孔子曰:有教无类 รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ ขงจ่อื กล่าวว่า ชาตกิ ำเนดิ ปัญญาไซร้ตา่ งกัน การศกึ ษาช่วยสรรคเ์ สมอได้ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ส่ิงพมิ พ์ สกศ. อันดับท่ี 50/2559 ISBN 978-616-270-101-6 (ชุด) ๙๙/๒๐ ถนนสุโขทยั เขตดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๑๑๒๙ Website: http://www.onec.go.th
รายงานการวจิ ยั เพื่อพัฒนาระบบ การจดั การเรยี นการสอน ภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
รายงานการวิจยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
371.349 สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ส. 691 ร รายงานการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ กรุงเทพฯ 2559 100 หน้า ISBN: 978-616-270-101-6 (ชดุ ) 1. ภาษาจีน-การพฒั นาการเรียนการสอน 2. การศึกษานอกระบบ 3. ชือ่ เร่ือง หนังสือชุด รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ สง่ิ พมิ พ์ สกศ. อนั ดับท่ี 50/2559 ISBN 978-616-270-101-6 (ชุด) พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2559 จำนวนที่พิมพ ์ 500 ชดุ ผจู้ ัดพมิ พเ์ ผยแพร ่ สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ 99/20 ถนนสุโขทัย แขวงดุสิต เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 ตอ่ 2538, 2539 โทรสาร 0 2241 8330 Web Site: www.onec.go.th บริษัท พริกหวานกราฟฟคิ จำกัด ผูพ้ มิ พ์ 90/6 ซอยจรญั สนิทวงศ์ 34/1 ถนนจรัญสนทิ วงศ์ แขวงอรุณอัมรนิ ทร ์ เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพฯ 10700 โทร. 0 2424 3249, 0 2424 3252 โทรสาร 0 2424 3249, 0 2424 3252 2
คำนำ ภาษาจีนเป็นภาษาที่สำคัญมากภาษาหนึ่ง และมีแนวโน้มท่ีจะสำคัญยิ่งขึ้นในอนาคต เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 5,000 ปี มีการสั่งสม องคค์ วามรดู้ ้านต่างๆ และถา่ ยทอดจากร่นุ สู่รุ่นมาถงึ ปจั จบุ นั สาธารณรฐั ประชาชนจีนยงั เปน็ ประเทศ มหาอำนาจท่ีทรงอิทธิพลทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก เป็นประเทศท่ีมีความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก และประชากรชาวจีน ยังมากเป็นอันดับ 1 ของโลก ดังน้ัน หากคนไทยมีความรู้ภาษาจีนจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ค้นคว้า และแลกเปล่ียนองค์ความรู้ สามารถสร้างความร่วมมือด้านธุรกิจการค้าการพัฒนาด้านต่างๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ซงึ่ จะช่วยใหป้ ระเทศไทยไดเ้ ปรยี บในการแข่งขนั กับประเทศอนื่ ๆ ในภมู ิภาคน ้ี ประเทศไทยมีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมานานหลายทศวรรษ และในทศวรรษ ท่ีผ่านมาได้มีการจัดการเรียนการสอนในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา แต่เนื่องจากยังไม่มีการวาง นโยบายการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนอย่างเป็นระบบ สอดรับไปในทิศทางเดียวกัน ประกอบกับ ยังมีปัญหาอุปสรรคหลายประการทำให้ไม่สามารถพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนได้ตาม ความต้องการของสงั คม สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานท่ีมีหน้าที่กำหนดนโยบายและแผน การศึกษาของประเทศ เห็นความสำคัญในเร่ืองดังกล่าว จึงมอบหมายให้ศูนย์จีนศึกษา สถาบัน เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนในประเทศไทย โดยศึกษาครอบคลุมในทุกระดับ/ประเภทการศึกษาอย่างเป็น องค์รวม เพื่อนำองค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาครั้งนี้ไปประกอบการจัดทำข้อเสนอนโยบายใน การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย และรายงานการวิจัยชุดน้ีได้มี การปรับปรุงตามคำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิเรียบร้อยแล้ว สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึง ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านไว้ ณ โอกาสน้ี และเพื่อให้รายงานการวิจัยชุดน้ีเกิดประโยชน์สูงสุด สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จึงจัดพิมพ์ชุดรายงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนในประเทศไทย ซ่ึงประกอบด้วยรายงาน 7 เล่ม เพ่ือเผยแพร่สู่หน่วยงาน องค์กร นักวิชาการศึกษา และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องได้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนในประเทศไทยตอ่ ไป ได้แก่ รายงานการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ I
1) การวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดบั ประถม ศึกษา 2) การวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับ มธั ยมศึกษา 3) การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับ อาชีวศกึ ษา 4) การวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับ อุดมศกึ ษา 5) การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษา นอกระบบ 6) การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน กรณีศึกษามหาวิทยาลัย ปกั กิ่ง สาธารณรฐั ประชาชนจีน ในการสอนภาษาจนี ให้แกช่ าวตา่ งชาติ 7) รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะห์ภาพรวม (ดร.กมล รอดคลา้ ย) เลขาธิการสภาการศึกษา II รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย : การศึกษานอกระบบฉบับนี้ เป็นโครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ในประเทศไทย ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษามอบหมายให้ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้ดำเนินการวิจัย โดยผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้ศึกษาวิจัยในเร่ือง การศึกษานอกระบบ ซ่ึงผู้วิจัยขอขอบพระคุณหน่วยงานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องไว้ ณ โอกาสน ี้ ขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์วรศักด์ิ มหัทธโนบล ผู้อำนวยการศูนย์จีนศึกษา สถาบัน เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั หวั หนา้ โครงการวจิ ยั ทก่ี รณุ าใหค้ วามอนเุ คราะหเ์ ปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ในการตรวจสอบเคร่อื งมอื วิจัย และให้คำแนะนำทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การวจิ ัย ขอขอบพระคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.พชั นี ตง้ั ยนื ยง รองศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ ลมิ ปนสุ รณ ์ ดร.สมศักด์ิ ดลประสทิ ธ์ิ ทใี่ หค้ ำแนะนำในการปรบั ปรุงแก้ไขงานวจิ ยั ให้สมบูรณอ์ ย่างดยี งิ่ ขอขอบพระคุณคณะผู้ดำเนินการวิจัยในโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนในประเทศไทยทุกท่าน ทใี่ ห้ข้อมลู ที่เป็นประโยชนต์ ่อการวจิ ัยเปน็ อย่างดี ขอขอบพระคุณศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยท่ีอำนวย ความสะดวก และให้ความรว่ มมอื ในการประสานงานเก็บรวบรวมข้อมลู และขอขอบพระคุณโรงเรยี น หรือสถาบันการสอนภาษาจีนในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดตัวแทนในแต่ละภูมิภาคทุกแห่งท่ีเป็น กลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามและเปน็ ผูใ้ หข้ ้อมูลในการสมั ภาษณส์ ำหรบั งานวิจยั น้ี ขอขอบพระคุณครู-อาจารย์ทกุ ทา่ นทีป่ ระสิทธปิ์ ระสาทวชิ าให้แกผ่ ู้วจิ ยั ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กนกพร ศรญี าณลักษณ์ นกั วิจยั ประจำโครงการ รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ III
บทคัดยอ่ การศึกษาวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาของการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ เพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย โดยศึกษากับโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบใน กรุงเทพมหานครและจังหวัดตัวแทนแต่ละภูมิภาค ครอบคลุมเขตภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ ดว้ ยการแจกแบบสอบถาม จำนวน 31 แหง่ และ สัมภาษณ์ผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ จำนวน 3 แห่ง ผลการวิจยั พบวา่ 1. สภาพปัจจุบันของการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบด้านหลักสูตรเน้นการจัด การเรียนการสอนหลักสูตรภาษาจีนท่ัวไประดับต้น ด้านสื่อการสอนใช้ตำราเรียนท่ีจัดทำโดยคนจีน เป็นหลัก ด้านผู้สอนเป็นผู้สอนสัญชาติไทยและสัญชาติจีนที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้าน ภาษาจีน หากเปน็ ผ้สู อนสัญชาตอิ ื่น อาทิ ไต้หวนั สิงคโปร์ มาเลเซีย มเี พียงประกาศนยี บตั รทางด้าน ภาษาจีน ด้านผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจเรียนเพ่ือเพิ่มเติมความรู้ทางด้านภาษาจีน และ ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบส่วนมากยังไม่มี ความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานอืน่ 2. ปัญหาของการจัดการเรียนการสอนนอกระบบ ด้านหลักสูตรยังขาดความทันสมัยท่ี สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ด้านส่ือการสอนขาดส่ือการเรียนการสอนภาษาจีนที่ทันสมัย ด้าน ผู้สอนเน้นการสอนภาคทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ ด้านผู้เรียนมีปัญหาในการค้นคว้าข้อมูลเก่ียวกับ วิชาที่เรียนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง และด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน โรงเรียนหรือ สถาบันสอนภาษาจนี นอกระบบไมไ่ ดร้ ับการสนับสนนุ จากหน่วยงานอ่นื 3. จากสภาพปัจจุบันและปัญหาของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ เห็นควร เสนอแนวทางเชิงนโยบายในการพัฒนาได้ ดังน้ี ด้านหลักสูตรควรพัฒนาเน้ือหาของหลักสูตรให้ สอดคล้องกับบริบทของสังคมไทยและมีการปรับปรุงหลักสูตรเป็นระยะ รวมถึงควรกำหนดมาตรฐาน ด้านหลักสูตรให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในระบบ ด้านส่ือการสอนควรผลิต ส่ือการสอนที่ทันสมัยสอดรับกับการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน และสนับสนุนการใช ้ ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ในการจัดการเรียนการสอน ด้านผู้สอนควรพัฒนาบุคลากรของ ไทยให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาจีน มีเทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจ และส่งเสริมการเพิ่มพูน IV รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ความรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยได้อย่าง ยั่งยืนด้านผู้เรียนควรแนะนำแหล่งเรียนรู้ภาษาจีนที่ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง ควบคู่กับการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีน เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของภาษาจีน และควรมีการติดตามผล ในการนำภาษาจีนไปใช้ในการประกอบอาชีพของผู้เรียน และด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนควร ทำการสำรวจความต้องการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและมีการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายอย่างเป็น รูปธรรม เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธผิ ลสูงสดุ รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ V
บทสรปุ สำหรับผบู้ รหิ าร การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใน ประเทศไทย โดยทำการศึกษาเก่ียวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย และนำผลจากการศึกษามาใช้เป็นข้อมูลเพ่ือเสนอ แนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ซ่ึงสามารถสรุปผล การศึกษาวิจยั ได้ ดงั น้ ี 1. สภาพปัจจุบนั ของการพัฒนาระบบการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบมีกระจายอยู่ตามทุกภูมิภาคของประเทศไทย การจัดต้ังโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนบางแห่งจัดตั้งมานานกว่า 20 ปี บางแห่งเพ่ิงเร่ิมจัดตั้ง ได้เพียงปีเดียว โดยสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในแต่ละด้าน มรี ายละเอยี ดดังนี้ 1.1 ด้านหลักสูตร ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันด้านหลักสูตรที่พบมากท่ีสุดคือ วันและเวลา ที่มีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบเป็นวันเสาร์- อาทิตย์ เวลากลางวัน จำนวนชั่วโมงท่ีมีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนประมาณ 1-3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ โดยจำนวนช่ัวโมงตลอดหลักสูตรมากกว่า 30 ชั่วโมง หลักสูตรภาษาจีนที่เปิดสอนเป็น หลักสูตรภาษาจีนทั่วไประดับต้น โดยหลักสูตรท่ีเปิดสอนเน้นการพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอา่ น และการเขียน 1.2 ด้านส่ือการสอน ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันด้านสื่อการสอนท่ีพบมากที่สุดคือ สื่อที่ใช้ ในการจัดการเรียนการสอนเน้นการใช้ตำราเรียน (Textbook) ที่จัดทำโดยคนจีน ประเภทของ ตัวอักษรจีนท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นอักษรจีนตัวย่อ การถอดเสียงภาษาจีนใช้ ระบบพินอนิ และโรงเรยี นหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบสว่ นใหญ่ ไมม่ ีหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา เพอ่ื ใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน 1.3 ด้านผู้สอน ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันด้านผู้สอนท่ีพบมากท่ีสุดคือ ผู้สอนภาษาจีน ในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบที่เป็นผู้สอนสัญชาติไทยหรือผู้สอนสัญชาติจีน มีวุฒิ การศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านภาษาจีน แต่ถ้าเป็นผู้สอนสัญชาติอ่ืน เช่น ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น มีเพียงประกาศนียบัตรทางด้านภาษาจีน การใช้ภาษาในการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน ผู้สอนสัญชาติไทย และผู้สอนสัญชาติจีน ใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาจีนในการสอน ส่วน VI รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ผู้สอนสัญชาติอ่ืน มีทั้งที่ใช้ภาษาจีนอย่างเดียว และใช้ท้ังภาษาไทยกับภาษาจีน หรือภาษาจีนกับ ภาษาองั กฤษ จำนวนผสู้ อนภาษาจนี ของทง้ั ผสู้ อนประจำและผู้สอนพเิ ศษมีประมาณ 2 คน และสอน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ อายุโดยเฉลี่ยของผู้สอนสัญชาติไทย สัญชาติจีนหรือ สัญชาติอื่น ประมาณ 30-35 ปี และในส่วนความก้าวหน้าทางวิชาชีพของผู้สอนในโรงเรียนหรือ สถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบนั้น มีการให้ผู้สอนภาษาจีนเข้าอบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านการสอน ภาษาจีน 1.4 ด้านผู้เรียน ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันด้านผู้เรียนที่พบมากท่ีสุดคือ ผู้เรียนภาษาจีน เป็นบุคคลทั่วไปท่ีสนใจ จำนวนผู้เรียนย้อนหลัง 3 ปีที่มีอัตราเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่องจะเป็นผู้เรียนใน กลุ่มนักเรียนช้ันประถมต้น-ปลาย มีวัตถุประสงค์ในการเรียนภาษาจีนเพื่อเพ่ิมเติมความรู้ทางด้าน ภาษา โดยเป็นความสนใจสว่ นตัว จำนวนผูเ้ รยี นต่อห้องน้อยกวา่ 10 คน ผ้เู รยี นสว่ นใหญไ่ มม่ ีพืน้ ฐาน ความรู้ภาษาจีนมาก่อน กรณีผู้เรียนมีพ้ืนฐานความรู้ภาษาจีนแต่มีพ้ืนความรู้ภาษาจีนไม่เท่ากัน โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนจะจัดห้องเรียนโดยแบ่งกลุ่มตามระดับความรู้ภาษาจีนของผู้เรียน และเกณฑ์หรือดัชนีบ่งช้ีระดับความรู้ภาษาจีนของผู้เรียน โดยการสอบวัดระดับความรู้ทางภาษาจีน ของโรงเรยี นหรอื สถาบันภาษา 1.5 ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันด้านความร่วมมือกับ หน่วยงานอื่นในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีพบมากที่สุดคือ โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษา ส่วนใหญ่ยังไม่มีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น กรณีท่ีมีความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนภาษา จีนน้ัน หน่วยงานท่ีร่วมมือจะเป็นท้ังหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ หน่วยภายในประเทศที่มี ความร่วมมือเป็นโรงเรียนหรือสถาบันระดับเดียวกัน ส่วนหน่วยงานภายนอกประเทศท่ีมีความร่วมมือ เป็นมหาวิทยาลัย ส่วนการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีมีความร่วมมือ หน่วยงานท้ังภายใน ประเทศและภายนอกประเทศใหก้ ารสนบั สนนุ ดา้ นส่ือการสอนมากท่สี ุด โดยกรณีทไ่ี ดร้ ับความร่วมมอื กับหนว่ ยงานอืน่ ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนน้นั สอดคล้องกับความตอ้ งการของโรงเรียนหรือ สถาบนั สอนภาษาจีนนอกระบบ 2. ปญั หาการพฒั นาระบบการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซ่ึงปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในแต่ละดา้ น มีรายละเอยี ด ดงั นี ้ 2.1 ด้านหลักสูตรปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านหลักสูตร โดย ภาพรวมอย่ใู นระดบั น้อย และจากผลการศึกษาเก่ยี วกับประเดน็ ตา่ งๆ พบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่มี ค่าเฉล่ยี สงู สดุ คอื หลักสตู รขาดความทนั สมัยที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน รายงานการวิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ VII
2.2 ด้านสื่อการสอน ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านสื่อการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และจากผลการศึกษาเก่ียวกับประเด็นต่างๆ พบว่า ปัญหาและ อปุ สรรคท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคอื ขาดสอื่ การเรียนการสอนภาษาจนี ท่ีทันสมัย 2.3 ด้านผู้สอน ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านผู้สอน โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย และจากผลการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ พบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่มีค่าเฉล่ีย สูงสุดคือ ผ้สู อนเนน้ การสอนภาคทฤษฎมี ากกวา่ การปฏบิ ัต ิ 2.4 ด้านผู้เรียน ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนด้านผู้เรียน โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง และจากผลการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ พบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่มี ค่าเฉล่ียสูงสุดคือ ผู้เรียนมีปัญหาในการค้นคว้าข้อมูลเก่ียวกับวิชาท่ีเรียนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ด้วย ตนเอง 2.5 ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีน ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และจากผลการศึกษาเกี่ยวกับ ประเด็นตา่ งๆ พบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่มคี ่าเฉลีย่ สงู สุดคอื โรงเรยี นหรอื สถาบันสอนภาษาจีนนอก ระบบไม่ไดร้ ับการสนบั สนุนจากหนว่ ยงานภายอืน่ 3. แนวทางในการพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย จากผลการศึกษาเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยท่ีได้สรุปข้างต้น สามารถเสนอแนวทางในการพัฒนา ระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในแตล่ ะดา้ นได้ ดังน ้ี 3.1 ด้านหลักสูตร ควรพัฒนาหลักสูตรท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนหรือ สถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบ ให้มีความทันสมัยที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และเนื้อหา ของหลักสูตรควรสอดคลอ้ งกบั บริบทของประเทศไทย 3.2 ด้านสื่อการสอน ส่อื การสอนที่ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนในโรงเรยี นหรอื สถาบันสอน ภาษาจีนนอกระบบเน้นการใช้ตำราเรียน (Textbook) เป็นหลัก ซ่ึงจากผลการศึกษาพบว่า ส่ือ การเรียนการสอนที่ใช้น้ันขาดความทันสมัย จึงควรมีการพัฒนาส่ือการสอนที่มีความทันสมัย สอดคล้องกับความเป็นปจั จบุ นั ในสังคม 3.3 ด้านผู้สอน โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบส่วนมากสนับสนุนให้ผู้สอน ภาษาจีนเข้าอบรมเพ่ิมพูนความรู้ด้านการสอนภาษาจีน ซ่ึงทำให้ผู้สอนสามารถพัฒนาความรู้ความ สามารถทางวิชาการในการสอนภาษาจีนได้อย่างต่อเนื่อง แต่จากผลการศึกษายังพบว่า ผู้สอน ส่วนใหญ่เน้นการสอนภาคทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ ด้วยเหตุน้ีจึงควรจัดการอบรมผู้สอนภาษาจีนท่ี VIII รายงานการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
เน้นการสอนเชิงปฏิบัติเป็นหลัก เพื่อให้ผู้สอนสามารถสอนให้ผู้เรียนนำไปใช้ปฏิบัติในสถานการณ์ ต่างๆ ได้จริง 3.4 ด้านผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมาเรียนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบโดยมากจะ เป็นผู้เรียนท่ีไม่มีพ้ืนฐานความรู้ทางด้านภาษาจีน และจากผลการศึกษายังพบว่า ปัญหาของผู้เรียน ท่ีมาเรียนที่โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบนั้น คือ ผู้เรียนมีปัญหาในการค้นคว้าข้อมูล เก่ียวกับวิชาท่ีเรียนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง อาจเน่ืองมาจากผู้เรียนไม่มีพื้นฐานความรู้ทาง ด้านภาษาจีน หรือเร่ิมเรียนแล้วยังมีพื้นฐานความรู้ภาษาจีนน้อย จึงไม่สามารถค้นคว้าข้อมูลเก่ียวกับ วิชาภาษาจีนท่ีเรียนด้วยตนเองได้ จึงควรมีการแนะนำแหล่งเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสามารถค้นคว้าข้อมูลจาก การเรยี นเพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นร้ภู าษาจนี และเพิ่มพูนทักษะดา้ นตา่ งๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง 3.5 ดา้ นความร่วมมือกบั หน่วยงานอืน่ ส่วนใหญ่ไม่มีความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอ่นื ซ่ึงกรณีท่ี โรงเรยี นหรอื สถาบนั สอนภาษามคี วามรว่ มมอื นนั้ การไดร้ บั การสนบั สนนุ สว่ นมากเปน็ ดา้ นสอื่ การสอน แต่จากผลการศึกษายัง พบว่า ถึงแม้การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นจะสอดคล้องกับ ความต้องการ แต่การให้การสนับสนุนในด้านหลักสูตร ด้านส่ือการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน รวมถึงด้านอ่ืนๆ เช่น การสอบ HSK หรือการให้การอบรมครูนั้น อาจมีบางส่วนท่ีไม่ได้รับ การสนับสนุนตามที่ต้องการ จึงควรมีการสำรวจความต้องการในการรับการสนับสนุนของโรงเรียน หรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบว่ามีด้านใดบ้าง และสำรวจว่ามีหน่วยงานใดบ้างท่ีสามารถให้ การสนบั สนนุ ได้ เพอื่ ใหก้ ารพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ 4. ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย 4.1 ด้านหลกั สตู ร - จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบท่ีทันสมัยสอดคล้อง กับบริบทของสังคมไทย และมีการปรับปรุงหลักสูตรเป็นระยะ เช่นเดียวกับหลักสูตรของสถานศึกษา ในระบบ - จัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาวิเคราะห์ ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ - จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบให้มีคุณภาพได้ มาตรฐาน สอดคล้องกบั การเรียนการสอนภาษาจนี ในระบบ 4.2 ดา้ นสอ่ื การสอน - จัดโครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบทีท่ นั สมัย - ส่งเสริม สนับสนุนการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในการจัดการเรียน การสอนภาษาจนี นอกระบบ รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ IX
- จัดโครงการกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้การใช้สื่อการเรียนการสอนภาษาจีนของ โรงเรยี นหรือสถาบนั สอนภาษาจีนนอกระบบ 4.3 ดา้ นผสู้ อน - จัดโครงการส่งเสริมการเพิ่มพนู ความรู้ทางวิชาชีพให้แกผ่ สู้ อนภาษาจนี นอกระบบ - จัดโครงการพัฒนาผู้สอนภาษาจีนนอกระบบให้มีทักษะเทคนิควิธีการสอนท่ีน่าสนใจ สามารถเชื่อมโยงสู่การนำภาษาจีนไปใชใ้ นการสอื่ สารได้อย่างแทจ้ ริง - พัฒนาผู้สอนภาษาจีนนอกระบบชาวไทยให้มีความเช่ียวชาญทางด้านภาษาและ วฒั นธรรมจนี เพอื่ ลดการพ่งึ พาครอู าสาสมคั รชาวจนี 4.4 ดา้ นผเู้ รียน - จัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนนอกระบบเพื่อให้ผู้เรียนเห็น ความสำคญั ของการเรยี นรู้ภาษาและวฒั นธรรมจนี - จัดโครงการแนะแนวการเรยี นรภู้ าษาจนี นอกระบบเพอื่ การประกอบอาชพี - จัดให้มีการติดตามผลการนำภาษาจีนจากการเรียนนอกระบบไปใช้ในการประกอบ อาชพี 4.5 ด้านความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานอน่ื - จัดทำการสำรวจความต้องการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการเรียนการสอน ภาษาจนี ของโรงเรียนหรือสถาบนั สอนภาษาจีนนอกระบบ - จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการเรียนการสอน ภาษาจีนของโรงเรยี นหรอื สถาบันสอนภาษาจนี นอกระบบกบั หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง - จัดตั้งศูนย์พัฒนาหรือศูนย์สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการเรียนการสอน ภาษาจีนของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบในระดับท้องถ่ิน ระดับประเทศ และระดับ นานาชาติ X รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
สารบญั หน้า คำนำ I กิตติกรรมประกาศ III IV บทคัดยอ่ VI XI บทสรุปผบู้ ริหาร 1 สารบัญ 1 2 บทท่ี 1 บทนำ 3 ความสำคญั ของการวิจยั 3 วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 4 สมมตฐิ านของการวจิ ยั 6 ขอบเขตและกลุ่มเป้าหมายของการวจิ ยั วิธีการวจิ ยั 7 นิยามศพั ท์เฉพาะ 8 11 บทที่ 2 ความเปน็ มาของการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย หลกั การ แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบ 14 ประวัติความเปน็ มาของการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย 14 18 บทที่ 3 นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารส่งเสรมิ การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ 22 บทบาทและความสำคญั ของการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ 23 สภาพปัจจบุ ันของการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ยุทธศาสตรก์ ารสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ 26 แนวทางการส่งเสริมการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ 28 30 บทที่ 4 การจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ 32 หลกั สูตรในการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ 36 สื่อการสอนในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ 39 ผสู้ อนในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ 41 ผเู้ รยี นในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ความร่วมมอื ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ปญั หาและอุปสรรคในการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ XI
สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทที่ 5 บทสรปุ : ข้อสังเกต ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั การจดั การเรียนการสอน 56 ภาษาจนี นอกระบบ สรุปผลการวจิ ยั 56 ขอ้ สังเกต ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะด้านหลักสตู รและสอ่ื การสอน 60 ขอ้ สังเกต ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะดา้ นผู้สอนและผเู้ รยี น 61 แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ 61 บรรณานุกรม 62 ภาคผนวก 65 ภาคผนวก 1 แบบสอบถามเพ่อื การวจิ ัย 66 ภาคผนวก 2 รายชอื่ โรงเรียนหรือสถาบนั สอนภาษาจนี นอกระบบ 76 เกี่ยวกบั ผวู้ ิจยั 81 คณะผูด้ ำเนินการ 83 XII รายงานการวิจัยเพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
สารบญั ตาราง หนา้ 5 9 ตารางที่ 1 แสดงรายช่ือ (นามสมมตุ )ิ ของผ้ใู ห้ขอ้ มูลในการสมั ภาษณ ์ 17 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบการจดั การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ 26 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 27 ตารางที่ 3 สถิติจำนวนผู้เรยี นในโรงเรียนเอกชนนอกระบบโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร 28 และภมู ิภาค ระหว่างปกี ารศึกษา 2553-2557 30 ตารางที่ 4 แสดงจำนวน และรอ้ ยละ ลักษณะท่ัวไปของโรงเรยี นหรือสถาบนั 32 สอนภาษาจนี นอกระบบ จำแนกตามภูมิภาค 36 ตารางที่ 5 แสดงจำนวน และรอ้ ยละ ลักษณะทัว่ ไปของโรงเรียนหรอื สถาบนั 39 สอนภาษาจีนนอกระบบ จำแนกตามปี พ.ศ. 41 ตารางท่ี 6 แสดงจำนวน และรอ้ ยละ ข้อมูลสภาพปัจจบุ นั ของการจัดการเรยี นการสอน 42 ภาษาจนี นอกระบบ ด้านหลักสตู ร 42 ตารางที่ 7 แสดงจำนวน และร้อยละ ขอ้ มลู สภาพปัจจุบันของการจดั การเรยี นการสอน 43 ภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นสือ่ การสอน ตารางที่ 8 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปจั จุบนั ของการจัดการเรยี นการสอน ภาษาจีนนอกระบบ ด้านผู้สอน ตารางท่ี 9 แสดงจำนวน และรอ้ ยละ ขอ้ มลู สภาพปจั จุบนั ของการจัดการเรียนการสอน ภาษาจนี นอกระบบ ด้านผเู้ รยี น ตารางท่ี 10 แสดงจำนวน และร้อยละ ขอ้ มูลสภาพปจั จุบนั ของการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนนอกระบบ ด้านความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานอน่ื ตารางท่ี 11 แสดงคา่ เฉลี่ย ความเบย่ี งเบนมาตรฐานของปญั หาและอุปสรรคในการจัด การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ โดยรวมเปน็ รายด้าน ตารางที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ย ความเบย่ี งเบนมาตรฐานของปัญหาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นหลักสตู ร โดยรวมเปน็ รายข้อ ตารางท่ี 13 แสดงค่าเฉลี่ย ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของปัญหาและอุปสรรคในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นสอื่ การสอน โดยรวมเปน็ รายข้อ ตารางที่ 14 แสดงคา่ เฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของปญั หาและอุปสรรคในการจัด การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ ดา้ นผสู้ อน โดยรวมเป็นรายข้อ รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ XIII
สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ 44 ตารางที่ 15 แสดงค่าเฉลย่ี ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาและอปุ สรรคในการจัด 44 การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ด้านผู้เรยี น โดยรวมเปน็ รายข้อ ตารางท่ี 16 แสดงค่าเฉล่ีย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของปญั หาและอปุ สรรคในการจัด การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ดา้ นความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอน่ื โดยรวมเป็นรายขอ้ XIV รายงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
บทท่ี 1 บทนำ ความสำคญั ของการวจิ ยั การที่องค์การสหประชาชาติจัดให้ภาษาจีนกลางเป็นหนึ่งในห้าภาษาหลักท่ีใช้ในการติดต่อ ส่ือสารขององค์การสหประชาชาติ ภาษาจีนกลางจึงเป็นภาษาหน่ึงที่มีบทบาทสำคัญมากต่อภูมิภาค เอเชียอาคเนยแ์ ละภมู ิภาคอนื่ ๆ ทวั่ โลก และเป็นภาษาที่ไดร้ บั ความสนใจจากผเู้ รียนภาษาตา่ งประเทศ หลายประเทศท่ัวโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย ซึ่งปัจจุบันการเรียนภาษาต่างประเทศในประเทศไทย ภาษาท่ีได้รับความสนใจอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมาคือภาษาจีนกลาง เนื่องจากการเข้ามา ร่วมลงทุนของนักธุรกิจชาวจีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน ฮ่องกง และสิงคโปร์มีมากขึ้น รวมถึงการท่ี ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้ามามีบทบาทในส่วนของประชาคมอาเซียนบวกสาม (ASEAN+3) ผนวกกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนอย่างรวดเร็วน้ัน ทำให้ภาษาจีนกลางมีบทบาทสำคัญ ทั้งในด้านการติดต่อสื่อสารและการทำธุรกิจต่อตลาดแรงงานของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจภาค การท่องเที่ยว ธุรกิจภาคอุตสาหกรรม รวมถึงการร่วมลงทุนต่างๆ ล้วนทำให้ความต้องการบุคลากรท่ี มีความรู้ความสามารถทางด้านภาษาจีนกลางมีมากขึ้นตามไปด้วยการส่ือสารภาษาจีนกลางได้อย่าง คล่องแคล่ว ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการติดต่อส่ือสาร การสร้างความสัมพันธ์ การประกอบธุรกิจ การสร้างโอกาสทางธุรกิจ รวมถึงการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในวิทยาการแขนงต่างๆ ซึ่งทำให้ผู้ที่มี ความรูค้ วามสามารถทางดา้ นภาษาจนี กลางมีความได้เปรียบมากกว่า ดว้ ยเหตุนีจ้ ึงทำให้มผี สู้ นใจเรียน ภาษาจีนกลางมากข้ึนในหลายประเทศท่ัวโลก รวมถึงประเทศไทยซ่ึงได้จัดให้มีการเรียนการสอน ภาษาจีนกลางในหลักสูตรระดับตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา หรอื อุดมศึกษา นอกจากนี้ มีโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษานอกระบบเปิดหลักสูตรภาษาจีนกลางอีก จำนวนมาก ปัจจุบันโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนกลางนอกระบบมีอัตราการขยายตัวสูงข้ึน จึงเหน็ ไดว้ ่าความตอ้ งการเรยี นรู้ภาษาจนี กลางของผเู้ รียนท้ังในวยั เรยี นและวัยทำงานเพื่อพฒั นาทกั ษะ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอันนำไปสู่การใช้ภาษาจีนกลางเพื่อศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 1
หรือเพ่ือนำไปใช้ในการประกอบอาชีพมีเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด เป็นเหตุให้จำนวนโรงเรียนหรือสถาบัน สอนภาษาจีนกลางนอกระบบมีอัตราการขยายตัวท่ีสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งการจัดการศึกษานอกระบบ โรงเรียนในลักษณะนี้น้ัน ถือเป็นการขยายโอกาสให้ประชาชนท่ัวไปสามารถได้รับการศึกษาอย่าง ต่อเน่ือง และเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนในระบบโรงเรียนสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้อีกด้วย โดย เปน็ การจดั การเรยี นการสอนในลกั ษณะทม่ี กี ารยดื หยนุ่ มากกวา่ การเรยี นจากโรงเรยี นในระบบ ทง้ั ดา้ น อายุผู้เรียน ระยะเวลาในการเรียน สถานที่เรียน เป็นต้น เนื่องจากการเรียนในลักษณะน้ีเน้นให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนเป็นหลัก กฎเกณฑ์ต่างๆ จึงมีความยืดหยุ่นมากกว่าของ โรงเรียนในระบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านหลักสูตรที่นอกจากมีหลักสูตรภาษาจีนทั่วไปในระดับต้น ระดับ กลาง และระดับสูงแล้ว ยังมีหลักสูตรเฉพาะทางที่เน้นตามความสนใจของผู้เรียนด้วย เช่น หลักสูตร ภาษาจีนสำหรับธุรกิจ หลักสูตรเตรียมสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) เป็นต้น อีกท้ังในด้าน สื่อการสอน ผสู้ อนมอี สิ ระในการเลือกใชส้ อื่ การเรยี นการสอน โดยพจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกับหลกั สตู รท่ี โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาเปิดสอน ส่วนด้านผู้สอนมีท้ังอาจารย์ประจำและอาจารย์พิเศษท่ีเป็น ชาวไทยและชาวจีน ซึ่งสามารถปรับเปล่ียนผู้สอนได้ หากจำนวนผู้เรียนลดลงหรือผู้สอนไม่ได้รับ การตอบรับจากผู้เรียนเป็นท่ีน่าพึงพอใจของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาในด้านของกลุ่มผู้เรียนนั้น มีทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน เน้นการจัดการเรียนการสอนที่มีจำนวนผู้เรียนต่อห้องน้อยเพื่อให้ผู้สอน สามารถเข้าถึงผ้เู รยี นได้ทุกคน นอกจากน้ี ด้านความรว่ มมือกับหนว่ ยงานอืน่ ยงั สามารถดำเนนิ ไดอ้ ย่าง เสรี ทงั้ การทำความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภาครัฐหรอื ภาคเอกชนท้งั ในและตา่ งประเทศ ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนกลางในประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเอกชน เช่น โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาท้ังในเขตกรุงเทพมหานครและภูมิภาคยังประสบปัญหาและอุปสรรค ต่างๆ ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนหลายประการดว้ ยกัน อาทิ ดา้ นหลกั สตู ร ดา้ นสื่อการสอน ดา้ นผู้สอน ดา้ นผเู้ รียน รวมถงึ ด้านความรว่ มมือกบั หน่วยงานตา่ งๆ ในการจดั การเรยี นการสอนภาษา จีน ดังน้ันจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนในการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบ การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยต่อไป วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันของการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบใน ประเทศไทย 2. เพ่ือศึกษาปญั หาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย 3. เพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบใน ประเทศไทย 2 รายงานการวิจยั เพ่ือพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
สมมติฐานของการวิจัย 1. การจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทยยงั ขาดระบบการพฒั นาทดี่ ี 2. การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยยังขาดการเช่อื มโยงกบั ระดบั การศึกษาตา่ งๆ ขอบเขตและกลมุ่ เป้าหมายของการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ีเป็นการศึกษาการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย เพื่อศึกษา สภาพปัจจุบันและปัญหาการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย โดยการสำรวจโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบที่อยู่ในกรุงเทพมหานครและจังหวัด ตัวแทนแต่ละภูมิภาค และสังเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย โดยมีขอบเขตในการศึกษาวจิ ัย ดังน้ ี 1. ขอบเขตด้านพ้นื ที่ การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และจังหวัดตัวแทนในแต่ละภูมิภาค ทีม่ ีโรงเรยี นหรอื สถาบนั สอนภาษาจีน 2. ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบใน กรงุ เทพมหานครและจังหวดั ตัวแทนในแตล่ ะภมู ิภาคทีข่ น้ึ ทะเบยี นกับสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชน (สช.) จนถงึ เดอื นมนี าคมพ.ศ. 2558 จำนวน 152 แห่ง 3. ขอบเขตดา้ นเวลา การวิจัยคร้ังน้ี ดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2558 และดำเนนิ การเก็บข้อมลู ดว้ ยการสมั ภาษณ์ในชว่ งเดอื นกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 4. ตัวแปรสำหรับการวิจัย ตัวแปรที่ใช้ในการวจิ ยั ครัง้ นี้ มดี งั น้ ี 4.1 ตัวแปรต้น ได้แก่โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบที่ข้ึนทะเบียนกับ สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จำนวน 152 แหง่ 4.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ 4.2.1 สภาพปัจจบุ นั ของการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ 4.2.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ รายงานการวิจยั เพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 3
วธิ ีการวจิ ัย 1. การศึกษาข้อมูล ผู้วิจัยทำการศึกษาเอกสาร ตำรา งานวิจัย แนวคิด และทฤษฎ ี ท่ีเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ เพื่อทำความเข้าใจเก่ียวกับเนื้อหาที่จะนำมา สรา้ งแบบสอบถาม 2. การสร้างแบบสอบถาม ผวู้ ิจยั เปน็ ผ้พู ฒั นา “แบบสอบถามโครงการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบ การจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย : การศกึ ษานอกระบบ” ข้ึนเอง โดยมีการพิจารณา โครงสร้างและข้อคำถามร่วมกันกับคณะผู้วิจัยการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา โดยกำหนดแบบสอบถามไว้ 4 ตอน ดงั น ้ี ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 สภาพปจั จุบันของการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ตอนท่ี 3 ปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ตอนที่ 4 ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ โดยข้อมูลในตอนที่ 2 ตอนที่ 3 และตอนท่ี 4 เป็นการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการจัด การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบท้ังหมด 5 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านสื่อการสอน ด้าน ผู้สอน ดา้ นผ้เู รียน และดา้ นความรว่ มมือกบั หน่วยงานอน่ื เม่ือพัฒนาแบบสอบถามเรียบร้อยแล้ว จึงนำแบบสอบถามท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนเองเสนอต่อ ผทู้ รงคณุ วฒุ ขิ องศนู ยจ์ นี ศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พจิ ารณาความเทยี่ งตรง เชงิ เนอื้ หา และนำแบบสอบถามทีผ่ ่านการพิจารณาจากผทู้ รงคุณวุฒิมาปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะเพอื่ นำไปใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตอ่ ไป 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการส่งแบบสอบถามไปยังโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ ท่ีมี รายชื่อขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จำนวน 152 แห่ง พบวา่ 3.1.1 โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบท่ียินดีเข้าร่วมโครงการวิจัยใน ครัง้ นี้ โดยใหข้ ้อมูลผา่ นทางแบบสอบถามมจี ำนวน 31แห่ง 3.1.2 โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบท่ีไม่ได้รับการตอบรับกลับ จำนวน 121 แห่ง เน่ืองจากย้ายท่ีอยู่ใหม่ ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้า แบบสอบถามท่ีส่งไปถูกตีกลับ ผู้รับ ไมม่ ารับภายในเวลากำหนด เลิกกจิ การ เป็นตน้ 4 รายงานการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยดำเนินการสัมภาษณ์ผู้บริหารหรือ ผู้ท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบด้วยตนเอง มีโรงเรียนหรือสถาบัน สอนภาษาจีนนอกระบบท่ียินดีเข้าร่วมโครงการวิจัยในคร้ังน้ี โดยให้ข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์ทาง โทรศัพท์มจี ำนวน 3 แห่ง ตารางท่ี 1 แสดงรายชอ่ื (นามสมมุติ) ของผใู้ หข้ อ้ มลู ในการสัมภาษณ ์ รหัส ผูใ้ หข้ อ้ มูล (นามสมมุติ) วนั ทสี่ ัมภาษณ์ Chinese_01 ผใู้ ห้ขอ้ มูลรายท่ี 1 4 กมุ ภาพันธ์ 2559 Chinese_02 ผใู้ ห้ข้อมลู รายท่ี 2 12 กมุ ภาพันธ์ 2559 Chinese_03 ผใู้ ห้ขอ้ มลู รายที่ 3 15 กุมภาพนั ธ์ 2559 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิ 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติจากแบบสอบถาม ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ของแบบสอบถามโดยวิธีทางสถติ ิ ดังน ้ี 4.1.1 นำแบบสอบถามทั้งหมดท่ีได้รับคืนมาตรวจสอบความสมบูรณ์ของ แบบสอบถาม ลงรหสั แต่ละฉบบั และจดั ทำตารางลงคะแนนเป็นรายขอ้ ให้ตรงกบั รหัสของแตล่ ะฉบับ 4.1.2 นำข้อมูลจากตารางลงคะแนนไปประมวลผลด้วยวิธีการทางสถิติด้วยเคร่ือง คอมพิวเตอรว์ ิเคราะหห์ าคา่ เฉล่ยี หาคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานรายดา้ นและรายขอ้ เพ่อื ทราบการกระจาย เปน็ รายข้อ 4.1.3 นำข้อมูลค่าเฉล่ียจากการวิเคราะห์รายด้านและรายข้อมาแปลความหมาย จดั ลำดับโดยใชเ้ กณฑข์ องบุญชม ศรีสะอาด (2545) ดังน้ ี คะแนนเฉลยี่ 4.51–5.00 หมายถงึ แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคมากทสี่ ดุ คะแนนเฉลย่ี 3.51–4.50 หมายถงึ แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคมาก คะแนนเฉลย่ี 2.51–3.50 หมายถงึ แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคปานกลาง คะแนนเฉลยี่ 1.51–2.50 หมายถงึ แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคนอ้ ย คะแนนเฉลย่ี 1.00–1.50 หมายถงึ แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคนอ้ ยทสี่ ดุ 4.1.4 สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในงานวิจยั นี้ มี ดงั นี ้ (1) วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการ หาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 5
(2) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบโดยใช้สถติ ิพื้นฐาน ได้แก่ คา่ ร้อยละ (3) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบโดยใช้สถติ พิ ้ืนฐานได้แก่ค่าเฉล่ีย ( χ ) และค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) (4) วิเคราะห์ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์แบบตีความและสรุปข้อมูลสำคัญ จากความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะทไ่ี ดร้ ับ 4.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากการสมั ภาษณ์ ผวู้ จิ ยั ดำเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสมั ภาษณ ์ โดยใช้การวิเคราะห์เน้ือหา วิเคราะห์แบบตีความและสรุปข้อมูลสำคัญจากบทสนทนา โดยสรุปข้อมูล และใหผ้ ใู้ หข้ อ้ มลู ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและแก้ไขจนขอ้ มูลอ่มิ ตวั นยิ ามศพั ท์เฉพาะ ความหมายของคำต่างๆ ทใี่ ช้ในการวิจัยมดี งั นีค้ อื 1. สถานศึกษานอกระบบ หมายถึง โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนในเขต กรุงเทพมหานครและภมู ิภาคทข่ี ้ึนทะเบียนกับสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 2. การศึกษานอกระบบ หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนในการพัฒนาทักษะ ความรู้ความสามารถทางด้านภาษาจีนของผเู้ รียนทยี่ ดื หย่นุ กว่าการเรยี นของโรงเรียนในระบบทั่วไป 3. การเรยี นการสอนภาษาจนี หมายถงึ การจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ตามหลกั สูตรของ โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษานอกระบบในเขตกรุงเทพมหานครและภูมภิ าค 4. หลักสูตร หมายถึง หลักสูตรท่ีโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษานอกระบบจัดทำข้ึนเอง หรอื จัดทำขน้ึ ร่วมกบั หน่วยงานอื่น 5. สื่อการสอน หมายถึง สื่อการสอนที่โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษานอกระบบใช้ใน การจัดการเรยี นการสอนภาษาจีน 6. ผูส้ อน หมายถงึ ผทู้ ีด่ ำเนนิ การสอนภาษาจีนในโรงเรียนหรอื สถาบนั สอนภาษานอกระบบ รวมถงึ ผูส้ อนคนไทย คนจีน คนไตห้ วนั คนสงิ คโปร์ หรือคนมาเลเซีย 7. ผู้เรียน หมายถึง ผู้ที่สมัครเรียนหลักสูตรภาษาจีนในโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบ 8. ความร่วมมือ หมายถึง การดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนหรือ สถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบในด้านหลักสูตร ด้านสื่อการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน หรือ ด้านความรว่ มกบั หน่วยงานอืน่ 6 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
บทที่ 2 ความเปน็ มาของการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย ปัจจุบันภาษาจีนเป็นภาษาหนึ่งท่ีคนไทยให้ความสำคัญและต้องการเรียนรู้มากภาษาหน่ึง รองลงมาจากภาษาอังกฤษ เน่ืองจากมีความจำเป็นตอ้ งใช้ภาษาจนี เพ่ือการตดิ ตอ่ ส่อื สารในการดำเนิน ธุรกิจ การค้า การลงทุน รวมถงึ การศกึ ษาภาษาและวฒั นธรรมจีน เป็นตน้ จึงทำใหก้ ารจัดการศกึ ษา ทางด้านภาษาจีนในประเทศไทยนั้น มีท้ังการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในระบบโรงเรียนและ นอกระบบโรงเรียน ซ่ึงจากอัตราการขยายตัวของจำนวนผู้เรียนในโรงเรียนนอกระบบท่ีเพ่ิมข้ึนอย่าง ต่อเน่ืองน้ัน (สถิติการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2553-2557) สะท้อนให้เห็นว่าการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนในโรงเรียนนอกระบบ ได้รับความสนใจจากผู้เรียนทุกระดับ ทุกประเภทมากข้ึน อยา่ งต่อเน่ือง สำหรบั การศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื การพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย : การศึกษานอกระบบคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาของการพัฒนาระบบ การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย เพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบ การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยต่อไป โดยมีหลักการ แนวคิดเกี่ยวกับ การศกึ ษานอกระบบ และความเป็นมาของการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย ดงั น ้ี 2.1 หลกั การแนวคดิ เกย่ี วกับการศกึ ษานอกระบบ 2.2 ความเป็นมาของการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 7
หลกั การ แนวคดิ เกย่ี วกบั การศกึ ษานอกระบบ เม่ือกล่าวถึงความหมายหรือนิยามของการจัดการศึกษานอกระบบ ในส่วนที่ออกระเบียบ บงั คับเปน็ บทกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งนัน้ มพี ระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซึ่งได้ให้คำจำกัดความเกี่ยวกับ การจดั การศกึ ษานอกระบบไว้ ดังนี ้ พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 3 มาตรา 15 ได้ให้คำนิยามเก่ียวกับระบบการศึกษาไว้ดังนี้ (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาต ิ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2), 2545) “การจัดการศกึ ษามี 3 รปู แบบ คอื การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยการศกึ ษาในแตล่ ะรูปแบบมีคำจำกัดความ ดงั น ้ี 1. การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะ เวลาของการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล ซึ่งเปน็ เง่อื นไขของการสำเร็จการศึกษาที่แนน่ อน 2. การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นเงื่อนไขสำคัญของ การสำเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความตอ้ งการของบุคคลแต่ละกล่มุ 3. การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สงั คม สภาพแวดล้อม สอื่ หรอื แหลง่ ความรอู้ นื่ ๆ” จากคำจำกัดความของการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยท่ีกล่าวข้างต้น สามารถเปรียบเทียบการจัดการศึกษาท้ัง 3 รูปแบบ ได้ดังน้ี (อ้างถึงใน ทวปี อภสิ ิทธิ์, 2554, หน้า 17) 8 รายงานการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศยั การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศัย 1. หลกั สูตร มหี ลกั สตู รทแ่ี นน่ อน มหี ลกั สูตรทย่ี ืดหยุน่ ไมม่ หี ลกั สตู ร 2. เวลาเรียน มกี ำหนดเวลาเรยี น มีกำหนดเวลาเรียนยืดหย่นุ เวลาเรยี นไมแ่ นน่ อน ท่แี นน่ อน ได้ตามความตอ้ งการ ขน้ึ อยู่กบั ผเู้ รียน ของผู้เรยี น 3. อายผุ ู้เรียน จำกดั อาย ุ ไมจ่ ำกัดอายุ ไมจ่ ำกัดอาย ุ 4. การลงทะเบยี นเรยี น มกี ารข้นึ /ลงทะเบียน มกี ารขึ้น/ลงทะเบยี น ไม่มกี ารข้ึน/ลงทะเบียน 5. การจดั การเรียน มกี ารจดั การเรียนการสอน มกี ารจัดการเรียนการสอน ไม่มีการจัด การสอน อย่างเปน็ ระบบ หลากหลายรปู แบบ การเรียนการสอน 6. การวัดผลและ มกี ารวดั และประเมนิ ผล มกี ารวดั และประเมินผล ไมม่ ีการวดั และประเมนิ ผล ประเมนิ ผล หรือไม่กไ็ ด้ สว่ นใหญ่มงุ่ เน้น การปฏบิ ัติได ้ 7. สถานท่ีเรยี น มสี ถานทเี่ รียนทแี่ นน่ อน ไม่มีสถานทเ่ี รยี นแน่นอน ไม่มสี ถานท่ีเรียนแน่นอน อาจใช้สถานทท่ี เี่ หมาะสม 8. วัตถปุ ระสงค ์ การเรียนมงุ่ เนน้ การนำ การเรียนมงุ่ เน้นการนำ การเรียนเพ่อื รู้และเพื่อ การเรียน ความรู้ไปใช้ในอนาคต ประโยชน์ไปใช้ในปจั จุบัน แกป้ ญั หาตามความสนใจ ตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 ได้ให้คำจำกัดความของ “โรงเรียน นอกระบบ” ไว้ว่า เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยมีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของ การสำเร็จการศึกษา และให้หมายความรวมถึงศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) และ สถาบันศึกษาปอเนาะ (พระราชบญั ญัติโรงเรยี นเอกชน, 2550, หนา้ 30) ส่วนพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได้ใหค้ ำจำกัดความเกยี่ วกบั การศึกษานอกระบบว่า (พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั , 2551, หน้า 2) “การศึกษานอกระบบ หมายถึง กิจกรรมการศึกษาท่ีมีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ท่ีชัดเจน มีรูปแบบ มีหลักสูตร วิธีการจัด และระยะเวลาเรียนที่ยืดหยุ่น และหลากหลายตามสภาพความต้องการ และศักยภาพในการเรยี นรขู้ องกลมุ่ เป้าหมาย มวี ิธีการวดั ผล และประเมนิ ผลการเรยี นร้ทู ีม่ ีมาตรฐานเพ่อื รับวฒุ ิทางการศึกษา หรอื เพ่ือจัดระดบั ผลการเรียนรู้” รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 9
นอกจากน้ี ยงั มีนกั วิชาการหลายท่าน ได้ใหค้ วามหมายเก่ียวกับการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น ไว้ ดงั น้ี เดวดิ ไคลน์ และโทมัส บี คนี (David Kline and Thomas B. Keehn, 1971) ได้กลา่ วถงึ การศึกษานอกระบบไว้ว่า “การศึกษานอกโรงเรียน เหมือนกับการศึกษาที่เรียกว่า การศึกษา นอกระบบ การศกึ ษาผู้ใหญ่ การศกึ ษาตลอดชวี ติ การศึกษาแบบเบด็ เสร็จ เปน็ คำทห่ี มายถงึ ชนดิ ของ การศึกษาท่ีพัฒนาข้ึนมาเพ่ือเป็นทางเลือก หรือเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียน เป็นการศึกษาท่ีจัด ข้ึนเพ่ือช่วยปิดช่องว่างของประชากรจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้ารับบริการจากการศึกษาในระบบ โรงเรียนได้อย่างทั่วถึง เม่ือเปรียบเทียบกับการศึกษาในระบบโรงเรียนแล้ว การศึกษานอก (ระบบ) โรงเรียน เปน็ การศึกษาท่มี คี วามยดื หยุ่นไดม้ ากกวา่ ” (อ้างถึงในทวีป อภิสิทธิ์, 2554, หนา้ 6-7) ฟิลปิ เอช คูมส์ (Philip H. Coombs, 1973) ไดใ้ ห้คำจำกัดความของการศึกษานอกระบบว่า “การศึกษานอก (ระบบ) โรงเรยี น หมายถึง กิจกรรมการศกึ ษาท่จี ัดขึ้นนอกระบบการศึกษาตามปกติ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมท่ีจัดข้ึนต่างหากหรือจัดเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมใหญ่อื่นๆ เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งให้ บริการกลุ่มผู้เรียนท่ีกำหนดเป้าหมายและอย่างมีความมุ่งหมาย ตัวอย่างเช่น สถานเล้ียงเด็กก่อน วัยเรียน (ยกเว้นโรงเรียนอนุบาล) โรงเรียนที่มุ่งให้โอกาส (Second Chance) แก่ผู้ไม่มีโอกาสได้รับ การศึกษาเม่ืออยู่ในวัยท่ีควรได้รับการศึกษาหรือต้องออกจากโรงเรียนก่อนกำหนด โรงเรียนผู้ใหญ่ กิจการลูกเสือ อนุกาชาด ยุวกสิกร กลุ่มสนใจดนตรี การฝึกฝนอาชีพ กลุ่มกสิกร ฯลฯ เป็นต้น)” (อา้ งถงึ ในทวีป อภสิ ิทธ์ิ, 2554, หนา้ 6) ทวีป อภิสิทธิ์ (2554, หน้า 7) กล่าวถึงการศึกษานอกระบบไว้ว่า “การศึกษานอกระบบ การศกึ ษานอกโรงเรยี น หรือการศึกษาอรปู นัย เป็นการศึกษาทจี่ ดั ให้กับบุคคลกลุม่ เป้าหมายผู้อยนู่ อก โรงเรียน นอกสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ท้ังที่จัดโดยภาครัฐและเอกชน เป็นการศึกษาท่ีมี ความยืดหยุ่นในการจัดมากกว่าการศึกษาในระบบ สถานที่เรียนไม่คงที่ แม้จะมีหลักสูตรเป็น ลายลักษณ์อักษร แต่มีความหลากหลาย ยืดหยุ่น ตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ หลากหลาย เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียนมาต่อยอด ใหส้ ูงขึ้น มีการวดั ประเมินผลทม่ี ุ่งเน้นการปฏิบัตไิ ดจ้ ริง ใช้วธิ กี ารประเมินผลท่หี ลากหลาย เปิดโอกาส ให้เทียบโอนความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ตามหลักสูตรใน ระบบโรงเรียนได้ เม่ือเรียนจบหลักสูตรแล้วอาจจะแจกประกาศนียบัตร วุฒิบัตร เกียรติบัตร หรือ ปรญิ ญาบตั รหรอื ไมก่ ็ได”้ จากความหมายหรือคำนิยมเก่ียวกับการศึกษานอกระบบที่กล่าวข้างต้น สามารถกล่าวโดย สรุปได้ว่า การศึกษานอกระบบ หมายถึง การจัดการศึกษาที่เปิดกว้างสำหรับผู้เรียนทุกระดับ ทุกประเภท โดยมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนในการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของ ผู้เรยี นทยี่ ดื หยุ่นกว่าการเรียนในโรงเรยี นในระบบทั่วไป 10 รายงานการวจิ ยั เพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ประวตั คิ วามเปน็ มาของการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบในประเทศไทย ความเป็นมาของการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบสรุปพอสังเขปได้ดังน้ี (ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2551, หนา้ 24-26) 1. ช่วงก่อนปี พ.ศ. 2461 ระบบการศึกษาของไทยยังไม่มีระบบอย่างเป็นทางการ การจัดการเรียนการสอนในช่วงน้ีไม่มีกฎเกณฑ์ระบุอย่างแน่ชัด รวมถึงการดำเนินการขออนุญาตจัด ตั้งโรงเรียนไม่มีหน่วยงานราชการท่ีรับผิดชอบดำเนินการตามกฎหมายเฉกเช่นในปัจจุบัน การจัดต้ัง โรงเรียนบางแห่งจึงเป็นการดำเนินการขอความเห็นชอบจาก “ผู้มีอิทธิพล” หรือ “ผู้มีอำนาจ” ในท้องถิ่นแทน เพ่ือให้โรงเรียนที่จัดต้ังขึ้นได้รับการคุ้มครองจาก “ผู้มีอิทธิพล” หรือ “ผู้มีอำนาจ” ในท้องถิ่นน้ัน ซ่ึงในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2461 โรงเรียนท่ีมีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมีเพียง โรงเรยี นเดียว คือ โรงเรียนจีนเกาะเรียน โดยก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2325 2. ช่วงปี พ.ศ. 2461-2518 ช่วงเวลาเกือบ 60 ปีน้ีมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการจัด การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบท่ีสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ช่วง ดังนี้ (1) ช่วงที่ 1 ในปี พ.ศ. 2461 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์เป็น คร้ังแรก โดยพระราชบัญญัติฉบับน้ีประกาศออกมาเพ่ือวางระเบียบกฎหมายการปกครองโรงเรียน ราษฎร์ให้มีความเรียบร้อยและรัดกุมมากข้ึน รวมถึงการควบคุมโรงเรียนราษฎร์ของคนจีนที่สอน ภาษาจีนให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐด้วย และเป็นช่วงท่ีการดำเนินการขออนุญาตจัดต้ังโรงเรียน สถานศึกษา หรือห้องเรียนในการสอนภาษาจีนนอกระบบต้องเป็นไปตามเง่ือนไขที่กระทรวง ศึกษาธิการกำหนด แต่ยังมีบางแห่งที่จัดต้ังขึ้นโดยไม่ได้ขออนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการด้วย ถึงแม้การดำเนินการต่างๆ ของโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบในช่วงนี้จะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ กระทรวงศึกษาธิการ แต่ระเบียบและการควบคุมยังหละหลวม การกำหนดหลักสูตร วิชาเรียน เวลา เรียน แบบเรียนและส่ือการสอน รวมถึงการทำกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาจีนมีเสรีภาพมากกว่า โรงเรียนในระบบ (2) ช่วงท่ี 2 สืบเน่ืองจากช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยเป็นประเทศมีความ อุดมสมบูรณ์ ประชาชนโอบอ้อมอารี ซึ่งตรงกับหลังช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิงของจีน เป็นช่วงที่ทาง ตอนใต้ของจีนประสบปัญหาเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมภายใน ชาวจีนจึงอพยพมาอาศัยอยู่ท่ี ประเทศไทยมากข้ึน ทำให้มีการจัดต้ังโรงเรียนสอนภาษาจีนนอกระบบเพ่ิมมากข้ึน เพ่ือสอนภาษา และวัฒนธรรมจีนให้แกล่ ูกหลานชาวจีนทีอ่ พยพ (3) ชว่ งที่ 3 ชว่ งรัฐบาลจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม เป็นชว่ งทีโ่ รงเรียนภาษาจนี ในระบบ ถูกควบคุมด้วยระเบียบกฎเกณฑ์ และถูกบีบคั้นจากการเมืองท้ังภายในและภายนอก โรงเรียนภาษา จีนนอกระบบ จงึ ดำเนนิ การเปดิ สอนวชิ าภาษาและวฒั นธรรมจีนท่ที างการไทยไม่สง่ เสริม รายงานการวิจัยเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 11
ดังน้ัน ในช่วงปี พ.ศ. 2461–2518 จึงเป็นช่วงที่เร่ิมมีระเบียบกฎหมายในการจัดตั้งโรงเรียน ภาษาจีนนอกระบบ แต่การดำเนินการต่างๆ ของโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบยังมีความหละหลวม และในช่วงน้ีมีการจัดตั้งโรงเรียนสอนภาษาจีนนอกระบบเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากมีชาวจีนอพยพเข้ามา อยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก หลังจากที่มีการเมืองท้ังภายในและภายนอกประเทศเข้ามา เก่ียวข้อง การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบจึงไม่ได้รับการส่งเสริม เพราะอาจได้รับ ขอ้ กล่าวหาวา่ เปน็ คอมมวิ นสิ ตไ์ ด ้ 3. ช่วงปี พ.ศ. 2519-2534 ตั้งแต่มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนขึ้นในปี พ.ศ. 2518 นั้น กอปรกับอิทธิพลของจีนที่ แผ่ขยายตัวมากข้ึนหลังจากที่จีนได้เป็นหน่ึงในห้าสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ ทำให้ภาษาจีนได้ รับความสนใจ ซ่งึ ในช่วงระยะเวลากว่า 15 ปนี ี้ คนไทยอยากที่จะเรยี นรู้ภาษาจีนอยา่ งเปดิ เผยมากข้ึน 4. ช่วงปี พ.ศ. 2535-2541 ช่วงระยะเวลานี้รัฐบาลไทยเร่ิมให้การส่งเสริมการศึกษา ทางดา้ นภาษาจนี โดยการขจดั อปุ สรรคทกี่ ดี ขวางการขยายตวั ของการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ใน ประเทศไทย ซึ่งในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลนายอานนั ท์ ปันยารชนุ เลง็ เหน็ ความสมั พนั ธ์ระหว่างไทย-จนี ท้ังในด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงได้ออกมติ คณะรฐั มนตรปี ลดแอกการคมุ กำเนดิ ภาษาจนี ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี สามารถดำเนนิ การ ได้อย่างเสรี เฉกเช่นเดียวกับภาษาต่างประเทศภาษาอ่ืนๆ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษา เยอรมัน และภาษาญ่ีปุน่ เป็นต้น 5. ช่วงปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา การเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนในระบบ ต้ังแต่ ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา มีการขยายตัวอย่างรวดเรว็ แต่ด้วย ข้อจำกัดของการดำเนินการในระบบ จึงทำให้โรงเรียนสอนภาษาจีนนอกระบบเกิดขึ้นตามมาอย่าง รวดเร็วเป็นจำนวนมาก และมีความได้เปรียบมากกว่าโรงเรียนในระบบ สามารถดำเนินการในเร่ือง ของการจ้างผู้สอน การเปิดหลักสูตร การกำหนดเวลาเรียน การใช้แบบเรียนและสื่อการสอนได้อย่าง เสรี การดำเนินการท่ีคล่องตัวกว่าของโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบนั้น ทำให้การจัดต้ังโรงเรียน บางแห่งสามารถดำเนินการได้ท้ังท่ีไม่ได้ขออนุญาต ซึ่งต้ังแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา การเรียน การสอนภาษาจีนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากรัฐบาลเป็นอย่างมาก และโรงเรียนภาษาจีน นอกระบบมีศกั ยภาพสงู ในการตอบสนองความต้องการเรียนรู้ภาษาจนี ของคนในสังคม จากความเป็นมาของการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในแต่ละช่วง สะท้อนให้เห็นว่า ระบบการศึกษาของไทยอยู่ภายใต้ระบบโครงสร้างทางการเมืองและเศรษฐกิจมาโดยตลอด ซ่ึง นโยบายทางการเมืองของผู้นำประเทศของไทยในยุคสงครามเย็นน้ันเลือกสนับสนุนประเทศ สหรัฐอเมริกา ซ่ึงมียุทธศาสตร์ปิดล้อมประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นระยะเวลา 30-40 ปี จึง ส่งผลให้ฝ่ายปกครองของไทยมองการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเป็นปัญหาความม่ันคง 12 รายงานการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ของประเทศ ในช่วงเวลาน้ี โรงเรียนสอนภาษาจีนต้องถูกปิด หรือส่ังห้ามจัดการเรียนการสอน ภาษาจีน การควบคุมโรงเรียนสอนภาษาจีนในขณะน้ัน ส่งผลให้การพัฒนาความรู้ความสามารถ ทางด้านภาษาจีนของคนไทยอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำและด้อยกว่าประเทศอื่นๆ (อ้างถึงในสุดาทิพย์ โตเตม็ โชคชัยการ, 2547, หนา้ 17) จากท่ีกล่าวข้างต้น เห็นได้ว่าการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทยน้ัน มีระยะเวลาอันยาวนานกว่า 100 ปี มีท้ังช่วงเวลาที่รูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนไม่เป็น ทางการและเป็นทางการ มีท้ังช่วงเวลาท่ีรัฐบาลให้การสนับสนุนและช่วงเวลาที่ถูกควบคุม แต่ถึง อย่างไรการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทยยงั คงดำเนินอย่จู วบจนถึงปัจจุบนั รายงานการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 13
บทท่ี 3 นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารส่งเสริมการเรยี น การสอนภาษาจนี นอกระบบ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบให้มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุดนั้น ควรม ี การตระหนักถึงบทบาทและความสำคัญของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ นอกจากนี้ การทำความเข้าใจเก่ียวกับสภาพปัจจุบันที่เป็นอยู่ของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ จะทำให้สามารถวางนโยบายอันนำไปสู่การดำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่นำไปปฏิบัติได้ ซ่ึงการวาง นโยบายและยุทธศาสตร์ถือเป็นส่ิงสำคัญที่จะเป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบได้อย่างชัดเจน โดยมีรายละเอยี ดทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ดังนี ้ • บทบาทและความสำคญั ของการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ • สภาพปจั จุบนั ของการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ • ยุทธศาสตรก์ ารสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ • แนวทางการสง่ เสรมิ การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ บทบาทและความสำคัญของการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบมีบทบาทและความสำคัญต่อผู้เรียนในทุกระดับ เน่ืองจากเป็นรูปแบบการเรียนการสอนท่ีไม่จำกัดอายุของผู้เรียนทวีป อภิสิทธ์ิ (2554, หน้า 7-8) กล่าวถึงความสำคัญของการศึกษานอกระบบไว้ว่า “การศึกษานอกระบบเป็นการศึกษาที่ช่วยส่งเสริม เติมเต็มความรู้ให้แก่ผู้ด้อย พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษาในระบบโรงเรียน และเป็นการเสริมสร้าง ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ให้แก่ผู้ต้องการพัฒนาตนเอง พัฒนาอาชีพ และพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเองให้ก้าวหน้าทันต่อความเปล่ียนแปลงของสังคมและโลกยุคปัจจุบัน” ซึ่ง 14 รายงานการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
การจัดการศึกษาของโรงเรียนนอกระบบนั้นอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติโรงเรียน เอกชน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชนประกาศการกำหนดประเภทและลักษณะ ของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอน และหลักสูตรของโรงเรียนนอกระบบ (ราชกิจจานุเบกษา เลม่ 126 ตอนพเิ ศษ 68 ง, หนา้ 19-20) ไว้ ดังน้ ี 1. ประเภทและลักษณะของโรงเรยี นนอกระบบ แบ่งได้ 5 ประเภท ดังน้ ี 1.1 ประเภทสอนศาสนา เป็นโรงเรียนที่จัดต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะการสอน ศาสนา 1.2 ประเภทศิลปะและกีฬา เป็นโรงเรียนที่จัดต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา เกี่ยวกับดนตรี ศิลปะ และกฬี า 1.3 ประเภทวิชาชีพ เป็นโรงเรียนท่ีจัดตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาเก่ียวกับ วชิ าชพี เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นนำไปประกอบอาชีพหรือเพมิ่ เติมทักษะในการประกอบอาชพี 1.4. ประเภทกวดวิชา เป็นโรงเรียนที่จัดต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เสริมความรู บางรายวชิ าตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 1.5 ประเภทสร้างเสริมทักษะชีวิต เป็นโรงเรียนท่ีจัดตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เสริมสร้าง ความคดิ เชาวนป์ ญั ญา และทกั ษะอื่น 2. การจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นนอกระบบ แบง่ ไดด้ ังน ้ี 2.1 จัดการเรยี นการสอนโดยใชค้ รูหรอื ผูสอน 2.2 จัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการเรียนการสอน ท้ังนี้โรงเรียนจะต้องมีการจัด การเรยี นการสอนต้นแบบท่ใี ช้ครูหรอื ผสู้ อนเปน็ หลัก 2.3 จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยมีท้ังครูหรือผูสอนและส่ือการเรียน การสอน 2.4 การจัดการเรียนการสอนตามข้อ 2.1 ข้อ 2.2 และ 2.3 อาจจัดร่วมกันระหว่าง โรงเรียนกบั โรงเรยี น หรอื กบั หน่วยงานอ่นื ท้งั ในและนอกสถานศึกษาอย่างมคี ุณภาพมาตรฐาน 3. หลกั สตู รของโรงเรียนนอกระบบ มลี กั ษณะ ดังน ี้ 3.1 หลกั สตู รทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด 3.2 หลักสูตรต้นแบบที่สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจัดทำหรือจัด รว่ มกับหน่วยงานอ่นื 3.3 หลักสูตรที่นำมาจากหน่วยงานอื่นท้ังในและต่างประเทศ หลักสูตรที่โรงเรียนจัดทำ ขนึ้ เอง หลักสูตรทโ่ี รงเรยี นจดั ทำขน้ึ รว่ มกับโรงเรียนอน่ื หรอื หนว่ ยงานอืน่ ซงึ่ ไดรับอนุมตั ใิ หใ้ ชห้ ลกั สตู ร จากกระทรวงศกึ ษาธิการ รายงานการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 15
โดยหลักสูตรต้นแบบท่ีเป็นหลักสูตรท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนภาษาจีนน้ัน ทาง คณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนได้กำหนดไว้ 3 หลกั สูตร (หลกั สูตรตน้ แบบ กลมุ่ งานส่งเสรมิ การส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน, หน้า 4) ดงั น ้ี 1) หลักสูตรวิชาภาษาจนี กลางระดับตน้ รวมตลอดหลักสตู รใช้เวลา 144 ช่ัวโมง 2) หลักสูตรวิชาภาษาจีนกลางระดบั กลาง รวมตลอดหลักสูตรใช้เวลา 144 ชว่ั โมง 3) หลักสูตรวชิ าภาษาจีนกลางระดบั สูง รวมตลอดหลกั สตู รใช้เวลา 144 ชั่วโมง จากรายละเอียดของประเภทและลักษณะของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอน และ หลกั สตู รของโรงเรยี นนอกระบบทก่ี ำหนดโดยคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชนดงั กลา่ วขา้ งตน้ นน้ั เห็นได้ว่า การเรียนการสอนนอกระบบ เป็นการจัดการเรียนการสอนและวัดผลการเรียนการสอน ทีแ่ ตกตา่ งจากการจัดการเรยี นการสอนในระบบทกี่ ำหนดโดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เชน่ ระดับประถม ศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา โดยการเรียนการสอนนอกระบบนั้นไม่มีการกำหนด เง่ือนไขการเรียนอย่างแน่นอนตายตัว การเรียนการสอนจึงมีความหลากหลายและมีความแตกต่างใน แต่ละสถาบัน ซึ่งแต่ละโรงเรียนหรือสถาบันนอกระบบจะเป็นผู้กำหนดหลักสูตร จำนวนช่ัวโมงเรียน รวมถึงวิชาท่ีเรียนเอง การเรียนการสอนนอกระบบจึงมีความยืดหยุ่นกว่าการเรียนการสอนในระบบ และถึงแม้การเรียนการสอนนอกระบบไม่มีการกำหนดรูปแบบการจัดการศึกษา ระยะเวลาการศึกษา การวัดผลและประเมินผลเช่นเดียวกับการจัดการเรียนการสอนในระบบ แต่การเรียนการสอน นอกระบบน้ันมีบทบาทและความสำคัญต่อผู้เรียนอย่างมาก เห็นได้จากการศึกษาความนิยมของ การเรียนในรปู แบบนอกระบบหรือการเรยี นพเิ ศษนอกเหนอื จากการเรียนในระบบ (จริ ฎั ฐิยา ชนะเคน และคณะ, 2556) ซึง่ พบวา่ 1. ด้านผู้เรียน ผู้เรียนในระบบมีค่านิยมในการเรียนโรงเรียนนอกระบบ เพ่ือให้ได้รับข้อมูล ท่ีกว้างมากข้ึน พัฒนาความสามารถทางศักยภาพของตัวเองได้ดีขึ้น รวมถึงเพื่อให้ได้ประสบการณ ์ ในการลองทำโจทยเ์ พือ่ ใชส้ อบวัดความรตู้ า่ งๆ และชว่ ยพฒั นาผลการเรยี นไปในทางทดี่ ีข้ึน 2. ด้านผู้สอน ครูผู้สอนในระบบบางรายวิชาพูดเร็วจนเกินไป ทำให้ฟังไม่ทันและไม่รู้เรื่อง ครูผู้สอนบางรายวิชาไม่ค่อยเน้นเนื้อหา แต่จะเน้นการทำงานอ่ืนๆ มากกว่าการเรียน และครูผู้สอน บางรายวิชาอธิบายเน้ือหาไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุม เป็นผลทำให้นักเรียนไม่เข้าใจในบทเรียน จงึ เลือกไปเรียนพิเศษนอกสถานศกึ ษา 3. ด้านหลักสูตร เนื้อหาท่ีเรียนมีความกว้างขวางเกินไป เน้ือหาบางส่วนในหนังสือยัง ไม่แน่นพอ การจัดรูปแบบหนังสือยังไม่แน่นพอ และการจัดรูปแบบหนังสือไม่มีความน่าสนใจ ทำให้ ไมอ่ ยากเรียน เปน็ ผลทำให้นักเรียนไปเรยี นพเิ ศษใหไ้ ดเ้ นอื้ หาเชงิ ลึกมากขนึ้ 4. ด้านห้องเรียน เพ่ือนในห้องคุยกันเสียงดังจนไม่ได้ยินสิ่งที่ครูสอน ทำให้เรียนไม่รู้เร่ือง เป็นผลทำให้นกั เรยี นไมอ่ ยากเรียนเนือ่ งจากสภาพแวดล้อมสง่ ผลตอ่ การเรยี นไม่เขา้ ใจ 16 รายงานการวิจัยเพ่อื พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
5. ด้านอ่ืนๆ โรงเรียนนอกระบบบางแห่งมีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ จึงดึงดูดความสนใจของ ผเู้ รยี นในระบบการเรยี นในโรงเรยี นนอกระบบมคี วามเขา้ ใจมากกวา่ การเรยี นในระบบ รวมถงึ การไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผู้ปกครองให้ไปเรียน นอกจากน้ี การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบยังมีผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก โดย สามารถดูได้จากสถิติจำนวนผู้เรียนในโรงเรียนเอกชนนอกระบบในกรุงเทพมหานครและภูมิภาค ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2553-2557 ดงั ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 สถิติจำนวนผู้เรียนในโรงเรียนเอกชนนอกระบบในกรุงเทพมหานครและภูมิภาค ระหวา่ ง ปกี ารศกึ ษา 2553-2557 ปหกี ลารักศสึกตู ษร า ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา 2553 2554 2555 2556 2557 จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ภาษาเกาหลี 3,396 8.60 5,846 16.38 4,078 12.12 7,445 15.28 7,883 7.96 ภาษาจีน 20,990 53.10 16,631 46.61 20,023 59.52 27,637 56.74 65,068 65.68 ภาษาญป่ี นุ่ 15,123 38.28 13,202 37.00 9,540 28.36 13,627 27.98 26,120 26.36 รวม 39,509 100 35,679 100 33,641 100 48,709 100 99,071 100 แหลง่ ทีม่ า : สถิตกิ ารศกึ ษาเอกชน ปกี ารศึกษา 2553-2557 จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นถึงอัตราการขยายตัวของจำนวนผู้เรียนในโรงเรียนหรือสถาบัน สอนภาษาต่างประเทศประเภทนอกระบบในระยะเวลาท่ีผ่านมา 5 ปี เห็นได้ว่ามีอัตราการขยายตัว ด้านจำนวนผู้เรยี นเพม่ิ ขน้ึ อย่างต่อเนอ่ื ง จากจำนวนผู้เรียนในโรงเรียนเอกชนนอกระบบในกรุงเทพมหานครและภูมิภาคระหว่าง ปีการศึกษา 2553-2557 เห็นได้ว่า แนวโน้มของจำนวนผู้เรียนภาษาจีนในโรงเรียนหรือสถาบันสอน ภาษาภาคเอกชน มจี ำนวนเพิม่ มากขน้ึ อยา่ งตอ่ เนื่อง รายงานการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 17
สภาพปจั จุบนั ของการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ จากงานวิจัยเร่ือง “การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย : การศึกษานอกระบบ” (ศูนย์จีนศกึ ษา สถาบนั เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , หน้า 30-47) พบวา่ การเรยี นการสอน ภาษาจนี นอกระบบโรงเรยี นในปจั จบุ ัน มรี ายละเอียดด้านหลักสูตร ด้านสอ่ื การสอน ดา้ นผู้สอน และ ดา้ นผ้เู รียน ดงั น ี้ 1. ด้านหลักสูตร (ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 30-33) หลกั สตู รทีเ่ ปดิ สอนในโรงเรียนภาษาจนี นอกระบบส่วนมากแบง่ ออกได้เป็น 5 ประเภท ดงั น ้ี 1.1 หลกั สตู รช้ันต้น รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรชั้นต้นเน้นการสอนภาษาจีนพื้นฐาน การอ่าน ออกเสียงภาษาจีน การฝกึ สนทนาเบ้ืองตน้ รวมถึงไวยากรณจ์ ีน การเขียนภาษาจีน เปน็ ต้น 1.2 หลักสูตรชนั้ กลาง รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรช้ันกลางเน้นการสอนภาษาจีนระดับกลาง การสนทนาในชวี ิตประจำวัน รวมถึงวฒั นธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ในปัจจบุ ันระดบั กลาง เป็นตน้ 1.3 หลักสูตรชั้นสงู รายวิชาท่ีเปิดสอนในหลักสูตรช้ันสูงเน้นการสอนภาษาจีนระดับสูง การสนทนา ธรุ กจิ คำศพั ท์ชน้ั สูง รวมถึงวฒั นธรรมและการดำเนนิ ชีวติ ในปจั จุบันระดบั สูง เป็นต้น 1.4 หลักสูตรพิเศษ รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรพิเศษมีวิชาท่ีหลากหลาย มีทั้งวิชาภาษาจีนสำหรับ เด็กมคั คุเทศกภ์ าษาจีน คอมพวิ เตอรภ์ าษาจีน วาดภาพเขยี นพกู่ นั จีน ขบั รอ้ งเพลงจนี การค้าระหวา่ ง ประเทศ รวมถึงการตวิ สอบ HSK การติวสอบเขา้ มหาวิทยาลัย เปน็ ตน้ 1.5 การสอนสว่ นตวั รายวิชาที่เปิดสอนเป็นการส่วนตัวเป็นวิชาภาษาจีนที่มีท้ังในหลักสูตรช้ันต้น ชน้ั กลาง และชั้นสงู จากหลกั สตู รและรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนในโรงเรยี นภาษาจนี นอกระบบขา้ งตน้ เหน็ ไดว้ า่ หลักสูตรที่เปิดสอนในโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบท่ีเป็นหลักสูตรช้ันต้น หลักสูตรชั้นกลาง และ หลักสูตรชั้นสูงน้ัน เป็นหลักสูตรที่พบได้ทั่วไป แต่หลักสูตรอ่ืนๆ จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละ โรงเรียน และค่อนขา้ งมคี วามหลากหลายของหลกั สตู ร ส่วนเวลาเรียนและจำนวนชั่วโมงเรียน พบว่ามีการจัดเวลาทั้งในวันจันทร์-วันศุกร์ และวันเสาร์-อาทิตย์ ซึ่งหลักสูตรท่ีจัดเวลาเรียนในวันเสาร์-อาทิตย์มีมากที่สุด และในส่วนของจำนวน ชั่วโมงเรียนมีตั้งแต่ 1.5-20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นอกจากนี้ หากผู้เรียนต้องการกำหนดเวลาเรียนเอง 18 รายงานการวิจยั เพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
จะเป็นการสอนในลักษณะรายบุคคล เรียนแบบตัวต่อตัว ซ่ึงจะมีค่าใช้จ่ายในการเรียนท่ีสูงกว่า หลกั สูตรที่กำหนดเวลาเรียนไว้แล้ว 2. ด้านสื่อการสอน (ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หนา้ 34-36) ส่ือการสอนที่ใช้ในโรงเรียนนอกระบบแยกตามประเภทของหลักสูตรได้ ดงั น้ี 2.1 แบบเรยี นหรอื ตำราที่ใช้ในหลกั สตู รชั้นต้น ตัวอย่างเชน่ (1) 杨寄洲. (2006).《汉语教程》.北京: 北京语言大学出版社. (2) 陈绥宁. (2004).《基础汉语40课》.上海: 华东师范大学出版社. (3) 刘珣. (2004).《新实用汉语课本》.北京: 北京语言大学出版社. 2.2 แบบเรียนหรอื ตำราที่ใชใ้ นหลักสตู รช้ันกลาง ตวั อย่างเช่น (1) 王海峰等. (2005).《速成强化教程》.北京: 北京语言文化大学出版社. (2) 白雪林. (2006).《中级汉语听和说》.北京: 北京语言文化大学出版社. (3) ครุ สุ ภา.《体验汉语》1-6册. 北京: 高等教育出版社. 2.3 แบบเรยี นหรอื ตำราท่ีใชใ้ นหลักสตู รช้นั สงู ตัวอย่างเชน่ (1) 姜德梧. (2002).《高级汉语教程》.北京: 经济科学出版社. (2) 黄政澄. (2006).《标准汉语教程》.北京: 北京大学出版社. (3) ครุ สุ ภา.《体验汉语》1-6册. 北京: 高等教育出版社. จากสื่อการสอนประเภทแบบเรียนหรือตำราที่ใช้ในโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบข้างต้น เห็นได้ว่าแบบเรียนหรือตำราที่ใช้มีความหลากหลาย ซึ่งแบบเรียนหรือตำราบางเล่มนำมาใช้ใน การเรียนการสอนของท้ังหลักสูตรชั้นกลางและชั้นสูง สะท้อนให้เห็นว่าแบบเรียนหรือตำราท่ีใช้ใน โรงเรียนภาษาจีนนอกระบบยังไม่เป็นระบบ แบบเรียนหรือตำราขาดความต่อเนื่องระหว่างหลักสูตร แตล่ ะระดบั แบบเรียนหรือตำราที่ใช้เป็นส่ือการสอนน้ัน ส่วนมากเป็นแบบเรียนหรือตำราที่ผลิตโดย คนในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รองลงมาเป็นแบบเรียนหรือตำราที่โรงเรียนภาษาจีน นอกระบบผลิตเอง แบบเรียนหรือตำราที่ผลิตโดยคนไทย ผลิตโดยคนจีนในไต้หวัน และผลิตโดยคน สงิ คโปร์ ตามลำดับ ท้ังน้ี แบบเรียนหรือตำราที่ใช้เป็นสื่อการสอน ไม่ว่าจะผลิตโดยใคร ตัวอักษรจีนท่ีใช้ใน การเรยี นการสอนนนั้ มี 4 ลกั ษณะ ดังนี้ (1) แบบเรียนหรอื ตำราเป็นอกั ษรจีนตัวยอ่ และสอนอกั ษรจีนตวั ยอ่ (2) แบบเรียนหรอื ตำราเป็นอกั ษรจีนตวั ย่อ และสอนใหร้ จู้ กั อักษรจนี ตัวเต็ม รายงานการวิจยั เพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 19
(3) แบบเรยี นหรอื ตำราเป็นอกั ษรจนี ตัวเตม็ และสอนอักษรจีนตวั เต็ม (4) แบบเรียนหรอื ตำราเป็นอกั ษรจนี ตวั เต็ม และสอนให้รจู้ ักอกั ษรจนี ตวั ยอ่ ในส่วนของระบบการออกเสียงท่ีสอนในโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบ พบว่า มีการใช้ ระบบการออกเสยี งภาษาจนี 3 แบบ ดงั นี ้ (1) การใช้ระบบพนิ อิน (2) การใช้ระบบจูอ้ ิน (3) การใช้ภาษาไทยสะกดทบั ศพั ท์ 3. ดา้ นผสู้ อน (ศนู ย์จีนศกึ ษา สถาบันเอเชียศกึ ษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , หน้า 43-45) ผูส้ อนภาษาจนี ในโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบ แบง่ ได้ 2 ประเภทใหญ่ ดังน ้ี 3.1 ผสู้ อนภาษาจีนสัญชาตไิ ทยมี 2 ลักษณะ คือ 3.1.1 ผู้สอนภาษาจีนสัญชาติไทยที่มีวุฒิบัตร มีต้ังแต่วุฒิบัตรระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ปริญญาตรี จนถึงปริญญาโท และมผี ้สู อนท่ีได้รบั วุฒิบตั รภาษาจนี จากประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน ผู้สอนท่ีได้รับวุฒิบัตรครูสอนภาษาจีน (ศธ.) รวมถึงผู้สอนที่ได้รับใบประกาศนียบัตร การสอบวดั ระดบั ความรู้ภาษาจนี (HSK) ระดบั 5 ระดบั 6 และระดบั 8 3.1.2 ผู้สอนภาษาจีนสัญชาติไทยท่ีไม่มีวุฒิบัตร จะเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ทางภาษาจีน สามารถถ่ายทอดความรู้ทางภาษาจีนให้แก่ผู้เรียนได้ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไม่มี ข้อจำกัดในการรับผู้สอนภาษาจีนว่าจะต้องมีวุฒิบัตรเท่านั้น หากแต่ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้บริหาร โรงเรยี นภาษาจีนนอกระบบแต่ละโรงเรยี น 3.2 ผู้สอนภาษาจีนสัญชาติจีนมี 2 ลักษณะเช่นเดียวกับผู้สอนภาษาจีนสัญชาติไทย กลา่ วคอื 3.2.1 ผู้สอนภาษาจีนสัญชาติจีนท่ีมีวุฒิบัตรส่วนมากมีวุฒิบัตรระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี ถึงแมม้ วี ุฒิบตั ร แต่ไม่ทราบว่าเป็นวุฒบิ ัตรทางดา้ นภาษาจีนหรือไม ่ 3.2.2 ผู้สอนภาษาจีนสัญชาติจีนที่ไม่มีวุฒิบัตร ผู้สอนกลุ่มนี้ถือข้อได้เปรียบของ การเป็นสัญชาติจนี สอื่ สารภาษาจีนได ้ จำนวนผู้สอนภาษาจีนในโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบ ส่วนมากเป็นผู้สอน สัญชาติไทย ส่วนผู้สอนสัญชาติจีนจะมีจำนวนน้อยกว่า ซึ่งปัญหาของผู้สอนสัญชาติจีนที่มาทำการ สอนภาษาจีนในโรงเรียนนอกระบบในประเทศไทยนั้น พบวา่ (1) ผู้สอนสัญชาตจิ ีนส่วนมากไมส่ ามารถสอ่ื สารภาษาไทยได ้ (2) ผู้สอนสัญชาติจีนท่ีผ่านการอบรมทางด้านภาษาและวัฒนธรรมไทย มีจำนวนนอ้ ย 20 รายงานการวิจัยเพือ่ พฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
จึงทำให้ประสบปัญหาในการส่ือสารและการทำความเข้าใจกับผู้เรียน เม่ือทำการสอนภาษาจีนให้กับกลุ่มผู้เรียนท่ีไม่มีพ้ืนความรู้ทางภาษาจีน นอกจากน้ี ปัญหาการขอ ใบอนุญาตทำงานของผู้สอนสัญชาติจีนยังเป็นปัญหาเช่นกัน โรงเรียนภาษาจีนนอกระบบบางแห่ง ผู้สอนสัญชาติจีนมีใบอนุญาตทำงานอย่างถูกต้อง แต่บางแห่งไม่มี เนื่องจากบางโรงเรียนทำการจ้าง คนจีนทไ่ี ดว้ ซี า่ นกั เรยี นมาทำการสอนภาษาจนี 4. ด้านผู้เรียน (ศูนยจ์ ีนศกึ ษา สถาบนั เอเชยี ศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , หนา้ 45-47) ผู้เรียนท่ีมาเรียนภาษาจีนที่โรงเรียนภาษาจีนนอกระบบ มีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายใน การเรียนที่แตกต่างกันไป ในมุมมองของผู้บริหารโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบ และผู้เรียนในโรงเรียน ภาษาจนี นอกระบบ ตา่ งแสดงความคดิ เห็นไปในทศิ ทางเดียวกนั คือ การเรยี นภาษาจีนนำความร้ไู ปใช้ ประโยชน์ในประเด็น 2 ประเดน็ นเี้ ปน็ หลกั คอื 4.1 เรยี นภาษาจนี เพือ่ เรยี นต่อ 4.2 เรียนภาษาจนี เพ่ือประกอบอาชพี เชน่ ทำการค้า หรอื หางานท่ีดีกวา่ ท้ังน้ี ยังมีประเด็นอื่นๆ อีก เช่น การเรียนภาษาจีนเพื่อทำตามความต้องการของ หน่วยงาน เพื่อหางานทำที่ดีกว่า เพ่อื นำไปใชส้ นทนากบั ชาวจีน เพื่อเสริมความรู้ ต้องการเรียนรภู้ าษา และวัฒนธรรมจีน เปน็ ตน้ ในมุมมองที่เก่ียวกับผู้สอน ผู้เรียนส่วนใหญ่เห็นว่าการได้เรียนภาษาจีนกับผู้สอน สัญชาติจีนดีกว่าเรียนภาษาจีนกับผู้สอนสัญชาติไทย เน่ืองจากได้มีโอกาสฝึกการฟังสำเนียงจีนจาก เจ้าของภาษา และผู้สอนสัญชาติจีนสามารถให้ความรู้นอกเหนือจากบทเรียนได้ดี อธิบายได้ละเอียด รวมถึงการได้เรยี นร้คู ำศพั ทน์ อกตำราเรียนด้วย ส่วนกลมุ่ ผ้เู รียนท่เี ห็นว่าการไดเ้ รียนภาษาจนี กบั ผสู้ อน สัญชาติไทยดีกว่าการเรียนภาษาจีนกับผู้สอนสัญชาติจีนนั้น เน่ืองจากอธิบายให้เข้าใจได้ง่าย แต่ไม่ว่า จะเป็นผ้สู อนสญั ชาติไทย หรือผสู้ อนสญั ชาติจนี ผเู้ รยี นต่างมองว่าผู้สอนสอนสนกุ อย่างไรกต็ าม การเรยี นการสอนภาษาจนี ในโรงเรยี นภาษาจีนนอกระบบยงั มีผเู้ รียน บางส่วนท่ีเรียนไม่สามารถเรียนจบหลักสูตร ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการไม่มีเวลามาเข้าเรียนและ มีความรสู้ ึกวา่ ภาษาจีนเรยี นยาก ภาพรวมของประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนภาษาจีนในโรงเรียนภาษาจีน นอกระบบ โดยเรยี ง ลำดบั จากมากไปหานอ้ ย ผู้เรยี นมีมุมมอง ดงั น้ี (1) การเรียนภาษาจีนมีประโยชน์ในการทำงานที่ต้องติดต่อส่ือสารกับ คนจีน สามารถช่วยให้ทำงานได้ดขี ึน้ เขา้ ใจงานมากข้ึน ทำงานได้รวดเร็วข้ึน และไดร้ บั ความไวว้ างใจ จากนายจ้างมากข้นึ ดว้ ย (2) การเรยี นภาษาจนี ทำใหไ้ ดร้ จู้ กั คำศพั ทภ์ าษาจนี เพม่ิ ขนึ้ มคี วามรเู้ กย่ี วกบั ประเทศจีนมากขนึ้ อกี ทง้ั ยงั สามารถใช้ภาษาจนี เป็นภาษาที่สามได้ดว้ ย รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 21
(3) การเรียนภาษาจีนสามารถหางานทำได้ดีกว่า มีรายไดม้ ากกวา่ เดมิ (4) การเรียนภาษาจีนในโรงเรียนภาษาจีนนอกระบบ สามารถนำไปใช้ สอบเขา้ เรยี นในมหาวิทยาลัยได ้ ดังน้ัน จึงเห็นได้ว่าการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ด้านหลักสูตรมีความ หลากหลาย มคี วามแตกต่างกันในแต่ละโรงเรียนหรอื สถาบัน ด้านสอื่ การสอนท่ีนำมาใชน้ ้นั ขึน้ อยกู่ ับ ผู้สอนแต่ละโรงเรียนหรือสถาบัน ซึ่งแบบเรียนหรือตำราบางเล่มถูกนำมาใช้ในการจัดการเรียน การสอนของหลักสูตรท่ีต่างระดับกัน สะท้อนให้เห็นว่าแบบเรียนหรือตำราท่ีใช้ในโรงเรียนภาษาจีน นอกระบบยังไม่เป็นระบบ ด้านผู้สอนยังคงเป็นผู้สอนชาวไทยเป็นหลัก เนื่องจากผู้สอนชาวจีนท ่ี ไม่สามารถพูดภาษาไทยได้ อาจทำให้มีปัญหาในการสื่อสารกับผู้เรียนได้ และด้านผู้เรียนนั้น ผู้เรียน มีความต้องการเรียนภาษาจีน เน่ืองจากภาษาจีนมีประโยชน์ท้ังในด้านการศึกษาต่อการทำงานหรือ การทำธุรกิจ ยุทธศาสตร์การสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำแผนปฏิบัติราชาการ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) โดยมีประเด็นจุดเน้นท่ีเกี่ยวข้องกับการขับเคล่ือนการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือให้มี ความชัดเจนและเป็นรูปธรรม ซ่ึงหน่ึงในสิบประเด็นจุดเน้นมีในเร่ืองของการส่งเสริมพัฒนาทักษะ การส่ือสาร โดยทางกระทรวงศึกษาธิการต้องการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาสร้างบรรยากาศ การเรียนรู้และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร(สำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์, 2556, หน้า 21) และในส่วนของนโยบายการศึกษาน้ัน มีเป้าประสงค์เพื่อให้ประชาชน ไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและทว่ั ถงึ และผเู้ รยี นไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน ซึ่งมีกลยุทธ์ที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอนนอกระบบคือ เร่งรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ในส่วนนี้มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อ ติดตามผลการดำเนินงานความร่วมมือส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนด้วย (สำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร,์ 2556, หน้า 83-84) นอกจากนี้แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2556 - 2560 ของสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ การศกึ ษานอกระบบไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 2 คือการขยายโอกาสเขา้ ถงึ บริการทางการศกึ ษาเอกชน ตาม พันธกิจเรอื่ งการเสรมิ สร้างโอกาสการศึกษาเอกชนใหแ้ ก่ประชาชนอย่างกวา้ งขวาง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้พัฒนาศักยภาพ ซึ่งตัวช้ีวัดความสำเร็จ คือ ร้อยละของผู้เรียนสถานศึกษาเอกชนนอกระบบเพ่ิมข้ึน (สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน, 2556, หนา้ 9) 22 รายงานการวิจัยเพอ่ื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
จากรายละเอียดดังกล่าวข้างต้น เห็นได้ว่ายุทธศาสตร์การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบมปี ระเดน็ สำคญั ดังน ี้ 1. มีการเรง่ รดั พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 2. มีเป้าหมายให้ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรียนภาษาจีนอย่างท่วั ถึง 3. มจี ำนวนผูเ้ รยี นภาษาจนี นอกระบบเพ่ิมมากข้นึ 4. มกี ารตดิ ตามผลการดำเนนิ งานความรว่ มมอื สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจนี ประเด็นดังกล่าวนี้มีความสำคัญต่อการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนให้ประสบ ความสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคใ์ นเรอ่ื งการเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาใหแ้ กผ่ เู้ รยี นนอกระบบ เพอื่ ตอบสนอง นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ีต้องการให้ประชาชนในประเทศไทยมีความรู้ความสามารถ ในการใช้ภาษาต่างประเทศ โดยภาษาจีนเป็นหน่ึงในภาษาต่างประเทศที่มีความสำคัญในการเรียน การสอนในทกุ ระดับการศึกษา แนวทางการสง่ เสรมิ การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบเป็นส่วนหน่ึงของยุทธศาสตร์ในการพัฒนา บุคลากรของประเทศไทยให้มีทักษะความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศเพ่ิมมากข้ึน เน่ืองจาก ความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางด้านภาษาจีนเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพมีมากขึ้น อย่างตอ่ เน่อื ง ซ่งึ พระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 มาตรา 6 ได้กลา่ วถงึ การส่งเสริมและสนบั สนนุ การศกึ ษานอกระบบว่าควรยดึ หลกั เรอ่ื งดังตอ่ ไปน้ ี 1. ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางทั่วถึงเป็นธรรม และมี คุณภาพเหมาะสมกับสภาพชีวิตของประชาชน 2. การกระจายอำนาจใหส้ ถานศกึ ษาและการใหภ้ าคเี ครอื ขา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรยี นร ู้ นอกจากนี้ มาตรา 7 ยังได้กล่าวถึงการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบว่า ให้ ดำเนนิ การเพอ่ื เป้าหมายในเรื่องดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาศักยภาพกำลังคนและสังคมท่ีใช้ ความรู้และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความม่ันคง และ คณุ ภาพชีวิต ตามแนวทางการพัฒนาประเทศ 2. ภาคีเครือข่ายเกิดแรงจูงใจและมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมเพ่ือจัดกิจกรรมการศึกษา จากพระราชบัญญัติการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบดังกล่าวข้างต้น สามารถเสนอ แนวทางในการสง่ เสริมและสนบั สนนุ การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบได้ ดังน ี้ 1) ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนภาษาจีนโดยอาจให้ผู้เรียนได้มีโอกาส เข้าถึงสือ่ ทท่ี นั สมัยทีส่ ามารถจูงใจให้ผูเ้ รยี นเกิดความสนใจและมีความต้องการท่ีจะเรียนรภู้ าษาจนี รายงานการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 23
2) ควรมีรูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนท่ีเน้นให้ผู้เรียนสามารถนำภาษาจีนไปใช้ใน การส่ือสารได้จริง ไม่ควรเน้นทฤษฎี การท่องจำคำศัพท์ หรือเน้นการเรียนทางด้านไวยากรณ์มาก เกินไป ทำให้ผเู้ รยี นไมส่ ามารถนำภาษาจนี ไปใชใ้ นการสอ่ื สารได้จริง ทั้งนี้ หากผู้เรยี นมีแรงจูงใจในการเรยี น และเมอื่ เรียนแลว้ สามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง ภาษาจีนจะ ได้รับความสนใจจากกลุ่มประชาชนทั้งวัยเรียนและวัยทำงานอย่างกว้างขวาง อีกท้ังยังเป็นการขยาย โอกาสทางการศึกษาท่ีสามารถทำให้ผู้เรียนนำความรู้ที่เรียนไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองได้อย่าง แทจ้ รงิ 24 รายงานการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
บทที่ 4 การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ การศึกษาวิจัยครั้งน้ีนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับด้านหลักสูตร ด้านสื่อการสอน ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน ด้านความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น รวมถึงปัญหาและอุปสรรคในการจัด การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ โดยลำดบั ขัน้ ตอนการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดงั น้ี 1. หลกั สูตรในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ 2. สอ่ื การสอนในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ 3. ผสู้ อนในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ 4. ผู้เรียนในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ 5. ความรว่ มมอื ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ 6. ปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี นอกระบบ การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการเรียน การสอนภาษาจีนนอกระบบ เพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบในประเทศไทย ซ่งึ ผ้วู จิ ัยนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู แบ่งออกเป็น 5 ตอน ดังนี ้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการหาค่า ร้อยละ (Percentage) นำเสนอขอ้ มูลในรปู แบบของตารางพร้อมคำอธบิ าย ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ โดยการหาค่าร้อยละ (Percentage) นำเสนอข้อมลู ในรปู แบบของตารางพร้อมคำอธบิ าย ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบโดยการหาค่าเฉล่ีย ( χ ) และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) นำเสนอข้อมูลในรูปแบบ ของตารางพร้อมคำอธิบาย รายงานการวิจัยเพ่อื พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 25
การแปลความหมายค่าเฉล่ียในการวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้เกณฑ์ ดังนี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545) - คะแนนเฉล่ีย 4.51 – 5.00 หมายถึง แสดงระดับปญั หาและอปุ สรรคมากท่สี ุด - คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคมาก - คะแนนเฉล่ยี 2.51 – 3.50 หมายถึง แสดงระดบั ปัญหาและอปุ สรรคปานกลาง - คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง แสดงระดบั ปัญหาและอุปสรรคน้อย - คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.50 หมายถึง แสดงระดบั ปญั หาและอปุ สรรคนอ้ ยทสี่ ุด ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนภาษา จนี นอกระบบ ตอนท่ี 5 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การสัมภาษณ์เก่ยี วกบั สภาพปัจจบุ นั ปัญหาและอปุ สรรคใน การจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบ ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เก่ียวกบั ข้อมูลทวั่ ไป ของผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางที่ 4 แสดงจำนวน และร้อยละ ลักษณะท่ัวไปของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบ จำแนกตามภมู ภิ าค ข้อมลู ท่วั ไป จำนวน (แห่ง) ร้อยละ 1. ภาคกลาง 16 52 2. ภาคตะวนั ออก 3 10 3. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2 6 4. ภาคเหนอื 5 16 5. ภาคตะวันตก 1 3 6. ภาคใต ้ 3 10 7. ไม่ได้ระบ ุ 1 3 รวม 31 100 จากตารางที่ 4 แสดงว่า โรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบบ จำแนกตามภูมิภาค เป็นภาคเหนอื จำนวน 16 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 52 ภาคตะวนั ออก จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 10 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จำนวน 2 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 6 ภาคเหนือ จำนวน 5 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 16 ภาคตะวนั ตก จำนวน 1แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 3 ภาคใต้ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 10 และ ไมไ่ ดร้ ะบุ จำนวน 1 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 3 26 รายงานการวิจยั เพ่อื พัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ตารางที่ 5 แสดงจำนวน และร้อยละ ลักษณะท่ัวไปของโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีน นอกระบบ จำแนกตามปี พ.ศ. ขอ้ มลู ทวั่ ไป จำนวน (แหง่ ) รอ้ ยละ 1. ปี พ.ศ. 2537 1 3 2. ปี พ.ศ. 2542 1 3 3. ปี พ.ศ. 2543 1 3 4. ปี พ.ศ. 2544 1 3 5. ปี พ.ศ. 2545 1 3 6. ปี พ.ศ. 2546 1 3 7. ปี พ.ศ. 2548 2 6 8. ปี พ.ศ. 2549 1 3 9. ปี พ.ศ. 2550 3 10 10. ปี พ.ศ. 2551 3 10 11. ปี พ.ศ. 2552 3 10 12. ปี พ.ศ. 2554 3 10 13. ปี พ.ศ. 2555 1 3 14. ปี พ.ศ. 2556 1 3 15. ปี พ.ศ. 2557 2 6 16. ไม่ระบ ุ 6 19 รวม 31 100 จากตารางท่ี 5 แสดงว่า โรงเรยี นหรือสถาบันสอนภาษาจนี นอระบบ จำแนกตามปี พ.ศ. เป็น ปี พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2556 จำนวนละ 1 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 3 ส่วนปี พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2557 จำนวนละ 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 6 ส่วนปี พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2554 จำนวนละ 3 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 และไม่ระบุปี พ.ศ. จำนวน 6 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 19 รายงานการวิจยั เพอ่ื พัฒนาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 27
ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนนอกระบบ หลกั สูตรในการจดั การเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ตารางที่ 6 แสดงจำนวนและร้อยละข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบด้านหลกั สูตร ด้านหล ักสตู ร จำนวน ร้อยละ (แหง่ ) 1. วันและเวลาท่จี ัดการเรยี นการสอน (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) ทุกวัน เวลากลางวัน 7 23 ทุกวนั เวลาเยน็ 8 26 วนั จนั ทร-์ ศุกร์ เวลากลางวัน 1 3 วนั จนั ทร-์ ศกุ ร์ เวลาเยน็ 9 29 วนั เสาร์-อาทติ ย์ เวลากลางวัน 17 55 วนั เสาร-์ อาทิตย์ เวลาเย็น 3 10 อ่ืนๆ โปรดระบุ ได้แก ่ 7 23 - วนั อังคาร-ศกุ ร์ เวลาเย็น - วันองั คาร-อาทิตย์ เวลาเยน็ - ทกุ วนั ยกเว้นวันศกุ ร์ เวลากลางวนั และเยน็ - ทกุ วนั เสาร์ เวลากลางวนั - วันเสารช์ ่วงเช้า - เวลาตามสะดวก (รายบุคคล) 2. จำนวนช่วั โมงในการจัดการเรยี นการสอนตอ่ สปั ดาห์ 1-3 ชวั่ โมง 18 58 4-6 ชวั่ โมง 10 32 อื่นๆ โปรดระบุ ได้แก่ 3 10 - 12 ช่วั โมง - 40-60 ชวั่ โมง - ตามความสมัครใจของผู้เรยี น 28 รายงานการวิจัยเพอื่ พัฒนาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ตารางท่ี 6 แสดงจำนวนและร้อยละข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบดา้ นหลกั สตู ร (ต่อ) ดา้ นหล ักสตู ร จำนวน รอ้ ยละ (แห่ง) 3. จำนวนช่ัวโมงในการจัดการเรียนการสอนต่อหลกั สตู ร นอ้ ยกวา่ 30 ชัว่ โมง 10 32 มากกวา่ 30 ชัว่ โมง 18 58 อนื่ ๆ โปรดระบุ ไดแ้ ก่ 3 10 - 30 ชวั่ โมง 4. หลกั สูตรภาษาจนี ทเ่ี ปดิ สอนมีหลกั สูตรใดบา้ ง (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) หลักสตู รภาษาจนี ทว่ั ไป ระดบั ตน้ 30 97 หลกั สูตรภาษาจีนทวั่ ไป ระดบั กลาง 22 71 หลักสตู รภาษาจีนทว่ั ไป ระดับสูง 18 58 หลกั สตู รภาษาจีนเฉพาะทาง (โปรดระบ)ุ ไดแ้ ก่ 10 32 - ภาษาจนี กลางสำหรับธรุ กิจ - สนทนาภาษาจนี / สนทนาแบบเร่งรดั ไวยากรณ์จนี - เตรยี มสอบ HSK - สำหรบั ศกึ ษาตอ่ สิงค์โปร ์ อ่ืนๆ โปรดระบุ ไดแ้ ก ่ 3 10 - ภาษาจีนสำหรบั เด็ก - ภาษาจนี ตามระดบั ความรูผ้ ู้เรียน - ภาษาจนี ตามความสนใจของกลุม่ บคุ คล คณะ 5. หลักสูตรภาษาจีนที่เปิดสอนเนน้ ทกั ษะด้านใด (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) การฟัง 2 6 การพดู 2 6 การอา่ น 3 10 การเขียน 1 3 การฟัง-การพดู 0 0 การอา่ น-การเขียน 0 0 การฟัง-การพูด-การอ่าน-การเขียน 30 97 อนื่ ๆ โปรดระบุ 0 0 รายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ 29
จากตารางที่ 6 แสดงว่า สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ ด้านหลักสูตร มรี ายละเอียด ดงั นี ้ วันและเวลาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมากที่สุด คือ วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา กลางวัน รองลงมาเปน็ วันจันทร-์ ศกุ ร์ เวลาเยน็ และทกุ วัน เวลาเย็น ตามลำดบั จำนวนช่ัวโมงในการจัดการเรียนการสอนต่อสัปดาห์มากท่ีสุด คือ ประมาณ 1-3 ช่ัวโมงต่อ สปั ดาห์ รองลงมาประมาณ 4-6 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ และมมี ากกว่าสบิ ชั่วโมงหรอื ตามความสมคั รใจของ ผู้เรียน ตามลำดบั จำนวนช่วั โมงในการจัดการเรียนการสอนตอ่ หลกั สูตรมากทส่ี ดุ คือ มากกว่า 30 ช่ัวโมงขน้ึ ไป รองลงมานอ้ ยกว่า 30 ชวั่ โมง และ 30 ชว่ั โมง ตามลำดบั หลักสูตรที่เปิดสอนมากท่ีสุด คือ ลักสูตรภาษาจีนทั่วไป ระดับต้น รองลงมาเป็นหลักสูตร ภาษาจีนท่ัวไป ระดับกลาง และหลักสูตรภาษาจนี ท่วั ไป ระดบั สงู ตามลำดับ หลักสูตรภาษาจีนทเี่ ปิดสอนเน้นทักษะรวม คือ เนน้ การฟัง การพดู การอ่าน และการเขยี น มากท่ีสุด รองลงมาเน้นทกั ษะการอ่าน การฟงั และการพูด ตามลำดบั สอื่ การสอนในการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ตารางที่ 7 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบด้านสอ่ื การสอน ด้านสื่อก ารสอน จำนวน รอ้ ยละ (แห่ง) 1. สือ่ ที่ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ) ตำราเรียน (Textbook) 31 100 หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-book) 0 0 เวบ็ ไซต์ (Website) 6 19 แอพลเิ คชน่ั (Application) 2 6 แผน่ ซดี ี (CD) วีซีดี (VCD) หรือดวี ีดี (DVD) 22 71 โปสเตอร์ภาษาจีน (Chinese Poster) บตั รคำศพั ท์ (Word Card) 26 84 อื่นๆ โปรดระบ ุ 1 3 - หนังสือนอกเวลาเรยี น / หนังสอื พมิ พ์ 30 รายงานการวจิ ัยเพื่อพฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย การศกึ ษานอกระบบ
ตารางที่ 7 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบด้านสอื่ การสอน (ต่อ) ด้านสื่อก ารสอน จำนวน รอ้ ยละ (แห่ง) 2. ผู้จดั ทำหนงั สือหรอื ส่อื ท่ใี ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) จดั ทำโดยคนไทย 16 52 จดั ทำโดยคนจีน 27 87 อ่ืนๆ โปรดระบ ุ 0 0 3. ประเภทของตัวอักษรจีนท่ีใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ตัวย่อ 18 58 ตวั เตม็ 0 0 ท้ังตวั เตม็ และตัวยอ่ 10 32 ใช้หนงั สอื ตวั ยอ่ แต่สอนให้ร้ตู วั เต็มด้วย 2 6 ใช้หนังสือตัวเตม็ แต่สอนใหร้ ู้ตัวยอ่ ดว้ ย 1 3 4. การถอดเสยี งภาษาจีนใชร้ ะบบใด พินอนิ 29 94 จอู้ ิน 1 3 ถอดเสยี งดว้ ยภาษาไทย 1 3 5. ห้องปฏิบัติการทางภาษาเพ่ือใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ม ี 11 35 ไม่มี 20 65 จากตารางที่ 7 แสดงว่า สภาพปัจจบุ ันของการจดั การเรยี นการสอนภาษาจีนนอกระบบดา้ น สื่อการสอน มรี ายละเอียด ดงั นี ้ ส่ือการสอนที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมากที่สุด คือ ตำราเรียน (Textbook) รองลงมาคือ โปสเตอร์ภาษาจีน (Chinese Poster) บัตรคำศัพท์ (Word Card) และแผ่นซีดี (CD) วีซดี ี (VCD) หรอื ดวี ีดี (DVD) ตามลำดับ ผู้จัดทำหนังสือหรือส่ือท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมากที่สุด คือ ผู้จัดทำโดย คนจีน รองลงมาคอื ผ้จู ดั ทำโดยคนไทย ตามลำดับ รายงานการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาระบบการจดั การเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ 31
ประเภทของตัวอักษรจีนท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนมากที่สุด คือ การใช้อักษร จีนตัวย่อ รองลงมาคือ การใช้ท้ังอักษรจีนตัวเต็มและตัวย่อและการใช้อักษรจีนตัวย่อแต่สอนให้ร ู้ ตัวเต็มดว้ ย ตามลำดบั การถอดเสียงภาษาจีนในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ระบบที่ใช้มากท่ีสุด คือ ระบบ พินอิน รองลงมาคอื ระบบจูอ้ นิ และการถอดเสียงด้วยภาษาไทย ตามลำดบั ห้องปฏิบัติการทางภาษาเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน โรงเรียนหรือสถาบัน สอนภาษาจีนนอกระบบ ส่วนใหญ่ไมม่ หี ้องปฏิบัติการทางภาษา มเี พยี งบางแห่งเท่าน้ันท่ีม ี ผูส้ อนในการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี นอกระบบ ตารางท่ี 8 แสดงจำนวน และร้อยละ ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน นอกระบบด้านผู้สอน ด้านผ ู้สอน จำนวน รอ้ ยละ (คน) 1. สัญชาติ คุณวฒุ ิ และจำนวนของผู้สอนภาษาจนี (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) 1.1 ผู้สอนสญั ชาติไทย ผู้สอนสัญชาตไิ ทย ประกาศนียบตั รทางดา้ นภาษาจีน 13 42 ผู้สอนสญั ชาตไิ ทย วุฒิการศกึ ษาทางด้านภาษาจีนระดับปริญญาตรี 28 90 ผสู้ อนสญั ชาติไทย วุฒกิ ารศึกษาทางด้านภาษาจนี ระดับปริญญาโท 5 16 ผู้สอนสัญชาตไิ ทย วุฒิการศึกษาทางดา้ นภาษาจนี ระดบั ปรญิ ญาเอก 1 3 1.2 ผสู้ อนสัญชาติจีน ผสู้ อนสญั ชาติจนี ประกาศนียบตั รทางดา้ นภาษาจีน 21 68 ผสู้ อนสัญชาติจีน วุฒิการศึกษาทางดา้ นภาษาจนี ระดับปรญิ ญาตรี 30 97 ผูส้ อนสญั ชาติจนี วุฒิการศกึ ษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปรญิ ญาโท 8 26 ผสู้ อนสัญชาติจนี วฒุ ิการศกึ ษาทางด้านภาษาจนี ระดับปรญิ ญาเอก 0 0 1.3 ผสู้ อนสญั ชาตอิ น่ื (เชน่ ไตห้ วนั สิงคโปร์ มาเลเซยี เป็นตน้ ) ผู้สอนสญั ชาติ สิงคโปร์ / มาเลเซยี มีประกาศนยี บตั รทางด้านภาษาจนี 3 10 ไม่มมี ีประกาศนียบตั รทางด้านภาษาจีน 0 0 ผู้สอนสญั ชาติ (ระบุสญั ชาต)ิ มวี ุฒกิ ารศกึ ษาทางด้านภาษาจีนระดบั ปริญญาตร ี 0 0 ไม่มวี ุฒิการศกึ ษาทางด้านภาษาจนี ระดบั ปริญญาตรี 0 0 32 รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย การศึกษานอกระบบ
Search