบท่ี สา้ คัญของการจดั การเรยี นรู เชงิ รุก เชงเคอร กอส และเบิรนสไตน Shenker ; Goss; & Bernstein. 1996 : 1) กลา่ ววา การจดั การเรียนรูเชงิ รกุ เปนการจดั การเรยี นรูที่ตองการใหผเู รียนมสี วนรวมใน การเรียนรูมากกวา การรับความรูหรือทศั นะใหมๆ โดยเปนผรู ับเพียงฝายเดียว แนวคดิ ท่ีได มาจากผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบตั ิ

เพท็ ที (Petty. 2004 : 1) กลาวว่า การจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ เปนการจัดการเรียนรู้ ทจ่ี ะท้าใหผูเรียนมปี ฏิสัมพันธกัน ผูสอนจะเปนผู้สง่ เสริมใหผูเรยี นเกดิ การเรยี นรู มากกวา การที่ผูเรยี นจะไดรับความรจู ากการฟงบรรยายเพยี งอยางเดยี ว องั คณา รุงกลบั (2543 : 2) กลาวว่า การจัดการเรียนรูแบบ Active Learning เปน็ การจดั การเรียนรูใหผูเรยี นมสี วนรวมในการเรยี นการสอนมากทีส่ ุด โดยผูเรียนจะต้อง เปนผพู้ ูด (ถาม อภิปราย ถกแถลง) ผูปฏบิ ัติและศกึ ษาคนควาดวยตนเองมากกวาจะนงั่ เป็น ผูฟงเพยี งอย่างเดยี ว นอกจากน้ันยงั ตองถายทอดประสบการณความคดิ ของตนเอง รวมท้ัง ความรทู ่ีคนควาหามาไดใหกับกลมุ่ เพือ่ ใชเปนขอมลู ในการแกปญหาและพฒั นาการเรียนรู ของผเู รียนท้งั กลมุ่ ปรีชาญ เดชศรี (2545 : 53) ไดใหความหมายของการจดั การเรียนรูแบบ Active Learning วาการจัดการเรียนรูแบบ Active Learning หมายถึง การจัดการเรยี นการสอน ทม่ี กี จิ กรรมใหนกั เรยี น ไดลงมือปฏิบตั ทิ ั้งในเชิงทักษะตางๆ เชน การทดลอง การสา้ รวจ ตรวจสอบและปฏิบัติ เพ่อื พฒั นาเชาวนปญญา เชน การคดิ แกปญหา วเิ คราะห์วิจารณ หรือการตดั สนิ ใจเร่อื งตางๆ เพอ่ื แทนทีก่ ารเรียนการสอนท่คี รบู อกเลาให้นกั เรียนไดฟง เพียงดานเดียว ณัฐพร เดชะ และสทุ ธาสนิ ี เกสรประทมุ (2550 : 1) กลาววา การจดั การเรียนรู แบบ Active Learning เปนการจดั การเรยี นรู้ทเี่ นนใหผเู รียนมสี วนรวมในหองเรียนและ เรียนรู้ผานการปฏิบัติ ซ่งึ จะชวยใหผูเรียนไมเพยี งแตสามารถเรยี นรไู ดอยางรวดเร็วแตยัง ชวยพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ของผูเรยี น อาทิ การคิดอยางมีระบบ การคดิ เชงิ วเิ คราะหและวจิ ารณ เปนตน

ปราวีณยา สวุ รรณณัฐโชติ (2551 : 1) กลาววา การเรียนรูเชิงรุก เปนการเรยี นรทู ่ี ผูเรียน มสี วนรวมในการเรียน ดา้ เนนิ กิจกรรมตางๆ ในการเรียนใหเกิดการเรียนรูอยางมี ความหมาย ซง่ึ เป็นวิธีการเรียนรูในระดบั ลกึ ผูเรียนจะสรางความเขาใจและคนหา ความหมายของเนอ้ื หาสาระ โดยเช่ือมกบั ประสบการณเดมิ ทม่ี แี ยกแยะความรูใหมท่ีไดรบั กบั ความรเู กาทม่ี สี ามารถประเมินตอเติมและสรางแนวคดิ ของตนเอง ซงึ่ เรยี กวามีการเรียน รเู กิดข้นึ ซึ่งแตกตางจากวิธกี ารเรียนรูในระดบั ผวิ เผิน ซงึ่ เนนการรับขอมลู และจดจา้ ขอมลู เทาน้นั ผูเรียนลกั ษณะน้จี ะเปนผเู รียนท่ีเรียนรู วธิ ีการเรียน (Learning how to learn) เปนผเู รยี นทีก่ ระตือรือรนและมที ักษะที่สามารถเลอื กรบั ขอมูล วิเคราะห และ สังเคราะห ขอมลู ไดอยางมรี ะบบ สญั ญา ภทั รากร (2552 : 13) การจัดการเรยี นรอู ยางมีชีวิตชวี า หมายถึง กระบวนการเรยี นรูทีผ่ เู รยี นมีปฏสิ มั พันธกบั ผสู อนและเพือ่ นในชัน้ เรียนมีความรวมมอื กนั ระหวางผเู รยี น ผูเรยี นจะไดลงมอื ปฏิบัตกิ ิจกรรมตางๆ อนั จะน้าไปสกู ารสรางความรจู าก ส่งิ ท่ีปฏิบัตใิ นระหวางการเรยี นการสอน โดยการพูด การฟง การเขยี น การอาน และการ สะทอนความคิด เชดิ ศักดิ์ ภักดีวิโรจน : 15) การจดั การเรียนรูเชิงรกุ หมายถึง กระบวนการ จัดการเรียนรทู้ ผี่ ูเรียนมสี วนรวมในการเรยี นและด้าเนินกจิ กรรมตางๆมากกวาการเปนผูรับ ความรเู พียงอยางเดยี วเปนการจดั การเรยี นรูทเ่ี ปดโอกาสใหผูเรยี นมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผสู อน และเพ่อื นในช้นั เรยี นและสรางองคความรูจากสิง่ ทปี่ ฏิบตั ริ ะหวางการเรยี นการสอนผาน การเขียน การพูด การฟง การอาน และการอภปิ รายสะทอนความคิด

จากการศึกษาคนควาขางตนผศู ึกษาไดสรปุ วา การจัดการเรียนรูเชิงรุก หมายถึง กระบวนการเรียนรูท่ีผเู รยี นมสี วนรวมในชน้ั เรียน มีปฏสิ ัมพันธระหวางครแู ละนกั เรยี นใน ชนั้ เรยี น ผูเรียนไดลงมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรม มคี วามรวมมือกัน ระหวางสมาชิกในกลุม มีการ อภิปรายรวมกนั ซึ่งนา้ ไปสูการสรางองคความรใู หมและมีการวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพ จรงิ โดยมีขัน้ ตอนในการจัดการเรียนรดู งั นี้ ข้นั ท่ี 1 ขนั้ น้าเขาสูบทเรียน เปนขน้ั ทจ่ี ะกระตุนใหผูเรยี นเกดิ แรงจูงใจในการเรียน อาจใชการสนทนาหรือการตงั้ คา้ ถามเพ่อื ใชในการเชื่อมโยงกบั ความรูใหม มีการแนะน้า บทเรียน ขน้ั ที่ 2 ขนั้ น้าเสนอสถานการณ ผูสอนน้าเสนอสถานการณท่ที าทายใหผูเรยี นเกดิ ความกระตือรอื รนในการหาค้าตอบสถานการณทยี่ กตัวอยางมาน้นั ควรเปนสถานการณใน ชีวิตประจา้ วนั เปดโอกาสให้ผเู รยี นไดรวมกันวางแผนแก้ปัญหาและซกั ถาม ข้ันที่ 3 ขน้ั ด้าเนนิ กจิ กรรม เปนข้ันตอนท่ีผูเรยี นไดด้าเนินกิจกรรมที่ไดวางแผนไวมี การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ รวมกนั คดิ วเิ คราะหและแกปญหา โดยผสู อนเปนผเู ปนผคู อย แนะนา้ ข้ันท่ี 4 ขั้นสรุปผลและอภปิ รายผล เปนข้ันที่ผเู รยี นไดสรุปความรู และแนวคิดที่ได จากการดา้ เนนิ กจิ กรรมเปนการสะทอนแนวคิดทไ่ี ดจากการลงมือปฏิบตั ิเพือ่ ใหมนั่ ใจวาผู เรียนมีการเรียนรูจรงิ ขัน้ ที่ 5 ขนั้ ประเมินผล โดยใชการประเมนิ ผลตามสภาพจริงเพอ่ื ปรับปรุงและ พฒั นาผเู รยี น โดยการประเมินผลจากครแู ละการประเมนิ โดยตนเอง

มหาวิทยาลยั เชฟฟลด ฮอลแลม (Sheffield Hallam University. 2000 : 7) ได กลาวถึง การจัดการเรียนรูเชิงรกุ ในฐานะการเรียนท่ีเน้นผูเรียนเปนสา้ คญั และสรปุ ความ แตกตางระหวางการจัดการเรียนรูเชงิ รุกกับการสอนทีผ่ ูสอนเปนศูนยกลางโดยผูเรียน เปน็ ฝายรับรูฝายเดียว (Passive Learning) ไวดงั น้ี ตารางท่ี 1 การเปรียบเทียบลักษณะสา้ คัญของการจัดการเรยี นรูเชิงรกุ กับการเรียนรทู้ ู ผเู รียนเปนฝายรบั ความรู การจัดการเรยี นรูเชิงรุก การจัดการเรยี นรูที่ผเู รียนเปนฝายรับความรู - เนนการท้างานเปนกลุ่ม - เนนการบรรยายจากผูสอน - เนนการรวมมือระหวางผูเรยี น - เนน้ การแขงขัน - เรยี นรจู ากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย - เปนการสอนรวมทั้งช้นั - ผูเรียนรับผดิ ชอบตอการเรียนรขู องตน - ผสู อนรับผดิ ชอบการเรียนรูของผเู รียน - ผสู อนเปนเพียงผชู ีแ้ นะประสบการณและ - ผูสอนเปนผชู้ ีน้ า้ และจดั เนื้อหาเองท้ังหมด อ้านวยความสะดวกในการเรียนรู - ผูสอนเปนผใู สความรูลงในสมองของผูเรียน - ผเู รยี นเปนเจาของความคิดและการท้างาน - เนนความรูในเนื้อหาวิชา - เนนทกั ษะ การวิเคราะห และการแกปญหา - ผสู อนเปนผวู างกฎระเบียบวินัย - ผเู รียนมีวนิ ัยในตนเอง - ผูสอนเปนผวู างแผนหลังสูตรแตผูเดยี ว - ผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผนหลกั สตู ร - ผูเรยี นเปนฝายรบั ความรู้ทผี่ ูสอนถายทอดเพียง - ผูเรียนมีสวนรวมในการจัดการเรียนรูเชงิ รกุ อยางเดียว - ใชวิธีการเรยี นรูท่ีหลากหลาย - จ้ากดั วธิ กี ารเรยี นรูและกิจกรรม ทม่ี า : Sheffield Hallam University. (2000). Active Teaching and Learning Approaches in Science : Workshop ORIC Bangkok. p. 7.

ขน้ั ตอนการจดั การเรยี นรูเชิงรุก บาดวิน และวิลเลียมส Baldwin; & Williams. 1988 : 187) ไดเสนอขนั้ ตอน การจดั การเรยี นรูเชงิ รกุ ไว ข้ัน ดังน้ี 1. ขั้นเตรยี มความพรอม เปนขน้ั ท่ผี สู อนน้าเขาสูบทเรยี นโดยการสรางแรงจูงใจให ผูเรยี น เกดิ ความกระตือรือรนในการอยากที่จะเรียนรูตอไป 2. ขั้นปฏิบตั งิ านกลมุ เปนขัน้ ทผี่ สู อนใหผูเรยี นเขากลมุ เพือ่ ท้างานรวมกันและสรุป ความคิดเห็นของกลุมมกี ารแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ระหวางกลมุ โดยทผ่ี ูสอนคอย เพ่ิมเตมิ ขอมลู ใหสมบูรณ 3. ขน้ั ประยกุ ตใช เปนขน้ั ท่ีผเู้ รียนท้าแบบฝกหัดหรือทา้ แบบทดสอบหลังเรยี น 4. ขั้นติดตามผล เปนขัน้ ท่ีใหผูเรียนไดคนควาเพมิ่ เติมโดยอาจจดั ท้าเปนรายงาน เขียนบันทกึ ประจ้าวัน รวมถึงใหผูเรียนเขียนสรุปความรูทีไ่ ด้รับในคาบเรยี นน้ัน จอหนสนั และคนอนื่ ๆ (Johnson; et al. 1991 : 29-30) กลาวว่า การจัดการ เรียนรูเชิงรกุ สามารถท้าตามข้ันตอนไดดงั น้ี 1. ขั้นนา้ (Advanced Organizer) (3-5 นาที) เปนขั้นทีแ่ สดงใหนักเรยี นเหน็ ถึง ความเช่ือมโยง ระหวางเน้ือหาทจี่ ะสอนกับส่ิงท่ผี ูเรียนมพืนี ฐานอยกู อนแลวพรอมทั้งระบุ โครงราง ของเนอ้ื หา แนวคดิ ประเดน็ หลักในการสอน ผูเรียนจะเห็นความส้าคัญและอยาก เรยี นรูเรือ่ งน้ันมากขึ้น 2. ขน้ั สอน เปนข้นั ทผี่ ูสอนสอนเนอื้ หา (10-15 นาที) ตามดวยกจิ กรรมอ่ืน (Collaborative activities) (3-4 นาที) ปกตผิ ูสอนมักจะสอนตดิ ตอกันเปนเวลานาน ซงึ่ จะทา้ ใหผเู รยี นเฉือ่ ย และไมกระตนุ การเรียนรูจากการศึกษาพบวาสมาธิหรือความสนใจ ของผูเรยี นจะลดลงอยางรวดเร็วภายใน 15 นาที ดงั นั้น ในรปู แบบการสอนจงึ แนะน้าการ สอน 10-15 นาที ตามดวยกจิ กรรมอ่นื 3-4 นาที เพ่ือเปลยี่ นบรรยากาศและเปนการให โอกาสผูสอนมปี ฏิสัมพันธกับผเู รยี น เชน การต้งั ค้าถามให ผูเรยี นตอบหรือจะใหผูเรียน ชวยกันคิดเปนกลุมเพือ่ ตอบ ผเู รียนจะเขาใจเน้อื หาและจา้ ไดนานกวา ถามีการอภิปราย รวมกันผสู อนท้าซ้า โดยสอนเนอ้ื หาสลับกบั กิจกรรมเรื่อยๆไปจนใกลหมดเวลาสอน

3. ข้นั สรปุ (Individual Summaries) เปนขน้ั ทผ่ี เู รียนสรปุ เนื้อหาที่ไดเรียนดวย ตนเอง (4-6 นาที) โดยผูสอนใหผูเรียนสรุปความเขาใจของตนเอง โดยเขียนใจความ สา้ คญั ของเน้ือหาลง ในแผนกระดาษและแลกเปลย่ี นๆ กับเพื่อนขางๆ กนั อานหรอื ผูสอน อาจสมุ ใหผูเรยี นมาอาน หนาช้นั เรียน นาทที ี่ 0-10 นาทที ่ี 10-20 นาทีที่ 20-30 นาทีที่ 30-40 นาทที ี่ 40-50 ข้นั น้า สอนเนื้อหา 1 กจิ กรรม สอนเน้อื หา 2 กจิ กรรม สอนเนื้อหา 3 กิจกรรม ขัน้ สรุป ภาพประกอบที่ 2 ขนั้ ตอนการจัดการเรียนรูเชงิ รุก ภายในเวลา 50 นาที ท่ีมา : Johnson, David W.; et al. (1991). Active Learning : Cooperation in the college classroom. P. 30 สชุ าดา นทตี านนท : 5) ไดเสนอขัน้ ตอนการจัดการเรยี นรูเชิงรุก ดังนี้ 1. ขน้ั น้า เปนการน้าเขาสูบทเรียนดวยการสนทนา การตอบค้าถาม เพือ่ ทบทวน ประสบการณ เดิมโดยครูมีบทบาทในการกระตุนใหเดก็ เกดิ ความสนใจและมีความพรอม กอนการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. ข้ันปฏบิ ัติ เปนข้นั ท่เี ด็กไดเรียนรจู ากการลงมือปฏิบัติจรงิ และมีปฏิสัมพันธกบั ผู อ่ืน จากการคนควา ทดลอง ปฏิบตั ิการ เพือ่ สบื คนหาคา้ ตอบจนสรางองคความรูดวย ตนเอง 3. ขัน้ สรุป เปนการสนทนารวมกนั ระหวางเดก็ และครูเมื่อท้ากิจกรรมเสรจ็ เรยี บ รอย เพื่อทบทวนประสบการณและนา้ เสนอผลงานท่ีสะทอนความคดิ เหน็ จากการลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ

สญั ญา ภทั รากร (2552 : 21) ไดสรปุ ข้ันตอนการจดั การเรียนรูอยางมชี วี ติ ชวี าไว 4 ขัน้ ตอน คอื ขนั้ ท่ี 1 ข้ันตรียมความพรอมเขาสูบทเรียน เปนขน้ั สรางแรงจงู ใจในการเรียนรู ทบทวน ความรูเดิมแนะนา้ หัวขอท่จี ะเรียนแจงจุดประสงคการเรียนรูใหผูเรียนทราบ นา้ เสนอสัญลกั ษณตางๆ ทต่ี องใชยกตวั อยางสถานการณใหผ้ ูเรียนเหน็ ตัวอยาง และต้ังกตกิ า รวมกนั เพื่อใหผูเรียนมีความพรอม และเกดิ ความสนใจ ขั้นที่ 2 ขั้นนา้ เสนอสถานการณ เปนขนั้ ทผี่ ูสอนนา้ สถานการณปญหามาเรา ความ สนใจ เพอื่ ใหผเู รียนไดรวมกันวางแผนการแกปญหา และรวมกันคิดวเิ คราะหปญหาและ เปดโอกาส ใหผูเรยี นซักถามในสิ่งทส่ี งสัย ขั้นท่ี 3 ขัน้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ เปนขน้ั ท่ีผเู รียนไดลงมอื แกปญหาตามทไี่ ดวางแผนไวมกี าร แลกเปลยี่ นความคิดกันภายในกลุม และทกุ คนในกลุมตองมสี วนรวมกันในการแกปญหา โดยผสู อน เปนผคู อยแนะนา้ ขน้ั ท่ี 4 ขน้ั อภิปราย เปนขั้นท่ผี เู รียนออกมาน้าเสนอแนวคดิ หนาชัน้ เรียน โดย ทกุ กลมุ มหี นาที่ตรวจสอบและมสี ทิ ธิ์ท่จี ะถามผูเรียนทอี่ อกไปนา้ เสนอแนวคดิ ขน้ั ที่ 5 ขั้นสรุป เปนขัน้ ท่ีผูเรยี นรวมกันสรปุ ความรูหรือแนวคิดทไ่ี ดเพื่อสะทอน ความคิดทีไ่ ดจากการลงมือปฏิบตั ิ และเพอื่ ให้มนั่ ใจวาผูเรยี นมกี ารเรียนรูจรงิ เชิดศักด์ิ ภักดวี ิโรจน : 24) ไดสรปุ ข้นั ตอนการจัดการเรียนรูเชงิ รกุ มีดงั ตอไปน้ี ข้นั ท่ี 1 ขน้ั น้าเขาสูบทเรยี น เปนขั้นทผี่ ูสอนกระตุนผเู รยี นใหเกดิ แรงจงู ใจในการ เรยี นรู โดยการใชการสนทนาตั้งค้าถามหรือนา้ เสนอส่อื อยางใดอยางหนึง่ และทบทวน ความรเู ดิมทีจ่ ้าเป็น ส้าหรับความรใู หมแจงจดุ ประสงคการเรียนรูใหผูเรียนทราบ ข้ันท่ี 2 ขนั้ น้าเสนอสถานการณ เปนขั้นท่ผี ูสอนนา้ เสนอสถานการณปญหาที่ ทาทายและ มคี วามสัมพันธกับประสบการณของผูเรียนต้งั กตกิ ารวมกนั และเปดโอกาสให ผูเรยี นซกั ถามขอสงสยั ขั้นท่ี 3 ขน้ั ด้าเนนิ การกจิ กรรม เปนขัน้ ทีผ่ เู รียนวิเคราะหปญหาและรวมกนั วาง ยุทธวิธใี นการแกปญหา จากน้นั ด้าเนินตามยุทธวิธีที่วางไว และมกี ารอภิปรายสะทอน ความคดิ โดยทุกคน ในกลุมตองมสี ่วนรวม ซง่ึ ผูสอนเปนเพยี งผูใหคา้ แนะนา้ และกระตนุ ความคิด

ข้ันท่ี 4 ขั้นสรางคความรู เปนขัน้ ทีผ่ เู รียนออกมาน้าเสนอแนวคดิ ของตนเอง หรือ ของกลุมใหผเู รียนคนอนื่ ๆ ไดรับรู และอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดระหวางกันจนเกดิ ความขาใจที่ชดั เจน ขนั้ ที่ 5 ขน้ั สรุป เปนขั้นที่ผูเรยี นรวมกนั สรุปองคความรู้ทไี่ ดจากการเรยี นเพอื่ สะทอนความคิดหรอื ความรูทีไ่ ด และตรวจสอบความคลาดเคลอื่ นทอี่ าจเกดิ ขึ้นระหวาง การเรียนดวย มยรุ ี โรจนอรณุ (2559 : 19) ไดสรปุ ขนั้ ตอนการจัดการเรียนรูเชงิ รกุ มีดังตอไปนี้ ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ นา้ ผูสอนแจงวัตถุประสงคในการเรียนใหผูเรยี นทราบมกี ารทบทวน ความรเู ดิม กระตุนใหผเู รียนเกดิ แรงจงู ใจในการเรียน มกี ารสรางกติการวมกนั เพื่อใหการ เรียนการสอนดา้ เนนิ ไปไดดวยดี ขนั้ ที่ 2 ข้นั นา้ เสนอสถานการณ ผูสอนนา้ เสนอสถานการณทน่ี า่ สนใจเปนปญหา ทที่ ้าทายใหผูเรียนอยากคิดแกปญหา มกี ารวเิ คราะหปญหารวมกัน ขนั้ ที่ 3 ขน้ั ปฏบิ ัติ ผูเรียนไดลงมอื แกปญหาตามแผนการท่วี างไวมีปฏสิ มั พันธ ซ่งึ กันและกนั มคี วามรวมมอื และยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ขั้นที่ 4 ขั้นอภิปราย ผูเรียนไดนา้ เสนอแนวคดิ หนาชั้นเรยี นมีการอภปิ ราย ถกเถียง กัน อยางไมมีอคติ บอกขอดีขอดอย เพือ่ ทา้ การปรับปรุงแกไข ทา้ ใหผูเรียนสามารถสราง ความรู ไดดวยตนเอง ขน้ั ที่ 5 ขั้นสรุป เปนขน้ั ที่ผูเรยี นและผูสอนรวมกนั สรุปความรแู ละแนวคดิ ทไ่ี ดจาก การลงมือปฏิบัตแิ ละเพื่อตรวจสอบความถูกตองทไ่ี ด

บรรณานุกรม เชดิ ศักดิ์ ภักดวี โิ รจน. ). ผลของการจดั การเรียนรูเชิงรุก เรื่องทกั ษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร ทมี่ ีตอความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร การคิด อยางมวี ิจารณญาณและความเช่ือมน่ั ในตนเอง ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 3. ปรญิ ญานพิ นธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนคริน ทรวิโรฒ. ณฐั พร เดชะ และสทุ ธาสนิ ี เกสรประทมุ . (2550). Active Learning. รายงานการสรุป กิจกรรม ระหวางวันที่ 15-21 ตุลาคม 2550. หนา 1. ปรชี าญ เดชศร.ี (2545). การเรียนรูแบบ Active Learning : ทา้ ไดอยางไร. วารสาร สสวท. 30(116) : 53-55. มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. ปราวีณยา สวุ รรณณัฐโชติ. (2551). การเรียนเชิงรุก (Active Learning). กรงุ เทพฯ: จฬุ า ลงกรณมหาวทิ ยาลัย. มยุรี โรจนอรุณ. (2559). ผลของการจดั การเรียนรูเชงิ รกุ รวมกบั กระบวนการกลุมทีม่ ี ตอความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร และความสามารถในการทา้ งาน กลมุ ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6. ปริญญานพิ นธ กศ.ม. (วิทยาการทางการ ศกึ ษาและการจดั การเรียนรู . กรงุ เทพฯ : บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศรี นครนิ ทรวิโรฒ. สัญญา ภทั รากร. (2552). ผลของการจดั การเรยี นรอู ยางมชี วี ติ ชีวาท่มี ตี อความสามารถใน การแกปญหาและการส่ือสารทางคณิตศาสตร ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 เรอื่ งความนาจะเป็น. ปริญญานพิ นธ กศ.ม. กรงุ เทพฯ. บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. สชุ าดา นทตี านนท. (2550). ผลการจดั ประสบการณแบบปฏิบัติจรงิ ท่มี ีตอความคิดสราง สรรคของเด็กปฐมวัย. ปริญญานพิ นธ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ. บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. อังคณา รงุ กลบั . (2543). ระบบการฝก-ศกึ ษาของ สรส.ท้าไมหนอตอง Active Learning. วารสารนาวิกศาสตร

Baldwin, J.; & Williams, H. (1988). Active Learning : a Trainer’s Guide. England: Blackwell Education. Bonwell, Charles C.; & Eison, James A. (1991). Active Learning : Creative Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Reports No. 1. Washington, D.C. Marks, John L. (1970). Teaching Elementary School Mathematics. New York: McGraw-Hill. Meyer, Chet; & jones, Thomas. B. (1993). Promoting Acitve Learning : Strategies for the College Classroom. San Francisco: Jossey-Bass. Petty, Geoff. (2004). Active Learning Work : the evidence. Retrieved July 5, 2020, from http://www.geoffpetty.com. Silberman, M. (1996). Active Learning. Boston: Allyn & Bacon. Sheffield Hallam University. 2000 การเรียนรู้ ประภสั รา โคตะขนุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook