Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore lessonlearnbook2020

lessonlearnbook2020

Published by POPeye Touch, 2021-01-21 07:11:53

Description: lessonlearnbook2020

Search

Read the Text Version

หนงั สอื ถอดบทเรยี น 2563 งานมหกรรมคณุ ภาพ ประจาปี 2563 “วงเวยี นแหง่ ความรู้ สอู่ งคก์ รรว่ มพฒั นา” คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี จดั ทาโดย 1 งานพฒั นาคณุ ภาพงาน สานกั งานคณบดี

งานมหกรรมคณุ ภาพ (Quality Conference) คร้งั ท่ี 27 ประจาปี 2563 “วงเวยี นแหง่ ความรู้ สู่องค์กรรว่ มพฒั นา” วนั ที่ 20-21 สิงหาคม 2563 ณ หอ้ งประชุม 910 ABC ชัน้ 9 อาคารเรียนและปฏบิ ตั ิการรวมดา้ นการแพทยแ์ ละโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี

คานิยม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นสถาบันทางการแพทย์ช้ันนาในระดับสากล มี การจัดการศึกษา สร้างงานวิจัย ให้การบริการวิชาการ และดูแลสุขภาพ เพื่อสุขภาวะของสังคม โดยมีค่านิยม มุ่งเรียนรู้ คคู่ ณุ ธรรม ใฝ่คณุ ภาพ รว่ มสานภารกิจ คิดนอกกรอบ รับผิดชอบสังคม ภายใตว้ ฒั นธรรมองค์กรรว่ ม ประสานความต่างเพอื่ สร้างส่งิ ท่ีดกี วา่ การดาเนินการของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ประกอบด้วยบุคลากรที่มีองค์ ความรู้หลากหลายสาขา ทั้งความรู้ท่ีเด่นชัดและความรู้ฝังลึก คณะฯ ใช้การจัดการความรู้ (Knowledge Management; KM) เป็นเครื่องมือคุณภาพ โดยได้จัดงานมหกรรมคุณภาพเป็นประจาทุกปีเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายของการพัฒนาคน พัฒนาหน่วยงาน และพัฒนาไปสอู่ งคก์ รแห่งการเรยี นรู้ การถอดบทเรียน เป็นวิธีการหน่ึงของการจัดการความรู้ โดยสกัดเอาความรู้ที่สาคัญท่ี เกี่ยวข้องกับรายละเอียดข้ันตอนการทางาน ผลการทางาน ความรู้ใหม่ ๆ ที่เกิดข้ึนท้ังที่เก่ียวข้องกับ ความสาเร็จหรือความล้มเหลว นาความรู้ที่ฝังลึก (Tacit knowledge) ของวิทยากร นามาถ่ายทอด เกิดเป็น ความรู้ทีแ่ ลกเปล่ียน (Explicit Knowledge) โดยผู้ร่วมกระบวนการถอดบทเรียนจะต้องเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อนั นามาซง่ึ การปรบั วิธีคดิ และวิธกี ารทางานทสี่ รา้ งสรรค์ กอ่ ให้เกดิ การทางานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขน้ึ ขอขอบคุณงานพัฒนาคุณภาพงาน สานักงานคณบดี ที่ทาหนังสือถอดบทเรียน การจัดงาน มหกรรมคุณภาพ (Quality Conference , QC) คร้ังที่ 27 ภายใต้หัวข้อ “วงเวียนแห่งความรู้ สู่องค์กรร่วม พัฒนา” ซ่ึงเปน็ ผลงานอนั เกดิ จากการสกัด วเิ คราะห์ และร้อยเรียงองคค์ วามร้ใู ห้เขา้ ใจงา่ ย ถอื เปน็ การรวบรวม ความรู้ที่มีค่าจากวทิ ยากรและประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริงของบุคลากรทผ่ี ่านการปรับปรุงและพัฒนา เพ่ือให้งานของตนดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยบันทึกไว้ในหนังสือการถอดบทเรียนฉบับนี้ และสามารถนาไป เผยแพรท่ ้ังในคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี รวมถึงองคก์ รอื่น ๆ ในสังคมก่อเกิดประโยชนต์ ่อไป ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปยิ ะมิตร ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

คานิยม หนังสือถอดบทเรียนของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีเล่มนี้ เป็นองค์ความรู้ที่รวบรวมมา จากงานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference , QC) คร้ังท่ี 27 ของคณะฯ ซึ่งเป็นการจัดงาน ภายใต้ หัวขอ้ “วงเวียนแห่งความรู้ ส่อู งค์กรรว่ มพฒั นา” การถอดบทเรียนเป็นวิธีการหน่ึงของการจัดการความรู้ ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ของกลุ่มหรือ องค์กร สกัดความรู้ท่ีฝังลึกในตัวตน นามาสรุปและสังเคราะห์เป็นชุดความรู้ คู่มือ สื่อต่าง ๆ ให้ผู้ร่วมถอด บทเรียนเกิดการเรียนรู้รว่ มกนั นาไปสกู่ ารปรับวธิ ีคดิ และวิธีการทางานใหม้ ีคุณภาพ สามารถนาความรู้นั้นไป ตอ่ ยอด และนาไปใชภ้ ายในหน่วยงานและองคก์ รได้ หนังสอื ถอดบทเรียนน้ีจึงเป็นหน่ึงในความสาเร็จของงานพัฒนาคุณภาพงาน ในฐานะรองคณบดีฝ่าย คุณภาพ มีความยินดีที่จะได้นาเสนอหนังสือซึ่งตกผลึกและได้รับการถอดบทเรียนออกมาเล่มน้ี ซ่ึงถือเป็น หน่ึงในความภาคภูมิใจท่ีจะได้นาเสนอออกสู่สายตาของทุกท่าน โดยมุ่งหวังวา่ ความรู้อันมคี ่าจากวิทยากรและ ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริงของบุคลากรท่ีผ่านการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อให้งานของตนดีขึ้นอย่าง ต่อเนื่องนั้น ผู้อ่านสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในบริบทที่มีความแตกต่างต่อไป และเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจท่ี จะเพมิ่ เติมความรไู้ ดอ้ ยา่ งแท้จรงิ รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงมะลิ รงุ่ เรืองวานชิ รองคณบดฝี ่ายคณุ ภาพ

คานยิ ม หนังสือถอดบทเรียนของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีในปีน้ี เนื้อหาที่อยู่ภายในเล่มมาจาก งานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference , QC) ครั้งที่ 27 ของคณะฯ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจท่ี จะได้นาเสนอออกสู่สายตาของทุกท่าน โดยมุ่งหวังว่า ความรู้อันมีค่าจากวิทยากรและประสบการณ์จากการ ปฏิบัติงานจริงของบุคลากรที่ผ่านการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อให้งานของตนดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้อ่านสามารถ นาไปตอ่ ยอดในการปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งแท้จริง หัวใจของการถอดบทเรียน จะต้องประกอบด้วย การแบ่งปันความรู้ (Knowledge sharing) มี ผลประโยชน์ร่วมกัน (Mutual benefit) มีความไว้วางใจทั้งตนเองและผู้อื่น (Trust) และมีการเรียนรู้ (Learning) ซึ่งผลที่ได้คือทาให้ได้ชุดความรู้ที่เป็นรูปธรรม เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เข้าร่วมกระบวนการ นามาซ่ึงการปรบั วธิ ีคิดและเปลยี่ นแปลงวธิ ีการทางานท่สี รา้ งสรรค์และมีคณุ ภาพยง่ิ ขึน้ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจริยา ไวศยารัทธ์ รองหวั หนา้ ภาควิชาพยาธวิ ทิ ยา บรรณาธิการ

สารบัญ หนา้ หนังสือถอดบทเรียน งานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference) ครง้ั ที่ 27 2 คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล 14 “วงเวียนแห่งความรู้ สู่องคก์ รร่วมพัฒนา” 20 27 รายการ 39 ������ ส่วนท่ี 1 การถอดบทเรียนการบรรยาย 43 1. บทบาทของรามาธิบดใี นการขับเคลอ่ื นมหาวิทยาลัยมหดิ ลสกู่ ารเปน็ มหาวิทยาลยั ระดับโลก 48 วิทยากร ศ. นพ.บรรจง มไหศวริยะ อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั มหดิ ล 54 2. นิทานเดนิ ทาง 58 วิทยากร ครชู ีวนั วิสาสะ นักประพันธห์ นงั สอื ภาพสาหรบั เดก็ 61 3. Agile Organisation 70 วิทยากร ศ. ดร.นพ.ประสิทธิ์ วฒั นาภา คณบดคี ณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล 83 4. เสวนา “ทีมดูแลสขุ ภาพรามาธบิ ดชี ว่ งสถานการณ์ COVID-19” 90 วิทยากร นพ. ไพโรจน์ บญุ คงชน่ื ผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดจี ักรีนฤบดนิ ทร์ ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม นายกสมาคมโรคตดิ เชือ้ แหง่ ประเทศไทย ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ รองผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธบิ ดี ผศ. ดร.ปรียาสิริ วฑิ รู ชาติ อาจารยภ์ าควชิ าวทิ ยาศาสตรส์ อ่ื ความหมายและความ ผิดปกติของการสอ่ื ความหมาย (ผดู้ าเนินการเสวนา) ������ สว่ นท่ี 2 ถอดบทเรียนการนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เร่ืองเล่าเรา้ พลัง 1. นกั รบเสอ้ื กาวน์ 2. รอยย้ิม 3. เสียงสดุ ทา้ ยของหัวใจท่ไี ม่กลา้ เอือ้ นเอย่ 4. อย่าบอกเร่อื งของฉนั ใหใ้ ครไดร้ ู้ การนาเสนอผลงาน CQI 1. แผน่ กนั กดั สาหรบั ผู้ปว่ ยท่รี กั ษาดว้ ยไฟฟ้า 2. นวัตกรรมถุงตวงน้า 3. การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการดแู ลตนเองของผูป้ ว่ ยหลงั ทาหตั ถการหัวใจ 4. Quality improvement of unplanned extubation by RASS and CAM-ICU tools 5. พฒั นาระบบการดูแลผ้ปู ว่ ยระยะทา้ ยแบบประคับประคองท่ีบ้าน

สารบญั (ต่อ) หนา้ หนังสือถอดบทเรียน งานมหกรรมคุณภาพ (Quality Conference) ครงั้ ท่ี 26 96 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล “เรยี นรเู้ พม่ิ คุณค่า พัฒนารามาธิบดีอยา่ งย่ังยืน” 98 99 รายการ ขอขอบคณุ ������ ภาคผนวก กาหนดการงานมหกรรมคณุ ภาพ รายชอ่ื ทมี ถอดบทเรยี น

ถอดบทเรียนการบรรยาย หน้า 1 ของ 99 หน้า

ชอื่ เรื่อง บทบาทของรามาธบิ ดีในการขับเคลอื่ นมหาวิทยาลยั มหิดลสู่การเป็น มหาวิทยาลัยระดบั โลก วันที่ เวลา 20 สิงหาคม 2563 หอ้ งประชุม 09.00 -10.00 น. วิทยากร รูปแบบการนาเสนอ หอ้ ง 910 ชน้ั 9 อาคารเรยี นและปฏบิ ัติการรวมดา้ นการแพทย์และโรงเรยี น พยาบาลรามาธิบดี ศ. นพ.บรรจง มไหศวรยิ ะ อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยมหิดล บรรยาย ความสาคัญและความสมั พันธ์ของรามาธิบดีกับมหาวิทยาลัยมหดิ ล ศ. นพ.บรรจง มไหศวริยะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าววา่ รามาธิบดีและมหิดลคือสิ่งเดียวกัน เป็นพันธมิตรที่ก้าวไปด้วยกัน รวมพลัง รวมไอเดีย เพื่อแข่งขันในระดับโลก ในฐานะสถานศึกษามองว่าความรู้ สมัยน้ีเป็นสากล เข้าถึงได้ด้วย IT เป็นส่วนใหญ่ นักเรียนและการเรียนการสอนต้องได้มาตรฐานคุณภาพสากล ด้วย และในมุมมองสถานบริการสุขภาพถ้าเราไม่พัฒนาตนเองให้มีมาตรฐาน ต่อไปเราอาจถูกรับช่วงต่อโดย บริษัทอื่น ๆ หรือผู้รับบริการอาจมีทางเลือกที่จะไปรับบริการในสถานพยาบาลอื่นที่ High quality กว่า เหตุ ผลต่าง ๆ เหลา่ น้ีแสดงให้เห็นถงึ ความสาคญั ของ Single market หน้า 2 ของ 99 หน้า

มุ่งปณิธานรว่ มกันสู่การเปน็ มหาวิทยาลัยระดับโลก จากรูปที่ 1 จะพบวา่ ท่ีฐานของการเปน็ มหาวิทยาลัยระดับโลก (World class university : WCU) ใน ฐานข้อมูลนั้นทั่วโลกมีมหาวิทยาลัยกว่า 20,000 สถาบัน มีการแข่งขันเพื่อไปสู่จุดสูงสุด โดยอาศัยต้นทุน ทรัพยากร คือ ทุนด้านความรู้ ทุนมนุษย์ ที่มีการทา Quality and relevance จนมาสู่การ Employability, High impact research creativity and innovation mind ซ่ึงเราในฐานะ มหาวิทยาลัยมหิดล มีปณิธานท่ี จะเป็นมหาวิทยาลัยท่ดี ีทส่ี ดุ 1 ใน 100 อันดับของโลกในปี พ.ศ. 2573 รปู ท่ี 1 แสดงพีระมดิ การไปสู่ Global level กลยุทธแ์ ละแนวทาง Jamil Salmi อธบิ ายถึงส่วนประกอบของการพัฒนาไปสจู่ ุดหมายของ WCU ประกอบด้วย 3 ส่วน คอื 1. Graduates 2. Technology transfer 3. Research output รูปที่ 2 แสดงแผนภมู วิ งกลมแนวคดิ ของ Jamil Salmi หน้า 3 ของ 99 หน้า

หัวใจสาคัญท่ีทาให้ไดส้ ่งิ เหลา่ นม้ี าคอื “มีคนเก่ง มีทนุ หนา และมีการจัดการทีด่ ี” คนเกง่ คอื การมีคนเก่งในองคก์ รยอ่ มเปน็ สง่ิ ได้เปรียบ โดยเฉพาะมหาวทิ ยาลัยหรือโรงเรยี นแพทย์ท่มี ีทั้ง นกั เรียน ครู นักวจิ ัย และมีความเปน็ สากลเหล่าน้จี ะเป็นแม่เหล็กที่ดงึ ดดู ให้คนมาทางานด้วยมากขน้ึ เงนิ ทนุ คือ เงินทุนท่ีมากพอจะสนบั สนนุ ทง้ั งบประมาณ กองทนุ หรอื Infrastructure เครื่องมือต่าง ๆ ในการ ทางานและวจิ ยั การบริหารจัดการที่ดี คือ การบริหารที่ก่อให้เกิดความมั่นคง โปร่งใส และมีความสุขในการทางาน หรือมี Core value ทด่ี ี เหล่านจ้ี ะเป็นอีกแม่เหลก็ ที่ดงึ ดูดให้คนเก่งประสงค์เขา้ มาทางานด้วยเชน่ เดียวกนั รปู ที่ 3 แสดงความสาคญั ของ International object ส่กู ารเป็น WCU ท่ีมา : ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชษิ ณุสรร สวสั ดิวัตน์ อีกหลักการสาคัญ คือ การดึงโลกมาหาเราหรือเอาตัวเราเข้าไปหาโลกให้มากขึ้น (Globalization) เช่น ผลงานเรื่อง HIV และการควบคุมการแพร่เชื้อโดยใช้ถุงยางอนามัย โดยคุณมีชัย วีระไวทยะ เป็นผู้รณรงค์ เรื่องการใช้ถุงยางอนามัยให้แพร่หลาย ได้รับการยกย่องให้เป็นผลงานระดับ Global (ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ พ.ศ. 2537 และรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหดิ ล สาขาสาธารณสุข พ.ศ. 2552) หนา้ 4 ของ 99 หน้า

ตวั ชว้ี ดั และการประเมิน ตัวชี้วัดด้านคุณภาพถือว่ามีความสาคัญ เช่น มหาวิทยาลัยฯได้นามาตรฐานการศึกษา WFME (World Federation for Medical Education) เข้ามาดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีโรงเรียน แพทย์และสถานพยาบาลขนาดใหญ่ที่มีชื่อเสียงถึง 2 แห่ง ทาให้เสริมความมั่นใจว่านักเรียนแพทย์ที่จบ การศึกษาจะมีคุณภาพตามเกณฑ์ มหาวิทยาลัยได้นามาตรฐาน MUSIQUE รับรองการศึกษาระดับปริญญา โทและปริญญาเอกเข้ามาดาเนนิ การ หรือแม้แต่ MUIC, CMMU ลว้ นมีส่วนทาให้มหาวทิ ยาลัยได้รับการรับรอง มาตรฐาน AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ซึ่งกว่าจะผ่านรับการรับรอง ดังกล่าวต้องผ่านกระบวนการประเมินและตรวจสอบจากองค์กรภายนอกหลายขั้นตอน พร้อมทั้งใช้เวลา ประมาณ 7-8 ปี รวมทั้งมาตรฐาน HA และ TQC ท่ีคณะฯดาเนินการอยู่น้ัน ล้วนเป็นการบริหารจัดการท่ีทาให้ ผู้รบั บรกิ ารเกดิ ความม่นั ใจและไว้วางใจในการเขา้ ใช้บริการ ตวั อยา่ งการดาเนนิ งานท่กี าลังจะนาไปสคู่ วามสาเรจ็ ในฐานะมหาวิทยาลัยมหิดล มองว่าประเทศจีนในปัจจุบันมีพัฒนาการมาก โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย Top 5 ได้แก่ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง (Peking university) มหาวิทยาลัยเซียงไฮ้ (Shianghai university) มหาวิทยาลัยเจอจิง (Zhejiang) มหาวิทยาลัยฟูตัน (Fudan university) และมหาวิทยาลัยเกียวตง (Guangtong university) ลว้ นมคี วามสัมพันธ์กบั มหาวทิ ยาลัยมหดิ ลทงั้ สนิ้ โดยเฉพาะความร่วมมือในเรือ่ งการ วจิ ัย เชน่ วิทยาเขตจงั หวดั กาญจนบรุ ี มีมหาวิทยาลัยจากปกั กง่ิ เป็นพันธมิตรร่วมกันค้นหาทรพั ยากรเพื่อพฒั นา ต่อยอดงานวิจัย จากการทางานร่วมกันพบว่างานวิจัยมีมาตรฐานการทางาน และการตั้งเป้าตีพิมพ์ค่อนข้างสูง ในระดับ World class level 1 ทั้งนี้มหาวิทยาลัยในต่างประเทศถือว่ามหาวิทยาลัยมหิดลมีความสัมพันธ์กับ มหาวิทยาลยั ของประเทศจนี มากท่ีสดุ สาหรับเรื่องของการดึงโลกเข้ามาใกล้เรา หรือเอาตัวเราเข้าไปใกล้โลกมากขึ้นนั้น ตัวอย่างการรับ นักศึกษาต่างชาติมาเรียนที่มหาวิทยาลัยมหิดล หรือส่งนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดลไปเรียนต่างประเทศ พบว่าการพิจารณามหาวิทยาลัยที่จะเข้าศึกษาเป็นสิ่งสาคัญในแง่ของการมองว่าสถานที่ใดเป็นเอกหรือเป็น เอตทัคคะในเรื่องใด เช่น Oxford, Sydney, Zhejiang, Stanford และ Tropical medicine เป็นต้น มหาวิทยาลัยท่ีโดดเด่นเฉพาะทาง มีบุคลากร มีทุน มีความเป็นสากลมาก จะเป็นแม่เหล็กดูดนักเรียนนักศึกษา ที่เก่งจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้ามาศึกษา เปรียบเสมือนประชาชนที่มีภูมิลาเนาจากต่างจังหวัดเข้ามาใน กรุงเทพฯ มีการซื้อคอนโดมิเนียม มีการนาผลิตผลของฝากเข้ามาด้วย และเพิ่มโอกาสอื่นๆ เช่น ความเก่ง เงิน ความทันสมยั เทคโนโลยีของนักศึกษาแต่ละคนทต่ี ิดตวั มา ทาให้คนใกล้ชิดได้พัฒนาตนเองตามไปดว้ ย ตัวอยา่ ง Oxford university กับ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล มีความร่วมมือในการวิจัยและจัดตั้ง Tropical LAB ทั้งด้าน Graduate ด้าน Fundamental and Equipment และด้าน Human search โดย ความรว่ มมอื น้ีทาให้เห็นถึงความมุ่งมนั่ และวัฒนธรรมองค์กรของบคุ ลากร เป้าหมายงานวิจัยของมหาวิทยาลัย หน้า 5 ของ 99 หน้า

Oxford คือ ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ 3 ผลงาน/คน/ปี ในฐานข้อมูลระดับโลก ขณะที่ของม.มหิดลอาจมี งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เพียง 0-1 paper ดังนั้นการมี Partner ship น้ันก่อให้เกิดความมุ่งมั่นและพัฒนาได้ ไกลมากข้ึน เม่ือกลับมาพิจารณาถึงถงึ จุดเริ่มต้นการพัฒนาของประเทศจีน เมื่อปี 2003 นั้น พบว่าประเทศจีนเคย ผลักดัน 9 มหาวิทยาลัยชั้นนาให้เป็น WCU มีทรัพยากร มีฐานะทางการเงิน มีบุคลากรจานวนมากและเป็น ช่วงที่การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้รับพัฒนาแล้ว ซึ่งทาให้ประเทศจีนมีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ผลที่ได้รับคือ บัณฑติ ท่จี บจากทั้ง 9 สถาบันมีความน่าเชอื่ ถอื ได้รบั การยอมรับ และมีผลงานได้รับรางวัลต่าง ๆ ลักษณะการจดั อนั ดับมหาวิทยาลยั โลก (World Class University Ranking) การจัดอันดับมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ในอดีตจะแบ่งตามขนาด S M L แต่ปัจจุบันอาจจะเปลี่ยนไป ได้แก่ มหาวิทยาลัยใดมีบุคลากรได้รับรางวัล Nobel ซึ่งถือว่ามี Impact สูงจะได้รับการจัดอันดับต้นๆ ซึ่งใน อดีตมีมหาวิทยาลัยจานวนน้อยมากท่ีได้ Nation ranking science และน่าเสยี ดายท่ีไม่ได้รับความสนใจเพราะ ดว้ ยเกณฑ์ และมาตรฐานเดิมไม่มีการปรับเปล่ยี น จึงทาใหส้ ถานศึกษาที่เคยได้รางวัลมกั เป็นสถานศึกษาเดิม ๆ ครองพื้นที่ เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัย 100 อันดับแรก มักจะเป็นมหาวิทยาลัยเดิม อันดับจึงค่อนข้างคงที่ (Static) ยงั ไมม่ มี หาวทิ ยาลัยใหม่ตดิ อันดบั ทาให้ไม่ได้รบั ความสนใจ ไมม่ กี ารลงทุน สาหรับ QS world university ranking เป็นเวทีท่ีมีศักยภาพในการแข่งขัน ดังนั้นการที่มหาวิทยาลัย ใหม่ ๆ จะเข้ามาร่วมแข่งขันเพื่อให้อยู่ในอันดับ ต้องทาผลงานอย่างหนัก ปัจจุบัน QS เริ่มเห็นจุดเปลี่ยน จาก เดิมฐานข้อมูลมีเพียง Thomson Reuters ซึ่งผู้วิจัยส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษ ทาให้การตีพิมพ์ฯของผู้วิจัยที่มา จากทวีปเอเชียและทวีปตะวันออกกลางค่อนข้างเสียเปรียบ จึงปรับกระบวนการโดยสร้าง ELSEVER Scopus database ทาให้เป็นประโยชนก์ ับนักวิจยั ท่ีมาจากประเทศจีน ประเทศญ่ีปุ่น ประเทศเกาหลี และกลุ่มประเทศ ตะวันออกกลางมากขึ้น อีกทั้งนักวิจัยควรตระหนักว่างานวิจัยที่ดีนั้นต้องตีพิมพ์ในฐานข้อมูลที่มีกลุ่มนักวิจัย จานวนมากสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ด้วย ผลงานวิจัยจึงจะมีคุณค่า ไม่เป็นการสูญเปล่าและได้ประโยชน์สูงสุด มากกว่าเพยี งไดร้ ับการตพี ิมพ์ผลงานเทา่ นนั้ สาหรับข้อมูลที่ใช้ในการประเมินมหาวิทยาลัย พบว่าบางแห่งใช้ข้อมูล อัตราส่วนของจานวนนักเรียน ต่อจานวนอาจารย์ผู้สอน โดยเชื่อว่าหากจานวนอาจารย์มาก ย่อมส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาที่ดีไปด้วย แต่ ปัจจุบันลักษณะการศึกษามีการเปลี่ยนแปลง การศึกษาไม่จากัดเฉพาะอาจารย์ผู้สอนแล้ว แต่นักเรียนสามารถ ค้นหาความรู้ได้จากทุกที่ทุกเวลา ดังนั้นการประเมินผลจึงค่อนข้างลาบาก ตัวอย่างเช่น การยื่นขอตาแหน่ง วิชาการต้องตรวจทานอย่างครบถ้วน บางครั้งต้องลงไปประเมินวิธีการสอน และหากมองวิธีการประเมินการ เรยี นการสอนในระดบั โลก แน่นอนวา่ จะมีการประเมนิ ทย่ี ากข้นึ มาก หนา้ 6 ของ 99 หน้า

อทิ ธพิ ลของศาสตร์ (Field) ดา้ นต่าง ๆ ท่ีมผี ลตอ่ การประเมินและจัดอันดบั สิ่งสาคัญของผลงานวิจัย นอกจากพิจารณาเรื่องจานวนผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว สิ่งที่สาคัญมาก อีกประการหนึ่งคือ จานวนผลงานวิจัยที่ถูกนาไปอ้างอิง (Citation) โดยบางมหาวิทยาลัยมีผลงานฯโดดเด่น เพียงด้านเดียว แต่บางมหาวิทยาลัยมีความโดดเด่นหลายด้าน หรือความโดดเด่นอาจไม่ชัดเจน ทาให้โอกาสท่ี ผลงานวิจัยจะนาไปถูกอ้างอิงลดลงด้วย เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล มีผลงานทางด้านการแพทย์ถูกอ้างอิงมากขึ้น ในขณะที่ทางด้านสายธุรกิจ และด้านสังคมวิทยาผลงานถูกอ้างอิงมีปริมาณค่อนข้างน้อย หากมีการกระตุ้นให้ ตีพิมพ์ผลงานเพิ่มจานวนมากขึ้น และใช้การคานวณแบบถ่วงน้าหนักจะทาให้สัดส่วนผลงานที่ถูกอ้างอิง/ เผยแพร่น้อยลงเม่ือเทียบกบั ผลงานตพี ิมพท์ ั้งหมด ประเด็นดังกล่าวสะทอ้ นถงึ ความเหลื่อมลา้ ของศาสตร์ท่ีมีผล ต่อการประเมินและจัดอันดับของมหาวิทยาลัย ผลงานที่ถูกอ้างอิงจานวนมาก ย่อมเป็นผลดี แต่ในความเป็น จริงกรณีท่ีผลงานจะได้รับอ้างอิงในแต่ละครั้งเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก ตัวอย่างเช่น นักเรียนที่สอบได้ที่ 1 จาก โรงเรียนทั่วไปเมื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโอกาสจะได้ที่ 1เหมือนเดิมค่อยข้างยาก ดังศาสตร์ ด้านการแพทย์ของทุกสถาบันถือว่ามีศักยภาพเท่าเทียมกัน ทาให้การสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อแต่ละสถาบัน เป็นเรื่องที่ยาก จึงต้องหาวิธีการอื่น ๆ มาประกอบการพิจารณา อาทิ กรณีมีนักเรียนที่เรียนเก่งมากจานวน หลาย ๆ คน แต่มีนกั เรยี นคนหน่ึงทีบ่ ังเอิญอย่ใู นพน้ื ทท่ี รุ กนั ดาร นกั เรียนคนนั้นจะดูโดดเด่นกวา่ นกั เรียนคนอ่ืน มมุ มองของ QS world university ranking ให้ความสาคัญเรื่องศักด์ิและศรีความเท่าเทียมกันของแต่ ละศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ จึงทาให้มหาวิทยาลัยใหม่ ๆ มีโอกาสเข้าไปสู่อันดับต้น ๆ (Ranking) ได้ อย่างไรก็ตามการจัดอันดับเป็นการวัดผลต่อเนื่อง 5 ปีของการประเมิน ทั้งด้านการตีพิมพ์และการอ้างอิง ตัวอย่าง ความหมายของการส่งผลงานตีพิมพ์ที่ผ่านมา “จะส่งผลเพียง 1/5” หมายถึง หากคุณภาพของ ผลงานวิจัยดีต้องคงอยู่ด้วยระยะเวลานานและต่อเนื่อง จึงจะได้รับมาตรฐาน ดังนั้นหากจานวนการอ้างอิง (Citation) แสดงถึง คุณภาพของงานวิจัยแล้ว แม้ว่าผลงานวิจัยนั้นมีจานวนผลงานตีพิมพ์มากแต่ได้รับการ อ้างอิงน้อย ย่อมไม่แสดงว่าผลงานวิจัยนั้นมีคุณภาพ ดังนั้นประเทศจีนและประเทศมหาอานาจจึงมุ่งเป้าเรื่อง การเข้าสู่ฐานข้อมูลวิจัยระดับโลก ในขณะที่ประเทศไทยคิดว่าได้รับการตีพิมพ์ก็เพียงพอแล้ว อาจเป็นเพราะ งา่ ยและคุน้ เคย สาหรับจานวนงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Field weight citation impact ใกล้เคียงกับ มหาวิทยาลัยมหิดล แต่ทั้งนี้จุฬาลงกรณ์ฯมีผลงานฯด้าน Engineering, Social science and Art และ Business ซึ่งมีผลกระทบต่อสังคมในวงกว้าง ทั้งนี้ต้ังแต่ปี 2548 มีการคานวณ QS rank โดยการถ่วงน้าหนัก กับหลายศาสตร์ ทาให้ตัวเลขอันดับของมหาวิทยาลัยมหิดลมีโอกาสเพ่ิมจานวนได้มาก มีการใช้ปัจจัยอื่น เช่น Academic apply และเพิ่มจานวนการรับนักศึกษาต่างชาติ ล่าสุดมหาวิทยาลัยฯมีRanking อันดับที่ 48 ของ ทวีปเอเชีย โดยสิ่งที่สาคัญ ได้แก่ การอ้างอิง เนื่องจากมีค่าน้าหนักถึง 30% ของคะแนนทั้งหมด สาหรับด้าน การแพทย์ และและ Green university มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ได้เป็นอนั ดบั 1 หนา้ 7 ของ 99 หน้า

สาหรับที่ผ่านมา พบว่ามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีRankingในอันดับที่ดีขึ้น เนื่องจากมีผู้เชี่ยวชาญท่ี เป็นชาวต่างชาติร่วมทางานวิจัยหลาย ๆ โครงการ อีกทั้งผลงานวิจัยได้ถูกอ้างอิงจากนักศึกษาทั้งในและ ต่างประเทศ เมื่อนาไปถ่วงน้าหนัก 30% ทาให้ส่งผลต่ออันดับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว ใกล้เคียงกับมหาวิทยาลัยมหิดล เช่น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีค่า Field weight citation impact 1.46 ในขณะที่ม.มหิดลได้ 1.18 แต่ปีถัดมาอันดับของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงลดลง อาจเพราะ การตีพิมพ์ผลงาน น้อย เปน็ ตน้ ดว้ ยสาเหตนุ ้ดี งั กลา่ วนี้ เพราะ Out standing 2 ใน 80 คน กับ 1 ใน 30 คน อาจหาขอ้ สรปุ ไมไ่ ด้ เพราะใน 30 คนนั้นประกอบด้วยบุคลากรที่เก่งและไม่เก่ง การปรับตัวชี้วัดแต่ละครั้ง จะทาให้เป็นที่สนใจ กระตือรือร้นกับมหาวิทยาลัยหลายแห่ง พยายามสร้างอันดับดี ๆ เนื่องจากทุกมหาวิทยาลัยสามารถเลื่อน อนั ดับของตัวเองได้ แต่หากเป็นการRanking แบบเดิม จะได้รับความสนใจน้อยลง อย่างไรก็ตามต้องเน้นย้าว่า การถ่วงน ้าหนักด้วย Field นี้อาจมีส่วนท าให้การแข่งขันยากขึ้นและอันดับไม่ขยับขึ้ น ส าหรับ มหาวิทยาลัยมหิดล มีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเภสัชกรรม แต่ด้านสังคมวิทยา และด้านอื่น ๆ ยงั ไมม่ คี วามโดดเดน่ รู้เขา รู้เรา เมื่อรู้ว่ามหาวิทยาลัยอื่น ๆ ดาเนินการอย่างไรและเป็นไปในทิศทางใด ทา ให้ มหาวิทยาลัยมหิดลสามารถปรับและพัฒนาต่อได้ ตัวอย่างเช่น การเพิ่มจานวนการรับนักศึกษาต่างชาติ แม้ใน ปีนี้สามารถรับได้จากัด อาจจะต้องเน้นเรื่องการนาผลงานวิจัยไปอ้างอิง การแบ่งผลงานทางวิชาการกับ ชาวต่างชาติ การจัดทาโครงการขนาดใหญ่ ๆ มีจานวนคนเข้าร่วมมาก ๆ หากได้เพียง 1% จะถือว่าเสียคุณค่า เพราะไม่สามารถนาไปขอตาแหนง่ ทางวิชาการได้ จากประเด็นดังกล่าวควรผลักดันให้เกิดเปลี่ยนแปลง และถ้า ตอ้ งการไปสู่อันดบั ที่ดี เช่น อันดับ 200 ของโลก จะต้องเพิ่มการอ้างอิงใหไ้ ด้ 2 เท่า ถ้าต้องการอยู่ใน 100 ของ โลก ตอ้ งเพ่ิมเป็น 3 เท่า และถา้ ต้องการ 50 อันดบั ของโลก ตอ้ งเพิม่ 5 เทา่ รูปท่ี 4 แสดงอันดบั ของมหาวิทยาลัยมหดิ ลในเวทมี หาวทิ ยาลยั โลก ท่ีมา : https://www.topunหivนeา้rs8itieขsอ.งco9m9/หuนn้าiversities/mahidol- university

สรปุ ศ. นพ.บรรจง มไหศวริยะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล มีความเห็นว่าคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีมีการพัฒนามากขึ้น โดยเฉพาะในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา มีความโดดเด่นทั้งในด้านพันธกิจ หลัก ความพร้อมของสถานที่ รวมถึงบุคลากรที่มีความสามารถ โดยเฉพาะมีผลงานในแขนงต่าง ๆ อกี ทง้ั คณะฯ มีปูชนียบุคคลที่ทรงคุณค่าหลายท่าน อาทิ ศ. นพ.ม.ร.ว.กัลยาณกิติ์ กิติยากร (ศัลยแพทย์หัวใจและทรวงอก) ศ.เกียรติคุณ นพ.อารี วัลยเสวี (อดีตคณบดี) ศ.เกียรติคุณ พญ. ม.ร.ว.จันทรนิวัทธ์ เกษมสันต์ ซ่ึงเป็นครูแพทย์ แห่งชาติ (กุมารแพทย์โรคไต ได้รับคัดเลือกเป็นปูชนียแพทย์ของแพทยสภาไทย 1 ใน 48 คน ในวาระครบ 48 ปี ของแพทยสภา ปี 2559) รวมทั้งท่านอื่น ๆ และศิษย์เก่าหลายท่านได้ตารงตาแหน่งรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ชว่ ยฯ เช่น ศ. นพ.รัชตะ รชั ตะนาวิน อ. นพ.สมศักดิ์ ชณุ หรศั มิ์ หรอื บางท่านได้ดารงตาแหน่งคณบดี อธกิ ารบดี ในองค์กรต่าง ๆ และได้รับรางวัลเกี่ยวกับผลงานและวิจัยระดับนานาชาติต่าง ๆ จานวน เช่น ศ. นพ.สุรเดช หงส์อิง (กุมารแพทย์สาขาโลหิตวทิ ยาและมะเร็ง) นอกจากนี้ยังมีผลงานนวัตกรรม ผลงาน Robot ต่าง ๆ หรือ แม้แต่งานวิจัยผลิตภัณฑ์กระชายดาและอื่น ๆ ซึ่งก็ล้วนมาจากบุคลากรของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธบิ ดที ้งั สิน้ รูปที่ 5 แสดงข้อมูลเปรยี บเทยี บตัวชวี้ ัดรายคณะ มหาวิทยาลยั มหดิ ล จากตัวชี้วัดในภาพรวมของมหาวิทยาลัยมหิดล ผลงานคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีอยู่ อันดับตน้ ๆ ใกล้เคยี งกับคณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล มีเพียงบางตัวช้ีวัด เชน่ จานวน Citation ด้านวิจัย (การอ้างอิง) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีมากกว่าเล็กน้อย เนื่องจากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล หน้า 9 ของ 99 หน้า

รามาธิบดีมีจานวนนักวิจัยน้อยกว่า ท้ังน้ีถึงแม้จานวนบุคลากรน้อยกว่าแต่คณะฯมีจานวนผลงานใกล้เคียงและ มีค่า Field weight citation impact 1.6 ในขณะที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลได้ค่าฯ 1.04 สาหรับคณะเวชศาสตร์เขตร้อนได้ค่าฯ 1.62 เน่ืองจากมีความสามารถเฉพาะทางในสาขาซ่ึงเป็นส่ิงที่โดดเด่นอยู่ แล้ว ค่า Citation per publication คณะแพทยศาสตร์รพ.รามาธิบดีได้ 9.8 ในขณะที่คณะแพทยศาสตร์ศิริ ราชพยาบาลได้ 7.2 ด้วยจานวนบุคลากรที่มีจานวนจากัดกับค่า Field weight citation impact ที่คณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้รับทาให้วิทยากรช่ืนชมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีและทีม บริหารเป็นอย่างมาก หากมองในประเด็นของความโดดเด่นรายบุคคล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดีอาจรองจากคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ทั้งนี้เพราะบุคลากรของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มีตาแหน่ง ศาสตราจารย์จานวนมากได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติจากงานวิจัยที่มี Impact ต่อมวลมนุษยชาติ ทาให้ในปีที่ประเมิน H index จึงได้มากกว่า อย่างไรก็ตามการที่จะไปถึงเป้าหมายได้จาเป็นที่จะต้องเพิ่ม จานวนผู้ดารงตาแหน่ง “ศาสตราจารย์” ให้มากขึ้น เพราะจากข้อมูลเฉลี่ยในช่วงอายุเดียวกันพบว่าคณะ แพทยศาสตร์รามาธิบดี มีอัตราส่วน ศ. : รศ. : ผศ. คือ 1 : 5 : 13 ซง่ึ ถอื วา่ ยังมีตาแหนง่ ศาสตราจารย์คอ่ นข้าง น้อย เพราะอาจารย์ส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าต้องการเป็นศาสตราจารย์ตอนวัยใกล้เกษียณ ทั้งที่ความจริงถ้าเป็น ศาสตราจารย์ในชว่ งอายุการทางานน้อย จะทาประโยชนแ์ ละผลงานใหก้ ับคณะฯไดอ้ ีกมาก ขอ้ คดิ และกลา่ วทิ้งท้าย (Appendix) การขบั เคล่ือนองค์กรนน้ั ท่ีสาคัญจะต้องมี Policy ที่ชดั เจน โดย มหาวิทยาลยั มหิดล มี Policy Toward Excellence & WCU คอื A, E, I, O, U ได้แก่ A Alignment of policy การวางนโยบาย E Engage MU initiative มสี ว่ นรว่ มในการเรมิ่ ต้น I Innovation & Creativity นวตั กรรมและความคดิ สรา้ งสรรค์ O Outstanding & Excellence ความโดดเด่นและความเป็นเลิศ U Unify the data & Management การจัดการและข้อมลู แม้ว่ามหาวิทยาลัยมหิดล จะประกอบด้วยหลายคณะฯ และทุก ๆ คณะฯ มีจุดแข็ง และภารกิจ ต่างกันออกไป หากรู้จักใช้องค์ความรู้ และการบริหารบุคลากร โดยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ในพนั ธกจิ ต่าง ๆ จะทาให้เกิดการพฒั นาไปสู่ความโดดเด่นได้ อย่างเช่นมคี วามโดดเดน่ ในเร่อื งความร่วมมือและ การบูรณาการ จะทาให้เกิดวิสัยทัศน์ที่จะนาพาให้คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีและ หนา้ 10 ของ 99 หน้า

มหาวิทยาลัยมหิดลก้าวไปสู่ Global quality เหมาะสมที่จะเป็น World class university ได้อย่างแน่นอน ด้วยคาว่า “Great University is Great Contribution” Key of success 1. รู้เขารเู้ รารบร้อยครั้งชนะร้อยครัง้ กลา่ วคือการรจู้ กั เกณฑใ์ นการประเมนิ และจัดอันดับ รจู้ กั คู่แข่ง และรูจ้ ัก หาตน้ แบบทเี่ หมาะสมจะนาไปสูค่ วามสาเร็จได้ 2. องค์ประกอบของความสาเร็จขององค์กรต่าง ๆ คือ ทรัพยากรมนุษย์ เงินทุน และการบริหารจัดการ โดยทั้ง สามสว่ นมคี วามเก่ียวข้องสมั พันธก์ นั 3. ทฤษฎีแรงดึงดูด กล่าวคือ โครงสร้างพื้นฐาน ท่ีครบครันและทันสมัยและมีทุน/รากฐาน ท่ีมากพอจะส่งเสริม การสร้างผลงาน สามารถจัดหาอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยอย่างเพียงพอ จะกระตุ้นและดึงดูดให้คน เก่ง ๆ เข้ามา เกิดการสร้างผลงาน และผลงานที่มีผลกระทบมีชื่อเสียงนั้นก็จะเป็นตัวดึงดูดให้คนเก่งเข้ามาสู่ องค์กรอกี ทอดหน่ึง 4. ดึงโลกมาใกล้เราหรือเอาตัวเราเข้าไปใกล้โลก เริ่มจากการมองอะไรใหญ่ ๆ มีมาตรฐานสูง และเริ่มจากการ หา Partnership ท่แี กรง่ กวา่ เปน็ พ่ีเล้ยี งหรือตวั ช่วย 5. ตัวชี้วัดมาตรฐานและการจัดอันดับมีความสาคัญในแง่ของความน่าเชื่อถือและมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ โดยเฉพาะผรู้ ับบริการ 6. เปลี่ยนทัศนคติเดิม ๆ จากการมุ่งเป้าเพียง “ขอให้ได้ตีพิมพ์ผลงานก็พอ” เป็น “ต้องได้ตีพิมพ์ผลงานใน ฐานขอ้ มลู ระดับโลกทค่ี นเข้าถงึ มาก ๆ” จะทาให้การลงทุนคุม้ ค่าและไม่เหน่อื ยเปลา่ 7. เปล่ยี น mind set เดิม ๆ จากการมุ่งเปา้ เพียง “ขอใหไ้ ด้เป็นศาสตราจารย์ในชว่ งปลายอายรุ าชการ” เป็น “ตอ้ งไดไ้ ดเ้ ป็นศาสตราจารยต์ งั้ แตอ่ ายนุ ้อย ๆ เพ่อื จะไดท้ าประโยชนใ์ หก้ ับองค์กรมาก ๆ” 8. จานวนศาสตราจารย์มีผลต่ออันดับผ่านการสร้างและตีพิมพ์งานวิจัยที่ถูกอ้างอิงรางวัลและโครงการต่าง ๆ 9.ต้องมคี วามทะเยอทะยาน ความมุ่งมนั่ เปน็ แรงขบั เคลือ่ นไปสู่เปา้ หมาย 10. การใช้เกณฑ์เดิมประเมินซ้า ๆ นอกจากทาให้เกิดการครองพื้นที่อันดับแล้ว ยังทาให้ความสนใจลดลงด้วย 11. การประเมินและวดั ผลทางการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพทาได้ยากมาก แม้ในระดับคณะหรือสถาบันก็มีความ ซบั ซ้อน ยิ่งการประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยในระดับโลกย่ิงมีความยุง่ ยากซับซ้อนขน้ึ 12. การประเมินแบบถ่วงน้าหนัก Field weight citation impact จะทาให้เห็นว่าศาสตร์มีความเหลื่อมล้า 13. การระดมให้บุคลากรตีพิมพ์ผลงานอย่างเดียวแต่ไม่ได้รับการอ้างอิง แม้ว่าจะได้ประโยชน์ด้านอื่น ๆ แต่ใน แง่การจัดอันดบั จะย่ิงดงึ อนั ดบั ลงตา่ เพราะตวั หารจานวนเผยแพร่มมี ากข้ึน 14. การปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดหรือเกณฑ์การประเมินใหม่ก่อให้เกิดการกระเพื่อมของคลื่นความสนใจและลงมือ พฒั นาสถาบนั ของตนเอง หนา้ 11 ของ 99 หน้า

15. การที่มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ของไทยไม่ได้เป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทางเหมือนต่างประเทศ แต่เปิดสอนใน หลากหลายสาขาความเหลื่อมล้าของศาสตร์ที่จะดึงดูดความสนใจและอ้างอิงอาจน้อย เมื่อคานวณน้าหนัก คะแนนในภาพรวมอาจมผี ลทาให้อนั ดับลดลงได้ 16. ตวั ชี้วัด นักศึกษา/บคุ ลากร อาจไม่ทันสมยั เพราะการศึกษาในยุคไอทีไม่ได้ขึ้นกบั ผู้สอนเปน็ หลักดังเช่นอดีต ดงั นัน้ จานวนผู้สอนทมี่ ากอาจมาการันตีคุณภาพ 17. ต้องสร้างตัวตนให้โดดเด่นและมีคนจดจาได้มาก ๆ จึงจะเพิ่มโอกาสถูก Citation ผลงานมากขึ้น 18. การสรา้ งนโยบาย ที่แข็งแกร่ง และมีเกณฑท์ ่ีสงู เพอ่ื สาเรจ็ ตามเป้าหมาย ตามหลักการ A, E, I, O, U 19. หวั ใจของการพัฒนาผลผลิต คือ “คนเก่ง ทนุ หนา การบริหารจดั การที่ดี” บทเรียนท่ไี ดร้ บั ส่งิ ท่เี หนอื เป้าหมาย 1. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมีจานวนบุคลากรน้อยกว่าคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล แต่ผลงานและตัวชี้วัดต่าง ๆ ทาได้ดี มีเพียงบ้างข้อที่ต่ากว่า แต่มีหลายข้อที่ได้สูงกว่าอย่างน่าชื่นชม สอื่ ให้เห็นคุณภาพของทรัพยากรบคุ คล 2. ในอดีตคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมีปูชนียบุคคลที่ทาคุณประโยชน์ในระดับประเทศ มากมายหลายทา่ น และปจั จุบันมกี ารตอ่ ยอดโดยบคุ ลากรร่นุ ใหม่ทีม่ ีศักยภาพ 3. จากมุมมองของบุคลากรภายนอกคณะพบว่า 4-5 ปีที่ผ่านมาคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ไดพ้ ฒั นาอย่างรวดเรว็ ท้งั นี้มาจากทมี บรหิ ารที่มคี ณุ ภาพ และความร่วมมอื ของบุคลากร สงิ่ ที่ต้องพัฒนาเพมิ่ และคาแนะนาจากวทิ ยากร 1. คณะฯควรเพิ่มจานวนศาสตราจารย์ 2. คณะฯควรเพ่มิ จานวนผลงานท่ีได้รับการตีพมิ พ์ในวารสารระดบั World class และจานวนผลงานทีถ่ ูก อ้างองิ ใหม้ ากยิง่ ขึ้น 3. การทาความรว่ มมือกบั ตา่ งชาตเิ พอื่ ดงึ ตวั เราเข้าไปใกล้โลกมากขนึ้ 4. การปรับแนวคิดจากเดิมต้องการเป็นศาสตราจารย์ในช่วงบั้นปลายชีวิต เป็นการทาผลงานวิชาการ เพ่อื ใหไ้ ด้ตาแหน่งศาสตราจารยใ์ นชว่ งอายงุ านนอ้ ยเพื่อสร้างผลงานให้กบั คณะฯ 5. การปรับแนวคิดบุคลากรจากเดิมที่มุ่งหวังให้ผลงานเพียงจานวนการตีพิมพ์ กับวารสารทั่วไป เป็นต้อง ตีพิมพ์ในวารสารที่เป็นที่ยอมรับ เพื่อให้ผลงานมีโอกาสได้รับการอ้างอิง เกิดการพัฒนาตนเอง จึงจะ ถือเปน็ การลงทนุ ลงแรงทีค่ มุ้ ค่า 6. การสรา้ งนโยบายที่เข้มแขง็ และความคาดหวงั สงู เพ่อื สาเรจ็ ตามเป้าหมาย หนา้ 12 ของ 99 หน้า

ผูถ้ อดบทเรียน คุณอเุ ทน บุญมี (นักเทคโนโลยหี ัวใจและทรวงอก) สาขาวชิ าโรคหวั ใจ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ หนา้ 13 ของ 99 หน้า

ชอ่ื เร่อื ง นิทานเดินทาง วนั ที่ 20 สงิ หาคม 2563 เวลา 13.00-14.00 น. หอ้ งประชุม ห้อง 910 ชั้น 9 อาคารเรยี นและปฏบิ ตั ิการรวมดา้ นการแพทยแ์ ละโรงเรยี น พยาบาลรามาธบิ ดี วิทยากร ครชู วี นั วสิ าสะ นักประพนั ธ์หนงั สอื ภาพสาหรับเด็ก รูปแบบการนาเสนอ บรรยาย ครูชีวันเร่ิมต้น ด้วยการไหว้ครูชาวญ่ีปุ่น อ.ทาดาชิ มัตษุอิ นักประพันธ์หนังสือภาพสาหรับเด็ก ผู้ให้ ความรู้เม่ือ 20 ปีก่อน คนญ่ปี ุ่นสอนด้วยคาพูดสั้น ๆ แล้วให้ไปคิดต่อ ตีความเอง อ.ทาดาชิ ถามให้ทกุ คนคิดว่า เราอยากเตบิ โตแบบไหน เติบโตแบบผีเสื้อหรือเติบโตแบบต้นไม้ ให้เลือกตามใจชอบ แล้วจึงอธิบายให้ทราบว่าการเติบโตแต่ ละแบบ เป็นอยา่ งไร ผเี สือ้ เกดิ จากไข่ เป็นหนอน กินใบไมโ้ ตขน้ึ เป็นดักแด้ สดุ ท้ายกลายเป็นผเี ส้ืองดงาม เม่ือเตบิ โตแล้วยัง จาไดไ้ หมว่าเคยเป็นหนอน หนา้ 14 ของ 99 หน้า

ต้นไม้ เติบโตจากเมล็ดเป็นต้นอ่อนต้นเล็ก ๆ โตเป็นต้นกล้า จนเป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็กก็เป็นต้นไม้ ขนาดกลางก็เป็นต้นไม้ เปน็ ไมย้ นื ต้น กย็ งั เปน็ ต้นไม้ แก่นของความเป็นตน้ ไม้ ของความเป็นคนยังคงอยู่ ใครท่ีเลือกผเี ส้ือกไ็ มผ่ ิด ผเี สอ้ื อาจอาจลมื ไปแล้วว่า เคยเปน็ หนอน ความต้องการต่างกนั ตน้ ไม้ตน้ ใหญย่ งั รคู้ วามต้องการของต้นไม้ตน้ เลก็ ถ้าเราเลือกแบบต้นไม้ แก่นยังอยู่ข้างใน ทุกคนโตข้ึนมาจากเด็กเหมือนเด็กคนน้ัน โตเป็นผู้ใหญ่ต้อง เรียกหาเด็กคนนั้น บางคนโตเป็นผู้ใหญ่พยายามตัดความต้องการ ความรู้สึกแบบเด็กออกไปเพราะว่าอาจกลัว คนรอบข้างมองว่าไมร่ ้จู กั โต “เด็กคนนั้นยังอยู่มั้ย ยังจาความเปนนเด็กได้ไหม” ถ้าเรายังจาความเป็นเด็กได้ ความต้องการแบบ เด็กของเรามีอะไร ? แล้วมันเสียหายตรงไหน ทุก ๆ วัน ครูชีวันต้องย้อนถึงอดีตเพ่ือไม่ให้ลืม ให้เข้าใจเด็กใน ปัจจบุ นั ปลกุ เดก็ ในตวั คณุ อเี ลง้ เคง้ โคง้ เม่อื เห็นรูปแลว้ ทุกคนจะตอบวา่ เปน็ เป็ด ทัง้ ๆ ทเ่ี ริ่มเรอื่ งว่า “มีห่านตวั หนึง่ ” เราจะไม่บอกวา่ เด็กตอบผิด เราจะอ่านใหเ้ ด็กฟงั เด็กจะเข้าใจเอง มนั ไมใ่ ช่ความผิด แต่เพราะเราเข้าใจไม่ตรงกัน เพราะไม่มีประสบการณ์ไม่เคย เล้ียงห่านมากก่อน อเี ล้งเคง้ โคง้ มบี ุคลิกพิเศษคือ ไม่ว่าจะดีใจ เสยี ใจหรอื ความ รสู้ กึ ใดกจ็ ะส่งเสียงเปน็ เพลง “อเี ล้งเค้งโคง้ ” ผู้ใหญ่อ่านหนังสือให้เด็กฟังจบแล้ว เม่ือ หนงั สือภาพอยกู่ บั เด็ก เดก็ จะนามาเกบ็ รายละเอียด ทบทวนเรื่องราวท่ีได้ฟังไป มีเด็กท่ีเห็นภาพน้ีบอก ว่า ชา้ ง หมู ยีราฟไม่พอใจอีเล้งเค้งโค้ง เพราะว่าส่ง เสียงดังในห้องสมดุ เป็นประสบการณ์ของเด็กที่เข้า โรงเรียน มหี ้อง สมดุ ครูจะบอกเด็กว่าห้ามสง่ เสียง ดังในหอ้ งสมดุ เมอื่ เห็นภาพนเ้ี ด็กจะเช่ือมโยง หนา้ 15 ของ 99 หน้า

แอบตั้งคาถามไวใ้ นหนังสอื มกี ารแทรกตัวละครท่ี ไมม่ ีบทบาทในภาพหนงั สอื เช่น ในภาพนมี้ ีตุ๊กแก เดก็ จะรู้ สงั เกตเหน็ และชอบตวั ละครเหล่าน้ัน ทา ใหเ้ ดก็ คยุ กับผูใ้ หญ่เพราะสงสัยว่าตวั อะไร นิทานภาพ อ่านภาษากายของตวั ละครทิ้งท้ายภาพใหค้ ิด ตอนจบของเร่ือง มีคนสังเกตว่า ทาไมอเี ล้งเค้งโคง้ ทิ้งโบว์ สีแดง ใหต้ ีความเองวา่ จะท้ิงอะไรบางอย่างหรือไม่สนใจ เครอ่ื งประดบั กลับบา้ นดกี ว่า อา่ นนิทานใหฟ้ ัง เดก็ รู้สกึ วา่ มีตัวตนทีไ่ ดม้ ีส่วนรว่ ม ครูอ่านหนังสอื ให้เด็กฟงั เดก็ ต้องเงียบฟงั ครู แต่นิทานเดก็ มสี ว่ นร่วมที่ได้สง่ เสียง ตามสัญญาณเชน่ ส่ง เสียงเป็นเพลง เด็กจะร้องว่า “อีเล้งเค้งโค้ง” การส่ือสารกับเด็กจะสอนผ่านนิทาน ถ้ากาหนดให้เด็กห้ามพูด เด็กจะอึดอัด การอ่านหนังสือให้เด็กฟังไม่ใช่เด็กได้ประโยชน์อย่างเดียว ตัวผู้อ่านได้ประโยชน์ด้วย ได้เรียนรู้ อะไรบางอย่าง นิทานเรื่อง หนูมากับหนูมี เป็นหนังสือท่ีดีมากใช้อ่านให้เด็กฟัง ให้เด็กมีส่วนร่วมในการส่งเสียง พิมพ์ ครัง้ แรกปี พ.ศ. 2528 ราคาเลม่ ละ 10 บาท ปจั จุบนั ขายในราคา 15 บาท นามาใชใ้ นโครงการนทิ านเดินทาง นทิ านเดนิ ทางคอื อะไร โครงการนทิ านเดนิ ทาง เกิดขึ้นจากสภาวะโกลาหลในบ้านเมืองในปี พ.ศ. 2557 แต่ความคิดทีอ่ ยากทา เกดิ ข้ึนตงั้ แต่เรียนวชิ าหนังสอื ไดไ้ ปช่วยทาโครงการบรรณนิทศั น์เคลื่อนท่ี นาหนังสือใสก่ ระเปา๋ เปน็ ห้องสมุด ฉบบั กระเปา๋ ไปอา่ นหนังสอื ให้เดก็ ฟงั จากสถานการณ์บ้านเมืองทาให้คิด ทาไมเราต้องให้คนอื่นทา เราเรียกร้องคนอื่นแต่เราไม่เรียกร้องตัว เราเอง เราเป็นคนทาหนังสือ เป็นนักเขียน ใชห้ นังสือภาพกับเดก็ จึงมองเห็นปัญหาเรอ่ื งการอา่ น การเขา้ ไม่ถึง หนงั สอื ขณะขับรถไปบรรยายท่ีต่างจังหวัด มองเห็นและต้ังคาถามว่า ตาบลน้ี หมู่บ้านนี้มีห้องสมุดไหม จะ ส่งเสริมการอ่านให้พ่อแม่อ่านหนังสือให้เด็กฟัง แต่หมู่บ้านนี้ไกลจากถนนใหญ่ ถ้าพ่อแม่จะพาลูกมาห้องสมุด ประชาชนจะเปน็ ไปได้ไหม....มนั ยากนะ หนา้ 16 ของ 99 หน้า

“นาหนังสือสู่เด็ก นาเด็กสู่หนังสือ” จากพ้ืนฐานความคิดนี้ นาสู่โครงการนิทานเดินทาง อยากทา นิทานเดินทาง 77 จังหวัด เพื่อให้เด็กทุกจังหวัดมีนิทานของตนเองโดยอาศัยตัวละคร อีเล้งเค้งโค้ง พาไปรู้จัก สิ่งตา่ ง ๆ ทมี่ ใี นจงั หวัดน้นั ๆ เมือ่ ไดม้ าทางานร่วมกับโครงการทจี่ ังหวัดยโสธร โดยมเี จ้าหน้าที่สาธารณสุข ผูท้ างานด้านการอ่าน ทา ให้เกิดหนงั สือเร่ือง “อเี ลง้ เค้งโค้งเยีย่ มยามยโสธร” และได้ขายลขิ สิทธ์ิราคาสองแสนบาท เพ่ือนาเงนิ มาซ้ือรถตู้ ทาโครงหนังสือ ทากิจกรรมเล่านิทาน ทากิจกรรมศิลปะ วาดรูป ช่วงแรกไปท่ีโรงเรียน นาหนังสอื ภาพช้ันดีให้ เด็กได้สัมผัส ได้อ่าน แสดงวิธีอ่านหนังสือภาพให้ดู (ต้ังใจให้ครูดู) แต่ครูไม่สนใจ การอ่านอย่างมีชีวัดชีวาเป็น อย่างไร การอ่านทีถ่ ูกตอ้ ง อ่านเต็มเสียง ถูกอักขระ จงั หวะดีและเด็กจะมสี ว่ นรว่ ม - ให้เด็กอ่านสัมผัสหนงั สือภาพด้วยตนเอง 20-25 นาที - ให้เดก็ วาดภาพตวั ละคร ทีช่ อบ 1 ตัวท่ปี ระทับใจ มาแลกหนงั สอื ไป คนละเลม่ - ออกแบบแผงผา้ ทาจากทอ่ น้าพลาสตกิ และผา้ แคนวาส มอบให้ เดนิ ทางไปไหน พบใครก็แบง่ ปันชดุ หนงั สือที่เตรียมไว้ - รถนิทานคนั แรกราคาห้าแสนบาทขายให้จงั หวดั ยโสธรในราคาหนงึ่ แสนหา้ พันบาท พรุ่งน้ีกับชาติหน้า ถ้าต้องรอเก็บเงินจนครบ ถึงเริ่มทาอาจไม่ทันการ ดังน้ันมีเท่าไหร่ก็ค่อย ๆ ทา ได้ ทาส่ิงดี กระจายออกไป จึงซื้อรถคนั ใหม่ ตบแต่งเชน่ เดมิ เดินทางไปไหน พบใครกพ็ ูดคยุ และมอบหนังสอื ให้ ชุดหนังสือส่วนกลางสาหรับให้โรงพยาบาลทม่ี เี ด็กป่วย ครูเอ๋-วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ เล่าว่า เม่ือได้ไป โรงพยาบาล ทาให้เห็นว่าเด็กท่ีนอนป่วยขาดโอกาสบางอย่าง จึงมอบชุดหนังสือให้โรงพยาบาลที่มีวอร์ดเด็กเพ่ือให้เด็กมี กจิ กรรมทา ซ่งึ สว่ นใหญ่พ่อแมจ่ ะเปดิ มอื ถอื ให้ดู การอ่านหนังสือมีเสียงดีกว่า ทาให้เด็กเบี่ยงเบนความ สนใจจากความเจ็บป่วย แนะนาให้พ่อแม่อ่านให้ลูกฟัง จะได้ พฒั นาทกั ษะการอ่านของเราและได้สงั เกตลกู เม่อื ได้เยย่ี มเด็ก ป่วยท่ีเตียง จะให้หนงั สือระบายสี สีเทยี น ให้เหมาะสมตามวัย ถ้ามีพี่ หรือนอ้ งจะใหค้ นละ 1 ชุด เพื่อสื่อสารให้ พยาบาล พ่อ แม่ได้เข้าใจ ครูชีวันจึงเขียนหนังสือกึ่งคู่มือ “อ่านเพื่อ....” ทาให้เกิดความรู้สึกบางอย่างในการ อา่ นหนังสอื ให้ลกู ฟงั หนา้ 17 ของ 99 หน้า

“พาขวญั ” เราไมส่ ามารถอา่ นหนังสอื ใหเ้ ดก็ ฟังได้ตลอดเวลา อ่านได้ 10-15 นาทตี ้องหยุด เด็กจะต้องทาอย่างอื่น จงึ คดิ นทิ านเรอ่ื ง พาขวัญ “หนูไม่สบายมีใครดแู ล พ่ีนอ้ งพ่อแม่ดแู ลห่วงใย” คาวาหนจู ะหมายถึงตัวละคร และ เด็กแทนตัวเองวา่ หนู จะเชอ่ื มกับตวั ละคร ในเรื่องทีม่ หี ลากหลายเพอ่ื ตอบสภาพความเปน็ จริงของเดก็ ในนิทานภาพเร่ืองน้ี มีการใช้ปลาหมึกแทนหมอเพราะมีหนวด 8 เส้น หมายถึงมีภาระงานมากมาย ใช้แมวแทนพยาบาล เพราะเป็น เด็กเป็น..หนูกลัวแมว (แมวใจดีก็มี) ซ่ึงมีความหมาย แฝงในตวั ละคร และไดท้ าตุ๊กตา “พาขวัญ” ท่ีไม่มีหน้าตา เพ่ือจะใหพ้ ่อ แม่ คนเฝ้ามีส่วน รว่ มวาดหนา้ ตา ปาก สรา้ งความภูมใิ จ และความผกู พนั สดุ ทา้ ยเปนน การใหก้ าลังใจตนเอง เราตระหนกั ในกาลงั ของตนเอง ทาอะไรได้ บ้าง ทาได้ดกี วา่ น้ี ทาได้..........มากกวา่ นี้ ต้องทาเพม่ิ ยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป เราไมเ่ รยี กรอ้ งจาก คนอนื่ แต่เราเรยี กรอ้ งจากตนเองเพื่อผู้อ่ืน เม่ือจบการบรรยาย ครูชีวันได้มอบหนังสือให้ผู้เข้าฟังในห้องประชุมคนละเล่ม เพ่ือให้ผู้ฟังเป็นคนนา หนังสือไปสเู่ ด็ก หน้า 18 ของ 99 หน้า

การสรุปตคี วามโดยทีมถอดบทเรยี น พลงั ของคนตัวเลก็ ๆ เช่นครูชีวันที่เรม่ิ ต้นจากตัวเอง โดยไม่ไดเ้ รียกร้องจากคนอืน่ ดว้ ยความเปน็ คนทา หนงั สือ เป็นนกั เขียนนิทานภาพสาหรบั เดก็ แตล่ ะภาพทีว่ าดมีนัยยะ แฝงไว้ สะท้อนความจริง สอนใหเ้ ดก็ คิด นาสู่โครงการนิทานเดนิ ทางเพื่อเด็กทขี่ าดโอกาสได้มหี นังสือนิทานดี ๆ อ่าน ทาให้เด็กไดร้ ู้จักห่านตัวหนง่ึ ทไี่ ม่วา่ จะดใี จ เสียใจหรือความร้สู กึ ใดกจ็ ะสง่ เสียงเป็นเพลง “อเี ลง้ เค้งโค้ง” ปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็ ความมุ่งมนั่ เพื่อ“นาหนงั สือสูเ่ ด็ก นาเดก็ สู่หนังสือ” เกิดการเดนิ ทางของรถนิทาน เดนิ ทางเข้าถึง เด็ก ๆ ทขี่ าดโอกาสในสถานท่ีตา่ ง ๆ ชื่อผ้ถู อดบทเรียน นางสาวเพญ็ ศิริ พุ่มหริ ัญ วิสญั ญีพยาบาล งานบริการวิสญั ญี ภาควชิ าวิสัญญวี ทิ ยา หนา้ 19 ของ 99 หน้า

เรื่อง Agile Organisation วันท่ี 21 สงิ หาคม 2563 เวลา 09.00-10.00 น. ห้องประชมุ ห้อง 910 ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียน พยาบาลรามาธิบดี วิทยากร ศ. ดร.นพ.ประสิทธ์ิ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล รูปแบบการนาเสนอ บรรยาย หน้า 20 ของ 99 หน้า

Agile Organization คอื แนวคิดการทางานขององคก์ รยุคใหม่ ท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงของโลก ดิจิทัล ณ ปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ ได้นามาปรับกระบวนการปฏิบัติงาน เพ่ือลดข้ันตอน เกิดความสะดวก เกิด ความคล่องตัว เกิดความยืดหยนุ่ รวมถึงเกดิ ความรวดเร็วฉบั ไว ซึ่งปัจจุบนั ถือเป็นส่ิงทจ่ี าเป็นกับทุกองค์กร และ เป็นแนวความคิดที่ถูกนามาประยกุ ตใ์ ช้กบั วิธกี ารบริหาร เช่น การบริหารองค์กร บรหิ ารทีมงาน/หน่วยงานตา่ ง ๆ หรือบริหารโครงการในสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็ว ซึ่งในทีมอาจประกอบด้วยบุคลากรทุก ระดับชั้นท่ีหลากหลายวิชาชีพ หลากหลายทัศนะคติ หลากหลายแนวความคิด หลากหลายทักษะ เพ่ือระดม ความรู้ ความคิดเห็น จนเกิดเป็นรูปแบบของงานท่ีปรับข้ึนใหม่ รวมถึงการเปิดใจรับข้อผิดพลาดที่อาจเกิดข้ึน และนามาเป็นบทเรียน เพ่ือ Agile ที่ดีขึ้นกว่าเดิม ซ่ึงจะมีการปรับพัฒนาระบบปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา เพื่อใหร้ องรับกบั สถานการณ์ตา่ ง ๆ ทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ประกอบดว้ ยรายละเอียดตา่ ง ๆ ดังนี้ Agile Organization Model โครงสร้างองค์กร เปล่ียนจากระดับช้ันของสายบังคับบัญชา เป็นลักษณะเครือข่ายทางานเป็นทีม การตัดสนิ ใจสามารถเกิดข้ึนไดท้ ุกระดับช้นั (ไม่กาหนดเฉพาะผบู้ ริหาร) การทางานเปนนทีมและการบริหารจัดการโครงการ เปล่ียนรูปแบบจากการทางานโดยทีมงานประจา เป็นสร้างทมี จากเครอื ข่าย หรือการบูรณาการ โดยดึงผู้ทีม่ ีความสามารถหรือมีทักษะท่ีจาเป็นมาเข้าร่วมทีมงาน และสลายตัวเมอื่ โครงการเสรจ็ สิ้น เน้นความสาคัญของการสอ่ื สารและปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคลากร เน้นการส่อื สารหรือการปฏิสัมพนั ธ์ กบั บุคลากรโดยตรงมากกว่าการส่ือสารจากเครื่องมือทางเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อความเข้าใจในการดาเนินการท่ี ถูกตอ้ ง/ชดั เจน เน้นความสาคัญของผลงานมากกว่าความสมบูรณ์ของเอกสาร เพื่อให้ตรงความต้องการและเกิด ประโยชน์กบั ผู้รับบริการ มีการจัดทาเอกสารใหเ้ กิดการบนั ทึกเพ่อื เสรมิ การสอื่ สาร ชว่ ยพฒั นาการเรยี นรู้ แตไ่ ม่ เตม็ รปู แบบของการบันทกึ ในระบบบันทกึ ปกติซงึ่ มขี นั้ ตอนมาก หนา้ 21 ของ 99 หน้า

บทบาทและหน้าที่ของบุคลากรในแต่ละตาแหน่ง เปล่ียนจากระบบบุคลากรที่ปฏิบัติงานตามคา บรรยายลักษณะงาน (Job Description) เป็นการทางานโดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ ทักษะพเิ ศษทมี่ ี ใน แต่ละบุคคลซึง่ จะสามารถทางานไดใ้ นหลายๆโครงการ และปรบั ตัวกับการเปลี่ยนแปลงได้ดี สร้างโอกาสในการ เรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ได้ขยายขอบข่ายสังคมบุคลากรคนอื่นนอกหน่วยงานประจา (รู้จักเพ่ือนใหม่ ๆ จากหน่วยงานอื่น) บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารระดับบน เปลี่ยนจากการกาหนดแนวทางการพัฒนาบุคลากรตาม ตาแหน่งงาน เปน็ การพัฒนาเพ่ือรองรบั หรือสนบั สนุนโครงการทีไ่ ด้รับมอบหมาย การให้รางวัลและการส่งเสริมความก้าวหน้า เปลี่ยนจากการให้รางวัลตามตาแหน่งหรือระดับใน องค์กรจากผลงาน เป็น การให้รางวัลหรือส่งเสริมความก้าวหน้าจากผลงานการดาเนินการในโครงการต่าง ๆ รวมผู้รว่ มงานทม่ี สี ่วนทาใหไ้ ดร้ ับรางวลั หรือได้รบั การสง่ เสรมิ ความก้าวหนา้ วัฒนธรรมองค์กร เปลี่ยนแนวคิดและลักษณะการทางานแบบ Agile Organization เป็นส่วนหนึ่ง ของวฒั นธรรมองคก์ ร ซ่ึงปรากฏในทกุ หนว่ ยงานและทุกหน้าทงี่ าน การเปลี่ยนแปลงเม่ือนา Agile Model มาใช้ในองค์กร ความพึงพอใจของผ้รู ับบริการเพ่ิมขนึ้ Agile Organization ใหค้ วามสาคัญกบั คณุ คา่ ที่ผู้รับบริการ จะได้รวมทงั้ ความพึงพอใจของผ้รู บั บริการ (ผ่านการสรา้ ง Shared Purpose ของบคุ คลากร) ผลกาไรมิใชเ่ รอ่ื ง หลกั แตม่ ักผลพลอยได้เมือ่ ดาเนินการตามหลักการของ Agile Model เปลย่ี นจากการคาดเดาและพยายามควบคุมความซับซ้อน เป็นการพร้อมรับในสถานการณ์ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขนึ้ ซงึ่ จะเนน้ ความสามารถด้านการปรบั ตัวเพอื่ ให้เข้าถึงความซับซ้อน หนา้ 22 ของ 99 หน้า

เน้นความสามารถในการปรับตัว การยืดหยุ่น และการทุ่มเท มากกว่าการเพ่ิมประสิทธิภาพเพียง อย่างเดียว Agile Organisation เปิดโอกาสให้กับบุคลากรค้นหาใหม่ ๆ ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลง ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ให้ความสาคญั กับบุคลากร สรา้ งบรรยากาศในการทางานทีม่ ีการพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง สง่ เสรมิ ให้ เกิดความผูกพัน และความทุ่มให้กับองค์กรโดยทาให้เกิด Shared Purpose, Individual and Team Autonomy, Opportunity to Pursue Mastery, Strong Social Connections แ ล ะ Daily Small Wins การส่ังการหรือช้ีนา High Performance Team เปล่ียนเป็นการให้อิสระในการคิด/ ตัดสินใจ (การคิดเร็วตัดสินใจเร็ว) สามารถสร้าง High Performance Team เปนน Cross Functional Team มี Commitment ท่ีสมาชิกทกุ คนรว่ มกนั ทาภายใต้ความไว้วางใจซึ่งกันและ กัน มี Shared Purpose มีความสามารถในการปรับตัวและไวกับการเปลี่ยนแปลง ท่ีมีอิสระทาง ความคดิ และอสิ ระในการตัดสนิ ใจ หนา้ 23 ของ 99 หน้า

การเปล่ียนแปลงเม่ือนา Agile Model มาใช้ในองค์กร องค์กรที่มีชั้นการบังคับบัญชา/บริหารท่ีเข้มงวด เปล่ียนเป็นองค์กรท่ีมีชีวิต บุคลากรมี Share Purpose มีความกระตือรือร้นและบริหารจัดการตนเองได้ ภายใต้ระบบท่ีมีชีวิตชีวา จึงส่งเสริมให้มีความ เช่อื มโยงด้านความคิดในการทางานรว่ มกนั ภายใต้ Share Purpose ไมใ่ ชภ่ ายใต้กฎระเบยี บท่เี ข้มงวด องค์กรที่มีโครงสร้างและมีขั้นตอนตามระดับชั้นในการเข้าถึงข้อมูล เปล่ียนเป็นองค์กรท่ีบุคลากร เข้าถึงข้อมูลได้เพ่ือประกอบการวางแผนงาน เกิดการตัดสินใจจัดการกับการเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ได้ และเกิดการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง องค์กรที่มีผู้นาที่ยึดมั่นในความคิดของตนเอง เปลี่ยนเป็นองค์กรท่ีส่งเสริมให้บุคลากรเสนอความ คิดเห็น ฟังความคิดเห็นได้ โดยเฉพาะความเห็นเชิงสร้างสรรค์/นวัตกรรม และการให้ความสาคัญกับ ผรู้ บั บรกิ าร หน้า 24 ของ 99 หน้า

สรุป Agile Organization คือแนวคิดการทางานขององคก์ รยุคใหม่ ท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงใน โลกดิจิทัลยุคนี้ องค์กรท่ีจะอยู่รอดได้ ไม่ได้วัดกันท่ีความสามารถเท่านั้น ยังเป็นเร่ืองของความรวดเร็ว ความ คล่องตัวโดยลดการทางานที่เป็นขนั้ ตอน ลดงานด้านเอกสารลง ไม่ยึดติดกับระดบั ชัน้ ของสายบริหาร (ระดบั บน หรือ ระดบั ล่าง) ม่งุ เน้นเรื่องการสื่อสารกันในทีมให้มากขึน้ เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผลิตภัณฑ์/การ ให้บริการให้เร็วขนึ ้ ซ่ึงในทีมดังกล่าวอาจประกอบด้วยบุคลากรทุกระดับช้ันที่หลากหลายวิชาชีพ หลากหลาย ทัศนคติ หลากหลายแนวความคิด หลากหลายทักษะ เพื่อระดมความรู้ ความคิดเห็น จนเกิดเป็นรูปแบบของ งานที่ปรับขึ้นใหม่ รวมถึงการเปิดใจรับข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นและนามาเป็นบทเรียน เพ่ือ Agile ที่ดีขึ้น กว่าเดิม ซ่ึงจะมีการปรับพัฒนาระบบปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้รองรับกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจ เกิดข้ึนในอนาคต ดังน้ันหลาย ๆ องค์กรจึงต้องพยายามปรับเปล่ียนโครงสร้างการทางาน เพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถในการดาเนินธุรกิจ โดยองค์กรหลายแห่งเร่ิมนาแนวคิดการทางานแบบ Agile เข้ามาปรับใช้ เพ่อื รองรับกับสถานการณท์ ่ปี รบั เปลย่ี นอย่างรวดเร็ว บทเรียนท่ีได้รับ/ปัจจัยแห่งความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ Agile เปน็ กระบวนการที่จะช่วยให้ทางานได้ เร็วขึ้น โดยลดการทางานท่ีเป็นข้ันตอน ลดงานด้านเอกสารลง ม่งุ เน้นเร่ืองการสื่อสารกันในทีมให้มากข้ึน เพ่ือ ร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์/การให้บริการให้เร็วขึ้น พร้อมนาผลท่ีได้มาทดสอบ และเก็บผลตอบรับต่าง ๆ เพ่ือ กลับไปแก้ไขปรับปรุง ซึ่งจะทาให้องค์กรสามารถปรับพัฒนาผลิตภัณฑ์/การให้บริการได้เห็นผลอย่างรวดเร็ว สามารถรองรับกับสถานการณ์ท่ีปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็ว ณ ปัจจุบันได้เป็นอย่างดีรวมถึงสามารถปรับ พัฒนาระบบปฏิบัติงานได้อยา่ งต่อเน่ือง ประกอบด้วยบุคลากรทุกระดับชั้นท่ีหลากหลายวิชาชีพ หลากหลาย ทัศนคติ หลากหลายแนวความคิด หลากหลายทักษะ เพ่ือระดมความรู้ ความคิดเห็น จนเกิดเป็นรูปแบบของ งานท่ีปรับข้ึนใหม่ รวมถึงการเปิดใจรับข้อผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึ้นและนามาเป็นบทเรียน เพื่อ Agile ที่ดีขึ้น กว่าเดิม ซึ่งจะมีการปรับพัฒนาระบบปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้รองรับกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต ในปัจจุบัน หน่วยสิทธิประโยชน์ผู้รับบริการ งานบริหารการรักษาพยาบาล ได้นา Agile Organisation มาปรับใช้ในระบบการให้บรกิ ารรับรองสิทธิการรักษาพยาบาลกบั กล่มุ ผู้ใชส้ ทิ ธิประเภทต่าง ๆ เช่น สิทธิประกันสุขภาพ สิทธิประกันสังคม (นอกเขต ระบบส่งต่อ) กลุ่มสิทธิทุพพลภาพ กลุ่มสิทธิผู้พิการ กลุ่มสิทธิผู้ประกันตนคนพิการ กลุ่มผู้ป่วยโครงการปลูกถ่ายอวัยวะฯ กลุ่มสิทธิราชการองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน (อปท.) กลุ่มสิทธิหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ผ่านสัญญาเงินเช่ือ (AR) และระบบการปฏิบัติงานท่ี ปรับพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เพ่ือรองรับทุกสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น การเข้าร่วมทีม Telemed, และการส่ง ยารีฟลิ (Refil ใบเติมยา) ทางไปรษณีย์ และอีกหลายๆโครงการที่เขา้ ร่วม คิด และเข้าร่วมดาเนินการในส่วนที่ เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ท้ังภายใน และภายนอกองค์กร โรงพยาบาลรามาธิบดี เพอ่ื ผปู้ ่วยไดร้ ับการบริการท่สี ะดวก รวดเร็ว ใชส้ ิทธไิ ด้ถูกต้อง ครบถว้ น และไดร้ บั ประโยชนส์ งู สุดตามประเภท การใช้สิทธิ หน้า 25 ของ 99 หน้า

ผู้ถอดบทเรยี น คุณสมปอง ไตรศลิ ป์ งานบริหารการรกั ษาพยาบาล หน่วยสิทธปิ ระโยชน์ผู้รบั บรกิ าร หนา้ 26 ของ 99 หน้า

ชอื่ เรือ่ ง ทีมดแู ลสุขภาพรามาธบิ ดีช่วงสถานการณ์ COVID-19 วันท่ี เวลา 21 สิงหาคม 2563 หอ้ งประชุม 13.00-14.00 น. วทิ ยากร ชั้น 9 ห้อง 910 อาคารเรยี นและปฏบิ ัตกิ ารรวมด้านการแพทยแ์ ละโรงเรียน พยาบาลรามาธบิ ดี รปู แบบการนาเสนอ 1. นพ.ไพโรจน์ บญุ คงชนื่ ผู้อานวยการโรงพยาบาลรามาธิบดีจกั รนี ฤบดินทร์ 2. ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม นายกสมาคมโรคติดเชือ้ แห่งประเทศไทย 3. ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ รองผอู้ านวยการโรงพยาบาลรามาธิบดี 4. ผศ. ดร.ปรียาสริ ิ วิฑูรชาติ อาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและ ความผดิ ปกติของการสื่อความหมาย (ผดู้ าเนินรายการ) : เสวนา ผู้ดาเนินการเสวนากล่าวแนะนาตัว สวัสดีผู้ชมท่ีอยู่ในห้องประชุม ผู้ชมที่รับชมการถ่ายทอดสด เปิด ประเด็นหวั ข้อทีน่ าเข้าสกู่ ารเสวนา และกลา่ วแนะนาวทิ ยากรผู้ร่วมเสวนาทง้ั 3 ทา่ นที่ดาเนนิ งานและเก่ียวขอ้ ง กับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 เป็นอย่างดี หลังจากนั้นผู้ดาเนินรายการจึงเร่ิมต้นการ เสวนาและถามประเดน็ คาถาม หนา้ 27 ของ 99 หน้า

สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทยมีการดาเนินการหรือจัดการอย่างไรบ้าง อยากให้เล่าความ เปนนมา รวมถงึ กระทรวงสาธารณสุขได้มีการขอความร่วมมือหรือช่วยเหลืออยา่ งไรบา้ ง? ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ได้เล่าให้ฟังว่า ช่วงที่เร่ิมมีการระบาดของโรคโควิด-19 ประมาณต้นเดือน มกราคม ทางฝ่ายบริหารของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คือ ท่านคณบดีและผู้อานวยการ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้มอบหมายให้ติดตามโรคโควิด-19 เพราะแนวโน้มคาดว่าน่าจะมีปัญหา และยังเล่าให้ ฟงั อีกว่าช่วงท่ีเรมิ่ มกี ารระบาดใหม่ท่ยี ังไมพ่ บผ้ปู ่วยในประเทศไทย ฝ่ายบริหารของคณะฯ มองเห็นความสาคัญ ซึ่งจะต้องมีการเตรียมการเฝ้าระวัง โดยในช่วงแรกมีการเตรียมการในระดับหนึ่ง กล่าวคือ มีการประชุม ผู้บริหารในสภาวะที่ไม่ปกติ (War Room) เริ่มดาเนินการวางแผนเพื่อจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบ คือคลินิก คัดกรองโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (Acute Respiratory Infection : ARI clinic) โดยส่วนตัวเข้ามาร่วม รับผิดชอบร่วมกับทีมผู้บริหารและหน่วยโรคติดเช้ือเข้ามาช่วยดาเนินการ หลังจากนั้นช่วงที่มีการระบาดใหญ่ (Outbreak) ของโรคโควิด-19 ในประเทศไทยท่ีสนามมวยลุมพินี ช่วงนั้นต้องออกไปช่วยงานที่สมาคมฯ แต่ยัง มีการโทรศัพท์สื่อสารกับทีมผู้บริหารเพ่ือแจ้งข้อมูลข่าวสารและรายงานสถานการณ์ของระดับประเทศเพื่อ วางแผนและเตรียมการรับมือกับการระบาด การได้ไปทางานระดับประเทศในช่วงน้ันไปในฐานะของนายก สมาคมฯ และแพทยโ์ รคติดเชอ้ื ของคณะฯ ทางกระทรวงเองไดใ้ ห้การยอมรับเพราะว่าเป็นบคุ คลที่มีองค์ความรู้ และมีการทางานด้านการป้องกันโรคติดเช้ือมายาวนานจึงมีโอกาสได้เข้าไปช่วย ผู้ดาเนินการเสวนาสรุป ประเด็นว่าคณะฯ เป็นโรงเรียนแพทย์อันดับต้น ๆ ของประเทศซ่ึงถือเป็นจุดศูนย์กลาง (Hub) ของการระบาด ของโรคโควดิ -19 ในตอนตน้ รวมถึงการส่งข้อมูล ตา่ ง ๆ ให้กับคณะฯ เพราะมอี าจารยแ์ พทยเ์ กง่ ๆ หลายท่าน ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม เล่าให้ฟังอีกว่า โครงสร้างของคณะฯ ซ่ึงมีระบบการบริหารและการบริการท่ีดีมาก โดยเฉพาะห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ (Lab) ที่มีความพร้อม สามารถให้บริการตรวจส่ิงส่งตรวจ (Specimen) เพื่อหาเช้ือโควิด-19 ได้ประมาณ 1,000 ตัวอย่าง/วัน ซึ่งถือว่าเยอะท่ีสุดในประเทศไทยใน ช่วงแรก จนกระทั้งหลังจากน้ันโรงพยาบาลอื่น ๆ จึงมีการดาเนินการพัฒนาการตรวจหาเช้ือโควิด-19 ตามมา ซ่ึงถือว่า คณะฯ มีบทบาทสาคัญอย่างมากในช่วงแรกของการระบาดในประเทศไทย ซ่ึงสามารถทราบได้ เลยว่า มีผู้ป่วยท่ีติดเชื้อจานวนเท่าไหร่ ซ่ึงถือเปนนจุดแข็งของคณะฯ และยังเปนนคณะฯ ที่ทางานเพื่อ สังคมไทยอย่างเห็นได้ชัด นอกจากน้ียงั ทิ้งท้ายอีกว่า เด่นชัดขนาดไหน ผ้ชู มซ่งึ เป็นประชาชนสามารถตดั สินได้ และยังกล่าวขอบคุณท่านคณบดีท่ีได้ให้โอกาสในการไปทางานในกระทรวงสาธารณสุข เพราะไม่ว่าจะเป็น ระดับนโยบายต่าง ๆ การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังโรค หรือการจัดการทรัพยากร อย่างชุดเครื่องมือและ อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE) เข้าไปช่วยตรวจสอบให้อยู่ใน เกณฑ์ทีส่ ามารถนาไปใช้งานได้จริง มีความปลอดภัย และเป็นการใช้ทรัพยากรท่ีเหมาะสม และไม่ใช้เกนิ ความ จาเป็นจนไม่เหลือให้สามารถใช้ได้ในอนาคต จะเห็นว่านโยบายจากส่วนกลางสาคัญมากเพราะจะไปมีผลกับ โรงพยาบาลทั้งหมดในระดับประเทศ ในส่วนของคณะฯ มีทีมที่เข้มแข็งมาก จะเห็นว่าการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ จงึ มกี ารดูแลอยา่ งเป็นระบบดอี ยแู่ ลว้ หลังจากท่ีทราบแล้วว่าคณะฯ จะต้องเปนนศูนย์กลางการดาเนินงาน การตรวจส่ิงส่งตรวจ การส่ง ต่อผูป้ ่วย และรับผ้ปู ว่ ยตอนนั้น คณะฯ รบั มืออย่างไรบา้ ง? หน้า 28 ของ 99 หน้า

ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ ได้เล่าให้ฟังว่า ความจริงแล้วประชาชนเฝ้ามองการทางานของคณะฯ อยู่แล้วและมองโรงเรียนแพทยใ์ หญ่ ๆ ในประเทศด้วย แต่เน่อื งจากคณะฯ มีความโดดเด่นโดยเฉพาะเรอื่ งการ ตรวจสิง่ ส่งตรวจทมี่ าจากทั่วประเทศซึง่ ในตอนหลงั เพิม่ จานวนเป็น 2,000 ตวั อยา่ ง/วนั ภายหลังสถานพยาบาล อื่น ๆ จึงเร่ิมมีการตรวจมากข้ึน พอมีจานวนผู้ป่วยในประเทศ และจานวนผู้ป่วยเริ่มเยอะขึ้น จึงมีการเตรียม ความพร้อมอย่างหนักในช่วงที่มีการระบาดในประเทศประมาณต้นเดือนมกราคม มีการขยายพื้นท่ี การ ปรับปรุงพื้นท่ี และใช้ห้องแยกบริเวณอาคาร 4 ซึ่งตอนหลังมีการประมาณการว่าผู้ป่วยน่าจะมีจานวนมากขึ้น จึงมีการสร้างคลินิกคัดกรองโรคติดเช้ือทางเดินหายใจ และมีการประสานงานกับบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) (Siam Cement Group: SCG) เข้ามาช่วยสร้างคลินิก มีการเปิดรับบริจาคส่ิงของท่ีจาเป็น การ ทางานของแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาลจากท้ัง 3 อาคารเพื่อไปช่วย ดาเนินงานที่คลนิ ิก และลดการให้บริการที่ไม่เร่งดว่ น (Non-emergency) นอกจากนี้ยังมีการส่งเจ้าหนา้ ท่ีจาก โรงพยาบาลรามาธิบดีไปช่วยท่ีโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ด้วย เรื่องสาคัญอีกประเด็นหนึ่งคือการ ส่ือสาร โดยมีการสื่อสารทุกช่องทางที่สามารถทาได้ เช่น อินเทอร์เน็ต ไลน์ อีเมล การมีข้อความเตือนทาง หน้าจอคอมพิวเตอร์ โปสเตอร์ แต่ยังพบประเด็นปัญหาการสื่อสารอยู่พอสมควรเนื่องจากเป็นองค์กรขนาด ใหญ่ แต่ประเด็นนีจ้ าเปน็ ตอ้ งมีการพัฒนาต่อไปและถือเป็นความทา้ ทายร่วมกัน นอกจากนี้ยงั มีการวดั อุณหภูมิ บริเวณทางเข้าของอาคาร มเี จ้าหน้าท่ีจากส่วนสานักงานมาช่วยเหลือด้วย โดยการคัดกรองประวัติเสี่ยงต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวของกับโรคโควิด-19 และกล่าวขอบคณุ ชาวรามาธิบดีท่ีรว่ มแรงร่วมใจกนั จนสามารถผ่านพน้ วกิ ฤตไิ ป ได้ และยังกล่าวช่ืนชมต่ออีกว่าโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ สามารถรับผู้ป่วยเปนนอันดับ 2 ของ ประเทศอีกด้วย ผู้ดาเนินการเสวนากล่าวสรุปประเด็นเมื่อคณะฯ จะต้องเป็นศูนย์กลางในการส่งต่อผู้ป่วยมา รบั การรักษา โดยกลา่ วว่าทมี ของคณะฯ มคี วามพยายามท่จี ะสรา้ งและระดมสรรพกาลังมาช่วยดูแล ช่วยตรวจ ชว่ ยเหลืองานทุกอยา่ งทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับโรคโควดิ -19 การโพสต์ทางโซเซียลมิเดีย (Social Media) ของดาราท่านหน่งึ ท่เี ขา้ มาตรวจโรคโควิด-19 ซ่งึ ผล เปนนบวก และเห็นตราของคณะฯ ในตอนนั้นทาให้ประชาชนทั้งประเทศทราบว่าคณะฯ เปนนศูนย์กลางการ ทางานด้านโควิด-19 ของประเทศ จึงอยากให้เล่ากระบวนการรบั ผ้ปู ่วย การดูแลผู้ป่วย เปนนอย่างไร และที่ โรงพยาบาลรามาธิบดีจกั รีนฤบดินทร์ทาอย่างไรบ้าง? นพ.ไพโรจน์ บุญคงช่ืน ได้เลา่ ให้ฟงั วา่ เมื่อประมาณช่วงเดอื นธันวาคม 2562-เดอื นมกราคม 2563 ได้ ติดตามข่าวสารตลอด มีการคาดการณล์ ่วงหนา้ ถึงสถานการณ์การระบาด ตอนนนั้ ที่โรงพยาบาลรามาธิบดจี ักรี นฤบดินทร์ยังไมไ่ ดม้ กี ารเตรียมการมากนักในช่วงแรก แตไ่ ดม้ ีการเตรียมให้ข้อมูลความรกู้ ับเจา้ หน้าที่โดยแพทย์ โรคติดเชื้อ ว่าโรคโควิด-19 คืออะไร มีการแพร่ระบาดหรือกระจายอย่างไร โดยส่วนตัวได้ต้ังคาถามอยู่ในใจ ตลอดหากมีการระบาดเกดิ ขึ้นในประเทศจะต้องทาอย่างไร ส่ิงหน่ึงท่ีสามารถทาได้คอื การตดิ ตามผลตรวจจาก ห้องปฏิบัติการของคณะฯ หลังจากที่เร่ิมมีการระบาดในประเทศและเจอผู้ป่วยมากขึ้นเป็น 3 เท่า ในเดือน กมุ ภาพันธ์ จึงคิดว่าน่าจะต้องมีแผนสารองไว้ สิ่งแรกทที่ าคือการสารวจพืน้ ที่เพราะโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรี นฤบดินทร์มีแนวโน้มน่าจะเป็นสถานที่ที่จะต้องรับผู้ป่วยท้ังหมดจากคณะฯ ด้วยปัจจัยทางกายภาพ ต่าง ๆ ของคณะฯ ทสี่ ่วนตัวคิดว่าไม่เหมาะท่ีจะรับผู้ปว่ ยโรคโควิด-19 และคิดว่าโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ หน้า 29 ของ 99 หน้า

น่าจะเป็นสถานท่ีรองรับผู้ป่วยโควิด-19 มากที่สุด ในขณะนั้นได้มีการสารวจห้องความดันลบ (Negative Pressure Room) ซึ่งมีจานวน 27 ห้อง และคาดการณ์ต่อว่าจะนาตึกใหม่ท่ียังไม่ได้เปิดให้บริการมาเป็น สถานท่ีรับผู้ป่วยซ่ึงมีอยู่จานวน 48 ห้อง ช่วงน้ันได้มีการประชุมปรึกษาหารือกันกับทีมบริหาร พยาบาล เจ้าหน้าทีว่ ิศวกร และเจ้าหน้าทขี่ องบริษทั อารเ์ อฟเอส จากัด (RFS) ให้เตรียมสถานที่ไว้ซ่ึงอาจจะมีการเปิดตึก ดังกล่าวน้ันไว้เพื่อรองรับผู้ป่วยโควิด-19 ไม่ว่าจะเป็นห้องผู้ป่วย เครื่องใช้ต่าง ๆ ระบบปรับอากาศ เตียงผู้ป่วย ไฟ ทุกอย่างต้องพร้อม จนกระท่ังวันท่ี 12 มีนาคม 2563 ท่านคณบดีเรียกประชุมด่วนบอกว่า คณะฯ มีผู้ป่วย โควิด-19 จานวน 2 ราย จะใหร้ บั เข้าเป็นผ้ปู ่วยใน (Admit) ที่หอผู้ป่วยอายุรกรรม ภายหลังท่านคณบดีได้เปล่ียนใจ และถามว่า “จะให้แอดมิทท่ีโรงพยาบาล รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ได้ไหม?” จึงตอบไปว่า “ได้ ผมพร้อมอยู่แล้ว” จึงถือเป็นความบังเอิญแบบต้ังใจ ก่อนหน้านี้โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน Joint Commission International: JCI ซึ่งหมวดที่เน้นมากคือโรคติดเชื้อ (Infectious Disease Control) ซ่ึงผ่านการรับรอง คณุ ภาพหมวดนี้อยา่ งเข้มแข็งมาก กล่าวคือ มีแผนการดาเนินงาน มีการซ้อมแผน และเรียกรหัส (Code) ก่อน การรับผู้ป่วยโควิด-19 ถึง 2 ครั้ง และจนมาถึงการรับผู้ป่วยจริงได้ภายใน 2-3 วัน จะเห็นว่าได้ตระหนักและ สร้างส่ิงท่ีเรียกว่าสานึกแห่งความกระตือรือร้นในการลงมือปฏิบัติ (Sense of Urgency) จนนาไปสู่การ วางแผนและลงมือปฏิบัติ การจัดการวางแผนเรื่องคนโดยมีระบบบังคับบัญชา (Command System) ที่ ชัดเจน ว่าใครต้องทาอะไร ที่ไหน ทาอย่างไร โดยมีพันธะกิจและเป้าหมายหลัก 2 ประการ คือ 1) โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดนิ ทร์ต้องเปนนโรงพยาบาลท่ีรองรับผู้ปว่ ย โควดิ -19 ให้กับคณะฯ และ ประเทศไทยได้ 2) บุคลากรของคณะฯ ต้องไม่ติดเช้ือโควิด-19 จากการทางาน ส่ิงหนึ่งท่ีจะช่วยเสริมสร้าง พลงั ใจใหเ้ จ้าหน้าท่ีได้ คอื การใหผ้ ู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้นสามารถตัดสินใจหนา้ งานไดโ้ ดยไม่ต้อง รอคาสัง่ สามารถตัดสินใจกอ่ นได้ และจากจานวนห้อง 48 ห้อง สามารถทาเปน็ เตียงผูป้ ว่ ยไดจ้ านวน 122 เตยี ง เมื่อรับผู้ป่วยไป 2 ราย หลังจากนั้นอธิบดีกรมการแพทย์โทรศัพท์มา “รับเพ่ิมได้อีก 1 คนได้ไหมไม่มีที่ไป?” ผมบอกว่า “ให้ส่งมาได้เลย” วันน้ันจึงรับผู้ป่วยทั้งหมด 3 ราย และรับมากข้ึนภายใน 2 สัปดาห์มีผู้ป่วย 76 ราย (จาก 12 มีนาคม 2563 – 26 มีนาคม 2563) แต่เน่ืองจากมีข้อจากัดของจานวนเตียงเพียง 122 เตียง และตัวเลขผู้ติดเชื้อตอนน้ันยังไม่มีทีท่าว่าจะน้อยลงจึงเร่ิมกังวลว่าถ้าจานวนผู้ป่วยเกิน 122 เตียงแล้วจะทา อย่างไร ? ในตอนน้ันจึงมีแผนสาลองโดยมีหอผู้ปว่ ย 1 หอผู้ป่วยจะต้องรองรับเป็นผู้ป่วยโควิด-19 ทั้งหอผ้ปู ่วย วางแผนและจัดอัตรากาลังรองรับไว้ก่อน ขณะเดียวกันน้ันจากผู้ป่วยโควิด-19 ธรรมดากลายเป็นผู้ป่วยหนัก จานวน 5 เตียงเต็ม และต้องไปใช้หอผู้ป่วยวิกฤติท่ีเป็นของหอผู้ป่วยวิกฤติเด็กท่ีเป็นห้องความดันลบแทนและ ขยายเป็น 10 เตียง จากนั้น 10 เตียงก็รับผู้ป่วยจนเต็มทั้งหมด จึงคิดต่อไปอีกว่าถ้ามีคนที่ 11 จะทาอย่างไร? จงึ มีการดัดแปลงห้องความดันลบธรรมดาให้สามารถใสเ่ คร่ืองช่วยหายใจ (Ventilator) ไว้ และระดมทีมแพทย์ ท่ีเกี่ยวข้องเข้ามาประเมิน วางแผนไว้โดยคานึงถึงความเหมาะสมและปลอดภัย นอกจากนี้ทุกเย็นจะมีการ ประชุมทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) ว่ามีประเด็นปัญหาอะไรบ้าง โดยมีการประชุม สัปดาห์ละ 2 วัน คือ วันอังคารและวันศุกร์ หลังจากท่ีมีการรับผู้ป่วยโควิด-19 มาเร่ือย ๆ จะเห็นว่าผู้ที่ เก่ียวข้องท้ังหมดเรมิ่ มีองค์ความรูม้ ากขึ้น จากท่ีได้ลองผิดลองถูกกนั มา มเี รื่องเลา่ น่าสนใจมากมาย ตัง้ แต่ผปู้ ว่ ย หนา้ 30 ของ 99 หน้า

ท่ีมาจากสนามมวยลุมพินีท่ีเกิดอยากสูบบุหร่ีจะหนีออกมาสูบบุหร่ี “พยาบาลจะจัดการอย่างไร?” “เพราะ พยาบาลก็กลัว ตามตารวจตารวจก็บอกว่าผมก็กลัวเหมือนกันครับ” สุดท้ายผู้ป่วยก็ไม่ได้ออกมา “ผู้ป่วย โพสต์เฟซบุ๊คไลฟ์ร้องเพลงจะทาอย่างไร?” “ก็ดีแล้วนิจะได้ไม่เครียด” มีเรื่องราวสนุกสนานมากมาย ทีมท่ี ปฏิบัติงานได้เรียนรู้ไปด้วยกันจากส่ิงต่าง ๆ เหล่านี้ ต้องขอชื่นชมทีมงานจากโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรี นฤบดินทร์ และตอนหลังมีบุคลากรจากคณะฯ ที่ได้เข้าไปช่วยเหลือ ซึ่งต้องบอกว่าบุคลากรจากคณะฯ ท่ีไป ล้วนแล้วแต่เก่ง มีความสามารถมาก ในส่วนของโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์แม้จะยังไม่มี ความสามารถเท่าแต่ก็มีใจท่ีจะทางาน จะเห็นว่าทุกคนมีส่วนช่วยเหลือกันหมด เพ่ือให้สามารถบรรลุพันธะกิจ ในตอนหลังส่วนตัวได้เร่ิมเข้าไปประชุมท่ีกระทรวงสาธารณสุขและเร่ิมมีบทบาทมากข้ึนในสั งคมท่ีใหญ่ข้ึนซ่ึง เป็นสังคมระดบั ประเทศ โดยสรปุ โรงพยาบาลรามาธิบดจี ักรีนฤบดินทร์รับผูป้ ่วยโควิด-19 ท้ังหมดจานวน 151 รายในช่วงน้นั รายท่ี 152 มาหลังจากทผี่ ่านพ้นวกิ ฤติมาได้ และมผี ู้ปว่ ยล่าสุดคือ 2 รายสดุ ทา้ ย คอื รายที่ 153 และรายท่ี 154 จากเหตุการณ์ล่าสุดท่ีเกดิ ข้ึน ในบริบทของคณะฯ ในฐานะท่ีเปนนรองผู้อานวยการโรงพยาบาล มีวิธีการท่ีจะช่วยดูแล หรือให้ คาแนะนาบุคลากรอยา่ งไรบา้ ง? ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ ไดเ้ ลา่ ให้ฟงั วา่ เร่อื งน้เี ปน็ ประเด็นท่ีสาคญั คือ ต้องป้องกันไมใ่ ห้บคุ ลากร ติดเชื้อ จงึ มกี ารฝกึ อบรมบคุ ลากรมากข้ึน ซ่งึ มีการแยกฝึกอบรมให้มีความเหมาะสมกับสภาพการปฏิบัติงานใน แต่ละส่วนงาน โดยพยาบาลโรคติดเชื้อ (Infectious Control Nurse) โดยมีการฝึกปฏิบัติการสวมใส่ การถอด ชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล รวมถึงการปฏิบัติตัวเพื่อความปลอดภัยต่าง ๆ การดูแล เร่ืองสถานท่ีให้มีความปลอดภัย เช่น มาตรฐานของห้องท่ีมีความชื้นหรือเช้ือรา มีการตรวจวัดมาตรฐานของ ห้องตรวจตามแผนกผู้ป่วยนอกต่าง ๆ รวมถึงคลินิกคัดกรองโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ การควบคุมการกรอง และการไหลเวียนของอากาศ ถึงแม้จะสร้างภายในระยะเวลาที่จากัดแต่สามารถผ่านมาตรฐานท่ีได้กาหนดไว้ การพิจารณาค่าตอบแทนและสวัสดิการของบุคลากรท่ีปฏบิ ัติหน้าท่ีในหนา้ งานเกี่ยวกบั โควิด-19 โดยคณะฯ ได้ มีการพิจารณาอย่างเหมาะสม ขณะที่กระทรวงสาธารณสุข และองค์กรเอกชนต่าง ๆ ได้มีการพิจารณา ค่าตอบแทนให้ด้วย รวมไปถึงการทาประกันชีวิตให้กับบุคลากรทุกรายของคณะฯ ทั้งน้ีมีการมองอย่าง ครอบคลุมและรอบด้านท้ังเร่ืองความปลอดภัยและค่าตอบแทนสาหรับบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในความเสี่ยง ดงั กล่าว ผดู้ าเนินการเสวนากล่าวสรุปประเด็นว่าคณะฯ เป็นหน่วยงานแรก ๆ ท่ีมีการพจิ ารณาทาประกนั ชีวิต และจ่ายเงนิ ชดเชยใหก้ บั บคุ ลากร หลังจากนนั้ ปรากฏว่ามหี ลายโรงพยาบาลได้นาวิธีดงั กล่าวไปปฏิบัติตาม จากท่ีไดฟ้ ังอาจารย์ นพ.ไพโรจน์ บุญคงช่ืน เลา่ ให้ฟงั ในเบื้องต้นดูเหมือนการปฏิบัติงานจะล่ืนไหล ไปได้ดี อยากให้อาจารย์เล่าให้ฟังว่าที่โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์มีการดูแลบุคลากรอย่างไร บ้าง? นพ.ไพโรจน์ บุญคงช่ืน ได้เล่าให้ฟังว่า คณะฯ ได้มีการพิจารณาทาประกันชีวิตให้กับบุคลากรทุกราย จะเห็นว่าช่วงที่ผ่านมาทั้งผู้บริหารและบุคลากรปฏิบัติงานกันหนักมาก ซ่ึงไม่อยากให้บุคลากรมีการเจ็บป่วย เกิดขึ้นซึ่งการดาเนินงานท่ีผ่านมาไม่ได้มีตาราบอกไว้ และได้ยกตัวอย่างการดาเนินงานของโรงพยาบาล รามาธิบดีจักรนี ฤบดินทร์ เช่น มกี ารแบง่ โซนสกปรก โซนสะอาด การทดลองใช้ระบบปรับอากาศ คือ สามารถ หนา้ 31 ของ 99 หน้า

ใช้แรงดันจากเครื่องปรับอากาศมาประยุกต์ใช้โดยให้ห้องผู้ป่วยเป็นความดันลบ บริเวณโถงทางเดินเป็นความ ดันลบน้อยกว่า ส่วนบริเวณห้องพยาบาลเป็นความดันบวก และมีการทดสอบโดยใช้ควัน (Smoke Test) โดย ทมี วิศวกรของบรษิ ทั อาร์ เอฟ เอส ปรากฏว่าได้ผลดเี ป็นที่น่าพอใจ อุปกรณก์ ารแพทยต์ ่าง ๆ ชุดเครื่องมือและ อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคลต้องมีพอใช้ มีการยืมจากคณะฯ การเปิดรับบริจาค นอกจาก น้ีบริษัท อาร์ เอฟ เอส ยังสนับสนุนอาหารให้บุคลากรได้รับประทาน มีการทาโครงการเชฟอาสาจากโรงแรมใหญ่ ๆ มาอยู่ที่ ห้องอาหารของโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ โดยนาเงินท่ี บริษัท อาร์ เอฟ เอส มีอยู่ทาอาหารเลี้ยง บุคลากรของโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ท้ัง 3 มื้อ โดยไม่ได้ของบประมาณจากคณะฯ เลยต้องบอก ว่าบริษัท อาร์ เอฟ เอส ช่วยเหลือเยอะมาก รวมถึงแม่บ้านท่ีทาความสะอาดด้วย ถึงแม้จะมีการลาออกเยอะ มากในช่วงน้ันแต่ได้มีการส่ือสาร ทาความเข้าใจ พูดคุยจนสามารถหาทางออกในการแก้ไขปัญหาได้ในท่ีสุด และมีการจัดซ้ือหุ่นยนต์ทาความสะอาดมาช่วยดว้ ยโดยมีทงั้ หมด 4 ตัว เนอ่ื งจากพ้ืนทีโ่ รงพยาบาลมขี นาดใหญ่ มาก จะเห็นว่าหลายเร่ืองจาเป็นต้องพึ่งพาตัวเองก่อน โดยส่วนตัวไม่กล้าพูดว่าเราเก่งจริงไหม เพราะบาง องค์กรมีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาเยอะมากเหมือนกัน ท่ีองค์กรของเรามาได้เร็วขนาดน้ีเพราะมีหน่วยงาน อ่ืน ๆ เข้ามาช่วยเหลือและสนับสนุน ตอนหลังองค์กรอื่น ๆ สามารถประสบความสาเร็จได้เช่นเดียวกัน โรงพยาบาลบางแหง่ จะเรยี กวา่ ดกี วา่ เราดว้ ยซา้ นัน่ เพราะมีหนว่ ยงานภาคเอกชนเข้าไปให้การสนับสนนุ ผู้ดาเนินการเสวนาเกร่ินนาก่อนจะถามคาถาม ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ในฐานะท่ีเป็นนายกสมาคม ฯ คือ ตอนน้ีบุคลากรทางด้านสาธารณสุขของคณะฯ เดินมาถูกทางไหม? การที่รัฐบาลเป็นห่วงเร่ืองจะไม่มี เตียงเพียงพอ ห้องผ่าตัดไม่เพียงพอ ห้องความดันลบไม่เพียงพอ และมีการเชื่อมโยงไปจนถึงส่วนอ่ืน ๆ เช่น การปิดสถานบริการต่าง ๆ เพ่ือจะทาให้คนติดเช้ือโควิด-19 น้อยลง และท้ายท่ีสุดคือปิดทั้งประเทศ จึงอยาก ถามอาจารย์ว่าตอนน้ีบุคลากรทางด้านสาธารณสุขเรามาถูกทางไหมสาหรับคณะ ฯ หากจะมีการระบาด ระลอกที่ 2 ขณะท่เี ราบอกวา่ จะเปนนประทีปสอ่ งทางของประเทศ? ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ไดเ้ ล่าใหฟ้ ังว่า คาถามนี้เป็นคาถามที่ตอบยากพอสมควร แต่ไดแ้ สดงทศั นะ ว่าขณะนี้โครงสร้างพ้ืนฐานระบบบริการสาธารณสุขของประเทศมีความพร้อม บุคลากรมีองค์ความรู้ดีขึ้น ที่ สาคัญกว่าน้ัน คือ มีการทางานร่วมกันเป็นทีม และยังต้องการการทางานร่วมกันอีกมาก สังคมไทยเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโควิด-19 ทาให้เกิดการตื่นตวั และเป็นพลงั ท่ีสาคัญของประเทศ ถา้ เกิดการระบาดระรอกท่ี 2 โดยส่วนตวั เช่ือว่าประเทศไทยจะรับมือไดด้ ีพอสมควร แต่จะรับมือได้ดขี นาดไหน ไม่สามารถบอกได้ เพราะข้ึนกับสถานการณ์ในอนาคตด้วยเพราะสถานการณ์การระบาดของโรคข้ึนกับปัจจัย ภายนอกหลายอย่างเหมือนกัน และคาถามที่ว่าท่ีผ่านมาทาถูกไหม? อาจารย์ได้ขยายความต่อไปว่าช่วง สถานการณ์ท่ีผ่านมาไม่มีอะไรผิด ไม่มีอะไรถูก เพราะการตัดสินใจขึ้นกับสถานการณ์ในตอนน้ัน แต่ละ สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นการตัดสินใจอาจจะเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลาเช่นกัน แต่สิ่งท่ีควรทา คือ เราควร ติดตามข่าวสารแต่ไม่ควรต่ืนตระหนก จึงจะทาให้ประเทศไทยสามารถรับมือกับการระบาดได้ดี มันเป็นไป ไม่ได้ที่จะไม่พบผู้ป่วยรายใหม่เลย จะเลวร้ายเหมือนประเทศเพ่ือนบ้านไหม? ไม่มีใครสามารถบอกได้ แต่ใน ระดับประเทศ ระดับกระทรวงมีการเตรียมนโยบาย การปฏิบัติการต่าง ๆ ไว้แล้ว มีการซักซ้อม มีทีมสอบสวน โรคซง่ึ จะเขา้ ถึงพื้นทที่ ันทซี ึ่งหลงั ฉากมีการทางานเยอะมาก หนา้ 32 ของ 99 หน้า

นพ.ไพโรจน์ บุญคงชื่น กล่าวเพ่ิมเติมว่ามีการประชุมพร้อมกันในหลายส่วนงาน ช่วงแรกทุกคนมี ความเห็นที่แตกต่างกันเพราะทาในบริบทท่ีแตกต่างกัน แต่พอทุกคนเริ่มตกผลึกการทางานร่วมกันจึงทาให้ทุก คนสามารถปรับเปลี่ยนการทางานร่วมกันได้ จะเห็นว่าแนวปฏิบัติต่าง ๆ ในช่วงแรก ๆ มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา มีการประชุมทุกวันเสาร์ และเปลี่ยนเป็นวันเสาร์เว้นวันเสาร์ และมีการแบ่งงานกันทา เหตุการณ์ แบบนี้ไมเ่ คยเกิดขึ้นเลยจนกระท้ังเหตุการณ์ครงั้ น้ีสอนพวกเราจริง ๆ ว่าการทางานเป็นทีมมคี วามสาคัญและมี การทางานเชื่อมโยงกัน พอพบผู้ปว่ ยรายใหมเ่ กิดข้นึ จะเกิดการทางานประสานกันอย่างรวดเร็ว เพราะแขนขา ทมี่ อี ยู่ในอดีต ทีผ่ ู้ใหญใ่ นกระทรวงสาธารณสขุ ได้วางไว้ในอดตี ซึ่งโดยส่วนตวั ไมเ่ คยเหน็ ความสาคญั เลย วันนีเ้ รา เร่ิมเห็นว่ามันได้ออกดอกออกผล เราไม่เคยคิดเลยว่าอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) จะทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งท่านเหล่าน้ันมีข้อมูลท้ังหมด ติดตามกลุ่มเส่ียงได้ถูกหมดเลย ยกตัวอย่างกรณีผู้ที่เดินทาง กลับไปภมู ิลาเนาที่บริเวณ บริษัท ขนส่ง จากดั (บขส.) กระทรวงมหาดไทยหรือตารวจบอกว่าไม่สามารถจะก้ัน การเดินทางได้เพราะถา้ กั้นอาจจะเกิดเหตุโกลาหลขึ้น ส่ิงที่สามารถทาได้คอื การดักจับทป่ี ลายทางโดยใช้ อสม. ทอี่ ย่ใู นพนื้ ท่ีเป็นผรู้ ายงานเข้ามา อีกกรณีคือ ผทู้ ี่ลักลอบทางานในประเทศเกาหลใี ต้เดินทางกลับมาในประเทศ ไทย ยกตัวอย่างท่ีจังหวัดอุบลราชธานีมีจานวน 230 ราย อสม. สามารถติดตามได้ครบทุกคนที่มีรายชื่อส่งไป ต้องบอกว่า อสม. ได้กลายมาเป็นอาวุธลับของกระทรวงสาธารณสุขในการติดตามผลลัพธ์และการดาเนินงาน ใหก้ ับบุคลากรทางดา้ นสาธารณสุข ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม เล่าเสริมอีกว่าปจั จุบันรฐั บาลยังการ์ดไม่ตก สิ่งท่ีเกิดขึน้ ท้ังหมดจะสรุปเป็น บทเรียนไว้ และเป็นบทเรียนของคณะฯ ด้วยเช่นกัน ซึ่งการสนับสนุนของท่านคณบดีมีความสาคัญมาก การ สรุปว่าได้ทาอะไรไปแล้วบ้าง แล้วอะไรที่เกิดประโยชนจ์ ะนาไปใช้เป็นฐานในการปฏิบัติการต่อไป ที่ผ่านมาคน ทมี่ ีหน้าทรี่ ับผิดชอบจุดต่าง ๆ ได้ทาหน้าที่อยา่ งเตม็ ท่ี ทุกคนไม่เคยบอกว่าจะไดอ้ ะไร หรือมีการเกีย่ งกนั ในการ ทางาน มีแต่จะคิดหาหนทางที่จะแก้ไขหรือป้องกันอย่างไรให้คนไทยปลอดภัย ทุกองค์ประชุมเป็นลักษณะน้ี หมด โดยสว่ นตวั อย่างบอกว่าเบื้องหลังมกี ารทางานทุม่ เทอยา่ งมากเพื่อประเทศชาตขิ องเรา อยากเรยี นถาม ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ หลังจากทไี่ ด้มกี ารแถลงข่าวผตู้ ดิ เช้อื จานวน 2 ราย อยากให้อาจารย์สรุปให้ฟังว่าเราควรจะระมัดระวังตัวให้มากกว่านี้หรือไม่ เพราะเราไม่สามารถรู้ได้เลยว่า ใครตดิ เชื้อโควิด-19 บา้ ง มแี นวทางในการตรวจหาเช้อื อยา่ งไร และสุดท้ายผปู้ ว่ ยไปแอดมิททโ่ี รงพยาบาล รามาธบิ ดจี ักรีนฤบดนิ ทร์ได้อยา่ งไร? ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนสิริ ได้เล่าให้ฟังว่าหลายคนคงเฝ้าติดตามข่าว ตอนน้ีมีผู้ป่วย 2 ราย เป็น ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 34 ปี และ 35 ปี ท้ัง 2 ราย เคยทางานท่ีประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (เมืองดูไบ) เดินทางกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย วันที่ 2 มิถุนายน 2563 อีก 1 ราย เดินทางมาถึงวันท่ี 24 มิถุนายน 2563 หลังเดินทางกลับมามีสุขภาพแข็งแรงแรงดี และอยู่ในสถานกักกันโรค (State Quarantine) จนครบ 14 วัน ตรวจหาเช้ือโควิด-19 ทางโพรงจมูกไปทั้งหมด 2 รอบ มีผลเป็นลบ หลังจากน้ันไดเ้ ดินทางกลับ บ้านท่ีต่างจังหวัด คือ จังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเลย เมื่อกลับไปบ้านทั้ง 2 รายได้ใช้ชีวิตปกติ ไม่มีอาการ เจ็บป่วยแตอ่ ยา่ งใด และไดก้ ลับมาขอตรวจเช้ือโควิด-19 อีกคร้ัง เพ่ือจะเดินทางกลับไปทางานท่ีประเทศสหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ (เมืองดูไบ) มาตรวจหาเชื้อที่โรงพยาบาลรามาธิบดี วันที่ 17 สิงหาคม 2563 และอีก 1 ราย หนา้ 33 ของ 99 หน้า

มาตรวจวันท่ี 18 สิงหาคม 2563 สรุปผลตรวจเป็นบวกหลังจากการตรวจท้ังหมด 3 รอบ แต่ผลบวกดังกล่าว พบเช้ือปริมาณน้อยมาก ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ขยายความการตรวจดังกล่าวที่ผลเป็นบวก เน่ืองจาก ปริมาณเชื้อท่ีมีน้อย ๆ ว่าจะมีการขยายรอบ (Cycle) ของจานวนสารพันธุกรรมของเชื้อให้มีจานวนมากขึ้น เพราะฉะน้นั ถ้าต้งั ต้นด้วยเชื้อจานวนนอ้ ยมาก ๆ สารพันธุกรรมทพี่ บน้อย ๆ มีความจาเป็นต้องมีการขยายรอบ สารพันธกุ รรมไปกว่า 40 รอบ ถงึ จะเหน็ ผลเปน็ บวก แต่ถ้าผูป้ ว่ ยท่ีกาลังไดร้ ับเช้ืออยู่ (Active Case)จะพบการ ขยายรอบสารพันธกุ รรมที่ใกลก้ วา่ มาก โดยปกติแลว้ การขยายรอบสารพันธุกรรมประมาณ 10 รอบจะสามารถ พบผลเป็นบวกแล้ว ในรายนจ้ี งึ สงสัยวา่ ตกลงใช่หรือไม่ ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ กลับมาเล่าให้ฟังอีกครั้งว่าห้องตรวจปฏิบัติการได้ตรวจสอบหลายรอบ อย่างถี่ถ้วนจึงสรุปผลเป็นบวก หลังจากน้ันจึงมีการติดตามผู้ป่วยมาแอดมิท มีการยืนยันผ ลตรวจทาง ห้องปฏิบัติการจากของคณะฯ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพ่ือ หาแอนติบอดี้เป็นการหาหลักฐานการติดเชื้ออย่างอ่ืนด้วย โดยส่วนตัวยังสงสัยว่าผู้ป่วยรายนี้ผลเป็นบวกจริง หรือไม่ แต่ทางคณะฯ ตัดสินใจที่จะแอดมิทผู้ป่วยก่อนเพ่ือแยกจากสังคม และมีการตรวจซ้า โดยสรุปผลเลือด ในแอนติบอด้ีชนิด IgG ที่พบการติดเชื้อที่เกิดมานานสักระยะหนึ่งแล้วคาดว่าน่าจะมากกว่า 1 สัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีการตรวจหาการติดเชื้อใหม่ซ่ึงผลเลือดในแอนติบอดี้ชนิด IgM ให้ผลเป็นลบ โดยสรุปจึงมีการ สนั นิษฐานวา่ ผู้ป่วยรายนี้น่าจะมีการติดเช้ือมานานแล้วหรือไม่? อาจจะเป็นตงั้ แต่อยู่ท่ีประเทศสหรฐั อาหรับเอ มเิ รตส์ หรืออยู่ที่จังหวัดชัยภูมิ ซ่ึงไม่สามารถบอกได้แน่ชัด นอกจากนี้ยังมกี ารตรวจสอบหลายรอบทง้ั การเพาะ เชื้อและคาดว่าน่าจะเป็นเช้ือเก่าหรือเศษซากของเชื้อโควิด-19 มีการติดตามและรายงานศูนย์บริหาร สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (ศคบ.) กรมควบคุมโรค และสานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุขให้ช่วยตรวจสอบร่วมกัน ผู้ป่วยรายที่ 2 มีลักษณะคล้ายกัน คือ ตรวจได้ผลบวก มีการ ติดตามกลับมาแอดมิท แต่ในผู้ป่วยรายท่ี 2 ผลบวกชัดเจนและย้ายผู้ป่วยไปท่ีโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบ ดินทร์ตามแผนการดาเนินงาน เป็นท่ีน่าสังเกตว่าทั้ง 2 ราย มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการตอนที่อยู่ในสถาน กักกันโรคเป็นลบเหมือนกัน โดยผู้ป่วยรายแรกมีการตรวจหาเช้ือทางโพรงจมกู ไป 2 รอบมีการรายงานผลเป็น ลบแต่ในความเป็นจริงผลเป็นบวกจากการขยายรอบสารพันธุกรรมในรอบปลาย ๆ ในคร้ังแรกแต่คร้ังที่ 2 ผล เปน็ ลบจึงมกี ารรายงานผลสุดทา้ ยเป็นลบ ให้กลบั บ้าน และเปน็ ไปตามเกณฑก์ ารดาเนินงานทกุ อย่าง จึงสรุปว่า นา่ จะมีการติดเช้ือในปริมาณเล็กนอ้ ยมาก่อนแล้วและไม่แสดงอาการ ซึ่งเช้ือโควดิ -19 อย่ใู นร่างกายได้นานมาก บางรายจะอยู่ในร่างกายประมาณ 3 เดือนจากข้อมลู การแพทย์ในปัจจุบัน ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ได้ขยาย ความอีกว่าการตรวจน้ีเป็นการตรวจสารพันธุกรรมของเช้ือ (Ribonucleic Acid: RNA) การตรวจสาร พันธุกรรมไม่ได้หมายความว่าจะต้องตรวจแล้วพบเชื้อเสมอไป ผู้ป่วยได้รับเช้ือมานานแล้วจะตรวจเจอซึ่งเป็น เศษซากของเช้ือ หลังจากมกี ารตรวจแล้วพบเชื้อ จึงไดส้ รุปความเห็นว่าน่าจะเป็นผู้ป่วยเก่า แต่การดาเนินงาน นั้นได้ทาเหมือนการรับผู้ป่วยโควิด-19 ท่ัวไป คือ มีการประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทันที นาผู้ป่วยแอดมิท ทนั ที และเตรียมแผนตามข้ันตอน แต่เผอิญคนทั่วไปที่ไม่ได้รขู้ ้ันตอนเหล่าน้ี เลยมีความแตกตน่ื แตถ่ ้าได้ทราบ แผนการดาเนินงานทั้งน้ีก็จะไม่เกิดความแตกต่ืนเลย กล่าวโดยสรุปหลังจากท่ีมีการตรวจสารพันธุกรรมอย่าง หนา้ 34 ของ 99 หน้า

ละเอียดโดยผูเ้ ชี่ยวชาญแล้วสรุปว่าพบสารพันธุกรรมที่ไม่ได้มีการเรียงตัวกนั ตลอดมีการขาดหายไปในบางช่วง จงึ สรุปว่า เปน็ เศษซากของเช้อื ทไ่ี ม่สามารถติดต่อได้ คนท่ีมีการติดต่อกับผู้ป่วยรายน้ีที่จังหวัดชัยภูมิจะต้องมีการตรวจหาเช้ือโควิด-19 และกักกันโรค ดว้ ยหรอื ไม่? ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ และผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ตอบเป็นเสียงเดียวกันว่า “ไม่มีความ จาเปน็ ” หลังจากนนั้ ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ได้ขยายความตอ่ ไปวา่ จะเห็นว่ากรณีตวั อย่างท่ีจังหวัดระยอง ได้มีการประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจึงไม่มีความแตกตื่น ขณะที่กรมควบคุมโรคเข้าไปตรวจสอบว่าใครที่ สมั ผัสใกล้ชิด และกักกันโรคไว้ช่ัวคราว ทางคณะทางานได้คานึงถึงความปลอดภัย จะเห็นว่าการสั่งปิดจังหวัด ใดจังหวัดหน่ึงน้ันผลท่ีตามมาคือความเสียหายทางเศรษฐกิจซ่ึงเป็นส่ิงท่ีต้องระวังและหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดขึ้น ผู้ดาเนินการเสวนาได้สรุปว่ากรณีท่ีอาจารย์ยกตัวอย่างมาจะเหมือนกับผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่ หลังจากน้ัน หายดีแล้วแล้ว เม่ือไปตรวจซ้าจึงอาจจะพบว่าผู้ป่วยเคยเป็นไข้หวัดใหญ่มาก่อนแต่เช้ือไม่สามารถติดต่อได้ (Non active) แตค่ ณะทางานยงั มีการใหก้ ารดแู ลรักษาเสมือนเป็นผูป้ ว่ ย? ผศ. นพ. กาธร มาลาธรรม และ ผศ. นพ.ชนเมธ เตชะแสนศิริ ได้ตอบว่า “จนกว่าจะแน่ใจ” และได้ กล่าวต่อไปว่าผู้ป่วยท้ังสองรายน้ีไม่ได้มีการรักษาโดยการให้ยาแต่อย่างใดเพียงแต่แยกกักตัวไว้ และมีการ สอบสวนโรคในชุมชน และติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการเพ่ือสร้างความม่ันใจให้กับประชาชน เน่ืองจาก ประชาชนมีความต่ืนตระหนกมากเพราะถ้าไม่มกี ารจัดการดังกล่าวมาน้จี ะยิ่งมีการตนื่ ตระหนกเกดิ ขึ้นในสังคม ซ่ึงข่าวท่ีออกไปก่อนน้ันจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีการทาความเข้าใจและส่ือสารกับประชาชนให้ได้รับข้อมูลท่ี ถกู ต้อง แต่ไม่ได้มีการปิดข่าวแต่อยา่ งใด และไม่เคยคิดจะปิดข่าวด้วย คณะทางานตั้งใจจะบอกทุกอยา่ งอยู่แล้ว ทางกระทรวงสาธารณสุขเองก็ไม่ได้จะมีการปิดข่าว แต่การจะบอกอะไรกับประชาชนน้ันมีความจาเป็นท่ี จะต้องมีข้อมูลท่ีถกู ต้องจึงจะสามารถสื่อสารกับประชาชนได้ การบอกข้อมูลท่ีไม่ชัดเจนนั้นจึงไม่เป็นประโยชน์ ผศ. นพ.กาธร มาลาธรรม ยังกล่าวต่อถึงการระบาดในระลอกท่ี 2 ว่า คนที่อยู่ในสายงานที่เก่ียวข้องจะมีการ เชื่อมต่อข้อมูล สามารถดาเนินการได้ทันที จะลงถึงพื้นที่ได้ทันที เกิดกระบวนการสอบสวนโรค และแยกโรค ส่ิงสาคัญคือพ้ืนฐานของระบบสาธารณสุขประเทศไทยน้ัน ถ้าดู ณ ตอนน้ีจะพบว่า ประชาชนมีความตระหนัก มีการสวมหน้ากากตลอดเวลาเมื่ออกนอกบ้าน เห็นแบบนี้รู้สึกสบายใจ เพราะฉะนั้นโอกาสในการแพร่ระบาด จึงน้อย ฉะน้ัน การปฏิบัติตัวของประชาชนท่ัวไปเวลาจะเข้าท่ีชุมชนต้องมีการสวมใส่หน้ากากอนามัย ดูแล สุขภาพอนามัยส่วนบุคคลให้ดี ซึ่งประชาชนทั่วไปปฏิบัติได้ดี และทีมงานที่ทางานเบื้องหลังมีการปรับเกณฑ์ การเฝ้าระวัง คนที่ติดเชื้ออย่างไม่ทราบสาเหตุจะต้องมีการตรวจหาเช้ือว่าใช่หรือไม่ และมีการดาเนินงานตาม ข้ันตอนที่ได้วางไว้ นพ.ไพโรจน์ บุญคงชื่น ได้กล่าวให้ความมั่นใจอีกว่าในตอนแรกนั้นสถิติภาพรวมของ ประเทศมีเตียงสาหรับผู้ป่วยโควิด-19 มไี มม่ ากพอ แต่สง่ิ ท่ีเกิดขึ้นในช่วง 2-3 เดอื นท่ีผ่านมาประเทศไทยมเี ตียง สาหรับรองรับผู้ป่วยโควิด-19 ประมาณ 3,000 เตียง และมีเตียงผู้ป่วยวิกฤติประมาณ 400-500 เตียงเพ่ิมข้ึน จากเดอื นมนี าคมทีม่ ีเพียง 300 เตยี ง คาดว่าถา้ มีการระบาดระลอกที่ 2 คิดว่าศักยภาพที่มีท้งั ประเทศไทยอยใู่ น วิสัยที่สามารถจะจัดการได้ เวลาท่ีผ่านมาระบบสาธารณสุขของประเทศไทยมีการเตรียมพร้อม เตียงผู้ป่วย เครื่องมือ ยา ตอนน้ีฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลจะมีความพร้อมท่ีจะรับมือได้ ผู้ดาเนินการเสวนาได้ หน้า 35 ของ 99 หน้า

ทงิ้ ท้ายไว้ว่า ถึงแมเ้ ราจะมแี พทย์ มรี ะบบการจัดการทเี่ ตรยี มพร้อมแลว้ แตย่ ังอยากขอความร่วมมือให้เฝา้ ระวัง สังเกตตัวเอง ดูแลตัวเอง กระทรวงสาธารรณสุข คณะฯ บอกว่าต่อให้มีการระบาดระลอกท่ี 2 ก็อย่าไปกังวล หรือกลัวมากเกินไป เพราะเรามีทีมท่ีจะช่วยเหลืออยู่ แต่เหนือส่ิงอื่นใดยังมีความจาเป็นที่จะต้องดูแลตัวเอง ก่อน และได้ฝากข้อคิดไว้ในตอนท้ายหลังจากไม่มีผู้ร่วมประชุมถามคาถาม ว่าเนื่องจากวันนี้เป็นวัน World Mosquito Day และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศแล้วว่ายุงไม่ได้ทาให้ติดเช้ือโควิด-19 ไม่ต้องกังวลเร่ืองนี้ แต่อย่างไรก็ตาม อย่าลืมสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ และรักษาระยะห่างทางสังคม (Keep Social Distancing) และสุดท้ายผ้ดู าเนินการเสวนาได้กลา่ วขอบคุณวทิ ยากรทั้ง 3 ท่าน การสรุปตีความโดยทีมถอดบทเรยี น โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 เป็นโรคอุบัติใหม่ ระบบสาธารณสุข บุคลากร สาธารณสุข และประชาชนทั่วโลกกาลังถูกท้าทายอย่างหนัก การดาเนินงานเพื่อป้องกันการระบาดของ โรค การเฝ้าระวังการเกดิ โรค การติดตามผู้ป่วย การรักษาโรค และการมีมาตรการเพอ่ื ป้องกนั การระบาด ซ้าล้วนเป็นการดาเนินงานท่ีมีความสาคัญทั้งสิ้น เม่ือพบการระบาดของโรคแล้ว การสอบสวนโรคใน ผู้ป่วย การกักกันผู้ท่ีสงสัยหรือมีความเส่ียงต่อการติดเช้ือล้วนแล้วแต่มีความสาคัญ ขณะเดียวกันการ ประสานความร่วมมือของผู้บริหารประเทศ ผู้บริหารระบบสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ผู้บริหารหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน องค์กรอิสระต่าง ๆ และประชาชน ล้วนมีความเกี่ยวข้องและ สัมพันธ์กันที่จะนามาซึ่งความร่วมมือเพ่ือดาเนินตามนโยบายที่ออกโดยหน่วยงาน ด้านสาธารณสุขของ ประเทศ แม้หน่วยงานด้านสาธารณสุขจะเป็นองค์กรหลักในการดาเนินงาน ตั้งแต่การคิด การวางแผน หนา้ 36 ของ 99 หน้า

จนนาไปสู่มาตรการการปฏิบัติตัวสาหรับประชาชนในประเทศจะเกิดข้ึนแล้ว แต่หากประชาชนใน ประเทศไม่เห็นความสาคัญและไม่ปฏิบัติตามจึงนับเป็นเรื่องยากที่จะนาพาประเทศให้ ปลอดจากการ ระบาดของโรคโควิด-19 ได้ การเสวนาของวิทยากรด้านสาธารณสุขของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดีท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานเพ่ือป้องกันการระบาดของโรค การเฝ้าระวังการเกิดโรค การ ตดิ ตามผู้ป่วย การรักษาโรค และการมมี าตรการเพื่อป้องกันการระบาดซ้าดังรายละเอียดที่ได้กล่าวไว้ใน เน้ือหาข้างต้นน้ัน จึงเป็นแนวทางหรือมาตรการการดาเนินงานที่น่าเรียนรู้และนาไปปฏิบัติตาม โดยเฉพาะการสร้างสานึกแห่งความกระตือรือร้นในการลงมือปฏิบัติ (Sense of Urgency) จนนาไปสู่ การคิด การวางแผน การลงมือปฏบิ ัติ การทางานเป็นทมี การใชอ้ งค์ความรู้เร่อื งโรคอุบัตใิ หม่ องค์ความรู้ เรื่องการบริหารจัดการ การยอมรับข้อผิดพลาด และการเรียนรู้จากสถานการณ์การระบาดของโรค จน นาไปสู่แนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาแนวทางหรือแผนการดาเนินงานร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม ตง้ั แต่นโยบายระดับประเทศ นโยบายระดับผู้บริหารองค์กร จนถงึ ระดับผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข จน สามารถถ่ายทอดมาตรการหรือแนวปฏิบัติดังกล่าวถึงมาถึงประชาชนในประเทศ เพ่ือให้สามารถรับมือ กับสถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ -19 ได้ บทเรยี นทไี่ ดร้ ับ/ปจั จัยแห่งความสาเรจ็ /ข้อเสนอแนะ วิทยากรทั้ง 3 ท่านเป็นแบบอย่างของบุคลากรทางด้านสาธารณสุขท่ีมีการสร้างสานึกแห่งความ กระตือรือร้นในการลงมือปฏิบัติ (Sense of Urgency) จนนาไปสู่การคิด การวางแผน และการลงมือ ปฏิบัติ เพ่ือจัดการกับการระบาดของโรคอุบัติใหม่อย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม มีการทางานเป็นทีม การใช้องค์ความรู้เรื่องโรคอุบัติใหม่ องคค์ วามรู้เร่ืองการบริหารจัดการ การยอมรับขอ้ ผิดพลาด และการ เรียนรู้จากสถานการณ์การระบาดของโรค จนนาไปสู่แนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาแนวทางหรือ แผนการดาเนินงานร่วมกนั อยา่ งเป็นรูปธรรม ตงั้ แต่นโยบายระดับประเทศ นโยบายระดบั ผู้บรหิ ารองค์กร จนถึงระดับผู้ปฏิบัติงาน และสามารถถ่ายทอดมาตรการหรือแนวปฏิบัติดังกล่าวถึงประชาชนในประเทศ ได้ โดยคานึงถึงพันธะกิจ เป้าหมาย หรือผลลัพธ์ คอื การควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคอบุ ัติใหม่ ให้ได้ในประเทศไทย นอกจากนี้ยงั มีการคิดวิเคราะห์ ตกผลึกองค์ความรู้ เช่ือมโยงองค์ความรู้ การเตรียม รับสถานการณ์การระบาด การจัดการข้อมูลข่าวสาร การรับมือกับสภาวะกดดันจากประชาชนใน ประเทศ การสร้างขวัญกาลังใจกับเพ่ือนร่วมงานและประชาชน เพ่ือรับมือกับการระบาดของโรคอุบัติ ใหมไ่ ดอ้ ยา่ งเป็นอยา่ งดี ผถู้ อดบทความ คณุ พชั ระกรพจน์ ศรีประสาร พยาบาล (ผูช้ านาญการพิเศษ) งานการพยาบาลปอ้ งกันโรคและส่งเสรมิ สขุ ภาพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี หน้า 37 ของ 99 หน้า

ถอดบทเรียนการนาเสนอ ผลงาน เร่ืองเล่าเร้าพลงั หนา้ 38 ของ 99 หน้า

ช่ือเรอ่ื ง นกั รบเสอ้ื กาวน์ วนั ท่ี เวลา 20 สงิ หาคม 2563 หอ้ งประชุม 11.00 – 12.00 น. วทิ ยากร ห้องประชุม 910 ช้ัน 9 อาคารเรยี นและปฏบิ ัตกิ ารรวมด้านการแพทย์และ รูปแบบการนาเสนอ โรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี คุณจไุ รรตั น์ จันทรข์ จรศรี VDO Clip “สถานการณ์ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่มีเเหล่งกาเนิดจากค้างคาวที่แพร่กระจายมาจากตลาดค้าสัตว์ ป่า จากข้อมูลท่ีเราติดตามกันอยู่พบว่าผู้ติดเช้ือยังคงเพ่ิมสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้โลกยังคงพยายามหา มาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่นี้” เสียงรายงานข่าวจากโทรทัศนท์ าให้ฉันต้อง ละสายตาจากหน้าจอโทรศัพท์ ในฐานะที่ฉันเป็นพยาบาลเม่ือฟังข่าวเเล้วก็รู้สึกกังวลกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดในประเทศไทยไปด้วย รุ่งเช้าวันหนึ่งในเดือนมีนาคม หัวหน้าหอผู้ป่วยได้แจ้งข่าวสารเหมือนเช่นทุก ๆ วัน แต่วันนี้ไม่ใช่ ขา่ วสารทั่วไป ต่างจากทเ่ี คยเป็นมา “ถ้ายอดผู้ป่วยติดเช้ือไวรัสโคโรน่าเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทางหอผู้ป่วยของ เราจาเปน็ ตอ้ งปรบั เปลี่ยนเพือ่ รองรบั ผู้ป่วยทตี่ ดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ โดยเฉพาะ” ดว้ ยสถานการณไ์ วรัสโคโรน่า ซ่ึงได้รับการขนานนามอย่างเปน็ ทางการวา่ โรคโควิด-19 ท่ีมีการระบาด เพม่ิ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สง่ ผลให้ช่วงบ่ายของวนั ตอ่ มา หวั หนา้ หอผูป้ ว่ ยได้เรยี กประชุมด่วนอกี ครัง้ “เราจาเป็นจะต้องย้ายผู้ป่วยท่ีมีอยู่ในตอนน้ีไปรักษาต่อเน่ืองท่ีหอผู้ป่วยอื่นอย่างเร่งด่วนนะคะ” หัวหน้าของพวกเราแจ้ง ในท่ีสุดส่ิงที่คาดการณ์ไว้ กลับมาถึงเร็วกว่าที่ฉันคิด พวกเราย้ายผู้ป่วยทั้งหมดไปรักษาต่อที่หอผู้ป่วย อ่ืนและช่วงเย็นวันนั้นทีมหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี ได้ประชุมเกี่ยวกับสถานการณ์ยอดผู้ ติดเชื้อที่เพ่ิมสูงขึ้นเร่ือย ๆ และขออาสาสมัครพยาบาลเพ่ือไปดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 โดยต้องไปดูแล ผู้ปว่ ยท่โี รงพยาบาลรามาธิบดีจกั รนี ฤบดินทร์ “ฉันอยากไปดูแลผู้ป่วยท่ีตดิ เช้อื โควดิ -19 แตจ่ ะมีใครไปกับฉันบ้างนะ” ฉันคิดในใจ ฉนั ดีใจยิง่ นักทเี่ พ่อื นร่วมงานคนสนิทจะไปกับฉนั ดว้ ยและร้สู กึ ดใี จเพ่ิมขนึ้ ไปอกี เม่อื ผลสรุปออกมาวา่ มี พยาบาลหลายคนขออาสาไปทางานดูแลผู้ป่วยโควิด-19 เป็นจานวนมาก เหล่าจิตอาสาท่ีไปทางานในคร้ังน้ี เหมือนแค่ย้ายสถานที่ทางานเท่านนั้ แตเ่ พ่ือนรว่ มงานยังเป็นทมี เดิม ฉันรู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนร่วมดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์โรคระบาด มีโอกาสได้ทาความดี ทา คุณประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติ ด้วยความสานึกในพระมหากรณุ าธิคุณของในหลวงรัชกาลท่ี 9 หนา้ 39 ของ 99 หน้า

คาสอนของท่านยังคงตราตรึงอยู่ในใจและได้ทาตามปณิธานของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลท่ีได้กล่าวไว้ว่า “ขอให้ถือผลประโยชน์สว่ นตวั เป็นท่ีสอง ประโยชนข์ องเพ่ือนมนุษย์เป็นกจิ ทีห่ น่ึง” ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ อย่างฉันในฐานะพยาบาล นี่จึงเป็นโอกาสท่ีฉันจะได้เป็นทหารหญิงจะได้ต่อสู้กับโรค ระบาดทเ่ี ขา้ มารกุ รานประเทศไทย ซง่ึ คนสว่ นใหญ่เรยี กฉันว่า “นักรบเสอื้ กาวน์” หลังจากที่ได้พักร่างกายไป 1 วัน พวกเราก็เดินทางมาโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ ทาการ เตรียมความพร้อมในหอผู้ป่วยเพ่ือรับผู้ป่วยท่ีติดเช้ือโดยมีทีมฝ่ายการพยาบาลมาช่วยวางแผนระบบการ พยาบาลและใหก้ าลงั ใจพวกเราเป็นอยา่ งดี ถ้าถามฉันว่ากลัวไหมท่ีต้องมาดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ท่ีเป็นโรคระบาดไปทั่วโลกในตอนนี้ พวกเรามี การศึกษาระบาดวิทยาของโรคที่สามารถป้องกนั การติดต่อได้โดยการสวมชุด PPE (อุปกรณป์ ้องกันส่วนบคุ คล) การล้างมือ การใช้เจลแอลกอฮอล์ ซึ่งหัวหน้างานการพยาบาลอายุรศาสตร์พยายามจัดสรรอุปกรณ์ป้องกันให้ อย่างเตม็ ที่ วางระบบเพือ่ ใหพ้ วกเราได้รู้สกึ มน่ั ใจในมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยโรคระบาดและมน่ั ใจในทมี ผูบ้ รหิ าร ทุกท่านว่าจะไม่ทอดท้ิงพวกเราอย่างแน่นอนไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เพราะสิ่งท่ีฉันได้รับคือกาลังใจและความ ไว้วางใจ “แล้วฉนั ตอ้ งดแู ลผูป้ ่วยไปถึงเม่อื ไหร่กัน โรคระบาดน้ีจะจบลงเม่อื ไหร่” ฉนั คิด มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชอ้ื ออกมาอย่างต่อเนอ่ื ง ท้ังการล้างมอื ดว้ ยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ การสวมหน้ากากอนามัย กินร้อนช้อนใครช้อนมัน งดไปสถานท่ีชุมชน ส่วนผู้ท่ีเดินทางกลับจากต่างประเทศ ต้องกักตัว 14 วัน แต่พวกเราในฐานะทีมดูแลผู้ป่วยตกลงไว้ว่า ถ้าเดินทางไปต่างจังหวัดหลังกลับมาจะต้องกัก ตวั 14 วนั เพื่อเปน็ การรบั ผดิ ชอบสังคมและปอ้ งกันการกระจายเชือ้ โดยที่ไม่รูต้ วั “อ้าว!! แล้วพวกเราจะไปเที่ยวต่างจังหวัดได้ไหม จองตั๋วเครื่องบินแล้ว จองที่พักแล้ว จองไว้ตั้งแต่ยัง ไมม่ โี รคระบาด” ฉันคุยกบั เพือ่ นท่จี ะไปเทยี่ วด้วยกัน “ล้มเลกิ เลยแล้วกัน สถานการณ์ในตอนน้ีมันเร่ิมแพร่ระบาดหลายจังหวัดแล้วเพราะเมื่อกลับมาก็ต้อง กักตัวอีก 14 วัน จะตอ้ งขาดกาลังคนในการดูแลผ้ปู ่วยไปอีกหลายคน และถ้าติดเช้ือมาคงไม่คุ้ม” ส่ิงที่วางแผน มาเปน็ ปตี ้องพังทลายลง พวกเราก็เปน็ บุคคลที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดเหมือนคนไทยทุกคน เช้าวันรุ่งข้ึนต้องเริ่มทางานเลย เนื่องจากสถานการณ์ผู้ป่วยท่ีมีมากข้ึนและมีความจาเป็นที่ต้องได้รับ การรกั ษา ส่ิงท่ีฉันมองเห็นในตัวของเพ่อื นรว่ มงานมีแต่ภาพแห่งรอยยม้ิ และความเต็มใจ ยนิ ดี ในการดูแลผ้ปู ว่ ย มากกว่าพฤติกรรมและแววตาแห่งความหวาดกลัว พวกเราให้การพยาบาลเฝ้าระวังการแพร่กระจายเชื้ออย่าง เครง่ ครัดตามมาตรฐานทไ่ี ด้เรียนรมู้ า ภาพของผู้ป่วยคนแรกที่ฉันเห็นนั้น คือ ภาพของผู้ป่วยที่หิ้วกระเป๋าเดินตามเจ้าหน้าท่ีที่สวมชุด PPE (อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล) และเดินภายในตาแหน่งท่ีมีเชือกก้ันไว้ ผู้ป่วยต้องรับแรงกดดันจากสายตาของ บุคคลทั่วไปท่ีพบเห็นในระหว่างท่ีเดินทางมายังหอผู้ป่วย จากภาพข่าวท่ีเห็นตามโทรทัศน์ คนท่ัวไปมักมีความ หวาดกลัวและรังเกียจผู้ป่วยท่ีติดเชื้อ ดังน้ันผู้ป่วยที่มารับการรักษาก็คงเผชิญกับสายตาเเบบน้ันเช่นเดียวกัน และฉนั ไมอ่ ยากให้ผูป้ ว่ ยตอ้ งประสบกับสายตาเชน่ น้ัน นอกจากสายตาเเหง่ ความเป็นมติ รและความไว้วางใจ หน้า 40 ของ 99 หน้า

ผู้ป่วยจาเป็นต้องอยู่ในห้องของตนเอง โดยมีกฎว่าห้ามออกนอกห้องเพื่อลดการกระจายของเชื้อโรค ต้องใส่หนา้ กากอนามัยตลอดเวลา ภายในหอ้ งจะมีผู้ปว่ ยอกี 1 คน ฉันเห็นแววตาเละคาถามแหง่ ความกังวลใจ ไม่ว่าจะเปน็ เรื่องการเจบ็ ป่วย ครอบครวั การงาน ความเบอ่ื หนา่ ย ความอึดอัดจากการถูกจากัดพน้ื ท่ี เน่อื งด้วย สถานการณ์ท่ีมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในทุก ๆ วันและโรคท่ีผู้ป่วยเป็น จึงต้องให้คาเเนะนาเกี่ยวกับข้อจากัดหลาย ประการเพอ่ื ประโยชนข์ องผปู้ ว่ ยและผู้ดเู เล แต่จากท่าทีของพวกเขาท่ีฉันสังเกตเหน็ ทาใหฉ้ ันอยากจะบอกพวก เขาว่า \"พวกเราจะอยูเ่ คยี งข้างคณุ เสมอ\" บ่อยครั้งท่ีฉันดูเเลผู้ป่วยเเล้วสิ่งท่ีได้รับตอบกลับมาเกินความคาดหมาย ไม่ว่าจะด้วยคาพูด สายตา และการกระทา “คุณพยาบาลเหน่ือยไหม” แค่ไดย้ ินคาถาม ก็หายเหนอื่ ยแล้ว “คุณพยาบาลไม่กลัวหรือครับ” เพราะพวกเรารู้ว่ามันแพร่กระจายได้อย่างไร เราก็สามารถป้องกัน ตวั เองได้ “ขอบคุณนะครบั ที่ดูแลพวกผม” ไมเ่ ปน็ ไร พวกเรายนิ ดี ขอใหห้ ายไว ๆ เช่นกัน “ทานข้าวหรือยังคะ ดิฉันสั่งพิชซ่ามาฝาก ทานให้อร่อยนะคะ” เเค่นี้ก็รู้สึกอ่ิมใจแล้ว เเละน้าใจคน ไทยมากลน้ จนแทบไม่รู้ว่าจะเลือกรับประทานอะไรดี สิ่งท่ีฉันได้รับกลับมาจากผู้ป่วยเป็นส่ิงท่ีฉันจดจาได้ดี ยากที่จะลืมได้และเหมือนเป็นกาลังใจท่ีให้พวก เราไดด้ แู ลผู้ป่วยตอ่ ไป ผลจากการที่ได้ดูแลผู้ป่วยทาให้พวกฉันรู้สึกดีใจและภูมิใจมากที่เป็นทีมพยาบาลกลุ่มแรกของ โรงพยาบาลรามาธิบดี ทไ่ี ด้รับความไว้วางใจและโอกาสในการดูแลผู้ปว่ ยโควิด-19 ท่ีกาลังระบาดไปทั่วโลก อีก ท้ังยังได้ความรู้ ความเข้าใจของโรค และการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ท่ีเกิดขึ้นคร้ังแรกในประเทศไทยไป พร้อมกนั ฉนั ขอบคณุ ทมี งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ ทมี ผูบ้ รหิ ารท่ีให้ความไว้วางใจเเละให้โอกาสพวกเราร่วม ต่อสู้กับโรคระบาดไปด้วยกัน ขอบคุณเพื่อนร่วมงาน ครอบครัวที่เข้าใจ และขอบคุณน้าใจจากประชาชนที่ส่ง กาลงั ใจและความหว่ งใยมาใหเ้ สมอ สถานการณ์น้ีจะอยู่ไปนานแค่ไหนข้ึนอยู่กับคนไทยทุก ๆ คนกับความมีวินัยในตนเอง รู้จักรับผิดชอบ สงั คม มีนา้ ใจ และความสามคั คี ซ่ึงท้งั หมดน้นั จะทาใหเ้ รากา้ วผ่านไปได้พรอ้ มกัน ทั้งความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคระบาดและกาลังใจ การให้เกียรติ ความไว้วางใจ จากฝ่ายบริหาร ส่งผลให้พยาบาลดูแลผปู้ ว่ ยด้วยหวั ใจ ทาให้ผ้ปู ว่ ยสมั ผสั ไดถ้ งึ ความเต็มใจ เป็นมิตร ไมร่ ังเกยี จ ลดความวิตก กังวล ท้ังนยี้ งั ทาให้บคุ คลทัว่ ไปได้เปลย่ี นมมุ มองที่มตี อ่ ผปู้ ว่ ยและบคุ ลากรทางการแพทย์ท่ดี ูแลผูป้ ว่ ยตดิ เช้อื โควดิ -19 การสรปุ ตีความโดยทีมถอดบทเรียน ผู้เขยี นต้องการสอ่ื ถงึ อารมณ์ ความรูส้ กึ ของเจา้ หน้าที่พยาบาลที่ไปปฏบิ ตั ิงานดูแลผู้ปว่ ยติดเชื้อโควิด- 19 ซ่งึ เป็นพยาบาลทีมแรกที่อาสาไปดูแลผู้ปว่ ยดว้ ยตนเอง ทง้ั น้ียงั ส่อื ถงึ อารมณ์ความร้สู กึ ของผู้ป่วยทตี่ ดิ เช้อื โค วดิ -19 ทีต่ ้องรักษาตัวในโรงพยาบาล หนา้ 41 ของ 99 หน้า

บทเรียนท่ีไดร้ ับ /ปจั จัยแห่งความสาเร็จ/ข้อเสนอแนะ การปฏบิ ัติงานการพยาบาลดูแลผปู้ ว่ ยตดิ เชือ้ โควดิ -19 ท่เี ป็นภาวะวิกฤตของโลกและเปน็ เร่ืองทใ่ี หม่ สาหรับทุกๆ คน ดังนั้นการศึกษาและทาความเขา้ ใจระบาดวทิ ยาของโรคก่อนปฏิบัติงาน จะชว่ ยใหม้ ีความ ม่ันใจในการทางาน ลดความกงั วลและหวาดกลัวไดเ้ ป็นอย่างดี ทมี และฝา่ ยบริหารมสี ่วนสาคัญอยา่ งย่ิง เพราะถ้ามีทีมทด่ี ีจะทาใหเ้ กดิ อบอุน่ ใจ สนุกกับงาน และถ้า ฝา่ ยบริหารทดี่ ีจะทาใหผ้ ู้ปฏิบตั งิ านไว้วางใจ ความเต็มใจในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ผถู้ อดบทเรียน คณุ จุไรรัตน์ จนั ทร์ขจรศรี หอผ้ปู ว่ ยอายุรกรรม งานการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี หน้า 42 ของ 99 หน้า

ชือ่ เรื่อง รอยยิ้ม วนั ที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา 11.00 – 12.00 น. หอ้ งประชุม ห้อง 910 ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์และโรงเรียน พยาบาลรามาธิบดี วทิ ยากร คณุ ศราวธุ อ่นุ กาศ รูปแบบการนาเสนอ VDO Clip คุณเคยทางานเหน่ือยมาก ๆ จนรู้สึกว่าไม่อยากจะทาอะไรอีกแล้ว น่ันเป็นความคิดที่มีที่วนอยู่ในหัว ของฉนั ตลอดเวลาสาหรบั เวรในค่าคืนหน่ึงของฉัน เวรท่ีตั้งแต่ต้นเวรร่างกายของฉันยังไมเ่ คยไดห้ ยุดพกั แมเ้ พยี ง สกั นาที ยงั คงมีผู้ปว่ ยถูกเข็นเข้าห้องผ่าตัดอย่างต่อเน่ือง เสร็จเคสน้ี ต่อเคสน้ัน เรื่อยมา ในหัวของฉันตอนน้ีได้ แตเ่ พียงคิดวา่ เมือ่ ไหร่ ไฟในหอ้ งผ่าตดั จะถูกปดิ ลงเสยี ทใี นคา่ คืนอันเหนอื่ ยล้านขี้ องฉัน เวลาล่วงเลยมาถึง เวลา 23.30 น. ตอนนี้ฉันได้แต่แอบย้ิมอยู่ภายใต้มาส์กสีเขียว ท่ีตอนนี้ได้ปิดบัง ใบหนา้ เผยให้เห็นเพียงตาสองดวงที่ทาทา่ จะปดิ ลงไดท้ ุกเม่ือ ใชแ่ ลว้ .... ตอนนีม้ นั คอื “ เคสสุดท้าย ” ฉันคงจะได้พักเสียที ภาพท่ีฉนั กาลังปิดแผลให้ผู้ป่วย เดนิ ไปปิดโคมไฟผ่าตัด ส่งผู้ปว่ ยกลบั หอผู้ปว่ ย แลน่ เป็นฉาก ๆ ในหัว ของฉันในตอนน้ี ทันใดน้ันเอง ก็มีเสียงโทรศัพท์ดังข้ึน ฉันได้แต่เพียงภาวนาให้ไม่ใช่เคสผ่าตัดฉุกเฉินอีกฉันขอ เพียงเทา่ น้จี รงิ ๆ “จากศนู ย์ปลูกถา่ ยอวัยวะนะคะ ขออนุญาต แจ้งเคสปลกู ถา่ ยตบั ....” ปลูกถ่ายตับ!!!ยังไมท่ นั จะได้ฟังรายละเอียดครบ ฉันแทบจะตะโกนออกมาวา่ นี่มันอะไรกนั เนี่ย!!! ภาพ ที่ปรากฏก่อนหน้าเหล่าน้ัน หายวับไปทันที ประหน่ึงนั่งดูโทรทัศน์แล้วจู่ ๆ ไฟฟ้าดับ ภายใต้เส้ือกาวน์ ถุงมือ หนา้ 43 ของ 99 หน้า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook