Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore lessonlearnbook2020

lessonlearnbook2020

Published by POPeye Touch, 2021-01-21 07:11:53

Description: lessonlearnbook2020

Search

Read the Text Version

ผ่าตัดและมาส์ก ฉันได้แต่ราพันกับตัวเองว่า ทาไม ทาไมและทาไมต้องคืนน้ี ทาไมต้องเป็นเวรของฉัน ซึ่งอีก ไม่กีช่ ่วั โมงเทา่ นั้นก็จะเปล่ยี นเวรแล้ว ทาไมกัน!!! เวลา 01.00 น. ทุกอย่างถูกเตรียมพร้อม ทีมผ่าตัดพร้อม ทีมวิสัญญีพร้อม แต่มีสิ่งหนึ่งท่ีฉันรู้ดีว่ายัง ไม่พร้อม น่ันคือสภาพจิตใจของฉันตอนนี้ แม้จะได้แอบน่ังพักกาย หาอะไรทานรองท้อง เข้าห้องน้า ล้างหน้า เพ่ือให้ร่างกายสดชื่น ทาทุกสิ่งท่ีจะขับไล่ความเหนื่อยล้า แล้วก็ตาม ฉันยังไม่ม่ันใจในตัวเองว่า คืนนี้ฉันจะเอา เร่ยี วแรงที่ไหนสจู้ นจบงานนี้ น่ฉี นั ยังเหน่ือยไม่พออีกหรือ ไม่นานนัก ดาริน เด็กหญิงวัยส่ีปี ตัวเหลือง ตาโปน ท้องโต ที่ไม่ว่าจะมองน้องในมุมใด ก็รับรู้ถึง ความผิดปกติ เม่ือเทียบกับเด็กในวัยเดียวกัน แต่สีหน้าเด็กน้อยมีความสุข ภายในอ้อมกอดอุ่นของหญิงผู้เป็น แม่ของเขา เด็กท่ีดูไร้เดียงสา ไม่รู้แม้แต่ชะตากรรมของตัวเองในค่าคืนน้ี ยังคงหัวเราะ หยอกล้อกับหญิงผู้เป็น แม่ที่สีหน้าและ “รอยยิ้ม” ก็ดูมีความสุขไม่ต่างกัน ทุกอย่างดูปกติที่พบเห็นได้ทั่วไป เพียงแต่คืนน้ีฉันแอบ สังเกตเหน็ ผเู้ ปน็ แม่กอดลูกนอ้ ยไวแ้ นน่ ช่วงเวลาส่งมอบลูก อันเป็นแก้วตาดวงใจ สู่อ้อมอกของวิสัญญีแพทย์ มักจะเป็นเร่ืองปกติสาหรับฉัน แต่ครั้งน้ีมันไม่เหมือนทุกคร้ังที่ผ่านมา “รอยยิ้ม” นั้นหากมองบนใบหน้าดี ๆ แล้ว เป็นรอยยิ้มที่ที่เจือด้วย ความเศรา้ ความหวงั พร้อม ๆ กับน้าตาท่ีร้ืนข้ึนมาคลอเบ้า ฉันสัมผัสได้ถึงความเข้มแข็ง และความออ่ นแอใน เวลาเดียวกันเสมอื นวา่ โลกน้ีแทบจะพังทลายลง และรับรู้ว่าเป็นส่ิงทแี่ ม่ของเด็กนอ้ ยทาไม่ได้ แสดงออกไดเ้ พียง รอยยม้ิ ..ย้ิมท่ีมีใหก้ บั บุคคลอนั เปน็ ที่รกั พร้อมปลอบโยนและให้กาลังใจ โดยซ่อนความกงั วลใจไวภ้ ายใน หลังจากหันหลังให้ลูกน้อยแล้ว ใบหน้าท่ีเปี่ยมไปด้วยรอยยิ้มก่อนหน้าน้ัน กลับมีน้าตาไหลอาบ แก้มท้ังสองข้าง หยดลงบนชุดคลุมสีเขียวของห้องผ่าตัด ใบหน้าเริ่มแดง ริมฝีปากส่ัน ก่อนเดินออกจากห้อง ผ่าตดั ไป เพียงช่วงเวลาไม่กี่นาทแี ต่ภาพท่ีปรากฏตรงหน้าฉันในชว่ งเวลาน้ัน ทาให้ฉันรู้สึกอึ้ง เหมือนถกู ช็อตไป ทั้งตัว ความรสู้ ึกเหมือนโดนมีดผ่าตัด ปักลงบนหัวใจ รอยย้ิมเช่นน้ีเป็นรอยย้ิมที่ฉันไม่ได้พบเห็นบ่อยนักในชีวิต น้ีของฉัน และก็ยังเป็นรอยย้ิมทีท่ าให้ฉนั ลืมความเหน็ดเหน่ือยท่ีผ่านมาจนหมดสิ้น รอยยิ้มท่ีลบเลือนคาถามที่ มีในหัวของฉันว่าทาไมต้องเปนนเวรของฉัน ตอนน้ีในหัวของฉันถูกแทนท่ีด้วยความอิ่มเอมหัวใจ และพร้อมสู้ ให้กับงานในความรับผิดชอบ พร้อมสู้ไปกับทีมผ่าตัด และสุดท้ายพร้อมสู้ไปกับคุณแม่เพื่อลูกน้อยได้รับการ ผ่าตัดอย่างปลอดภยั ในค่าคืนทยี่ าวนานนี้ ความปรารถนาของฉันในตอนนี้ไม่ได้เปน็ การขอให้เคสเสร็จเร็วอีกแล้ว แต่กลับภาวนาให้หนนู ้อยท่ีพ่ึง ลืมตาดูโลกมาได้ส่ีปี ได้อยู่สร้างร้อยย้ิมและความสุขกับแม่ของเธอให้นานข้ึน ตอนนี้งานจะหนักหรือยาก เพียงใด คงไม่มผี ลกบั ฉนั อีกต่อไปแล้วสาหรับคา่ คืนน้ี “มีดครบั ” !!! สัญญาณการเร่ิมผ่าตัดดังข้ึนจากแพทย์ ภาพในห้องผ่าตัด เปิดหน้าท้อง ตัดตับเก่าออก นาตับจากผู้ บริจาค ใส่ทดแทนเข้าไปในท้องของเด็กน้อย ส่งเคร่ืองมือตัดต่อและเย็บเส้นเลือด แต่ละคนในทีมต่างแสดง บทบาทของตนเองได้อย่างไม่รจู้ ักเหน็ดเหนื่อย ทุกคนต่างจดจ่อและมุ่งมั่นกับงานตรงหน้า และยังคงทาหน้าท่ี ของตนเองอย่างดที ี่สุด... หน้า 44 ของ 99 หน้า

ไหมเย็บแผลปมสุดท้ายไดถ้ ูกตัด ฉันแหงนมองนาฬิกาทีล่ ่วงเลยมาถึง 8 ชั่วโมงแล้ว โคมไฟผา่ ตัดกาลัง จะถูกปิดลงจริง ๆ เสียที หากแต่ครั้งนี้มันไม่ได้ถูกปิดลงจากความปรารถนาท่ีฉันจะได้พักผ่อน แต่เป็นความ ปรารถนาท่ีฉันจะได้เห็น “รอยยิ้ม” ของเด็กน้อยและแม่ของเขา รอยย้ิมท่ีปราศจากความกังวลใจใด ๆ และมี ความสขุ อยา่ งแทจ้ รงิ “ญาตนิ ้องดารินครบั ” สิ้นเสียงเจ้าหน้าท่ีเรียกญาติเพ่ือส่งผู้ป่วยกลับไปยังหอผู้ป่วยวิกฤต ฉันได้พบกับใบหน้าของหญิงผู้เป็น แม่อีกคร้ัง ท่ีใบหน้าย้ิมแย้มสดชื่นข้ึน แววตาที่ไม่หม่นหมองเท่าเม่ือคืนน้ี และรับรู้ถึงความโล่งใจท่ีลูกน้อย ปลอดภัย แมข่ องเดก็ น้อยรีบผละจากเกา้ อีน้ ่ังรอหน้าห้องผา่ ตดั ปร่ีเขา้ มาดู เดก็ น้อย ดาริน หลงั การผ่าตัดเสร็จ สน้ิ ไปดว้ ยดี รอยย้ิม ที่ใคร ๆ ต่างบอกว่าเกิดจากพลังแห่งความสุข แต่รอยย้ิมในวันน้ี มันมีพลังมากกว่าความสุข เปน็ รอยย้ิมท่ีเป็นพลังแห่งความปรารถนาดีและเป็นรอยย้มิ ที่เป่ยี มไปดว้ ยความหวังของผู้เป็นแมท่ ่ีมีต่อลูก เปนน พลงั ให้ฉันได้ทางานในหน้าท่ีต่อไปได้โดยปราศจากความเหน็ดเหนื่อย เปนน พลงั ทค่ี อยเตอื นใจในการทางาน และกระตุ้นจิตวญิ ญาณพยาบาลห้องผา่ ตดั ของฉันข้ึนมาอกี คร้ัง “ฮัลโหลลูก....เมอ่ื คืนอยู่เวรเปน็ ยงั ไงบา้ ง” เสียงแม่ฉันเอง ทา่ นจะโทรมาทุกคร้ังในช่วงเวลาทฉี่ ันลงเวร ฉันเห็นภาพใบหน้าของแม่..ทป่ี รากฏ รอยยม้ิ ในแบบทีฉ่ ันปรารถนา ฉันอมยิม้ อยา่ งมีความสขุ .... .....แปลกจัง เสียงแมก่ ลายเป็นภาพในหวั ของฉนั ได้อย่างไร. ผ้วู ิพากษ์ 1. รศ. ดร.พรรณวดี พธุ วฒั นะ อดีตทป่ี รกึ ษาโรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี หลาย ๆ คนคงรอคอยว่าคราวน้ีเราจะหล่ังน้าตากันอีกหรือไม่ แต่ไม่ใช่ค่ะ ครั้งน้ีเรามีรอยย้ิมกัน รอยยมิ้ ในวันนเี้ ปนน รอยยิม้ ของความสขุ ความมีพลัง ผเู้ ขยี นสามารถจะพาเราเข้าไปถึงในห้องผ่าตัด ได้เห็นทุก นาที เวลาผ่านไป 8 ชั่วโมงในห้องผ่าตัดกอ่ นหน้าน้ันเลก็ น้อยแล้วก็ตอนจบ แต่มันทาให้พวกเราได้ติดตามเข้า ไปถึงในหวั ใจของเขา หนา้ 45 ของ 99 หน้า

ผู้เขียนให้ช่ือเร่ืองว่ารอยย้ิม ซึ่งเราก็รู้สึกเห็นด้วยเลย เพราะมันเป็นส่ิงท่ีได้เพ่ิมพลังของตัวเองแล้วก็ เม่ือเขาได้เล่ามา แสดงถึงการเปลี่ยนของอารมณ์ของเขาแล้วก็ทาให้เขามีกาลังใจ ในเร่ืองนี้ก็เป็นเร่ืองที่ พวกเราทีมกรรมการมคี วามเห็นพอ้ งตอ้ งกัน วา่ ไดส้ ามารถเรยี บเรยี งถา่ ยทอดเล่าเรอ่ื งของการทางานท่ีมีมุมดี ๆ เกิดข้นึ ได้ แลว้ ก็สร้างพลังกบั ตนเอง และกส็ ามารถเขียนแล้วกท็ าให้ผู้ฟังเกิดพลังไปดว้ ย หลายคนคงรู้สึกเช่นเดียวกันเพราะฉะนั้นเรื่องน้ีจึงถูกคัดเลือกมาด้วยความเห็นพ้องต้องกันของ กรรมการ ณ วนั น้ีก็คงมีความร้สู ึกเชน่ เดียวกัน 2. รศ. พญ.จรยิ า ไวศยารทั ธ์ รองหัวหนา้ ภาควชิ าพยาธวิ ิทยา รอยย้ิม อาจารย์ได้พูดถึงภาพรวมของอารมณ์ความรู้สึก พบว่าจากวีดีทศั น์เป็นเสียงผู้ชาย สถานที่คือ ภายในห้องผ่าตัดและเป็นทีมงานใหญ่ ซ่ึงไม่รู้ว่าผู้เขียนเป็นฟันเฟืองตัวไหน แต่ตอนนี้รู้อย่างหน่ึงว่าเขาเปนน นักเขียนได้ด้วย เพราะว่าถ้าเปดิ เร่ืองขนึ้ มา เขาใช้คาพูดคาแรกก็คือ “แอบยิ้มว่าจะลงเวร” ซ่ึงเป็นความรู้สึก ของบุคลากรในคณะฯ เป็นทุกคนว่าเด๋ียวฉันจะกลับบ้าน เด๋ียวฉันจะนอน แล้วก็เหมือนระเบิดลง เมื่อมีเสียง โทรศพั ท์เขา้ มาว่ามเี คส จึงรูส้ ึกว่าเขาเปดิ เรือ่ งได้ดี ระหวา่ งที่อา่ นสงสัยวา่ ทาอาชพี และตาแหน่งอะไร ดังท่ีกล่าวข้างตน้ เขาสามารถเป็นนักเขียนได้ สรา้ ง และจุดประกายให้กับคนอ่าน อยากอ่านต่อ ผูกเร่ืองได้ดี เพราะว่าหากเราตามอ่านไปเร่ือย ๆ แล้วแบ่งกลุ่ม รอยยิ้มท่ี 1 รอยย้ิมท่ี 2 เป็นของคุณแม่ของคนไข้ เป็นรอยย้ิมที่สร้างความขัดแย้งในตัวเองนะ เนื่องจากเป็น รอยย้ิมทีแ่ บบทาความอบอนุ่ ใหน้ อ้ งดารินกอดกัน ทาให้ผู้เขยี นมองไปแลว้ รวู้ ่าถงึ แม้นอ้ งดารินจะปว่ ยหนกั มอง ไปไม่ต้องเรียนแพทย์ก็รู้แล้วว่าน้องป่วยมีความแบบภาษาอังกฤษเค้าเรียกว่า phenotype ออกมาให้เห็น คือ มองเห็นก็คือไม่สบาย เสร็จแล้วคุณแม่ก็กอดลูกก็เล่นกันยิ้มหัวเราะ ทาใหล้ ูกผ่อนคลายสบายใจ แล้วก็เข้าห้อง ผา่ ตัด เสรจ็ แล้วรอยย้ิมที่ 2 ของแม่ หันหลงั กลับมาเป็นรอยย้ิมทปี่ นน้าตา อ่านไปนา้ ตาคนอ่านกเ็ ริ่มจะออก เหมอื นกัน ร้สู ึกวา่ เปน็ ห่วง หน้า 46 ของ 99 หน้า

เสร็จแลว้ รอยย้ิมของผู้เขียนก็เปนนรอยย้ิมที่สาคญั อา่ นมาถึงกลางเร่อื งยงั ไมม่ รี อยยมิ้ ของผู้เขยี นตอน เปดิ เร่ืองมีแค่อมย้ิม เพราะว่าจะได้ลงเวร ถึงกลางเรอื่ งก็ยงั ไมม่ ีรอยยม้ิ เพราะวา่ ตอ้ งทางานหนักต่อไป บางเคส ได้ยินว่าผ่าตดั กันแบบหามรงุ่ หามค่า เราไม่ได้เห็นรอยย้ิมของผู้เขียนแต่เราเห็นพัฒนาการทางความคิดของผู้เขียน เพราะผู้เขียนเล่าให้ เกิดเป็นพลังว่าเขาสัมผัสได้จากรอยยิ้มของแม่ของหนูน้อยดารินท่ีผู้เขียนเปิดเรื่องไว้ เสร็จแล้วก็บอกว่า ทาให้ เกิดความเข้าใจของรอยยิ้มของแม่แล้วว่า ถึงแม้ว่าจะมีความกังวลแต่ว่ากับลูก แม่ต้องให้ความมั่นใจความ อบอุน่ แกล่ ูกเสมอ ผู้เขียนมาถึงตอนจบที่ว่าคุณหมอบอกว่าปิดเคสเย็บไหมปมสุดท้ายว่า ผู้เขียนเริ่มมีรอยย้ิมแล้วก็เร่ิม เข้าใจว่ารอยย้ิมของแม่เขามีไว้เพ่ืออะไร แล้วก็เขาก็เข้าใจตัวเองด้วยเขาเขียนเป็นคู่ขนานไปเลยว่าตอนน้ีก็ เขา้ ใจแลว้ ว่าทาไมมันต้องเป็นเราดว้ ย ทีจ่ ะได้ออกจากเวรแต่ไมไ่ ด้ออก ต้องทางานตอ่ ไป สรุป เรื่องไดด้ ีด้วย เสียงสายเข้าจากโทรศัพท์ เป็นเสยี งแมข่ องผูเ้ ขียน แมถ่ ามลูกวา่ เป็นยังไงลูก เพียง ได้ยินเสียง เขาก็เห็นรอยยิ้มแม่ เขาก็ใช้สัญลักษณ์ตลอดเลย ตอนน้ีมันเป็นความสุขของเร่ืองเป็นตอนจบที่ไม่ ตอ้ งอธิบาย รอยย้ิมของแมก่ ็เป็นที่สดุ ของทุกคน เปน็ บทสรปุ เปน็ ตอนจบเรือ่ งได้อยา่ งดี การสรุปตคี วามโดยทีมถอดบทเรียน การเขียนผลงานเร่ืองเล่าเร้าพลังเรื่องรอยยิ้ม เป็นผลงานท่ีสามารถจะนาพาให้ผู้อ่านสามารถมี ความรู้สึกร่วมไปกับผู้เขียน ได้เห็นบรรยากาศในการทางาน และสร้างกาลังใจในการทางานให้แก่ผู้อ่าน ผ่าน การใช้สัญลักษณ์ของ รอยยิ้ม ในรูปแบบที่แตกต่างกัน ผ่านการผูกเน้ือเร่ืองให้น่าติดตาม แสดงถึงการ ปรับเปลี่ยนทศั นคติของตัวผ้เู ขยี นให้สามารถมีความสขุ ไปกบั การทางานได้ และสรปุ เนื้อเรอ่ื งได้ดี บทเรยี นทไ่ี ดร้ ับ /ปัจจัยแห่งความสาเรจ็ /ข้อเสนอแนะ 1. งานเขยี นเรอื่ งเลา้ เร้าพลังท่ดี ี ต้องมกี ารเปิดเนื้อเรอื่ ง เล่าลาดบั เหตกุ ารณ์ และสรุปจบไดอ้ ยา่ งดี 2. เน้ือเร่ืองจะสามารถมองเห็นภาพได้ชัดขึ้นหากมีการใชส้ ัญลักษณ์ในการเล่าเรื่องที่เข้าใจง่าย และมีอยู่ ในชีวิตประจาวนั 3. มกี ารใช้เทคนคิ การเลน่ คาซ้า แต่แสดงอารมณท์ ่แี ตกตา่ งกันออกไปในเน้ือเร่ือง 4. ผู้เขียนควรเพ่ิมบทบาทในการทางานให้ชัดเจนขึ้นมากกว่าเดิม เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงหน้าท่ีในการทา ของผเู้ ขียนเพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจตัวละครมากขน้ึ ผถู้ อดบทเรยี น คุณศราวธุ อนุ่ กาศ งานการพยาบาลหอ้ งผ่าตดั และวิกฤต ตรวจสอบฝ่ายการพยาบาลศูนยภ์ ารแพทยส์ ิริกติ ์ิ หน้า 47 ของ 99 หน้า

ชื่อเรือ่ ง เสียงสดุ ท้ายของหัวใจท่ไี ม่กลา้ เอ้ือนเอย่ วันที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา 11:00 - 12:00 น หอ้ งประชุม หอ้ ง 910 ชัน้ 9 อาคารเรียนและปฏิบตั ิการรวม ดา้ นการแพทย์และโรงเรียน พยาบาลรามาธบิ ดี ผู้นาเสนอผลงาน คณุ พลอยไพลิน ทวินันท์ รูปแบบการนาเสนอ VDO Clip เสียงกดเกมเครื่องเล่นเกมเกมหน่ึงดังลอดออกมาถึงหน้าห้องแยกของผู้ป่วย หน้าบานประตูมีป้ายสี ชมพูแขวนไว้ระบุว่าเป็นโซนผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่า แนะนาให้ผู้เข้าเยี่ยมสวมหน้ากากอนามัยและล้างมือบ่อย ๆ ก่อนเข้าเย่ียมทุกครั้ง เพ่ือลดโอกาสการแพร่กระจายเช้ือสู่ตัวผู้ป่วย ภายในห้องท่ีไม่กว้างและไม่แคบน้ัน มี เด็กชายตวั นอ้ ยน่งั เล่นเกมอย่างไร้เดยี งสาอยู่ในมมุ แห่งหนงึ่ ของหอ้ ง ขณะทีม่ ีกลุ่มผู้ใหญ่นั่งและยืนรายลอ้ มรอบ เตยี งท่ตี ง้ั อยู่กลางหอ้ ง หน่ึงในน้ันมีชายวัยกลางคนน่งั ก้มหน้ากมุ มือร่างรา่ งหน่ึงแนบแก้มของตนเองไว้ ขณะท่ีผู้ ซึ่งนอนเกือบไม่ได้สติอยู่บนเตียงท่ีจัดท่าศีรษะกึ่งสูงน้ัน เป็นร่างของเด็กชายท่ีเพิ่งเริ่มเข้าสู่วัยหนุ่ม ใบหน้าท่ีดู หล่อเหลาแต่กลับซีดเซียวไร้สีเลือดฝาด สายตาเหม่อลอยอ่อนล้า ริมฝีปากแห้งผาก อ้าปากเผยอ หายใจฮุบ อากาศเบา ๆ ตามจังหวะของการสดู ลมหายใจเขา้ ในแตล่ ะทว่ งที น้องปลื้ม เป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งชนิดหน่ึง ปีนี้น้องปลื้มอายุเข้าสู่วัย 18 ปีได้ไม่นาน หากเป็นชีวิตเด็ก หนุม่ วยั รุน่ ทวั่ ๆ ไปคงมีโอกาสไดท้ าอะไรมากมาย ได้เล่นเกม ไดเ้ ล่นกีฬา มีเพื่อนฝงู ไดห้ ัวเราะ ได้จับกล่มุ หรือ ได้ทาอะไรต่าง ๆ หลากหลายกันตามประสา ช่างแตกต่างจากน้องในตอนน้ี คุณพ่อของน้องปลื้มเล่าให้ฟังว่า อาการแรกเร่ิมของนอ้ งคือมีไขส้ ูง ไปโรงพยาบาลเรื่อย ๆ มาจนในที่สดุ ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเม็ดเลือด ขาว นาทีน้ันหัวใจของคนเป็นพ่อฟังแล้วแทบขาดใจ หากแลกกันได้พ่อจะขอเป็นฝ่ายรับเอาตัวโรคร้าย ๆ นี้ไว้ เองเสียดกี ว่า เดก็ หนุ่มคนน้ีอาศัยอยกู่ ับคุณพ่อ นอ้ งชายตวั เลก็ คณุ ย่า คุณลุงและคุณป้า เป็นครอบครวั ใหญ่ท่ีดู อบอุ่น ขณะที่คุณแม่แยกทางกับพ่อตั้งแต่น้องยังเด็ก แม้ว่าจะไม่มีคุณแม่ แต่ทุก ๆ คนในครอบครัวล้วนต่าง พยายามเติมเต็มให้น้องท่ีสุด เพื่อหวังให้น้องไม่รู้สึกเดียวดาย น้องปลื้มจึงเติบโตมาจากเด็กชายตัวเล็กสู่เด็ก หนุ่มท่เี ข้มแขง็ อดทน สภุ าพและอ่อนโยน ดูเป็นผใู้ หญม่ ากกว่าเด็กในช่วงวัยเดยี วกัน เคราะห์ซ้ากรรมซัด ตัวโรคท่ีดูเหมือนจะสงบในช่วงพักหนึ่งได้กลับมามีอาการอีกครั้ง แม้ว่าจะเคยมา รบั การรักษาดว้ ยการให้ยาเคมีบาบัดอยู่เปน็ ระยะก็ตาม แต่ในคร้งั น้ีเหมือนจะรนุ แรงกว่าทกุ ๆ ที การดาเนนิ ของโรคครั้งนร้ี ุนแรงและรวดเร็ว จนในที่สดุ ทางแพทยไ์ ดแ้ จ้งครอบครัวว่า รา่ งกายของน้อง ไม่ตอบสนองต่อยาแล้ว น้องปลื้มเริ่มรับยาเคมีบาบัดไม่ไหว จากเด็กหนุ่มที่แม้ว่าจะนอนอยู่บนเตียงอย่าง เพลยี ๆ แต่ยังคงพูดคุยได้เก่ง น่ารัก และอบอุ่น เป็นเด็กท่ีสามารถใหก้ าลังใจใครต่อใครได้เสมอ ตามผิวท้ังแขน และขา ผ่านการให้ยาเคมีบาบัดมาหลายต่อหลายครั้งจนเส้นเลือดจางหาย หาเปิดเส้นและเจาะเลือดได้ยาก แต่น้องไม่เคยบ่นเลยสักคร้ัง \"ไม่เป็นไรครับ พ่ีพยาบาลเจาะไปเลย ผมทนได้ เส้นผมหายากอย่างน้ีอยู่แล้ว หน้า 48 ของ 99 หน้า

ครับ\" จึงเป็นท่ีรกู้ ันว่าให้ช่วยกันรักษาเสน้ ให้ยาให้เป็นอย่างดี และเม่ือใดกต็ ามหากเส้นให้ยาเสียหรือต้องเจาะ เลือดขึ้นมานั้น เราจะรู้กนั วา่ ใหส้ ง่ มือหนงึ่ ไปจดั การดที ีส่ ดุ ไม่ต้องลองแทง ไม่ตอ้ งทนฝนื ให้ทรมาน ในตอนน้ีเด็กหนุ่มผู้เคยร่าเริงสดใสดูเพลียมากขึ้นกว่าทุกวัน หายใจหอบเหนื่อยง่ายข้ึน มีการใช้ กล้ามเน้ือท้ังอกและท้องช่วยในการหายใจ หน้ากากออกซิเจนที่ใส่ช่วยบรรเทาอาการเหนื่อย เริ่มถูกหยิบเข้า หยิบออกด้วยความร้สู กึ อึดอดั ไม่สุขสบายกาย ถาดอาหารท่ีวางอย่ขู า้ งเตยี งนัน้ ไม่พรอ่ งเลยแม้แต่น้อย น้องปลื้ม เริ่มรับประทานอาหารไม่ได้แล้ว ในท่ีสุดการเจ็บป่วยของน้องเร่ิมเข้าสู่กระบวนการรักษาแบบประคับประคองโดยเป็นที่ยอมรับของ ครอบครัว อาการเหนือ่ ยหอบถูกบรรเทาดว้ ยการใหย้ าบรรเทาอาการเปน็ ครง้ั ๆ แตม่ บี างคร้ัง หรอื หลายครง้ั ที่ ญาติขอปฏิเสธการให้ยา แม้ว่าผู้ป่วยจะหายใจเหน่ือยหอบแรงมากจนตัวโยนก็ตาม เหตุผลเพียงเพราะกลัวว่า ยานั้นจะทาให้น้องปล้ืมหลับไปตลอดกาล แพทย์และพยาบาลได้เข้าไปสอบถาม รับฟัง และให้ข้อมูลอยู่เป็น ระยะ จนญาตเิ ขา้ ใจแนวทางการรกั ษาแบบประคบั ประคองมากขึ้น เด็กหนุ่มที่แม้จะเหน่ือยล้า แต่พยายามฝืนทน ในช่วงที่ยังมีแรงมากกว่านี้น้องปล้ืมเคยพูดเปรยว่า อยากเจอแม่อีกสักคร้ัง แต่ไม่กล้าบอกพ่อและคนอ่ืน ๆ เพราะกลัวเสียใจ น้องยอมรับและเข้าใจการท่ีพ่อและ แม่หย่าร้างแยกทางกันไป ทุกคนล้วนต่างมีเหตุผล น้องไม่ได้โกรธหรือโทษใคร แต่แค่ \"ผมอยากเจอแม่เป็น ครง้ั สดุ ท้าย\" นนั่ คือคาพดู จากปากดว้ ยนา้ เสียงสน่ั เครือท่เี อ่ยข้ึนกับพยาบาล ณ กลางดกึ คืนหนงึ่ หนา้ 49 ของ 99 หน้า

หากเปนนเร่ืองส่วนตัวและอาจมีผลกระทบต่อจิตใจของครอบครัว จะเปนนเร่ืองที่เราสามารถเข้าไป ยุ่งไดจ้ ริงหรือ นาทีนน้ั เราสามารถทาอะไรได้บ้าง และในคืนนั้น อาการของน้องปล้ืมทรุดลงมากขึ้น พยาบาลจึงขออนุญาตติดต่อทั้งคุณพ่อและคุณแม่ ของน้องเพ่อื แจง้ ให้ทราบอาการล่าสุด และเพือ่ ใหค้ วามหวงั คร้ังสดุ ทา้ ยของน้องปล้ืมเปน็ จรงิ เช้าวันน้ันขณะที่ฟ้ายังไม่สาง รายรอบเตียงของน้องปลื้มเต็มไปด้วยญาติผู้ใหญ่และน้องเล็กท่ีกาลัง น่ังเล่นเกมอย่างไม่รู้ประสีประสาอยู่บนเก้าอ้ีมุมห้อง ข้างเตียงมีชายวัยกลางคนนั่งก้มหน้าจับมือของน้อง ประคองแนบใบหน้า น้าตาไหลหยดลงร่องน้ิวเรียวยาวจนเปียกชุ่มท้ังท่ีพยายามกล้ันสะอื้นไว้เพียงใดก็ตาม น้องปล้ืมนอนอยู่บนเตียง ลมหายใจน้ันช่างรวยริน สายตาเหม่อลอยเริ่มไม่รู้สึกตัว ทันใดน้ันเองได้มีหญิงวัย กลางคน ใบหน้างดงามแต่ขอบตาบอบช้า เต็มไปด้วยคราบน้าตาเดินเข้ามาภายในห้อง โอบกอดน้อง และเอ่ย พูดด้วยเสียงสั่นเทา \"แม่ขอโทษลูก แม่มาแล้ว หนูขานตอบแม่หน่อยนะ แม่ขอโทษ แม่รักลูกนะ\" สายตา ของน้องปลื้มตอบรับสบตาแม่ พยายามพูดตอบเธอด้วยน้าเสียงอันแผ่วเบา \"ปล้ืมรักแม่นะ ขอบคุณท่ีมาหา แม่อย่าเสียใจไปเลย แมจ่ า๋ แม่ร้องเพลงใหป้ ลม้ื ฟงั เหมือนตอนปลื้มเด็ก ๆ อกี คร้ังไดไ้ หม\" เสียงเพลงท่ีเริ่มขึ้นคลอไปด้วยเสียงสะอื้นของผู้ขบั ร้อง ขณะที่ผ้เู ฝ้ารอฟังค่อย ๆ หลับตาลงอย่างช้า ๆ ลมหายใจค่อย ๆ แผ่วเบาลง จนในที่สุดทรวงอกไร้ซึ่งการเคล่ือนไหว ไร้เสียงลมหายใจ ไร้เสียงการเต้นของ หัวใจ และแพทยไ์ ด้ลงความเหน็ วา่ เวลานน้ี อ้ งปลื้มได้ถงึ แก่กรรมแลว้ ทราบภายหลังว่าคุณแม่ของน้อง หลังเลิกกับคุณพ่อไปแล้วได้ทางานต่างจังหวัด มีรายได้ไม่ค่อยดีนัก จงึ ไม่กลา้ ติดต่อกลับมาหาที่บ้านนี้ หลังจากท่ีเธอได้ทราบอาการของน้องจึงรีบเดินทางทันทีท่ีวางสายโทรศัพท์ และเพ่ิงถึงโรงพยาบาลเม่ือไม่นานนี้ พอทันได้คุยกับน้องปลื้มก่อนถึงช่วงเวลาสุดท้าย ครอบครัวของน้องปลื้ม และคณุ แม่เขา้ ใจกนั ดี ทกุ คนร่วมกันพาร่างของหนุ่มนอ้ ยผเู้ ข้มแขง็ กลบั ไปประกอบพธิ ีทางศาสนาตอ่ ไป ณ ช่วงเวลาก่อนท่ีจะย้ายร่างของน้องปล้ืมไปสู่ห้องสุดท้ายนั้น คุณพ่อและคุณแม่ของน้องปลื้มหันมา กล่าวขอบคุณแพทย์และพยาบาลด้วยคาพูดส้ัน ๆ แต่สายตาคู่นั้นเรารับรู้ตรงกันว่าพวกเราทุกคนล้วนรู้สึกไม่ ต่างกัน แม้ว่าจะเป็นความรู้สึกท่ีบีบค้ันหัวใจเพียงใด แต่อย่างน้อยนาทีสุดท้ายท่ีแสนมีค่าน้ัน ช่างโชคดี เหลือเกินที่พวกเขาได้มโี อกาสกลบั มาพบกนั อกี คร้ัง ถงึ แม้จะเป็นเพยี งช่วงระยะเวลาอันแสนส้ัน หวังว่าเดก็ ชาย ทีอ่ บอุน่ อ่อนโยนและเข้มแขง็ ผู้นค้ี งไดม้ คี วามสุขดัง่ ทเ่ี ฝา้ รอคอยก่อนจากลาลบั ไปตลอดกาล...'ลากอ่ น' หน้า 50 ของ 99 หน้า

การสรุปตีความโดยทีมถอดบทเรียน 1. รศ. ดร.พรรณวดี พธุ วัฒนะ อดีตทปี่ รึกษาโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี ผลงานน้ีเปน็ การเขียนที่สะท้อนชีวติ ของเป็นอย่างมาก “จรงิ ๆ ความเศรา้ ความเสยี ใจในชีวิตคนท่ี จะชดั เจนก็คอื ชว่ งสุดทา้ ยของชีวิต” ในเรือ่ งนี้ผู้ที่จากไปกม็ ีเร่อื งราวอยู่ในใจ เป็นคนน่ารักแต่กเ็ จบ็ ปว่ ย และมี เร่ืองราวในใจท่ีไม่กล้าท่ีจะเอ้ือนเอ่ยออกมา ผู้เขียนสามารถที่จะสะท้อนอารมณ์ตรงน้ีได้เป็นอย่างดี ทาให้เรา สามารถมองเห็นภาพและจินตนาการตามได้ และไดเ้ ห็นการจากไปโดยที่เราสามารถทาบางสงิ่ บางอยา่ งให้แก่ผู้ ท่ีจะจากไปได้มีความสุข เป็นการกระทาท่ียิ่งใหญ่ ท่ีทาให้จากไปได้อย่างสงบ และมีความสุข จะเห็นว่าการ บรรยายเร่ืองน้ี ผู้ท่ีดูแลซึ่งก็คือพยาบาลได้กระทาบางสิ่งบางอย่างให้แก่ผู้ป่วย ขณะท่ีผู้ป่วยเองก็ได้ทาบางสิ่ง บางอย่างให้แก่ผู้ท่ียังคงอยู่ ได้แก่ครอบครัวก่อนตนจะจากไป นั่นคือการให้คุณแม่ได้กลับมาและสามารถ เผชิญหน้ากบั ครอบครัวได้อกี คร้งั ชื่อเร่ืองกระทบใจพวกเรา สะท้อนถึงสิ่งที่ผู้ท่ีจะจากไปต้องการแต่ไม่กล้าเอ่ยออกมา การบรรยายถึง ตัวผู้ป่วยเอง การบรรยายถึงนาทีท่ีได้พบกันและนาทีท่ีได้กระทาต่อกันเป็นส่ิงท่ีสวยงาม ทาให้น่าติดตามจึงไม่ หน้า 51 ของ 99 หน้า

เป็นการยากที่จะคัดเลือกผลงานนี้ออกมา เป็นความเห็นพ้องต้องกันของทีมกรรมการและหวังว่าผู้ฟังจะได้ ตดิ ตามวินาทีของเรือ่ งนด้ี ว้ ยกัน 2. ดร.จตพุ ร วิศิษฏ์โชติอังกูร วิทยากร/ทป่ี รกึ ษา/โค้ช บริษัท ดิ อัลทิเมท ลดี เดอร์ จากัด “ผมรู้สึกอินไปกับเรื่องท่ีผู้เขียนเล่า บางเรื่องท่ีคนรามาเขียนผมได้เอาไปอ่านตามร้านกาแฟก็มี น้าตาซึมบ้าง แต่ทุกอย่างล้วนมีเหตุผล สิ่งที่เกิดข้ึนมันมีเหตุผลท้ังหมด” วิธีการเปิดเร่ืองถ้าหากเราได้ อ่านเอกสาร เหมือนเราได้ชมภาพยนตร์ดี ๆ สักเร่ืองหน่ึง เรื่องมันมีช้ันเชิงการเล่าเรื่องแบบมืออาชีพ เป็นการเล่าเร่ืองผ่านเคส เล่าเรื่องผ่านโลกของคนป่วย ทาให้เราคล้อยตามแล้วก็อินกับเรื่องท่ีดาเนินไป “ส่ิงที่เป็นบทเรียนของผมก็คือ ความซับซ้อนของชีวิต บางทีมันเป็นความซับซ้อนที่ซับซ้อนมาก ๆ และมนั กไ็ ม่ต่างจากความซับซ้อนของโลกท่เี ราเจออยู่ แตว่ ่าทกุ ส่งิ ทุกอย่างลว้ นแต่มีเหตผุ ล” ผ้เู ขยี น พยายามเล่าเร่ืองของเขาให้เราฟัง ทาให้รู้สึกคล้อยตามทุกตัวอักษร “แล้วก็ทาให้อ่านแล้วสะเทือนใจ เหลือเกิน ขณะเดียวกันก็รู้สึกอิ่มเอมใจภายใต้ความสะเทือนใจน้ัน มันก็คือความงดงามบนโศกนาฏกรรม ของชีวิต มนุษย์เราจะมีทางเลือก ไม่ได้เยอะ แต่ว่าภายใต้ความจากัดของทางเลือกน้ัน เราก็เลือกท่ีจะ มคี วามสุขได้ แต่อาจจะเปน็ ความสขุ เล็กๆบนโศกนาฏกรรม” นี่คือเร่ืองเลา่ ท่ีมีชวี ิต ขอขอบคณุ ผู้เขียนท่ีเล่า เรื่องได้อย่างละเอียดอ่อน และทาให้เราเห็นอารมณ์ ความรู้สึกและชีวิตของคนในเร่ืองเล่าน้ัน 3. คุณสธุ ีร์ พุ่มกมุ าร ผอู้ านวยการสถาบันกวีนพิ นธไ์ ทย เรื่องเสียงสุดท้ายนี้ตอนกลาง ๆ เรื่องท่ีได้อ่านทาให้นึกถึงนิยายซีไรท์เรื่องหนึ่งที่นาไปสร้างเป็นหนัง ความสุขของกะทิ คือเร่ืองนี้จะสังเกตได้ว่าเหมือนเรื่องความสุขของกะทิ ประเดน็ ที่ผมอยากพูดคือความสขุ ของ กะทิ “ถ้าใครได้ดูแลว้ มองให้ลึก ๆ ให้เห็นจรงิ ๆ แล้วในครอบครวั เรามกี ลมุ่ เปราะบางอยูไ่ มค่ นใดกค็ นหน่ึง หนึ่งคน สองคน หรือสามคน ซ่ึงคนเหล่านี้ล้วนต้องไดร้ ับการดูแล” ความสุขของกะทิคือเด็กหญิง อายุ 7-8 ปี แต่เขาเปราะบาง แม่ป่วยเปน็ โรค รักษาไมห่ ายวันหนึ่งตอ้ งตาย พ่อเปน็ ชาวพม่าที่เลิกรากันไป แมเ่ กบ็ ตัวตอ้ ง อยู่ในอากาศท่ีสุขสบาย มองย้อนกลับมาถึงกะทิจะเป็นผู้ที่อยู่ในกลุ่มเปราะบาง ในครอบครัวของกะทิจะอยู่ ด้วยกันทั้งหมด 6 คน คนเหล่านี้ ร่วมกันดูแลประคบประหงมจิตใจของกะทิ ซ่ึงไม่มีพ่อไม่มีแม่ เหมือนนิยาย เร่ืองนี้เลย จึงต้ังช่ือว่าความสุขของกะทิ แม้ว่าไม่มีพ่อไม่มีแม่แต่ พ่ีป้าน้าอา หรือคนอ่ืนท่ีแวดล้อมเขาอยู่ “ถ้า ดูแลเขาเขาสามารถผ่านชวี ิตช่วงนไ้ี ปได้ เขาสามารถมคี วามสขุ ไดใ้ นเร่ืองน้กี ็เหมือนกัน” บทเรียนทไ่ี ด้รบั /ปจั จยั แห่งความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ ก่อนเร่ิมลงมือเขียนเรื่องนี้ เคยได้ยินเกี่ยวกับเรื่องเล่าเร้าพลังจากงาน มหกรรมคุณภาพในปีก่อน ทา ให้รู้สึกมีความสนใจ อยากลองอ่านผลงานเหล่าน้ีดูสักคร้ัง และอยากสร้างสรรค์ผลงานท่ีจะสามารถสร้างแรง บนั ดาลใจใหแ้ กใ่ ครท่ีไดเ้ ข้ามาอ่านเนอื้ เร่ืองท่ีเราเขยี นขน้ึ มาบา้ ง กอ่ นหน้าน้ันผู้เขียนทางานอยู่ท่ีหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย โรงพยาบาลรามาธิบดี อายุงานได้ประมาณ 2 -3 ปี จากประสบการณ์ท่ีไม่มากนัก พอได้เห็นเหตุการณ์ของความสูญเสียเป็นระยะ แม้ว่าการทางานจะทา หน้า 52 ของ 99 หน้า

ให้เรามีความสุขท่ีได้ช่วยเหลือผู้ป่วยก็ตาม แต่ด้วยภาระงานท่ีค่อนข้างหนักจึงก่อให้เกิดความรู้สึกเหนื่อยและ ท้ออยู่เป็นระยะ จนเหตุการณ์เรื่องราวของเด็กหนุ่มคนน้ีเกิดขึ้น แม้ว่าเรื่องราวจะผ่านมานานจนแทบจา รายละเอียดไม่ได้ แต่ใจความสาคัญท่ียังคงตรึงตราหัวใจ คือการท่ีมีรุ่นพ่ีคนหนึ่งตัดสินใจลงมือทาสิ่ง ๆ หนึ่ง ซึ่งทาให้เด็กหนุ่มที่ใกล้หมดลมหายใจน้ันได้มีความสุขในช่วงสุดท้ายของชีวิตก่อนจะจากไปตลอดกาล รวมทั้ง ครอบครัวเองน้ันก็ได้เคลียร์เร่ืองราวท่ีค้างคาหัวใจ “เร่ืองราวชีวิตของใครแต่ละคนล้วนมีความแตกต่างกัน เราจะไมเ่ กดิ คาถามว่าทาไมเขาถึงไมท่ าเช่นนั้น เพราะอะไรเขาถึงไม่ทาเช่นน้ี เพราะเราเมือ่ เราลองคดิ ดูให้ ดเี ราจะเข้าใจได้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างนั้นล้วนมีเหตผุ ลของตัวมันเอง ปัญหาทุกอย่างน้ันล้วนมีทางออก ขน้ึ อยู่ กบั วา่ เราเองนนั้ เลอื กทจี่ ะเดินหน้าเผชิญปัญหาหรอื เปล่า บางครง้ั การจดั การปัญหาดว้ ยตนเองอาจจะไม่ใช่ เรอื่ งงา่ ย การมีตัวกลางท่ีชว่ ยเพ่อื การสอื่ สารน้ันจึงมีบทบาทที่สาคัญ ท่จี ะชว่ ยให้ใครสักคนไดก้ ้าวขา้ มผา่ น อุปสรรคไปได้ การดูแลผู้ป่วยจึงไม่ใช่เพียงแค่การรักษากายให้หาย แต่เป็นการรักษาใจให้เข้มแข็ง ครอบคลมุ ทงั้ จิตใจของผูป้ ว่ ยและใจของครอบครัวทีจ่ ะตอ้ งเขา้ สู่การเผชญิ ภาวะสญู เสียในตอ่ ๆ ไป” ซง่ึ เรื่องราวดังกล่าวนี้เป็นเรื่องท่ีทาให้สะกิดและตราตรึงอยู่ในใจเสมอมา เป็นแบบอย่างทม่ี ีคุณค่า ทา ให้มีเป้าหมายและรู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลมากยิ่งขึ้นเหลือเกิน ถึงแม้ว่าจะเหน่ือยจากงานสักเพียงใด แต่เมื่อระลึกถึงคุณค่าท่ีเราได้มีโอกาสสร้างข้ึนมาน้ัน ส่ิงเหล่าน้ีกลับเป็นพลังเยียวยาใจให้เราเข้มแข็งและสู้ ต่อไปได้อกี คร้งั และนั่นคือท่ีมาของการสร้างสรรค์ผลงานเรื่องเล่าเร้าพลังช้ินงานน้ี ซ่ึงมีเป้าหมายเพ่ือแบ่งปัน ความรู้สึกที่ดี ผู้เขียนหวังว่าผลงานช้ินนี้จะสามารถสัมผัสเข้าถึงหัวใจของผู้อ่านได้ไม่มากก็น้อย และเพ่ือหวัง สร้างแรงบันดาลใจที่ดี ที่จะต่อสู้ความเหน่ือยในภาระงาน และสามารถก้าวข้ามผ่านมันได้ รักและภูมิใจใน ตนเองไดม้ ากย่งิ ขึ้น ขอขอบคุณผู้ให้ความสนับสนุนทุกท่าน และคณะกรรมการที่สามารถจับประเด็นต่าง ๆ ให้สามารถ ผู้เขียนและผู้รบั ชมสามารถเขา้ ถึงผลงานน้ีไดม้ ากยง่ิ ขึ้น และหวังว่าจะได้มกี ารจดั กิจกรรมท่ีดี ๆ เช่นน้ีตอ่ ๆ ไป รวมทง้ั หวังว่าผลงานชิ้นน้ีจะได้มโี อกาสได้สัมผัสใจผอู้ ่านทา่ นอนื่ ๆ ตอ่ ๆ ไปได้มากขนึ้ ไปอีก ผถู้ อดบทเรยี น คณุ พลอยไพลิน ทวนิ นั ท์ สงั กดั เดมิ คือ หอผูป้ ว่ ยอายุรกรรมชาย งานการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ปจั จบุ นั สงั กดั งาน หอผูป้ ว่ ยประคบั ประคอง งานการบรกิ ารเฉพาะ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี หนา้ 53 ของ 99 หน้า

ชื่อเร่อื ง อย่าบอกเรื่องของฉนั ให้ใครได้รู้ วันท่ี เวลา 20 สงิ หาคม 2563 ห้องประชุม 11.00-12.00 น. ห้อง 910 ชัน้ 9 อาคารเรยี นและปฏบิ ตั ิการรวมดา้ นการแพทยแ์ ละโรงเรยี น วทิ ยากร พยาบาลรามาธิบดี คณุ อารีย์ วงศ์อนุ หนว่ ยบริการพยาบาลผู้ป่วยทีบ่ า้ น รปู แบบการนาเสนอ ฝา่ ยการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรตั น์ VDO Clip ขณะท่ีโลกของเรากาลังพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สิ่งหน่ึงท่ีไม่หยุดพัฒนาเช่นเดียวกันคือโรคภัยไข้เจ็บท่ี นับวนั ยิ่งทวคี ูณ ฉันคอื หน่ึงในเจ้าหน้าทีส่ ุขภาพและประจาอยู่หน่วยบรกิ ารพยาบาลผู้ป่วยท่ีบ้าน ฉนั มโี อกาสท่ี จะสมั ผัสและคลกุ คลีมนั อยู่เสมอ และครง้ั น้ีก็เช่นเดยี วกนั HIV ถ้าคุณได้ยินคาน้ี คุณรู้สึกอย่างไรบ้าง มีความกลัว หรือความรังเกียจเกิดข้ึนบ้างไหม? ย่ิงหากได้ ทราบประวัติวา่ คน ๆ นน้ั ด้วยแลว้ ว่าเขาไม่ได้เข้ารบั การรักษาอย่างจริงจังเท่าที่ควร คณุ จะรู้สึกอยา่ งไร...? ในเช้าวันถัดมา ฉนั เลือกเยี่ยมคณุ จินดาทันทที ี่เขาถูกจดั ลาดบั ให้เป็นบา้ นหลังสดุ ท้าย ภาพที่เราจินตนาการไว้กับภาพท่ีเราเห็นไว้มันช่างแตกต่างกันลิบลับ ภาพแคมป์คนงานเรียงกันเป็น แนวยาวต่อกันซัก 10 ห้องเห็นจะได้ เสียงต้อนรับจากคุณป้าขายก๋วยเต๋ียว ทาให้ฉันละสายตาจากภาพแคมป์ คนงาน มาตรงรา้ นก๋วยเตยี๋ วที่อยูต่ รงหนา้ “คุณหมอ คุณหมอ มาเยี่ยมคุณจินดาใช่ม้ัย” เสียงต้อนรับจากคุณป้าที่ขายก๋วยเตี๋ยวหน้าเพิง “เดี๋ยว นัง่ นก่ี ่อน จะโทรบอกใหล้ กู ชายมันมารับ” คุณป้าเลา่ เรื่องราวต่าง ๆ ของคุณจินดาใหฉ้ นั ฟงั ทาให้ฉันพอเข้าใจ ว่าคุณจินดาก็เป็นที่รกั ของคนในชมุ ชน และทุกคนในชมุ ชนก็พร้อมจะหยิบย่นื การช่วยเหลือที่พอจะหยิบยื่นให้ ได้ “สวัสดีครับ” ฉันมองไปที่เสียงน้ัน เป็นเด็กชาย รูปร่างผอม ผิวคล้า แต่น่าแปลกใจ ฉันต้องสะดุดที่ แววตาและรอยย้มิ ของเขา แววตาเปล่งประกายของคนมคี วามสขุ ซง่ึ ปกตเิ ด็กทวั่ ไปทีอ่ ยู่ในครอบครัวที่ไมพ่ รอ้ ม หรือส่งิ แวดลอ้ มแบบนไี้ ม่นา่ จะมีให้เราเห็น “พยาบาลครบั ตามผมมาครับ” ฉนั เดินก้าวเท้าตามติด ๆ โดยไม่ให้เด็กชายละสายตา ฉนั เดินตามแนว อิฐบล็อกก้อนเดียวท่ีเรียงตัวเป็นทางยาวเข้าบ้าน ใต้ล่างของอิฐบล๊อคเป็นน้าเสียท่ีผ่านการซักล้างเสื้อผ้า มกี ลิ่นหอมของสบู่อ่อน ๆ ลอยมาเตะจมูก เดินตามอิฐบล็อกไม่นานนัก แต่ฉันก็คิดว่าระยะทางมันชา่ งยาวไกล เหลือเกินเพราะต้องเดินด้วยความระมัดระวัง กระเป๋าก็พะรุงพะรัง ทาให้ฉันเสียการทรงตัวจนเกือบพลาด หลายคร้ัง ภาพท่ีเห็นเป็นหญิงมีรูปร่างร่างอ้วนมาก ผิวคล้า ผิวหนัง มีตุ่มน้า ตุ่มแดง และตุ่มหนองคล้ายสิว สลับกัน เกิดขึ้นบริเวณใบหน้าและลาคอของเธอจานวนมาก มันคงจะสร้างความราคาญและสร้างความหดหู่ใจ ให้กับเธอไม่น้อย ฉันตรวจร่างกายและวัดสัญญาณชีพ ทุกอย่างปกติดี แต่โชคร้าย สายตาของเธอ 2 ข้างเริ่ม หน้า 54 ของ 99 หน้า

มองไม่เห็น ขา 2 ข้างอ่อนแรงทาให้เดินไม่ได้ กิจวัตรประจาวันท้ังหมดของเธอต้องคลานออกไปทา ไม่ว่าจะ เปน็ อาบนา้ ถา่ ยอจุ จาระ ท่บี ริเวณหน้าบ้านของเธอ เธอจะมีลกู ชายตวั น้อยๆ คอยเปน็ หเู ปน็ ตาให้ “คณุ จนิ ดา เป็นอยา่ งไรบา้ ง ไม่ไดเ้ จอคุณหมอมานานแลว้ ยงั กนิ ยาอย่มู ย้ั ” ฉนั กล่าวถาม เธอเล่าทั้งน้าตาว่า เธอรู้สึกเสยี ใจและโทษตัวเองทุกครั้งท่ีต้องติดเช้ือน้ี และเธอโทษผู้ชายคนน้ันท่ีทาให้เธอติด เชือ้ มา คุณจนิ ดาแตะท่ีมือฉัน และขอร้องวา่ ไม่ให้บอกเรื่องราวกับคนอื่น ๆ ในความรู้สกึ ของฉันรู้สึกกังวลมาก เพราะไม่รู้ผู้ป่วยจะดูแลตัวเองได้ดีขนาดไหน และป้องกนั ตัวเองไม่ให้แพร่เชื้อสู่ผู้อนื่ อย่างไร ในขณะที่ฉันกาลัง ครุ่นคดิ อยู่นั้น เหมือนผู้ป่วยกาลังรวู้ ่าฉันคิดอะไร เธอพูดด้วยความม่ันใจว่า “เธอจะไม่ให้คนอ่ืนติดเชื้อจากเธอ แน่นอน และเธอก็มองไปท่ีลกู ของเธอ เหมือนกาลังจะบอกว่า “โดยเฉพาะลูกของฉัน” วินาทีนั้นฉันรู้สึกมั่นใจ ว่าผู้ป่วยต้องรักษาคาพูดอย่างแน่นอน ฉันสังเกตไดว้ ่าสายตาเธอได้มองไปท่ีลูก เธอเล่าต่อว่า สิ่งท่ีเธอกังวลคือ ขอแค่ได้ยาอย่างต่อเน่ือง อยากมีชีวิตอยู่เพื่อลูกชายของเธอ เธอรู้สึกเสียใจที่ทาให้ลูกไม่ได้เรียนหนังสือ ฉันมองไปท่เี ดก็ ชายทีท่ น่ี ่ังข้าง ๆ และในมือกถ็ ือหนงั สอื ภาษาไทย 1 เล่ม ฉันอดจินตนาการไม่ได้ว่า หากเด็กคน นเ้ี ขาได้มโี อกาสได้เรียนหนังสือ เขาต้องเป็นเด็กทต่ี ั้งใจเรียนมากแน่ ๆ ฉันก็อดนึกถึงตัวเองในวัยเด็กไม่ได้ ถ้าหากพ่อแม่ ไม่สามารถต่อสู้ความยากลาบาก ยอมสละความสุข ของตนเอง ยอมลาบากเพ่ือเรา เราก็คงไม่มีโอกาสได้มายืนตรงนี้ ได้มาเป็นพยาบาล และได้รับโอกาส ดี ๆ มากมาย ฉันจาประโยคหน่ึงได้ขึ้นใจ “ความรักทม่ี ากเกนิ ตัวเอง มันจะมีค่ามหาศาล และมันจะดลบันดาล ทาใหเ้ กดิ ส่งิ ทด่ี ี ๆ ตามมาแบบไม่รูจ้ บ” และฉนั กาลังร้สู กึ แบบน้นั ... ในเหตุการณ์ครง้ั น้ีมันทาให้ฉันคิดว่า คนท่ีป่วยด้วยโรคท่ีไม่มีทางรักษา แต่มีพลังที่จะตอ่ สู้เพื่อใคร คน ใดคนหน่ึงที่เขารัก มันมีค่ามหาศาล เช่นคุณจินดาท่ีพร้อมจะมีชีวิตอยู่เพื่อลูกชายและจะดูแลตัวเองให้ดีท่ีสุด ตามอัตภาพท่ีตัวเองมีอยู่ ในขณะเดียวกันก็มีความรับผิดชอบมากพอที่จะป้องกันเชื้อสู่ผู้อ่ืน คุณจินดาถือเป็น บุคคลตวั อย่างท่ีรู้จักรับผดิ ชอบตัวเองและผู้อ่นื ซึ่งพบได้ยากในปัจจุบัน ครั้งนเี้ ปนนความสวยงามท่ีเรามองเห็น และสัมผสั ด้วยหัวใจ และมันต่อยอดทางความคดิ ของพยาบาลคนหนง่ึ ให้เติบโตขึ้น ขอขอบคุณนะคะ....ฉัน อมยิม้ การสรุปตคี วามโดยทีมถอดบทเรียน ดร.จตุพร วิศษิ ฎ์โชตอิ ังกลู : เป็นการบรรยายภาพ ให้เหน็ ชีวิตจรงิ ของผปู้ ่วยในปัจจบุ ันที่ย่ิงกวา่ นิยาย พยาบาลท่ีติดตามเยี่ยมบ้าน ให้การดูแลไม่เพียงด้านร่างกาย แต่เป็นการเยียวยาทางจิตใจของผู้ป่วยและ ครอบครัวร่วมด้วย ซ่ึงเป็นการทา healthcare ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของผู้ให้บริการรามาธิบดี ช่ืนชมในการ เขียนเล่าเร่ือง ที่มีการดาเนินเรื่องธรรมดา แต่สามารถให้ความรู้สึกร่วมได้ มีความประณีตละเอียดอ่อนทุก ความร้สู กึ และแสดงใหเ้ หน็ ถงึ หวั ใจท่งี ดงามของผบู้ ริบาล คุณสธุ ีร์ พุม่ กุมาร : พึ่งเหน็ การนาเสนอเก่ียวกบั HIV เปน็ คร้ังแรก HIV เป็นโรคเงียบ ไมม่ ี time line แต่กลับมีคนเสียชีวติ จานวนมาก ชอบการต้ังชื่อเรือ่ ง เป็นกลวิธีกระตนุ้ ให้คนอ่านอยากหยิบมาอา่ นว่า “อะไรท่ี เขาไม่อยากใหร้ ู้” การดาเนนิ เรื่องธรรมดาไมน่ า่ ต่นื เต้น แต่พอได้ดูวดี ีโอคลปิ ทาให้ตืน่ เต้นว่าทาไมพยาบาลเย่ียม หนา้ 55 ของ 99 หน้า

บ้านถึงมีพลังและกล้าทาอะไรเช่นน้ี ผู้เขียนไม่ตามกระแสสังคมจึงนาเร่ืองท่ีคนลืมไปแล้วมาเขียน และฉาย ภาพให้เหน็ ถึงความสาคญั ของผู้ปว่ ยกลุม่ น้ใี นสังคมไทยอกี ครง้ั บทเรียนทไี่ ดร้ ับ/ปจั จัยแห่งความสาเรจ็ /ข้อเสนอแนะ 1. ผู้เขียนในฐานะที่เป็นผู้ให้บริการสุขภาพ รู้สึกภาคภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ และเป็นท่ี ไว้วางใจของผู้ป่วย ตลอดจนได้ทาหน้าที่ประสานงานกับทีมสุขภาพ ได้แก่ แพทย์เจ้าของไข้ นักสังคม สงเคราะห์ ได้รับทราบปญั หาทไ่ี ม่สามารถมาพบแพทย์เพอื่ ทาการรักษาได้ ไดใ้ ช้ทกั ษะความรจู้ ากที่หน่วยงาน ได้เรียนสาขาพยาบาลเวชปฏิบัตทิ ่ัวไป มาใช้อย่างเต็มความสามารถ จนในวันท่ีผู้ป่วยได้ตรวจรับการรกั ษาและ ได้รบั ยาตามกาหนด และสง่ ต่อไปยงั ศนู ย์สาธารณสขุ ใกลบ้ า้ นเพือ่ ร่วมดแู ลอย่างตอ่ เน่อื ง 2. ได้มีโอกาสได้เขียนถ่ายทอดเร่ืองราวการปฏิบัติงานหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน ที่เป็น หน่วยงานเล็ก ๆ ของโรงพยาบาล แต่ถือเปน็ หน่วยงานอันสาคัญท่ีทาให้โรงพยาบาลได้รบั รู้เรื่องราวของผู้ป่วย ที่บ้าน และทาให้การรกั ษาดแู ลของทีมเป็นไปอย่างสมบรู ณ์ 3. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ การทางานเป็นทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพ เป็นศาสตร์ของการทางานที่ ทรงพลัง พึงส่งผลให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการดูแลอย่างเป็นองค์รวมและต่อเน่ือง ทาให้ผู้ป่วยและ ครอบครวั มีคุณภาพชวี ิตทดี่ ขี ึน้ และสามารถขับเคล่ือนชวี ติ ใหอ้ ยูใ่ นสงั คมได้ดีขนึ้ ผู้ถอดบทเรียน คณุ อารยี ์ วงศ์อนุ หนว่ ยบรกิ ารพยาบาลผู้ป่วยท่บี า้ น ฝา่ ยการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเดจ็ พระเทพรัตน์ หน้า 56 ของ 99 หน้า

ถอดบทเรยี น การนาเสนอผลงาน CQI หนา้ 57 ของ 99 หน้า

ชอื่ เรือ่ ง แผน่ กนั กดั สาหรับผู้ปว่ ยท่รี กั ษาดว้ ยไฟฟ้า วันท่ี 21 สิงหาคม 2563 เวลา 10.30-11.00 น. ห้องประชุม ห้อง 910 ชนั้ 9 อาคารเรียนและปฏิบัตกิ ารรวมด้านการแพทยแ์ ละโรงเรียน พยาบาลรามาธิบดี วทิ ยากร คุณเมธิณี พิศาลายน วิสญั ญีพยาบาล ภาควิชาวิสัญญวี ิทยา รูปแบบการนาเสนอ นาเสนอผลงาน CQI การรักษาทางจิตเวชดว้ ยไฟฟา้ Electroconvulsive Therapy เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าขนาดท่ีปลอดภัย กระตุ้นให้ผู้ป่วยเกิดการชักเกร็งและเกิดการเปล่ียนแปลงของสารภายในสมอง ใช้ในการรักษาผู้ป่วยจิตเวชท่ีมี อาการรุนแรงหรือที่รักษาทางยาไม่ได้ผล ทีมวิสัญญีให้การระงับความรู้สึกแบบท่ัวไปเพ่ือลดความรุนแรงจาก การชักเกร็งและทาให้ผู้ป่วยจาเหตุการณ์ไม่ได้ ( Modified Electroconvulsive Therapy ) การชักเกร็งซึ่ง รวมถึงการกดเกร็งของขากรรไกรทาให้ผู้ป่วยมคี วามเสี่ยงตอ่ การบาดเจ็บในชอ่ งปาก มกี ารผลิตอปุ กรณ์ป้องกัน การบาดเจ็บในช่องปากหลายชนิดหลายรูปแบบที่นิยมใช้คือ “แผ่นยางพารากันกัด” ท่ีมีคุณสมบัติป้องกันการ บาดเจบ็ ในช่องปาก หลงั การใชง้ านเจ้าหนา้ ท่ีเปน็ ผ้ลู ้างทาความสะอาดกอ่ นเกบ็ คนื ใหผ้ ู้ปว่ ยหรอื ญาติ แผ่นยางพารากนั กดั มีข้อจากดั คอื 1. ใส่สายดูดเสมหะได้ลาบาก โดยเฉพาะหลังการระงบั ความรสู้ ึกและการถูกกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า ผู้ป่วยจะมีน้าลายออกมา แต่ไม่ร่วมมือในการเปิดปากเพ่ือใส่สายดูดน้าลาย มีความเสี่ยงต่อการเกิด Laryngo spasm และนา้ ลายท่ีออกมาปนเปอ้ื นสิ่งแวดลอ้ มเปน็ การแพรก่ ระจายเชอ้ื 2. ในการล้างทาความสะอาดหลังการใช้งาน เจ้าหน้าท่ีผู้ล้างมีความเส่ียงต่อการได้รับเช้ือที่ แพร่กระจายผ่านสารคดั หลงั่ เช่น Hepatitis, โควิด 19 หน้า 58 ของ 99 หน้า

3. มีโอกาสเกิดรอยฉีกขาดหลังการใช้งาน ทาให้ประสิทธิภาพในการรองรับแรงกัดลดลง และเป็นท่ี สะสมของเชอ้ื โรคหรอื นา้ ยาล้างทาความสะอาด 4. ผู้ปว่ ยเปน็ ผ้เู ก็บรกั ษาแผน่ ยางพารากันกัด บางครั้งพบวา่ ผูป้ ่วยลืมนามาโรงพยาบาล จากข้อจากัดนามาสู่การพัฒนา อุปกรณ์ที่ช่วยลดแรงกระแทกจากการกดั เกร็งของขากรรไกร ป้องกัน การบาดเจ็บในช่องปาก ฟันและล้ิน ท่ีสามารถช่วยซับนา้ ลาย ไม่ต้องใส่สายดูดเสมหะเข้าไปในปาก คิดพัฒนา ต่อยอดจาก “Super gauze คล้องเสมหะ” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 Continuous Quality Improvement จากงานมหกรรมคุณภาพ ครั้งท่ี 21 ประจาปี 2557 ร่วมกับคุณหทัยรัตน์ ชูช่ืน “Super gauze คล้องเสมหะ” ใช้ในผู้ป่วยท่ีได้รับการระงับความรู้สกึ แบบท่ัวไปท่ีใส่ท่อทางเดนิ หายใจ และถูกทาผ่าตัด ในท่านอนตะแคงหรือคว่า มีจุดเด่นคือสามารถดูดซับน้าลาย ต่อสายดูดน้าลายผ่านเครื่องดูดเสมหะโดยตรง ลดปญั หานา้ ลายปนเป้อื นสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ การลดการแพร่กระจายเช้อื ขัน้ ตอนการพฒั นาใชก้ ระบวนการ PDCA คร้ังท่ี 1 ดัดแปลงมาจาก Super gauze คล้องเสมหะ เย็บเป็นแผ่นกว้างให้ใกล้เคียงกับขากรรไกร ผปู้ ่วย ขอ้ ดี สามารถซมึ ซบั น้าลายได้ดี สายยางสามารถใช้ดูดน้าลายได้ สายยางชว่ ยรองรบั การกระแทกของฟันได้ดี ข้อด้อย แผ่นมีขนาดใหญ่ไม่เข้ากับมุมขากรรไกรของผู้ป่วยทาให้ไม่สามารถใส่ได้ลึก มีความหนากว่าแผ่น ยางพารากนั กัด 0.5 ซม. ครง้ั ที่ 2 ตัดมมุ ของกอ๊ ซหุ้มสาลีออก ก่อนนามาเยบ็ เพือ่ ใหเ้ ข้ารูปกับมุมขากรรไกรของผปู้ ว่ ย ข้อดี รูปทรงกระชบั กบั มมุ ขากรรไกรของผปู้ ่วย สามารถใสใ่ นปากไดล้ กึ พอทร่ี องรับฟนั กราม ข้อดอ้ ย สายซลิ ิโคนท่ีอยูด่ ้านในไม่อยตู่ รงตาแหนง่ ท่ตี ้องการ มีความหนากวา่ แผ่นยางพารากันกัด 0.5 ซม. คร้ังที่ 3 เย็บเดินเส้นตรงกลางแผ่น ให้แผ่นบางลงใกล้เคียงกับแผ่นยางพารากันกัด มีลักษณะเฉพาะ คือ 1. ผลิตจากก๊อซหุ้มสาลชี ่วยซบั น้าลาย 2. มีที่จับเพื่อสะดวกในการดึงออกจากปากผู้ป่วย เปน็ จุดสงั เกตปอ้ งกันการลืมในปาก และทาจากผ้า สามารถพบั งอได้ง่าย ไมข่ ดั ขวางกระบวนการชว่ ยหายใจผ่านทางหน้ากาก 3. มสี ายยางที่มีช่องสาหรับดูดน้าลายอยภู่ ายใน สามารถต่อเข้ากับเคร่ืองดดู เสมหะโดยไม่ต้องใช้สาย ดดู เสมหะ 4. มีการเดินเส้นเป็นแนวตรงกลางช่วยทาให้แผ่นแบนลงและดันสายยางให้อยู่ด้านข้าง ช่วยรองรับ แรงกัดบรเิ วณฟันกราม แผ่นกันกัดสาหรับผู้ป่วยที่รักษาด้วยไฟฟ้า ได้รับอนุสิทธิบัตรเลขที่ 12927 ผ่านการทดสอบแรงกัด สงู สุดท่ี 3,250 นิวตัน จากศูนย์วิจัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย แรงกัดฟันของคนอยู่ ระหว่าง 764 - 1,225 นิวตัน ผ่านการทดสอบความทนแรงดึงขาดท่ี 90 นิวตัน จากกรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาสงู่ านวิจยั ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพจากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ และ หนา้ 59 ของ 99 หน้า

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา รับอนุมัติทาวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน ในหัวเร่ือง“ผลของการใช้ นวัตกรรมแผ่นกันกัดเพ่ือป้องกันการบาดเจ็บในช่องปากในผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า” รับ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินรายได้ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ประจาปี งบประมาณ 2561 สรุปผลการวิจยั แผ่นกันกัดสาหรับผู้ป่วยทร่ี ักษาด้วยไฟฟ้าใช้ได้สะดวก นามาใช้ทดแทนแผ่นยางพารา กันกัด มีคุณภาพทัดเทียมในด้านป้องกันการบาดเจ็บในช่องปาก ไม่ขัดขวางการช่วยหายใจผ่านทางหน้ากาก สามารถซับน้าลายและดูดน้าลายได้สะดวก ทาจากวัสดุท่ีใช้แล้วทิ้ง ลดการปนเปื้อนแพร่กระจายเช้ือ ผลงานวิจัยตอบรับการเผยแพร่ใน “วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย” ปีท่ี 65 ฉบับที่ 3 กันยายน ตุลาคม 2563 ได้รับโอกาสจัดแสดงที่งาน THAILAND TECH SHOW 2019 “นวัตกรรม 360 องศาเพ่ือความ ยั่งยืน” ที่โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ 5-6 กันยายน 2562 และพัฒนาเชิงพาณิชย์ในชื่อ “MU Soft Bite” ขอขอบคุณ ผู้ป่วยทุกคนที่มาเป็นบทเรียนให้พวกเราได้เรียนรู้ร่วมกัน อาจารย์แพทย์ แพทย์ประจา บ้าน พยาบาล และเจ้าหน้าท่ี ภาควิชาจิตเวชวิทยา และภาควิชาวิสัญญีวิทยา ศูนย์พัฒนานวัตกรรมทาง การแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์รัฐพล แสงรงุ้ ที่ชว่ ยตรวจทานตน้ ฉบบั บทเรยี นทไี่ ด้รบั /ปัจจัยแหง่ ความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ 1. การพัฒนางานต้องใช้เวลาและโอกาส เพราะปัจจัยท่ีสาเร็จไม่ได้ขึ้นอยู่กับเราคนเดียว การได้รับ การยอมรับเป็นสิ่งท่ียากที่สุด ที่ยากยิ่งกว่าคือการได้รับการสนับสนุน ความเหนื่อยและท้อมีทุก คน แตเ่ มอ่ื ท้อใหห้ ยุดพักแล้วก็เดินตอ่ ขอเพยี งก้าววันละนดิ กจ็ ะใกล้มากข้ึน 2. การมองเห็นปัญหาหรืออุปสรรคในการทางาน ถ้าเรามองส่ิงน้ันเป็นแค่สิ่งท่ีเราไม่ชอบเราก็จะไม่ สนใจและปล่อยผ่านไป แต่ถ้าเรามองว่าเป็นปัญหาท่ีตอ้ งแก้ไข เราได้ให้ความสาคญั กับปญั หาน้ัน เราจะมีความพยายามปรบั ปรุงแกไ้ ขใหป้ ัญหานนั้ ใหด้ ีขนึ้ หรอื หมดไป ชือ่ ผู้บนั ทึก ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ิทยา เมธิณี พศิ าลายน หน้า 60 ของ 99 หน้า

ช่อื เรอ่ื ง นวัตกรรมถงุ ตวงนา้ วนั ที่ 21 สงิ หาคม 2563 เวลา 13.00 น. หอ้ งประชุม หอ้ ง 910 ช้ัน 9 อาคารเรยี นและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรยี น พยาบาลรามาธบิ ดี วทิ ยากร อรนุช อินทะสะโร รปู แบบการนาเสนอ บรรยายรปู แบบ Power point และ VDO การตรวจและผ่าตัดผ่านกล้องส่องโพรงมดลูก (Hysteroscopy) เป็นหัตถการหนึ่งทางสูติศาสตร์-นรี เวชวิทยาที่ได้รับความนิยม เนื่องจากสามารถมองเห็นพยาธิสภาพได้โดยชัดเจนให้การวินิจฉัยแยกโรคได้ ถูกต้องแมน่ ยาและสามารถผ่าตัดรักษาได้ในเวลาเดียวกนั ในปัจจุบนั มีการใช้เครื่องมือน้ีอย่างแพร่หลายท่ัวโลก จากสถิติหอ้ งผ่าตัดสูตินรีเวชวิทยาโรงพยาบาลรามาธิบดี พบว่าในปี พ.ศ.2560-2562 การผ่าตัดผ่านกล้องส่อง โพรงมดลูกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยมีจานวน 108, 117 และ 127 ราย ตามลาดับ การตรวจและการผ่าตัดด้วย กล้องส่องโพรงมดลูกต้องอาศยั อุปกรณ์ทั้งหมดหลายชนิดรวมถงึ สารขยายโพรงมดลูก โดยสารท่ีใชใ้ นการขยาย โพรงมดลูกนั้นมีสองชนิดคือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และสารละลายของเหลว เช่น glycine, sorbitol และ normal saline ในปัจจบุ ันโรงพยาบาลรามาธิบดนี ยิ มใช้ของเหลวเป็นตวั ขยายโพรงมดลูก ซึ่งพบว่าสารละลาย จะไหลออกจากโพรงมดลูกตลอดเวลาทาให้ต้องเติมสารละลายอยู่เสมอ จึงต้องมีการบันทึกปริมาตรการเข้า และออกของสารละลายตลอดเวลาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบได้คือ ภาวะน้าเกินร่างกายในปริมาณ หน้า 61 ของ 99 หน้า

มากซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะ glycine ภาวะนี้พบได้ประมาณร้อยละ 1-42 ดังนั้นการประเมิน ปริมาตรการเข้าออกของสารละลายที่ใช้ขยายโพรงมดลูกจึงเป็นสิ่งจาเป็นมากและเป็นบทบาทโดยตรงของ พยาบาลหอ้ งผา่ ตดั ปัญหาที่มีในขณะนี้คือ ถุงรองรับน้าที่ใช้ปัจจุบันมีสารละลายบางส่วนรั่วออกออกนอกถุง โดยมีการไหล ลงบริเวณแขนและขาของแพทย์ขณะนั่งทาหัตถการผ่าตัด ซึ่งไม่สามารถตรวจวัดปริมาตรสารละลายน้าที่ออก จากตัวผู้ป่วยได้ ทั้งยังมีการปนเปื้อนสารน้าและสารคัดหลั่งของผู้ป่วยสู่ผู้ปฏิบัติงาน จากปัญหาดังกล่าวทีมผู้ ประดิษฐจ์ ึงมแี นวคิดร่วมกนั ในการประดิษฐน์ วัตกรรม “ถุงตวงน้า” เพอ่ื แก้ไขปญั หาน้ี ข้อดอ้ ยหรือข้อบกพร่องของผลงาน 1. ถงุ รองรับน้าแบบเดิมปากถงุ พลาสติกพับยู่ยน่ ทาให้สารละลายน้าท่อี อกจากตวั คนไข้ไมไ่ หลลงถุง จึง ตวงวัดปริมาตรสารละลายน้าออกไม่ได้ทั้งหมด เกิดความคลาดเคลื่อนในการประเมินสารละลายน้า ออก 2. ต้องตอ่ สาย Suction พาดผ่านหน้าขาผปู้ ว่ ยลงถงุ ทาให้เป็นอุปสรรคในการทาหัตถการ 3. สาย Suction ที่เชื่อมต่อกับแรงดันสุญญากาศดูดถุงพลาสติกเข้าไปแทนที่สารละลายน้า พยาบาล ผา่ ตดั จึงต้องใชผ้ า้ กอ๊ ซปดิ ปากสาย Suction ซึ่งเกดิ ความยงุ่ ยากในขณะปฏิบัติงาน 4. มสี ารละลายน้าไหลออกนอกถุง ทาใหเ้ กิดการปนเปอื้ นกับผปู้ ฏิบตั งิ านและสง่ิ แวดลอ้ มในห้องผ่าตัด 5. เพ่มิ คา่ ใช้จ่ายของโรงพยาบาลในการทาความสะอาดผา้ ท่ีปนเปอื้ นสารน้าและสารคดั หลงั่ ของผู้ปว่ ย 6. ชุดสาเร็จรูปที่มีขายในท้องตลาด มีราคาสูง ประมาณ 3,500 - 4,000 บาท/ชุด ซึ่งถือเป็นภาระ ค่าใช้จา่ ยที่เพิ่มข้นึ ต่อผปู้ ่วย จดุ เด่น 1. ขนาดและลักษณะรูปทรงมีความกว้างความสูงพอดีกับการใช้งาน ปากถุงพลาสติกไม่พับยู่ย่น สารละลายน้าที่ออกจากตัวคนไข้จึงไหลลงสู่ถุงทั้งหมด ทาให้ประเมินปริมาตรสารละลายน้าออกได้ อย่างแมน่ ยาและรวดเรว็ 2. ออกแบบให้ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก พยาบาลผ่าตัดไม่จาเป็นต้องใช้ผ้าก๊อซปิดปากสาย Suction เพิ่ม ความสะดวกในการทาหัตการ จากการที่สาย Suction เชื่อมต่อด้านล่างของถุง ไม่พาดผ่านหน้าขา คนไข้ 3. ไมม่ สี ารละลายน้าไหลออกนอกถงุ ทาให้ไมป่ นเป้ือนผ้ปู ฏบิ ัตงิ านและสง่ิ แวดล้อมในหอ้ งผ่าตัด 4. ลดภาระค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาล เนื่องจากลดปริมาณผ้าที่ต้องทาความสะอาดลง 10-30 ชิ้นต่อ หนงึ่ หัตถการ 5. มีต้นทนุ ถกู กว่าชดุ สาเร็จรปู จากบริษัท ทาให้ผปู้ ว่ ยประหยัดค่าใช้งา่ ยไปไดถ้ ึง 3,390-3,790 บาท หน้า 62 ของ 99 หน้า

รบั ผู้ปว่ ยจาเขก้าหห้ออ้ ง0งผH่าoตldดั ing room กระบวนการทางานของหนว่ ยงาน (Workflow) วิสัญญแี พทย์ ดมยาสลบผปู้ ่วย ใสส่ ารละลายนา้ เข้าโพรงมดลกู Sign in และเรม่ิ ทาหตั ถการ ทวนสอบ ช่ือ-สกลุ วัน/เดือน/ปีเกดิ ชนดิ การผ่าตดั กบั ผ้ปู ่วย ทมี แพทย์และทีมวิสญั ญแี พทย์ สารละลายน้าไหลออกจากโพรง มดลูกลงถงุ ตวงน้า ดูดเขา้ กระบอก Time out ทาความสะอาดบรเิ วณผ่าตดั ปูผา้ แรงดนั สญุ ญากาศ ทวนสอบช่อื -สกุล ชนิดการผา่ ตัด ทีมผา่ ตดั แนะนา สอดถุงรองกน้ ตอ่ สาย Suction ตวั กบั ถงุ ตวงนา้ ติดอุปกรณ์การผา่ ตดั Sign out เสรจ็ สิ้นหตั ถการการผา่ ตัด ประเมินสารละลายนา้ ปัญหาท่พี บ ทวนสอบช่อื -สกุล ชนิดการผา่ ตัด เข้า-ออกทุก 15-20นาที และขอ้ มลู การผา่ ตัด 1. มีความยุ่งยากในการต่อสาย Suction เพือ่ ดูด สารละลายนา้ ในถุง ยา้ ยคนไข้จากห้องผา่ ตดั ไปยงั Holding room 2. แพทยผ์ า่ ตดั ไมส่ ะดวกในการทาหัตถการ เนื่องจากสาย Suction พาดผ่านหน้าขาผู้ปว่ ย 3. สารละลายน้าไหลออกนอกถุง ไมส่ ามารถประเมนิ ปรมิ าตรสารละลายน้าออกได้อยา่ งแมน่ ยา 4. สารนา้ และสารคัดหล่งั ของผู้ปว่ ยปนเป้อื น ผปู้ ฏิบตั งิ านและส่ิงแวดล้อมในห้องผ่าตัด สมาชกิ ในทมี จึงได้พัฒนาส่งิ ประดษิ ฐ์ “ถงุ ตวงน้า” ความรูท้ ี่ใช้ หรอื องคค์ วามรู้ทีใ่ ชใ้ นการประดิษฐค์ ดิ ค้นผลงาน 1. ใช้หลกั 2P SAFETY ซ่ึงเป็นนโยบายของคณะ ประกอบไปด้วย - Patient safety goals ผู้ป่วยได้รับการผา่ ตดั ท่ีปลอดภยั โดยการป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อน ท่ีอาจเกิดขน้ึ ไดจ้ ากการผา่ ตัด เพื่อใหผ้ ปู้ ่วยเกิดความปลอดภยั สูงสุด - Personal safety goals บุคลากรได้รับความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงาน ไม่ปนเปื้อนเลือดและ สารคัดหลั่ง 2. ภาวะน้าเกินในผู้ป่วย อุบัติการณ์การเกิดภาวะน้าเกินและโซเดียมในเลือดต่าพบได้ประมาณร้อยละ 1-4 มักจะเกิดในกรณีที่มีการผ่าตัดยาก ผ่าตัดเป็นเวลานาน สิ่งที่สาคัญอีกประการหนึ่งในการ ป้องกันภาวะน้าเกินและโซเดียมในเลือดต่าคือ ต้องเฝ้าระวังวัดปริมาณ Intake และ Output ของ สารขยายโพรงมดลูกขณะที่ทาผ่าตัด ในทางปฏิบัติแนะนาให้ประเมินสมดุลสารละลายน้าเข้า- หนา้ 63 ของ 99 หน้า

ออกเป็นระยะ ๆทุก 15-30 นาทีเมื่อตรวจพบว่าดูดซึมเข้าร่างกายมากกว่า 1,500 ml. ให้รายงาน แพทยแ์ ละหยุดผ่าตดั ทนั ทเี นือ่ งจากอาจเกิดอนั ตรายกับผ้ปู ่วยได้2 3. องคค์ วามร้ดู ้านวิศวกรรมศาสตร์ที่ใช้ในโรงงานอตุ สาหกรรม เร่ือง อัตราการไหล โดยอัตราการไหล = พื้นที่หน้าตัดท่อ x ความเร็ว ซึ่งก่อนการประดิษฐ์นวัตกรรมพบว่ามีการใช้ผ้าก๊อซปิดปากสาย Suction เพื่อป้องกันการดูดของถุงพลาสติกไปแทนที่น้าในถุง ด้วยเหตุนี้จึงวิเคราะห์ได้ว่าเมื่อ พื้นที่หนา้ ตัดของท่อลดลงจากการใชผ้ ้ากอ๊ ซทาใหอ้ ัตราการไหลของน้าลดลงในขณะที่ความเร็วเท่า เดิม ทีมผู้ประดิษฐ์จึงคิดวิธีเพิ่มหน้าตัดท่อโดยยกเลิกการใช้ผ้าก๊อซ เพื่อเพิ่มอัตราการไหลของ สารละลายน้าออก ทาใหส้ ามารถประเมินปริมาตรสารละลายน้าออกไดร้ วดเร็วขึ้น1 ทีมผู้ประดิษฐ์ จึงใช้องค์ความรู้ที่มีในสาขาวิชาชีพผสานกับองค์ความรู้นอกสาขาวิชาชีพ ทาให้ได้นวัตกรรม “ถุง ตวงน้า” ที่มีคุณสมบัติในการป้องกันการเกิดภาวะน้าเกินในผู้ป่วยจาการประเมินสารละลายน้า ออกได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา ทาให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ป่วย และป้องกันการปนเปื้อนสาร นา้ และสารคัดหล่งั ของผู้ป่วยสผู่ ้ปู ฏบิ ัติงานทาให้เกดิ ความปลอดภยั กบั ผปู้ ฏิบัติงานด้วยเชน่ กนั วัตถปุ ระสงค์การประดษิ ฐ์คิดคน้ ผลงาน 1. เพ่ือใช้ในการประเมินสารละลายนา้ ออก 2. เพื่อลดการปนเป้ือนและแพร่กระจายเช้ือโรคจากการสัมผัสสารน้าและสารคัดหลั่งที่ไหลออกจากตัว ผูป้ ว่ ย 3. เพอื่ ลดค่าใช้จา่ ยของโรงพยาบาลให้ลดน้อยลงในการทาความสะอาดผา้ ท่ีปนเป้ือนสารนา้ และสารคัด หล่งั ของผูป้ ว่ ย 4. เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายและความพึงพอใจต่อผู้ปฏบิ ัติงาน งบประมาณ นวัตกรรม 1 ชิ้น มีต้นทุนการประดิษฐ์รวม 110-210 บาท ประกอบไปด้วย ถุงพลาสติก 1 ใบราคา 2 บาท, สายยางซิลิโคนราคา 5 บาท, Fixomull ราคา 3 บาท ค่าใช้จ่ายในการส่งทาให้ปราศจากเชื้อโดยวิธีอบ แก๊ส Ethylene oxide (EO) 100-200 บาท โดยความคุม้ ค่าของสง่ิ ประดิษฐน์ ้คี อื 1. ลดภาระค่าใช้จ่ายของ รพ.ในการทาความสะอาดผ้าปนเปื้อนสารน้าและสารคัดหลั่ง โดยหลังการใช้ สิ่งประดิษฐ์ปริมาณผ้าปนเปื้อนลดลงถึง 10-30 ชิ้นต่อหนึ่งหัตถการ ทาให้ลดค่าใช้ของรพ.ไปได้ถึง 500-1,500 บาท 2. ลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยไปถึง 3,390-3,790 บาท หากต้องใช้ชุดสาเร็จรูปที่มีขายในท้องตลาดซึ่งมี ราคาอยูท่ ่ี 3500-4000 บาท/ชุด หนา้ 64 ของ 99 หน้า

ระยะเวลาและข้ันตอนการพัฒนา ระยะเวลาในการพฒั นา ต้งั แต่วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2562 ถึง วนั ท่ี 29 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 โดยมีกระบวนการทา PDCA 2 ครั้ง ดงั ตารางต่อไปน้ี ระยะเวลาดาเนนิ การ กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ผ้รู ับผิดชอบ 2562 2562 2562 2563 2563 1. ระบปุ ญั หา รวบรวมข้อมลู วเิ คราะห์ น.ส.อรนชุ อินทะ กาหนดแนวทางการแกไ้ ขปญั หา (plan 1) สะโร 2. ออกแบบ และจัดทานวัตกรรม (Do1) น.ส. ปภัทรนันท์ 3. ทดลองใชน้ วัตกรรม (Do1) แดงศรี น.ส. พร 4. ประเมนิ ผลการใชง้ านรปู แบบท่1ี พิมล การวงค์ (Check+Act1) 5.ระบปุ ัญหา รวบรวมขอ้ มลู วิเคราะหก์ าหนด แนวทางการแก้ไขปัญหา(plan 2) 6. ออกแบบ และปรบั ปรงุ นวตั กรรม (Do1) 7. ทดลองใชน้ วัตกรรม (Do 2) 8. ประเมนิ ผลการใช้งานรูปแบบที่ 2 (Check+Act2) 9. ติดตามผลการใช้งานและสรปุ ผล ข้ันตอนท่ใี ช้ในการประดิษฐ์ วัสดุ/อุปกรณ์ (ดังเอกสารแนบ รูปที่ 1) : ถุงพลาสติกใสขนาด 27*36 นิ้ว, ขวดน้ายาที่ใช้น้าแล้ว, สายยาง ซิลิโคนเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 cm., พลาสเตอร์ปิดแผล (Fixomull) ขนาด 2*19 นิ้ว , กรรไกร หรือ คัตเตอร์, ปากกาเมจิก, ไม้บรรทัด ข้ันตอนการประดิษฐ์ 1. ตัดคอขวดน้าเกลือด้านบนออกเจาะรูฝาขวดดา้ นบนใหไ้ ด้ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 1 cm 2. ตัดด้านข้างถุงด้านหนึ่งจากปากถุงถึงก้นถุง (ดังเอกสารแนบ รูปที่4) พับถงุ รูปทแยงมุมแล้วตัดกน้ ถงุ ออก 2 cm. 3. นาถุงที่ตดั แล้วสอดลงไปในคอขวดน้าเกลือ ดงึ ให้ครอบบรเิ วณคอขวด (ดังเอกสารแนบ รูปที่ 6) และนาฝา ขวดที่เจาะแล้วครอบปากขวดทับถุงแล้วหมุนปิดเกลียวให้แน่น (ดังเอกสารแนบ รูปที่ 7) นาสายยาง ซลิ โิ คนสอดลงไปในรูฝาขวดลึก 2 cm. 4. ตดั พลาสเตอร์ความกว้าง 4 cm. 2 ชิ้น ติดบริเวณด้านในถุง ห่างจากขอบถุงด้านนอก 30 cm. ท้ังสองข้าง โดยแกะพลาสเตอร์เฉพาะด้านที่แปะกับถุง อีกด้านยังไม่ต้องแกะพลาสเตอร์ออก ส่งทาให้ปราศจากเชื้อ โดยวธิ อี บแกส๊ Ethylene oxide (EO) หนา้ 65 ของ 99 หน้า

วิธกี ารใช้งาน 1. กางถงุ พลาสตกิ ออกเป็นสามเหลี่ยม นาปากถุงด้านทไี่ มม่ พี ลาสเตอรว์ างบนฝ่ามอื แพทย์ 2. นาถงุ พลาสตกิ ไปรองก้นผ้ปู ่วย ลอกพลาสเตอรต์ ดิ ยึดบรเิ วณหนา้ ขาผปู้ ว่ ย ตามความกว้างปากถงุ ที่ ต้องการ 3. พยาบาลชว่ ยรอบนอกตอ่ สายสาย Suction จากเคร่อื งดูดสุญญากาศ เขา้ กบั ยางซลิ โิ คนบรเิ วณกน้ ถุง สภาพการปฏิบตั ิงานก่อนและหลังการนาสิง่ ประดษิ ฐ์/นวัตกรรมไปใช้ สภาพกอ่ นการใชน้ วตั กรรม ปญั หาท่ีพบ: ใช้งานยงุ่ ยาก พยาบาลส่งผ่าตดั ต้องใชก้ ๊อซหมุ้ ปลายสายsuction เพ่ือปอ้ งกันการดูดของถุงแทนที่ สารละลายนา้ ปากถุงไม่กางออกทาใหส้ ารละลายน้าไหลออกนอกถุงไมส่ ามารถวัดปริมาตรน้าได้ สารนา้ และสาร คัดหล่งั ของผูป้ ่วยปนเปื้อนผูป้ ฏบิ ัตงิ านและสิง่ แวดล้อมในห้องผ่าตัด ผา้ ทต่ี ้องสง่ ทาความสะอาดมีปรมิ าณทม่ี าก เกนิ ความจาเป็น หนา้ 66 ของ 99 หน้า

สภาพหลงั ใชน้ วัตกรรม กอ่ นการปรบั ปรุง (PDCA1): ปากถุงไม่ นวตั กรรมปัจจุบนั (PDCA2) : ใช้พลาสเตอรต์ ดิ ยึดแทนเพอื่ ใหป้ ากถงุ กางออก กน้ ถุง กางออกตอ้ งใช้เคร่ืองมอื หนีบปากถุงไว้ ไมม่ นี า้ รั่วไหลออกนอกถงุ ไม่ปนเป้ือนผปู้ ฏิบัติงานและสงิ่ แวดล้อมในห้องผา่ ตดั ก้นถงุ มนี า้ ไหลออก หลังใช้นวัตกรรม : ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก โดยสามารถใช้สาย Suction เชื่อมต่อบริเวณก้นถุงได้เลยโดยไม่ จาเป็นต้องใช้ผ้าก๊อซปิดปากสาย Suction สารละลายน้าไหลลงถุงทั้งหมดวัดปริมาตรสารละลายน้าออกได้ อย่างแม่นยาและรวดเร็ว จึงช่วยป้องกันภาวะน้าเกินที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้ทันถ่วงที และยังป้องกัน ผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อมจากการสัมผัสสารน้าและสารคัดหลั่งของผู้ป่วย รวมทั้งลดปริมาณผ้าปนเปื้อนท่ี ตอ้ งทาความสะอาดได้ในปริมาณมากถึง 10-30 ชิน้ ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั ผลจากการใช้งานถุงตวงน้าพบว่า เกิดประโยชน์กับทั้งผู้ปฏิบัติงานในด้านลดความยุ่งยากในการ ปฏิบัติงาน ลดการปนเปื้อนสารน้าและสารคัดหลั่ง ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นของโรงพยาบาลลง และยังเกิด ประโยชน์กับผเู้ ข้ารบั บริการการผ่าตัดในด้านความปลอดภัยจากการปอ้ งกันภาวะน้าเกินที่อาจเกดิ ข้ึนได้และยัง ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายใหก้ ับผู้เข้ารับบรกิ ารและท่สี าคัญหลังการใชง้ านถุงตวงน้าสามารถวัดปรมิ าตรสารละลาย น้าออกได้อยา่ งแมน่ ยา และไม่พบสารละลายน้าไหลร่ัวออกนอกถุงไปสบู่ ริเวณอ่ืนอีก หนา้ 67 ของ 99 หน้า

ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ของสิ่งประดษิ ฐ์ / นวัตกรรม ผลดาเนินการ (เดอื น/ป)ี ตวั ชี้วัด เป้าหมาย ก่อน หลงั ดาเนนิ การ 1. อตั ราความถูกตอ้ งในการประเมนิ ปรมิ าตรสารละลายนา้ ออก (%) >95 ต.ค.-พ.ย. ครง้ั ที่1 ครงั้ ที่2 2. อัตราการปนเปื้อนสารนา้ และสารคัดหล่ังของบคุ ลากรและ พ.ย.-ธ.ค. ธ.ค.2562- ส่งิ แวดลอ้ ม (%) 2562 2562 ก.พ.2563 3. ปรมิ าณผ้าปนเปือ้ นสารนา้ และสารคดั หลั่งทต่ี ้องทาความสะอาดตอ่ หนงึ่ หัตถการ (ช้ิน) 80 90 98 4. อัตราความพึงพอใจของผู้ปฏิบตั งิ านต่อการใช้งานถุงตวงน้า (%) <10 80 50 5 <30 30-40 20 5 >90 40 70 98 การเรยี นรูท้ ไี่ ดร้ บั จากการทาโครงการและการขยายผล ได้เรียนรู้ความสาคัญในการป้องกันภาวะน้าเกินที่เป็นอันตรายต่อชีวิตซึ่งอาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้ จึงได้ นามาคิดวิเคราะห์โดยอาศัยองค์ความรู้ด้าน 2P SAFETY ตามนโยบายของคณะ โดยปัญหาที่พบคือ ยังไม่สาม รถวัดปริมาตรสารละลายน้าออกได้ทั้งหมด จึงอาศัยองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรมคิดค้นรูปแบบนวัตกรรม โดยได้รับความรว่ มมือจากผปู้ ฏิบตั ิงานจนทาให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ในคร้ัง นี้ และมีการเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นทดลองใช้งานและหวังขยายผลให้เกิดการใช้งานภายนอกคณะเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพตอ่ ไป การควบคมุ /ตดิ ตาม/ประเมินผล/การปอ้ งกนั ปัญหาเกดิ ซ้า ติดตามประเมินผลต่อเนื่องไปอีก 6-12 เดือน ควบคุมการประดิษฐ์ให้ได้มาตรฐานตามขั้นตอน ประเมิน และใช้ตัวชี้วัดรูปแบบเดิมดังตารางตัวชี้วัดความสาเร็จข้างต้น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาซ้า โดยหากมีอัตรา ลดลงจากเปา้ หมายเดิม ให้พจิ ารณาเพ่อื ปรับปรุงและประเมนิ การใชง้ านนวัตกรรมถุงตวงนา้ ใหม่อีกครงั้ หน้า 68 ของ 99 หน้า

โครงการ/กิจกรรม/โอกาสพัฒนาในคร้งั ตอ่ ไป นวัตกรรมถุงตวงน้า จะมีการปรับปรุงรูปแบบเพ่ือให้ได้วัสดุที่มีความแข็งแรงคงทนขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมที่ใช้ในการป้องกันภาวะน้าเกินที่อาจเกิดข้ึนกับผู้ป่วย โดยอาจใช้ระยะเวลาดาเนินการประมาณ 6-8 เดอื นโดยทีมผปู้ ระดษิ ฐ์ จะทดลองใชใ้ นและนอกหนว่ ยงานเพ่ือปรบั ปรงุ คุณภาพต่อไป การสรปุ ตคี วามโดยทีมถอดบทเรียน มีปัญหาด้านการเขียนผลงาน ทั้งในส่วนของความถูกต้องของเนื้อหา และการเขียนที่ถูกต้องสวยงาม อาจารย์แนะนาวิธีเขียนให้เขียนเหมือนที่เราต้องการบรรยาย การบรรยายบรรยายได้ครอบคลุมเข้าใจง่าย แต่ ในการเขยี นผู้อ่านยังตอ้ งอา่ นทาความเขา้ ใจอยู่พอสมควร บทเรียนทไ่ี ดร้ บั /ปัจจัยแห่งความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ ฝึกการเขียนผลงานให้มากกว่านี้ ตรวจสอบความถูกต้องของทั้งเนื้อหา รูปแบบ และยังได้เทคนิคการ เขยี นท่ที าให้ผู้อา่ นใหค้ ะแนนเพ่มิ เตมิ ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ มาจากการช่วยเหลือกันในทมี ขอ้ เสนอแนะ อยากให้มีการจัดฝึกอบรมการเขียนผลงานให้ถูกต้อง ชี้แนะแนวทางการเขียนผลงาน รวมทั้งฝึกเขียน ฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริง ผู้ถอดบทเรยี น คณุ อรนุช อินทะสะ หอ้ งผา่ ตัดสูติ-นรเี วช งานการพยาบาลผา่ ตดั ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี หน้า 69 ของ 99 หน้า

ชือ่ เรอ่ื ง การเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยหลังทาหัตถการหัวใจ โดยใช้ Patient experience ปรับปรุงกระบวนการดแู ลผปู้ ว่ ยอยา่ งตอ่ เน่อื ง วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2563 เวลา 13.30-14.00 น หอ้ งประชุม หอ้ งประชุม 910 ช้ัน 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียน พยาบาลรามาธบิ ดี วทิ ยากร คุณอัญศินีย์ นันตะสุคนธ์ หอผู้ป่วยหลังทาหัตถการหัวใจ งานการพยาบาลห้อง ผา่ ตัดและวกิ ฤต ฝ่ายการพยาบาลศนู ยก์ ารแพทย์สริ ิกิติ์ รูปแบบการนาเสนอ การบรรยายประ กอบสไลด์นาเส นอผลงาน CQI ( Slide Power Point Presentation) หอผู้ป่วยหลงั ทาหตั ถการหัวใจได้จดั ทาโครงการโทรศัพท์ติดตามเยย่ี มผู้ปว่ ยหลงั ทาหัตถการหัวใจและ หลอดเลือด ภายใต้ช่ือโครงการ We Care Your Heart (เราดูแลหัวใจคุณ) ต้ังแต่ ปีพ.ศ.2556 เพ่ือติดตาม อาการและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนภายหลังทาหัตถการที่อาจเกิดข้ึน รวมทั้งให้ความรู้ในการดูแลตนเอง หลังจากผู้ป่วยกลับบ้าน ทาให้ผู้ป่วยลดความวิตกกังวลและสร้างความม่ันใจให้ผู้ป่วยและญาติในการดูแล ตนเอง ระยะแรกเร่ิมดาเนินการ พยาบาลจะนัดหมายติดตามเย่ียมผู้ป่วยทางโทรศัพท์ในวันท่ี 3 หลังจาหน่าย กลับบ้าน โดยจากัดเฉพาะผู้ป่วยทาหัตถการหัวใจกลุ่มเส่ียง ต่อมาได้มีการขยายผลโดยโทรศัพท์ติดตามเย่ียม ผู้ป่วยหลังทาหัตถการหัวใจทุกรายจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากผลการติดตามผลการเย่ียมผู้ป่วยทางโทรศัพท์และ หน้า 70 ของ 99 หน้า

แนะนาให้ความรู้แก่ผู้ป่วยได้สาเร็จมีแนวโน้มจานวนลดลงและไม่ถึงเป้าหมาย เช่น ในช่วงเดือนมกราคมถึง เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2562 พบวา่ สามารถโทรศัพทต์ ิดตามเย่ยี มผู้ป่วยและแนะนาให้ความรู้ได้สาเร็จเฉลีย่ รอ้ ย ละ 90.24 ต่อเดือน (เป้าหมายติดตามได้ร้อยละ 95) ผู้ป่วยและญาติมีคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยอยู่ในระดับ 4.29 (เป้าหมายระดบั 4.5) รวมทงั้ เสยี งของลกู ค้า ผู้ปว่ ยและญาตสิ ่วนหน่ึงยังมีความวติ กกงั วล/ไม่ม่นั ใจในการ ดูแลตนเองภายหลังทาหัตถการหัวใจและขณะพักฟ้ืนท่ีบ้าน ซ่ึงสอดคล้องกับผลจากการทาโครงการค้นหา ความตอ้ งการของผู้ปว่ ย (patient experience) ในเชิงรุก ผา่ นการทา Patient journey map & Pain Point ในผู้ป่วยที่ admit ในหอผู้ป่วยหลังทาหัตถการหัวใจ เมื่อนาผลมาวิเคราะห์หาสาเหตุ อาจเกิดจากปัญหานัด หมาย/สื่อสารเพ่ือโทรศัพท์ติดตามเย่ียมไม่ชัดเจน การโทรศัพท์ติดตามเยี่ยมครั้งเดียวไม่เพียงพอ ผู้ป่วยไม่ เข้าใจ/ลืมการปฏิบัติตัวและการดูแลแผลที่พยาบาลให้คาแนะนาก่อนกลับบ้าน แผ่นพับความรู้เก่ียวกับ คาแนะนาการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยที่พยาบาลให้ไปสูญหาย ดังนั้น หอผู้ป่วยจึงได้นาข้อมูลที่ได้ดังกล่าวมา ปรบั ปรุงโครงการ We Care Your Heart (เราดูแลหวั ใจคุณ) โดยออกแบบจากการนาประสบการณ์ของผู้ปว่ ย (Patient experience) มาปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการบริการของหน่วยงาน เช่น จัดทาบัตรนัดหมายการ โทรศัพท์ติดตามเย่ียมผู้ปว่ ยภายหลงั จาหนา่ ยกลับบ้าน (Your Heart We Care card), การทา QR Code การ ใหค้ วามรแู้ ละการปฏบิ ัตติ ัว/ดูแลแผลตดิ ไว้ทีบ่ ัตรติดตามเยยี่ ม และเพ่ิมจานวนครง้ั ในการโทรศัพท์ติดตามเยยี่ ม ผปู้ ่วยหลังทาหัตถการหัวใจ จะเห็นได้ว่า หอผู้ป่วยหลังทาหัตถการหัวใจซ่ึงให้บริการผู้ป่วยระยะส้ัน ผู้ป่วย Admit ไม่เกิน 24 ช่ัวโมง ภายหลังทาหัตถการ ได้เล็งเห็นความสาคัญในส่วนของกระบวนการดูแลอย่างต่อเน่ือง (Continuing care process) ที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ มีการวางแผนกาหนดเป้าหมายในการดูแลร่วมกันกับผู้ป่วย สร้างทักษะและความม่ันใจให้ผู้ป่วยและครอบครัวในการสังเกตภาวะแทรกซ้อนและการดูแลแผล/การดูแล ตนเองหลังจากทาหัตถการหัวใจได้ หากเกิดภาวะผิดปกติบริเวณแผลท่ีทาหัตถการ ผู้ป่วยสามารถโทรศัพท์ ปรึกษาและจัดการเบือ้ งต้นได้โดยไมต่ อ้ งมากลับมาพบแพทย์ ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางมารักษาพยาบาล ในโรงพยาบาล สามารถลดปัญหาการกลับมารกั ษาซ้าในโรงพยาบาลได้ ส่งผลให้ผู้รับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจใน บริการของหนว่ ยงานและโรงพยาบาลรามาธบิ ดเี พิม่ มากขนึ้ หนา้ 71 ของ 99 หน้า

การวเิ คราะหส์ าเหตุ (Root cause analysis) หนา้ 72 ของ 99 หน้า

กระบวนการทางาน (Workflow) การวิเคราะห์ปัญหาของโครงการ โดยใช้แผนภูมิก้างปลาและสถิติ&Voice of Customer จาก โครงการค้นหาความตอ้ งการของผู้ปว่ ย (patient experience)ในเชงิ รกุ ผ่านการทา Patient journey map หน้า 73 ของ 99 หน้า

รปู ภาพท่ี 1 แสดงเครอ่ื งมือ Patient journey map & Pain Point ที่หอผู้ป่วยจัดทาขึ้น วิเคราะห์ปัญหาจากสถิติ และเสียงของลูกค้า จากโครงการค้นหาความต้องการของผู้ป่วย (patient experience) ในเชิงรุก ผ่านการทา Patient journey map & Pain Point พบว่า จานวนผู้ป่วย 54% วิตก กังวล ตื่นเต้น กลัวท่ีต้องทาหัตถการ จานวนผู้ป่วย 85% ขาดความรู้ ความม่ันใจในการดูแลตนเองเมื่อกลับ บ้าน ข้อเสนอแนะของผู้ป่วยอยากให้พยาบาลติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์อย่างต่อเน่ืองมากกว่า 1 ครั้ง และ สามารถโทรศพั ท์ปรึกษาไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง ถา้ มปี ญั หาสุขภาพ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อใหต้ ิดตามเยี่ยมผปู้ ว่ ยภายหลังจาหนา่ ยผปู้ ่วยกลับบา้ นสาเร็จไดม้ ากกว่ารอ้ ยละ 95 2. เพื่อใหผ้ ปู้ ว่ ยและญาติมีความรใู้ นการปฏิบตั ิตวั หลงั ทาหตั ถการหัวใจ 3. เพอ่ื ให้ผูป้ ่วยและญาตมิ ีความม่นั ใจในการปฏิบตั ติ ัวหลังทาหตั ถการหัวใจ 4. เพอ่ื ให้ผปู้ ว่ ยและญาติมีความพงึ พอใจการใหบ้ ริการของหอผปู้ ว่ ยหลงั ทาหตั ถการหวั ใจ กระบวนการปรบั ปรุง / วธิ ีการแกไ้ ขปรับปรุง การโทรศัพท์ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยหลังทาหัตถการหัวใจ ภายใต้ช่ือโครงการ We Care Your Heart (เรา ดูแลหัวใจคุณ) เป็นภาระงานประจาของหอผู้ป่วยท่ีเกิดขึ้นจากผลงานปรับปรุงคุณภาพ (CQI) ที่หมุนวงรอบ หน้า 74 ของ 99 หน้า

และต่อยอดโครงการเดิมอย่างต่อเน่ือง เริ่มต้ังแต่ปี พ.ศ.2554 ถึงปัจจุบัน เพ่ือให้ผู้ป่วยคลายวิตกกังวล ม่ันใจ และสามารถจัดการกับภาวะแทรกซ้อนท่ีเกิดข้ึนได้ ผู้ป่วยจะได้พักฟื้นเต็มที่และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เป็น การจัดบริการเชิงรุกท่ีเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลของผู้รับบริการ แสดงถึงความห่วงใยในการให้บริการของหอผู้ป่วย และมกี ารดาเนนิ การจนถงึ ปจั จบุ ัน ประเดน็ การ แนวปฏบิ ัติงานเดิม ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 1(ก.ย.-ธ.ค.62) ปรับปรุงครัง้ ที่2 ปรบั ปรงุ (ม.ค.63 จนถงึ ปจั จบุ ัน) 1. การนัดหมาย วันท่จี าหนา่ ยผู้ปว่ ยกลับบ้านได้ ขอความยินยอม ชีแ้ จงพร้อมให้ ยังคงปฏิบตั เิ ชน่ เดยี วกบั การ โทรศพั ท์ตดิ ตาม พยาบาลจะใหค้ าแนะนาต่าง ๆ บัตรนดั การโทรเยยี่ ม ท่มี ีการ ปรับปรงุ คร้งั ท1่ี เยี่ยม พร้อมขอความยินยอมและบอก บนั ทึกวันท่จี ะติดต่อผูป้ ่วย/ญาติ ผ้ปู ่วยว่าจะโทรตดิ ตามเย่ยี มและ ลงในบตั ร Your Heart We บัตรนัดการโทรเยย่ี มมีการ สอบถามลักษณะแผลในวนั ที่ 3 Care และอธบิ ายขอ้ มูลในบัตร ปรบั ปรงุ ใหส้ วยงาม ชดั เจน หลังจากกลับบ้าน ถา้ มีปญั หา พร้อมทั้งการใช้งานใหผ้ ู้ป่วย/ เพม่ิ QR Code คมู่ อื การปฏิบตั ิ สขุ ภาพสามารถโทรศัพทป์ รึกษา ญาตทิ ราบ ตวั ไดต้ ลอด 24 ชม. 2.ความถ/่ี จานวน พยาบาลโทรศัพทต์ ิดตามเยี่ยม พยาบาลโทรศัพท์ตดิ ตามเยี่ยม ยงั คงปฏบิ ตั ิเชน่ เดยี วกบั การ คร้งั ในการ ผู้ปว่ ยหลังทาหตั ถการหัวใจ ผ้ปู ว่ ยหลงั ทาหตั ถการหวั ใจ ปรบั ปรุงครัง้ ที่ 1 โทรศพั ท์ติดตาม วันที่ 3 หลังจาหนา่ ยกลับบา้ น ภายใน 24 ชว่ั โมงแรก และวันที่ เยี่ยม 3 หลงั จาหนา่ ยกลบั บ้าน 3.การใหค้ วามรู้ อธิบาย สอน พรอ้ มใหเ้ อกสาร อธบิ าย สอน พรอ้ มใหเ้ อกสาร เพิ่ม QR Code ค่มู อื การ แผน่ พบั คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ัวหลัง แผน่ พบั คู่มือการปฏิบัตติ วั หลงั การ ปฏิบตั ติ วั หลงั การทาหัตถการ การทาหัตถการหัวใจ ทาหัตถการหวั ใจ (เหมอื นแนว หวั ใจ และการประเมินแผล ปฏบิ ัตเิ ดมิ ) บริเวณท่ที าหัตถการในบตั ร นดั Your Heart We Care (ยังคงมกี ารอธิบาย สอนและให้ แผน่ พบั ค่มู ือเหมือนเดิม) 4.วธิ ปี ระเมิน สอบถามผ้ปู ่วยใหค้ ะแนนโดยตรง สามารถเขียนขอ้ เสนอแนะและ ยังคงปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกบั การ ความพึงพอใจ มีข้อคาถามเดยี ว คือระดับความ ประเมนิ ความพงึ พอใจออนไลน์ ปรบั ปรงุ ครั้งที่ 1 และขอ้ เสนอแนะ พงึ พอใจ 1-5 (ผู้ปว่ ยตอ้ งตอบ ผา่ นQR code ที่แสดงอยู่บนบตั ร คาถามเลย อาจเกรงใจไมก่ ลา้ ให้ ไดอ้ ยา่ งเต็มที่ ทาใหห้ นว่ ยงาน คะแนนนอ้ ยหรือไม่กลา้ เสนอแนะ นามาใชใ้ นการปรบั ปรงุ การบรกิ าร ตชิ ม) และเปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทา R2R ได้ หนา้ 75 ของ 99 หน้า

ประเดน็ การ แนวปฏบิ ตั งิ านเดมิ ปรับปรงุ ครงั้ ที่ 1(ก.ย.-ธ.ค.62) ปรบั ปรงุ ครัง้ ที่2 ปรบั ปรงุ (ม.ค.63 จนถงึ ปัจจบุ นั ) 5.การบริหาร เกบ็ เอกสารเพ่ือการติดตามตรวจ แยกแฟ้มเอกสารการเย่ยี ม เป็น 2 ยังคงปฏิบัตเิ ชน่ เดยี วกับการ จดั การ และการ ส่ือสารเกย่ี วกับ เยีย่ มในแฟม้ 1 แฟ้ม ดงั นี้ แฟม้ (เอกสารเดยี วกันกับแนว ปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 1 การโทรศัพท์ ตดิ ตามเย่ียมของ -ใบบันทกึ off sheath ที่ข้อมูล ปฏิบัติเดิม) โดย เพ่ิมการส่งเวรระหว่าง เจา้ หนา้ ที่ ครบถว้ นและเบอรโ์ ทรศพั ท์ที่ แฟม้ ที่ 1 สาหรบั ผปู้ ว่ ยท่ีตอ้ งเยี่ยม เจา้ หน้าท่ที างไลนก์ ร๊ปุ กรณีท่ี สามารถติดต่อผปู้ ว่ ย/ญาติได้ ภายใน 24 ชว่ั โมงแรก ยังโทรศพั ท์ติดตามผปู้ ว่ ยไมไ่ ด้ โดยตรง แฟ้มที่ 2 สาหรบั ผ้ปู ่วยทต่ี ้องเยี่ยม -แบบประเมินการได้รับขอ้ มลู เม่ือ ในวันที่ 3 ภายหลงั การจาหน่าย ผู้ป่วยกลับบา้ น (เมือ่ โทรเยีย่ มผู้ปว่ ยภายใน 24 -เอกสารบันทกึ ประเด็นทตี่ อ้ ง ช่วั โมงแรก แฟ้มท1่ี แล้วจะยา้ ย ติดตามเยี่ยม เอกสารมาใส่ในแฟม้ ท2ี่ เพ่ือรอการ โทรเยี่ยมในวันที่ 3 6.การนา - ทุกเดือนทม่ี กี ารประชุม - ทกุ เดอื นทมี่ ีการประชมุ และทุก ยังคงปฏิบตั ิเชน่ เดยี วกับการ ขอ้ เสนอแนะมา ครั้งท่มี ีข้อเสนอแนะกลับจากผู้ป่วย ปรบั ปรงุ คร้ังที่ 1 ปรับปรงุ การ - ขอ้ เสนอแนะค่อนขา้ งน้อย บรกิ าร จากการใช้เคร่อื งมอื การ - ข้อเสนอแนะ คาติชม ประเมินทผี่ ู้ป่วยไมส่ ามารถบอก คอ่ นขา้ งมากจากการใช้เครื่องมือ ตามตรงหรือสะทอ้ นกลบั ได้ ไม่ การประเมนิ ทีผ่ ู้ป่วยสามารถ พิมพ์ มหี ลักฐานเน่ืองจากเปน็ การ อธิบายหรือสะทอ้ นกลับได้อย่าง บอกเลา่ การแกป้ ญั หาอาจ อิสระ มีหลักฐานเน่ืองจากใช้ ล่าชา้ google form ทส่ี ามารถบันทึกเกบ็ ไว้ได้ - สามารถดขู ้อมูล feedback จาก ผู้ป่วย real time ได้ ทาให้แกไ้ ข ปรับปรงุ การบริการไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 7.ทมี แพทย์ - อาจารย์แพทยห์ วั หน้าหอ้ ง - ปฏบิ ตั ิเช่นเดมิ -ยงั คงปฏิบตั เิ ชน่ เดียวกับการ พยาบาลและ ปรบั ปรุงคร้ังท่ี 1 บุคลากรท่ี Cath. Lab เปน็ ท่ปี รกึ ษา และให้ - มีการ Update การปฏบิ ตั งิ าน เก่ยี วข้อง คาแนะนา โดยมผี ชู้ ่วยแพทย์ที่ หากมกี ารปรบั เปลี่ยน - จดั ทาแนวทางการปรึกษา หมนุ เวยี นมาช่วยเป็นท่ปี รกึ ษา แพทย์ เภสัชกรและการจดั การ เบื้องต้น เบื้องต้นหากผูป้ ่วยมปี ัญหาหรอื มี - เพม่ิ เติมการปรึกษาเภสชั กรเรื่อง ภาวะแทรกซ้อน ยา หนา้ 76 ของ 99 หน้า

ประเดน็ การ แนวปฏบิ ัติงานเดิม ปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 1(ก.ย.-ธ.ค.62) ปรับปรงุ คร้ังที่2 ปรบั ปรงุ (ม.ค.63 จนถงึ ปจั จบุ ัน) - หัวหน้าและทมี พยาบาลหอ้ ง สวนหัวใจเป็นผรู้ ่วมประสานงาน กบั ทีมพยาบาลหอผู้ปว่ ยฯ ในการ ส่งต่อปญั หา/ดาเนินการแกไ้ ข ปัญหา ในกรณผี ปู้ ่วยตอ้ งกลบั มา รักษาทโี่ รงพยาบาล -ทมี งานมกี ารทบทวนแนวปฏิบตั ิ ในการโทรเยยี่ มและการให้ คาแนะนาความรูแ้ กผ่ ปู้ ว่ ย แผนการดาเนินกิจกรรม ระยะเวลาดาเนนิ การ ผรู้ บั ผิดชอบ / บทบาท หน้าทีข่ องผู้รบั ผิดชอบ ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ.2563 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. . (ระยะที่ 1) วางแผน/ประชมุ เจ้าหน้าที่ภายใน หัวหน้าหอผ้ปู ่วย หอผ้ปู ่วย เพือ่ ปรึกษาเร่ืองการตดิ ตามเยยี่ ม อญั ศนิ ยี แ์ ละทีมฯ ผปู้ ่วย (Plan 1) กาหนดภาระงาน และ มอบหมายเจ้าหน้าท่ี อญั ศินีย์ รับผดิ ชอบ(Plan 1) หวั หนา้ โครงการ จัดทาบัตรตดิ ตามเยย่ี มผปู้ ่วยภายหลังจาหนา่ ย อญั ศนิ ีย,์ สุภาพร, ธน กลับบา้ น(Your Heart We Care) (Do 1) ภรณ์ ปฏบิ ัตกิ ารลงหน้างาน ระยะท่ี 1 (Do 1) อัญศินีย์และทมี ฯ ประเมินผลระยะที่ 1 และสรปุ ปญั หาท่พี บ หวั หน้าหอผปู้ ว่ ย (Check+Act 1) อัญศินยี ์และทีมฯ หน้า 77 ของ 99 หน้า

ระยะเวลาดาเนนิ การ ผรู้ บั ผดิ ชอบ / บทบาท หนา้ ท่ีของผ้รู บั ผิดชอบ ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ.2563 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. . (ระยะท่ี 2) วางแผน/ประชมุ เรอื่ งการเพ่ิม QR หัวหน้าหอผ้ปู ว่ ย code คมู่ อื การปฏิบัติตวั อญั ศินีย์และทมี ฯ +แบบประเมินแผล ลงในบตั ร Your Heart We Care (Plan 2) จดั ทา QR code คู่มอื การปฏบิ ตั ติ วั + แบบ อญั ศินีย์ ประเมินแผล ลงในบตั ร Your Heart We Care หวั หนา้ โครงการ (Do 2) ปฏิบัติการลงหน้างาน ระยะที่ 2 (Do2) อัญศินีย์และทีมฯ ประเมนิ ผลระยะที่ 2 และสรุปปญั หาทพ่ี บ หั ว ห น้ า ห อ ผู้ ป่ ว ย เพิ่มเตมิ (Check+Act2) อญั ศนิ ีย์และทีมฯ วางแผนงาน ปฏิบตั ิจรงิ รูปภาพที่ 2 แสดงบตั รตดิ ตามเยย่ี มผ้ปู ่วยภายหลงั จาหนา่ ยกลับบา้ น (Your Heart We Care card) ภาพบน - ดา้ นในของบตั ร ภาพลา่ ง-ดา้ นหน้าและด้านหลงั บัตร หนา้ 78 ของ 99 หน้า

ตวั ชีว้ ดั ผลสาเร็จ/ผลดาเนินโครงการ ผลการดาเนินการภายหลังการปรับปรุงกระบวนการ ช่วงเดือนกันยายนถึงธันวาคม พ.ศ. 2562 สามารถติดตามเย่ียมผู้ป่วยได้ในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 97.31 จากการสารวจผ่านแบบสอบถามออนไลน์ พบว่า ผปู้ ่วยและญาติมีความรใู้ นการปฏิบัติตวั หลังทาหตั ถการหัวใจระดับ 4.59 มีความม่ันใจในการปฏิบัติตวั หลงั ทา หัตถการหัวใจระดับ 4.54 และมีความพึงพอใจการให้บริการระดับ 4.86 ภายหลังการปรับปรุงเพ่ิม QR code เช่ือมโยงไปยังคู่มือการปฏิบัติตัวหลังการฉีดสีขยายหลอดเลือดหัวใจ ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงมีนาคม 2563 สามารถติดตามเยี่ยมผู้ป่วยได้ในอัตราเฉล่ียร้อยละ 97.48 ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ในการปฏิบัติตัวหลังทา หตั ถการหัวใจระดบั 4.67 มีความม่ันใจในการปฏิบัติตัวหลังทาหัตถการหัวใจระดับ 4.60 และมีความพงึ พอใจ การใหบ้ รกิ ารของหอผปู้ ่วยหลงั ทาหตั ถการหวั ใจระดบั 4.89 ผลการปรบั ปรงุ / ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับเม่ือดาเนินงานเสร็จส้ิน ประโยชน์ที่ได้รับเมื่อนาผลงานมาใช้ 1. ผู้ป่วยมีความรู้ และทักษะรวมถึงความม่ันใจการดูแลแผล/การดูแลตนเอง สามารถสังเกต ภาวะแทรกซ้อนภายหลังจากทาหัตถการหัวใจได้ โดยมีช่องทางในการปรึกษาโดยตรงจาก แพทย์/พยาบาลที่ดูแลทาหัตถการ สามารถช่วยแก้ปัญหาและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ รุนแรง ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมารักษาพยาบาล และสามารถลดปัญหาการกลับมา รักษาซา้ ในโรงพยาบาลได้ 2. ทมี ผู้ให้การรักษาแพทย์ห้องสวนหัวใจ ได้รับประโยชน์จากโครงการน้ี คือ มีผู้ดูแลผู้ป่วยภายหลัง ทาหัตถการอย่างต่อเนื่องทาให้การดูแลรักษามีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น มีส่อื กลางเช่อื มต่อข้อมูล การรักษาระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนภายหลังผู้ป่วยจาหน่ายกลับบ้าน เป็น การดแู ลผูป้ ่วยทีค่ รบวงจรและได้รบั คาชน่ื ชมจากผู้ปว่ ยและญาตเิ ม่ือมาพบแพทย์ตามนดั 3. ทีมผู้ให้การพยาบาล ได้นาแนวคิดการใช้ patient experience มาปรับปรุงกระบวนการดูแล ผปู้ ่วยใน Process Management อื่นๆ เชน่ การใหข้ อ้ มูลการทาหัตถการเพอ่ื ลดความวิตกกงั วล หนา้ 79 ของ 99 หน้า

ของผู้ป่วยก่อนการ Admit ปรับปรุงการดูแลให้การพยาบาลขณะผู้ป่วย Admit รวมถึงการ วางแผนจาหน่ายและการเสริมพลังผปู้ ว่ ย เป็นต้น 4. หอผู้ป่วยมีมาตรฐานการทางาน เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ช่วยส่ือสารให้สมาชิกได้ปฏิบัติ เป็นแนวทางเดียวกัน ปอ้ งกันการเกิดความผิดพลาดในการทางานและหัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้า ทมี เป็นท่ีปรกึ ษา กากบั ดแู ลใหแ้ ก่ผปู้ ฏิบัตงิ าน การควบคมุ / ตดิ ตาม / ประเมินผล / การป้องกนั ปัญหาเกิดซ้า ประชุมทมี พยาบาลติดตามเยี่ยมผปู้ ว่ ยทางโทรศพั ทท์ ุกเดือน และทกุ ครง้ั เมื่อเกดิ อปุ สรรคปญั หา ดังน้ี  ช้ีแจงทาความเข้าใจการใช้บัตรติดตามเยี่ยมผู้ป่วยภายหลังจาหน่ายกลับบ้าน (Your Heart We Care card) และทบทวนขัน้ ตอนการติดตามเยีย่ มผปู้ ่วย พรอ้ มท้ังเขียนเป็นมาตรฐานแนวปฏบิ ัติใน การทางานของหอผูป้ ว่ ย  ประเมินผลการติดตามเย่ียมผู้ป่วยทาหัตถการหัวใจผ่านทางโทรศัพท์ทุกราย และมีการส่งเวรเมื่อ ติดตามผู้ปว่ ยไม่ได้  แลกเปล่ียนข้อมูลปัญหาและอุปสรรคในการโทรศัพท์ติดตามเย่ียมผู้ป่วยรวมถึงข้อเสนอแนะของ ผู้ป่วยและญาติให้ทีมงานรับทราบ เพ่ือทบทวนและปรับปรุงการดาเนินการ จัดตั้งไลน์กรุ๊ป โดยเฉพาะสาหรับสือ่ สารระหว่างทมี  หัวหน้าหอ/หัวหน้าทีม ทาการทบทวนความรู้เก่ียวกับการทาหัตถการหัวใจและคาแนะนาในการ ปฏิบัติตัวของผู้ป่วย ให้กับทีมงานเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีการทากรณีศึกษาใน case ผู้ป่วยท่ี มีปัญหา เปน็ ตน้ ผลจากการควบคุม ทาให้ทีมงานติดตามเย่ียมผู้ป่วยได้เกินเป้าหมาย (>95%) จากเดิม 90.24% เป็น 97.48% และผู้ป่วยมีความพึงพอใจเพ่ิมจากเดิม ทีมงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมั่นใจและเป็นระบบมาก ย่ิงขึน้ หน้า 80 ของ 99 หน้า

การสรปุ ตีความโดยทีมถอดบทเรยี น บทเรยี นท่ไี ด้รับ/ปัจจยั ความสาเรจ็ /ข้อเสนอแนะ 1. ทีมงานได้ใช้องค์ความรู้ใหม่ เก่ียวกับการค้นหาข้อมูลความต้องการของผู้ป่วยเชิงรุกโดยใช้ ประสบการณ์ของผู้ปว่ ย (patient experience) ทาให้สามารถรับรู้ความต้องการของผู้ป่วยได้ครอบคลุม และ สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เกิดการสร้างสัมพันธภาพท่ีดี ส่งผลให้ ระดับความพึงพอใจในการบริการสูงเกินเป้าหมายและหอผู้ปว่ ยฯได้รับจดหมายคาชื่นชมจากผู้รับบริการ และ เกิดความผูกพันของผู้รับบริการ (Customer Engagement) ทาให้เป็นกาลังใจในการปฏิบัติและพัฒนางานได้ เป็นอยา่ งดี 2. ผู้ป่วย/ผู้รับบริการมีช่องทางในการปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับการรักษาทาหัตถการได้โดยตรง มีการ วางแผนการจาหน่าย การใหค้ วามร้เู กย่ี วกับการปฏิบตั ิตวั การรับประทานยา การตรวจตามนดั มีการเสริมพลัง และติดตามลักษณะแผลท่ที าหัตถการอยา่ งเป็นระบบ เม่ือเกิดภาวะแทรกซ้อนท่ีเกิดจากการรกั ษาทาหัตถการ หัวใจ ผู้ป่วยสามารถพบแพทย์ผู้ทาหัตถการได้โดยไม่ต้องไปรอผ่านที่ห้องฉุกเฉิน เกิดระบบ Special Fast tract ขน้ึ ในระบบบริการของทีม Cardio ซ่ึงทาให้ผู้ป่วยสะดวก ไมเ่ สียเวลาในการรอคอย เป็นการชว่ ยลดความ แออัดในห้องฉุกเฉนิ อีกด้วย 3. เนื่องจากการใช้ patient experience ในการค้นหาความต้องการของผู้ป่วย เป็นวิธีการใหม่ และ เป็นที่สนใจของทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการด้านบริการสุขภาพ มีการขยายผลในหน่วยงานอ่ืนขององค์กร บริหารการพยาบาล ทั้ง 3 ฝ่ายฯ ในคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มีการขยายแนวทางปฏิบัติไปยัง ฝ่ายการพยาบาลศูนย์การแพทย์สิริกิต์ิ และได้นาเสนอเป็นตัวอย่างในการทา patient experience ในที่ ประชมุ ใหญ่ของฝ่ายการพยาบาลฯ 4. เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการคิดวิเคราะห์ ปรับปรุงและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ มีการบูรณา การหลากหลายแนวคิด เช่น การใช้ design thinking concept, การปรับ Mindset, การปรับพฤติกรรม มา ใช้ในการพัฒนางานร่วมกับการใช้เคร่ืองมือทางคุณภาพ เช่น 3C-PDCA, AAR, KM, patient experience มา ปรับปรงุ กระบวนการการดูแลสขุ ภาพใหไ้ ด้ตรงตามมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพเพม่ิ ขน้ึ 5. เกิดการทางานร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชาชีพโดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง เกิดความสามัคคี ร่วมใจกนั ดาเนินโครงการของสมาชิกในทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุงการติดตาม เยี่ยมและเก็บข้อมูล เป็นการมุ่งเรียนรู้ร่วมกันเป็นอย่างดี การคิดนอกกรอบนาเทคโนโลยีมาช่วยใช้แก้ปัญหา นอกจากเป็นการพฒั นาคุณภาพงานพยาบาลให้ดียิ่งข้ึนแล้ว ยังเป็นก้าวแรกในการปูพ้ืนฐานนาไปสู่การวิจัยใน งาน (R2R) ตอ่ ไป หนา้ 81 ของ 99 หน้า

ขอ้ แนะนาจากผู้วพิ ากษ์ รศ. นพ.มงคล คณุ ากร หัวหนา้ ภาควชิ าพยาธิวิทยา - ช่ืนชมผลงานและทีมบุคลากรท่ีมีการปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง โดยมองประโยชน์ของ ผู้ปว่ ยเป็นหลกั ควรมีการขยายผลโครงการไปสหู่ น่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง นพ.ณรงค์ฤทธิ์ มัศยาอานนท์ ผูอ้ านวยการศนู ยก์ ารแพทยส์ ริ กิ ติ ิ์ - ชื่นชมผลงานและทีมบุคลากร ที่มีการทางานเป็นทีม พัฒนาคุณภาพงานพยาบาลได้อย่างต่อเน่ือง และเสนอแนะควรให้มีการขยายผลไปยังหนว่ ยงานอื่น ๆ นอกจากน้ีควรมีการติดตามผลในเรื่องของอัตราการ รับผู้ป่วยซ้าจากการเกิด ภาวะแทรกซ้อน หรือการติดตามค่าใช้จ่ายท่ีลดลงของท้ังผู้ป่วยและของโรงพยาบาล จากการท่ีดูแลตนเองได้อย่างถกู ต้องและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ผูถ้ อดบทเรียน คณุ อญั ศินยี ์ นันตะสุคนธ์ หอผปู้ ่วยหลงั ทาหตั ถการหัวใจ งานการพยาบาลห้องผา่ ตัดและวิกฤต ฝ่ายการพยาบาลศูนย์การแพทยส์ ริ กิ ิต์ิ หน้า 82 ของ 99 หน้า

ชือ่ เรือ่ ง Quality improvement of unplanned extubation by RASS and CAM-ICU tools วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2563 เวลา 14.00 น. หอ้ งประชุม หอ้ ง 910 ช้นั 9 อาคารเรียนและปฏบิ ตั ิการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียน พยาบาลรามาธบิ ดี วิทยากร คณุ ศิวพันธ์ ยุทธแสน รูปแบบการนาเสนอ นาเสนอผลงาน CQI หอผู้ป่วยวิกฤต ช้ัน 5 ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ มีอุบัติการณ์ถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้มี การวางแผน(UE) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560-2561 พบว่ามีอตั ราการเกดิ อบุ ัติการณท์ ่อชว่ ยหายใจเลือ่ นหลดุ จาก 2.13 เพ่ิมขึ้นเป็น 3.29 ต่อ 1,000 วันนอนผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ (1000 ventilator day) ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ท่ี 2 ต่อ 1,000 วันนอนผู้ป่วยท่ีใช้เคร่ืองช่วยหายใจ คณะผู้จัดทาจึงวิเคราะห์สาเหตุและ ร่วมกันจัดทาแนวปฏิบัติป้องกัน UE ในหน่วยงานเพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติการณ์ท่อช่วยหายใจเล่ือนหลุดซ่ึง ทาให้จานวนวันนอนในหอผู้ป่วยวิกฤตยาวนานและมีค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึน จากการทบทวนงานวิจัยท้ังในและ ต่างประเทศ พบว่าแบบประเมินภาวะสับสนเฉียบพลัน (CAM-ICU) และแบบประเมินภาวะง่วงซึม กระวน กระวายของริชมอนด์ (RASS) มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย และสามารถลดอัตราการเกิดอุบัติการณ์ท่อช่วย หน้า 83 ของ 99 หน้า

หายใจเลื่อนหลุดอย่างมีนัยสถิติดังน้ันคณะผู้จัดทาจึงได้นาเครื่องมือดังกล่าวมาจัดทาแนวปฏิบัติป้องกัน Unplanned Exudation ในหน่วยงาน คณะผู้จัดทาได้ใช้วงจรปรับคุณภาพการทางานด้วย PDCA เพื่อให้วิธีการปฏิบัติใหม่ ซ่ึงเป็นแบบ ประเมินภาวะสับสนเฉียบพลัน (CAM-ICU) และแบบประเมินภาวะง่วงซึม กระวนกระวายของริชมอนด์ (RASS) สาหรับพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตได้ใช้ในการประเมินและเฝ้าระวังภาวะสับสนเฉียบพลันและภาวะง่วงซึม จะนาไปสูก่ ารถอดท่อชว่ ยหายใจโดยไมไ่ ดว้ างแผน Richmond Agitation Sedation Scale: RASS แบบประเมนิ Richmond Agitation Sedation Scale: RASS RASS ลกั ษณะ อธิบาย CAM-ICU +4 ต่อสู้ ตอ่ สู้ มีความรุนแรง เปน็ อันตรายตอ่ บุคลากรในทนั ทีทันใด +3 กระวนกระวายมาก ดึงทอ่ หรือสายสวนต่าง ๆ ก้าวร้าว +2 กระวนกระวาย มีการเคลื่อนไหวอยา่ งไม่มเี ปา้ หมายบ่อยคร้ัง ตา้ นเคร่ืองชว่ ย ประเมิน CAM-ICU +1 พกั ไมไ่ ด้ หายใจ กระสบั กระสว่ ย หวาดวติ ก มกี ารเคลือ่ นไหวทไ่ี ม่ก้าวรา้ ว รนุ แรง 0 ตื่นตัว และ สงบ -1 ง่วงซมึ ปลกุ ตื่นด้วยเสยี งเรยี ก แตต่ ่ืนไม่เตม็ ทแ่ี ละสบตาไดน้ าน  10 วินาที -2 หลบั ตน้ื ปลุกต่ืนในช่วงสน้ั ๆ และสบตาเมอื่ เรยี กได้ 10 วินาที -3 หลับปานกลาง มีการเคลอื่ นไหว หรือลืมตาเมือ่ เรยี ก (แตไ่ มส่ บตา) -4 หลบั ลกึ ไม่ตอบสนองต่อเสยี ง แตม่ ีการเคลอ่ื นไหวหรอื ลมื ตาเมือ่ ไมต่ อ้ งประเมิน CAM- กระต้นุ ทางกาย ICU -5 ปลกุ ไมต่ ่นื ไมต่ อบสนองตอ่ เสยี ง หรือการกระตนุ้ ทางกาย หน้า 84 ของ 99 หน้า

แบบประเมิน CAM-ICUโดยคณะผู้จดั ทาได้สรปุ วิธีดาเนนิ การปรับปรุง 2 รอบ PDCA รอบท่ี 1  ใชแ้ บบประเมิน RASS and CAM-ICU (ดัดแปลงมาจาก SDICU9)  นาแบบประเมิน RASS and CAM-ICU ไปใช้กับผู้ป่วยที่เข้ารับบริการใน SDICU5 เป็น ระยะเวลา 1 เดือน (วนั ที่ 1-31 มกราคม 2562)  เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้แบบประเมิน RASS and CAM-ICU ใน SDICU5 และตัวช้ีวัด ความสาเร็จจากสถิติการเกิด UE ผลปรากฏว่า สถติ ิ UE ของ SDICU5 เพิ่มขึ้นจาก 3.29 เป็น 7.75 ต่อ 1000 ventilator day และมีความสมบูรณ์ของการบันทึกผลการประเมิน RASS and CAM-ICU ตา่ (54%)  ประชุมคณะผู้จัดทาโครงการและผู้เกี่ยวข้อง นาเสนอผลการใช้แบบประเมิน RASS and CAM-ICU ใน SDICU5 และสรุปประเด็นปัญหาการใช้ตลอดระยะเวลา 1 เดือน พบว่า ขาด การบันทึกการประเมิน RASS and CAM-ICU ใน SDICU5 ของพยาบาลแต่ละเวร ขาดการ ส่งเวรอาการและอาการแสดงท่ีจะเป็นสาเหตุสาคัญของการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้ วางแผนของผ้ปู ว่ ย หน้า 85 ของ 99 หน้า

แบบประเมนิ RASS and CAM-ICU (เดิม) PDCA รอบท่ี 2  คณะผู้จัดทาได้เพิ่มตารางบันทึกผลการประเมิน RASS and CAM-ICU ในแบบประเมิน และนาเสนอให้พยาบาลในหน่วยงานรับทราบผ่าน line application ของ SDICU5 พร้อม อธิบายแนวทางการบันทึกผลในแบบประเมินและการส่งเวรของพยาบาลแต่ละเวร เพ่ือให้ การดูแลมคี วามตอ่ เนอ่ื ง  คณะผจู้ ดั ทาจงึ ได้จดั ทาแบบประเมิน RASS and CAM-ICU หอผ้ปู ่วยวิกฤตชัน้ 5 (SDICU5) ใหอ้ ยู่ใน one page เพื่อสะดวกในการตรวจสอบขอ้ มลู และส่งต่อข้อมลู ได้  นาแบบประเมิน RASS and CAM-ICU ฉบับปรับปรุงไปใช้กับผู้ป่วยท่ีเข้ารับบริการใน SDICU5 เป็นระยะเวลา 11 เดือน (วันที่ 11 กมุ ภาพันธ์ -31 ธนั วาคม 2562)  เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้แบบประเมิน RASS and CAM-ICU ใน SDICU5 และตัวช้ีวัด ความสาเร็จจากสถิติการเกิด UE ตลอดระยะเวลา 11 เดือน ผลการศึกษาพบว่า สถิติของ UE ในหน่วยงานลดลงเหลือ 0.00 ต่อ 1000 ventilator day ท้ัง 11 เดือนภายหลังการใช้ แบบประเมิน และมีความสมบูรณ์ของการบันทึกผลการประเมิน RASS and CAM-ICU ครบ 100% ตง้ั แตเ่ ดอื นมิถนุ ายน 2562 เป็นต้นไป  มีการนาแบบประเมิน RASS and CAM-ICU ไปใช้ใน SDICU5 เพื่อป้องกนั การถอดท่อช่วย หายใจโดยไมไ่ ดว้ างแผน (UE) ตอ่ ไป หน้า 86 ของ 99 หน้า

แบบประเมนิ RASS and CAM-ICU (ใหม)่ ผลการดาเนนิ งาน หนา้ 87 ของ 99 หน้า

การสรุปตคี วามโดยทีมถอดบทเรยี น ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในหน่วยงาน SDICU5 คือ unplanned extubation การดึงท่อชว่ ยหายใจโดยไม่ได้มี การวางแผน คณะผู้จัดทาจึงวเิ คราะห์สาเหตแุ ละรว่ มกันจัดทาแนวปฏบิ ัติปอ้ งกนั UE ในหน่วยงานเพื่อลดอตั รา การเกิดอุบัติการณ์ท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุดซ่ึงทาให้จานวนวันนอนในหอผู้ป่วยวิกฤตยาวนานและมีค่าใช้จ่าย เพิ่มข้ึน จากการทบทวนงานวิจัยท้ังในและต่างประเทศพบว่าแบบประเมินภาวะสับสนเฉียบพลัน (CAM-ICU) และแบบประเมินภาวะง่วงซึม กระวนกระวายของริชมอนด์ (RASS) มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย และสามารถ ลดอัตราการเกดิ อุบัตกิ ารณท์ อ่ ช่วยหายใจเลอ่ื นหลดุ อย่างมนี ัยสถติ ิ จากการดาเนินงาน ในเดือน มกราคม 2562 ที่มีการนาแบบประเมิน RASS และ CAM-ICU ของหอ ผู้ป่วยวิกฤต ช้ัน 9 มาใช้ในหน่วยงาน เป็นระยะเวลา 1 เดือน พบว่า อุบัติการณ์การเกิด unplanned extubation ยังมีอยู่ ทางคณะผจู้ ัดทา จึงได้วิเคราะห์หาสาเหตุ พบว่า ขาดการบนั ทึกการประเมนิ RASS and CAM-ICU ใน SDICU5 ของพยาบาลแต่ละเวร ขาดการส่งเวรอาการและอาการแสดงทจ่ี ะเป็นสาเหตุสาคัญของ การถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผนของผู้ป่วย เน่ืองจากแบบประเมินมีหลายส่วน และประกอบไปด้วย หลายหน้า ทาให้การประเมินและการบันทึกไม่ครบถ้วน คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทาแบบประเมิน RASS and CAM-ICU หอผู้ป่วยวิกฤตชั้น 5 (SDICU5) โดยการปรับให้อยู่ใน one page เพ่ือสะดวกในการลงข้อมูล ตรวจสอบขอ้ มูลและสง่ ต่อข้อมูลได้ การดาเนินงาน เดือน กุมภาพันธ์ ถึง เดือน ธันวาคม พบว่า สถิติของ UE ในหน่วยงานลดลงเหลือ 0.00 ต่อ 1000 ventilator day ท้ัง 11 เดือนภายหลังการใช้แบบประเมิน และมีความสมบรู ณ์ของการบันทึก ผลการประเมนิ RASS and CAM-ICU ครบ 100% ตงั้ แต่เดือนมถิ นุ ายน 2562 เปน็ ตน้ ไป หน้า 88 ของ 99 หน้า

บทเรยี นที่ได้รับ/ปจั จัยแห่งความสาเรจ็ /ข้อเสนอแนะ จากผลการดาเนนิ งานที่ประสบความสาเร็จ คือบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ เกิดจากความรว่ มมือ ของบุคลากรในหน่วยงาน และการสอื่ สารกันอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน ทาใหเ้ กิดการพฒั นาคุณภาพของการ ทางานที่ดีข้ึน ส่งผลใหเ้ กิดผลดีท้ังบุคลากรในหน่วยงาน และผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษา ท่ีมีระยะเวลาในการนอน ใน ICU ลดลง ค่าใชจ้ ่ายในการรักษาพยาบาลลดลง ผู้ถอดบทเรยี น คุณศิวพันธ์ ยุทธแสน หอผ้ปู ่วยวิกฤต ชน้ั 5 ฝา่ ยการพยาบาลศนู ย์การแพทยส์ มเดจ็ พระเทพรัตน์ หน้า 89 ของ 99 หน้า

ชือ่ เรอ่ื ง พฒั นาระบบการดแู ลผูป้ ่วยระยะท้ายแบบประคบั ประคองท่ีบา้ น วันที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา 14.00 – 15.30 น. ห้องประชมุ ห้อง 910 ชนั้ 9 อาคารเรียนและปฏบิ ัตกิ ารรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรยี น พยาบาลรามาธิบดี วิทยากร 1. คุณ ศริ ิพร เสมสาร ผู้ปฏิบตั ิการพยาบาลขนั้ สงู ด้านการดแู ลแบบประคบั ประคอง 2. คุณสภุ าณี คงชมุ พยาบาล ศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นการดูแลแบบประคับประคอง ศนู ย์เพ่ือความ เปน็ เลิศ รปู แบบการนาเสนอ การนาเสนอ CQI จากสถติ ิของศูนย์ความเป็นเลิศด้านการดูแลแบบประคับประคอง ในปี 2561 ผู้ป่วยรอ้ ยละ 45.3 เป็น ผู้ป่วยระยะท้าย ที่ถูกส่งปรึกษามาจากแผนกฉุกเฉิน ด้วยอาการไม่สุขสบาย/ทุกข์ทรมาน เช่น ปวด หอบ เหน่ือย สับสน ทาให้ญาติไม่สามารถจัดการอาการได้และเกิดความวิตกกังวล จึงต้องพามาโรงพยาบาล ผู้ป่วย กลุ่มนี้มักตกค้างที่แผนกฉุกเฉิน เน่ืองจากไมม่ ีแผนการรักษาจากแพทย์เจ้าของไข้ ซึ่งผู้ปว่ ยกลุ่มนี้ ถา้ ครอบครัว ได้รบั ข้อมลู เก่ียวกบั โรค การดูแลจดั การอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม มีการตดิ ตามให้คาแนะนาจะ ช่วยลดการมาโรงพยาบาล เน่ืองจากครอบครัว มีความม่ันใจในการดูแลผู้ป่วย และมีความเข้าใจ เกี่ยวกับ หน้า 90 ของ 99 หน้า

อาการของผู้ปว่ ย ตลอดจนเป็นการส่งเสรมิ คุณภาพชีวติ ผู้ป่วยในวาระสดุ ทา้ ยตามความประสงคข์ องผ้ปู ่วย และ ลดความแออดั ของแผนกฉุกเฉินได้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ ปู้ ว่ ยระยะทา้ ยไดใ้ ชช้ วี ติ ที่เหลอื หรอื เสยี ชวี ติ ท่ีบ้านตามความประสงค์ 2. เพอ่ื เพิ่มความมัน่ ใจในการดูแลผู้ปว่ ยระยะท้ายแก่ครอบครัว 3. เพ่ือลดการมาใชบ้ รกิ ารที่แผนกฉุกเฉินในผปู้ ่วยระยะทา้ ย การดาเนินงาน 1. ประชมุ ทีม 2. ปรับกระบวนการทางาน ผู้ป่วยระยะท้ายที่มีอาการไม่สุขสบาย หรือต้องการการดูแลต่อเน่ือง ท้ังใน IPD, OPD และ ER ใหส้ ง่ ปรึกษาทีม RPEC เป็น 3 กระบวนการ ดงั นี้ กระบวนการที่ 1 กระบวนการที่ 2 กระบวนการท่ี 3 ผู้ป่วยทสี่ ามารถจาหน่ายกลบั ผปู้ ่วยท่ตี อ้ งสง่ ต่อ รพ. เครือข่าย ผู้ป่วยที่แพทยพ์ จิ ารณานอน รพ. บ้าน ศนู ยด์ ูแล 2.10 ตดิ ตามเยี่ยมผูป้ ่วยขณะอยู่ 2.1 ประสานงานกับแพทย์ 2.8 ประสานงาน รพ.เครือข่าย รพ. เจ้าของไข้เก่ียวกับตัวโรค ระยะ เพอ่ื ส่งตอ่ ข้อมูลการดแู ลผ้ปู ่วย ก า ร ด า เ นิ น ข อ ง โ ร ค ร ว ม ถึ ง 2.9 แจ้งให้ผูป้ ว่ ย/ครอบครวั โดยทุกกระบวนการ ทีม RPEC แผนการรักษาและทาความเข้าใจ รับทราบถึงสถานบรกิ ารสง่ ต่อ ให้ความมั่นใจกบั ครอบครวั สามารถ กบั ผปู้ ว่ ย/ครอบครัว ติดต่อ ขอคาปรึกษากับทีมพยาบาล ทางโทรศัพท์, Application Line, 2.2 รบั ฟังแนวคิด /ปัญหาของ VDO call ไดต้ ลอด 24 ชม. ผปู้ ว่ ยและครอบครวั 2.3 ผูป้ ว่ ย/ครอบครวั รว่ ม ตัดสินใจในแผนการดูแลตนเองใน อนาคต 2.4 ผู้ปว่ ยไดร้ ับการประเมนิ ปญั หา ทางดา้ นร่างกาย จิตใจ สงั คม จิตวิญญาณ และใหก้ าร ช่วยเหลอื หนา้ 91 ของ 99 หน้า

กระบวนการท่ี 1 กระบวนการที่ 2 กระบวนการท่ี 3 2.5 สง่ เสรมิ ครอบครัวใหไ้ ดท้ า ในสงิ่ ทผี่ ู้ป่วยปรารถนาในวาระ สดุ ทา้ ยของชวี ติ 2.6 ใหค้ าแนะนาและสอนทักษะ การดูแลผูป้ ว่ ยระยะท้าย 2.7 จัดหาอปุ กรณท์ างการ แพทยท์ ีจ่ าเปนน สาหรับผ้ปู ่วย และ แนะนาวิธีการใช้ 3. ประเมนิ ผลโครงการทุก 6 เดอื น รปู ท่ี 1 แสดง Flow การปฏบิ ตั งิ าน หนา้ 92 ของ 99 หน้า

ผลการดาเนินงาน ด้านผรู้ ับบรกิ าร ด้านผใู้ หบ้ ริการ ดา้ นองค์กร (ผูป้ ว่ ยและครอบครัว) (บุคลากรในทมี สุขภาพ) - ผู้ป่วยไม่ถูกยอื้ ชีวติ โดยไร้ - ลดปัญหาความไมพ่ ึงพอใจของ - ลดความแออดั อตั ราการครอง เปา้ หมาย ผู้รับบริการ เตยี งลง ในผ้ปู ว่ ยทมี่ คี วาม - ลดความทกุ ข์ทรมานจากการกู้ - ลดความขดั แยง้ ของผปู้ ว่ ย และ จาเปน็ ต้อง Admit เพ่อื ให้ยาคุม ชีพท่ีผู้ปว่ ยไม่ต้องการ ( CPR, บุคลากรในทีมสุขภาพ ด้านการ อาการ ETT, Inotrope drugs … ) รักษา/การใหข้ ้อมลู - ลดค่าใชจ้ ่ายในระบบสุขภาพ - ลดคา่ ใช้จา่ ยในการรกั ษาท่ีไม่ - เพม่ิ ความพงึ พอใจของทมี สุขภาพ (เชน่ คา่ เตียง ค่าตรวจทาง เกดิ ประโยชน์ ( Septic W/U, ในการชว่ ยเหลือ /พฒั นาคณุ ภาพ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ คา่ ทา HD, MRI … ) ในการบริการผ้ปู ว่ ยดา้ นองค์กร หตั ถการตา่ งๆ) - ผปู้ ่วยมโี อกาส ไดใ้ ชช้ วี ิตกบั - ลดการกลับเข้ามารบั การรกั ษาที่ ครอบครัวในวาระสุดทา้ ย แผนกฉกุ เฉนิ ลงได้ (re-visit ER) - ผปู้ ่วยได้รับการเยยี วยา - สร้างช่อื เสยี งใหก้ ับองค์กร ใน ช่วยเหลอื ทางด้านจติ ใจ ด้านการดแู ลผ้ปู ว่ ยระยะท้าย แบบประคบั ประคอง รูปท่2ี แสดงกระบวนการทางานแบบเกา่ รูปท่ี 3 แสดง กระบวนการการทางานแบบใหม่ หน้า 93 ของ 99 หน้า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook