Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6003654-นภสินธุ์ แผ่พร-Final Paper

6003654-นภสินธุ์ แผ่พร-Final Paper

Published by noppasin.p60, 2022-05-09 06:15:00

Description: 6003654-นภสินธุ์ แผ่พร-Final Paper

Search

Read the Text Version

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com การออกแบบสถาปัตยกรรมเพอ่ื รองรับการอพยพท่ีอยอู่ าศยั จากปัญหาระดบั น้าทะเลที่ประเทศคิริบาส Architectural Design to support residence evacuation from sea level problems at Kiribati นภสินธุ์ แผพ่ ร Noppasin Phaeporn คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ปทุมธานี ประเทศไทย Faculty of Architecture, Rangsit University, Pathum Thani, Thailand *Corresponding author, E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ ในอนาคตปัญหาระดับน้าทะเลท่ีสูงข้ึนกลายเป็ นปัญหาระดับโลกโดยเฉพาะกับเกาะเล็กที่ต้ังอยู่กลาง มหาสมุทรท่ีมีผูอ้ ยู่อาศยั อย่างเช่นประเทศเทศคิริบาติ ซ่ึงในอนาคตภายในปี ค.ศ. 2100 พ้ืนดินกว่าร้อยละ 55ของ ประเทศคิริบาสอยู่ต่ากว่าระดบั น้าทะเล ทางรัฐบาลประเทศเทศคิริบาติ จึงมีแผนอพยพประชากรภายในปี ค.ศ.2100 โดยการยา้ ยถ่ินฐานประชากรไปยงั พ้ืนที่หมู่เกาะฟิ จิท่ีอยู่บริเวณใกลเ้ คียงเน่ืองจากพ้ืนท่ีอยู่อาศยั เดิมไม่เพียงพอต่อ จานวนประชากร แต่ถึงอย่างไรพ้ืนที่หมู่เกาะฟิ จิถือเป็ นพ้ืนท่ีเส่ียงท่ีอาจโดนผลกระทบของระดบั น้าทะเลท่ีข้ึนสูง เช่นกนั ดงั น้นั ผวู้ ิจยั จึงตอ้ งการนาเสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหาดว้ ยการสร้างสถาปัตยกรรมประเภทที่อยอู่ าศยั เพื่อเป็น ตน้ แบบในการปรับตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มท่ีเปลี่ยนแปลงไปดว้ ยศกั ยภาพของที่ต้งั ภูมิประเทศ และวิถีชีวิตของ ประเทศคีรีบาติ โดยเริ่มจากศึกษาขอ้ มูลปัจจุบนั และคาดการสถานการณ์ที่จะเกิดข้ึนในปี ค.ศ.2100 โดยเนน้ การศึกษา เรื่อง กายภาพพ้ืนที่ วิถีชีวิต ขอ้ มูลเศรษฐกิจเบ้ืองตน้ เทคโนโลยี และวสั ดุการก่อสร้าง หลงั จากการศึกษาและคาดการ สถานการณ์แลว้ จึงเขา้ สู่กระบวนการหาแนวคิดและทฤษฎีที่จะนามาปรับใช้กบั บริบทของคิริบาติในอนาคตเพื่อสร้าง ความยง่ั ยืนในการอยู่อาศยั โดยผลการวิจยั คือการเสนอแนะแนวทางในการปรับตวั ของท่ีอยู่อาศยั โดยมีปัจจยั หรือ เงื่อนไขในการออกแบบมาจากการวิเคราะห์และคาดการณ์ของผูว้ ิจยั ผลลพั ธ์การวิจยั น้ีเป็ นการเสนอแนวทางการ กาหนดตาแหน่งของกลุ่มที่อยู่อาศยั ท่ีสอดคลอ้ งกบั บริบทในอนาคต และการออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทที่อยู่ อาศยั ดว้ ยระบบโมดูลาร์เพื่อสร้างความเป็นไปไดก้ บั การสร้างท่ีอยอู่ าศยั ในระยะเวลาอนั ส้ันแต่คานึงถึงคานึงถึงความ ยงั่ ยนื ในการอยอู่ าศยั ในระยะยาว คำสำคญั : สถาปัตยกรรมลอยนา้ ,สถาปัตยกรรมโมดูลาร์ ,โครงสร้างอาคารไม้มะพร้าว ,แหล่งหลงั งานหมนุ เวยี น ,ขยะเป็นศนู ย์ ,การรีไซเคิลนา้ 1

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com Abstract The issue of rising sea levels will become a major problem for the world in the future, particularly for Kiribati. The country is a little island in the midst of the ocean with a few citizens.In the year 2100, over 55 percent of Kiribati will be below the sea level. As a result, the government has devised a plan to evacuate the inhabitants to Fiji Island, which is only a short distance away. These residential spaces are insufficient for the entire population. Fiji Island, on the other hand, is another location at risk of being impacted by rising sea levels.The researcher would want to use this opportunity to discuss the guidelines and solution for developing an architectural residential model that can adapt to changing surroundings on the island of Kiribati. Beginning with a review of current statistics and projections for the year 2100, They're also concentrating on physical land, urbanism, core economics, technology, and construction materials.The entire research then moves into the process of constructing an idea and theory that will enable Kiribas to retain residential sustainability in the future.As a result of the researcher's investigation and predicting, instructions for residence modification will be suggested. Furthermore, the residents' zoning was established in accordance with the future. Also, the concept of a residence with a modular structure for short-term living but long-term implementation. Keywords: Examples of Full Paper, Full Paper Formatting, National Research Conference 1. บทนำ ในปัจจบุ นั ปัญหาการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศถือเป็นปัญหาสาคญั ท่ีตอ้ งเร่งแกไ้ ขหรือหาทางออกเพราะ ปัญหาเหล่าน้ีจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในอนาคต โดยสาเหตุหลกั มาจากการเกิดสภาวะเรือนกระจกซ่ึง เป็ นปัจจยั ที่ส่งผลกระทบเป็ นวงกวา้ งเช่น ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิโลกเพ่ิมข้ึนส่งผลให้น้าแข็งข้วั โลกละลายและเกิดการ ขยายตวั ของน้าทะเลทาให้ระดบั น้าทะเลสูงข้ึน และแน่นอนว่าการเพ่ิมข้ึนของระดบั น้าทะเลจะส่งกระทบต่อพ้ืนท่ีที่มี ลกั ษณะเป็ นเกาะหรือเป็ นพ้ืนที่ขนาดเล็กท่ีอยู่กลางหมหาสมุทรท่ีมีผูอ้ ยู่อาศยั เช่นหมู่เกาะฟิ จิ หมู่เกาะโซโลม่อน ประเทศไมโครนีเซีย และประเทศคิริบาตี ซ่ึงประเทศคิริบาตีเป็นประเทศทีมีความเสี่ยงเป็นอนั ดบั ตน้ ๆที่แผน่ ดินจะจม อยู่ใตร้ ะดบั น้าทะเลโดยมีการคาดการจากเคร่ืองมือท่ีช่ือว่า Sea Level Rise Simulator ขององคก์ ารบริหารมหาสมุทร และช้นั บรรยากาศแห่งชาติ(NOAA)โดยแสดงผลว่าพ้ืนที่กว่าร้อยละ55ของพ้ืนท่ีปัจจุบนั จะอยตู่ ่ากว่าระดบั น้าทะเลใน ปี ค.ศ.2100 รัฐบาลประเทศคริ ิบาสจึงมีแผนการอพยพประชากร จากขอ้ มูลขา้ งตน้ แสดงให้เห็นว่าในอนาคตมีโอกาสที่พ้ืนที่อยู่อาศยั จะไม่เพียงพอต่อจานวนประชากรและ พ้ืนท่ีที่จะมีการอพยพมีแผนอพยพก็เป็นอีกหน่ึงพ้ืนที่เส่ียงเช่นกนั ดงั น้นั ผอู้ อกแบบจึงเห็นสมควรวา่ วิทยานิพนธ์ฉบบั น้ีสามารถเป็ นประโยชน์ให้กบั ผูท้ ี่ตอ้ งการศึกษาประเด็นปัญหาท้งั ในเรื่องกายภาพพ้ืนท่ี วิถีชีวิต ขอ้ มูลเศรษฐกิจ เบ้ืองตน้ เทคโนโลยี และวสั ดุการก่อสร้างต่อไปได้ 2

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 2. วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื เสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหาที่อยอู่ าศยั ไมเ่ พียงพอต่อประชากรจากปัญหาระดบั น้าทะเล 2. เพอื่ ศึกษารูปแบบและโครงสร้างของสถาปัตยกรรมลอยน้า 3. เพอ่ื ศึกษาบริบทพ้ืนที่ท่ีมีผลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมลอยน้า 4. เพอื่ ศึกษาแนวคิดในการจดั การกบั ปัจจยั พ้ืนฐานเพือ่ ความยง่ั ยนื ของการอยอู่ าศยั 3. วธิ ีดำเนินกำรวทิ ยำนิพนธ์ วทิ ยานิพนธฉ์ บบั น้ีเป็นการศึกษาและคาดการณ์ขอ้ มูลกายภาพพ้ืนท่ีและวถิ ีชีวิตเพอ่ื เสนอแนวทางและ รูปแบบการอยอู่ าศยั ที่ปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มที่เปลี่ยนแปลงโดยมีการดาเนินการข้ึนตอนดงั น้ี 3.1 การศึกษาและคน้ ควา้ 3.1.1 ศึกษากายภาพพ้นื ที่ 3.1.2 ศึกษาวถิ ีชีวิต 3.1.3 ศึกษาขอ้ มูลเศรษฐกิจเบ้ืองตน้ 3.1.4 ศึกษาเทคโนโลยแี ละวสั ดุการก่อสร้าง 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและคาดการณ์สถานการณ์ 3.3 การศึกษาทฤษฎีและกรณีศึกษา 3.3.1 ศึกษาทฤษฎีสถาปัตยกรรมลอยน้า 3.3.2 ศึกษาการใชป้ ระโยชนไ์ มม้ ะพร้าวเพอื่ เป็นองคป์ ระกอบอาคาร 3.3.3 ศึกษาแนวคิดการจดั การระบบสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน 3.3.3.1 การจดั การพลงั งานไฟฟ้าดว้ ยแนวคดิ หลงั งานหมุนเวยี น (Renewable energy) 3.3.3.2 การจดั การน้าดว้ ยแนวคิดการรีไซเคิลน้า (Water reuse) 3.3.3.3 การจดั การขยะดว้ ยแนวคิดขยะเป็นศนู ย์ (Zero waste) 3.3 การเลือกและวเิ คราะห์ชุมชนตวั อยา่ งศึกษากายภาพเพ่อื นามาใชใ้ นการออกแบบสถาปัตยกรรมที่อยอู่ าศยั 4. ผลกำรวิจัย 4.1 การเสนอแนวทางการใชป้ ระโยชน์ในพ้ืนท่ี จากการศึกษาและคาดการณ์ ขอ้ มูลกายภาพพ้ืนที่ วถิ ีชีวิต ทฤษฎีและแนวคิด นามาสู่การเสนอแนวทางการใช้ ประโยชน์พ้นื ท่ีดงั ต่อไปน้ี 3

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 4.1.1 ระบบการสญั จรระหวา่ งชุมชน ในปี ค.ศ.2100 คาดว่าระบบการสญั จรจะอยใู่ นรูปผสมผสานระหวา่ งการสญั จรทางน้า และทางบกเพอ่ื เป็นตวั เช่ือมต่อระหว่างชุมชนหน่ึงไปสู่ชุมชนหน่ึงให้กบั ประชากรที่อาศยั อยใู่ น บริเวณดงั กล่าว 4.1.2 การเปล่ียนการใชง้ านท่ีดินที่ยงั คงอยู่ เปลี่ยนท่ีดินท่ีคงอยเู่ ป็นพ้ืนที่เพือ่ การเกษตร , พ้ืนที่อยอู่ าศยั และท่าเรือเพือ่ การทาประมง ซ่ึงเป็นอาชีพหลกั ของประชากรที่อยอู่ าศยั ในบริเวณน้ี 4.1.3 การกาหนดตาแหน่งและทิศทางการขยายของกลุ่มท่ีอยอู่ าศยั จากปัจจยั ทางดา้ นกายภาพทาให้คาดวา่ กลุ่มท่ีอยอู่ าศยั ในพ้ืนที่ชุมชน London เป็นพ้ืนท่ีที่ เกิดน้าท่วมสูงสุด หากชุมชนน้ีสามารถทาการยา้ ยที่อยอู่ าศยั ไดช้ ุมชนอ่ืนๆสามารถทาการยา้ ยได้ เช่นกนั 4.1.4 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลุม่ ที่อยอู่ าศยั พ้ืนท่ีการเกษตร พ้ืนท่ีการประมง และชุมชนโดยรอบ ประชากรในชุมชนยงั คงมีความสมั พนั ธก์ บั พ้ืนท่ีเพราะพ้นื ท่ีของชุมชนเป็นพ้นื ท่ีท่ีถูกใช้ ประโยชน์ทางดา้ นการเกษตรและประมง เป็นแหล่งรายไดห้ ลกั ของชุมชนและยงั เป็นพ้ืนที่ที่สามารถลดแรง ประทะของคลื่นทะเลกบั พ้ืนที่อยอู่ าศยั ได้ รูปที่ 1 การคาดการณ์ระบบการสัญจรที่ชุมชนลอนดอลในปี ค.ศ.2100 4

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 4.2 การออกแบบโครงสร้างหลกั เพ่อื รองรับพ้ืนท่ีอยอู่ าศยั ตามทฤษฎีสถาปัตยกรรมลอยน้า (Ahmed A. El-Shihy , Jose´ M. Ezquiaga, 2019) 4.2.1 ทฤษฎี Architectural design concept and guideline of floating structure เป็นทฤษฎีที่พดู ถึง 3 เรื่องหลกั ๆ คือ 1. ความสมดุลของพ้นื ท่ี 2.ความพอดีของขนาดที่อยอู่ าศยั 3. จานวนของท่ีอยอู่ าศยั ที่จะสามารถสร้างท่ีอยอู่ าศยั บน Platform ใหม้ ีศกั ยภาพสูงสุด รูปที่ 2 แผนภาพสรุปทฤษฎี Architectural design concept and guideline of floating structure 4.2.2 การออกแบบโครงสร้างหลกั เพ่ือรองรับการขยายตวั ท่ีเกาะไปกบั รูปร่างที่ดินท่ีต่างกนั ตวั โครงสร้างหลกั น้ีถูกออกแบบมาไวเ้ พอ่ื เป็นเส้นทางสญั จรและใหพ้ ้ืนที่อยอู่ าศยั สามารถเกาะติด ไปกบั โครงสร้างน้ีได้ มีการออกแบบใหเ้ กิดลกั ษณะของ 3 แฉกที่สามารถเช่ือมต่อกนั ไปเร่ือยๆได้ ซ่ึงตรงกบั ทฤษฎี Architectural design concept and guideline of floating structure ที่กล่าวไวว้ า่ ยงิ่ มีการเชื่อมต่อของแพลตฟอร์มหรือ โครงสร้างหลกั ของท่ีอยอู่ าศยั ท่ีเป็นลกั ษณะพ้นื ลอยน้าดว้ ยระบบทุ่นมากเท่าไหร่กจ็ ะไดใ้ หเ้ กิดประสิทธิภาพต่อการ ลอยตวั ของพ้นื ที่อยอู่ าศยั บนน้ามากเท่าน้นั รูปท่ี 3 แผนภาพสรุปกำรออกแบบโครงสร้ำงหลกั เพ่ือรองรับกำรขยำยตัวที่เกำะไปกบั รูปร่ำงท่ดี นิ ทตี่ ่ำงกนั 5

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 4.2.3 แนวคิดการออกแบบที่อยอู่ าศยั ท่ีเกาะไปกบั โครงสร้างหลกั ตามทฤษฎีสถาปัตยกรรมลอยน้า หลงั จากไดม้ ีการวางตาแหน่งของพ้นื ที่อยอู่ าศยั ที่เกาะไปกบั แนวของโครงสร้างหลกั แลว้ ส่วนกลางของพ้ืนท่ีเป็นพ้นื ที่ส่วนกลางที่เป็นลานกวา้ งออกแบบข้ึนเพ่ือเป็นการสร้างปฏิสมั พนั ธข์ องผอู้ ยอู่ าศยั และ ยงั คงอา้ งอิงกบั ทฤษฎี Architectural design concept and guideline of floating structure ในเร่ืองท่ีวา่ ยง่ิ มีการเชื่อมต่อ ของแพลตฟอร์มที่อยอู่ าศยั มากเท่าไหร่กจ็ ะไดใ้ หเ้ กิดประสิทธิภาพต่อการลอยตวั ของพ้นื ที่อยอู่ าศยั บนน้ามากเท่าน้นั รูปท่ี 4 แผนภาพสรุปกำรออกแบบที่อยู่อำศัยทเ่ี กำะไปกบั โครงสร้ำงหลกั ตำมทฤษฎสี ถำปัตยกรรมลอยน้ำ 4.2.4 ตวั อยา่ งการเช่ือมต่อระหวา่ งกลุ่มท่ีอยอู่ าศยั กบั ระบบการสญั จร และพ้ืนท่ีส่วนของท่ีดินที่ยงั เหลืออยใู่ นปี ค.ศ.2100 จาก Layout plan ดงั กล่าวมีการออกแบบใหท้ ่ีอยอู่ าศยั มีการเชื่อมต่อกนั ในแต่ละ ส่วน ของโครงสร้างหลกั เป็นลกั ษณะแบบสามแฉกเน่ืองจากเป็นการเพิ่มพ้ืนที่วา่ งของที่อยอู่ าศยั จึงทาให้เกิดแสงท่ี เพียงพอต่อการอยอู่ าศยั และสามารถส่องถึงผิวน้าเพ่ือคุณภาพของน้าในบริเวณที่อยอู่ าศยั ได้ รูปที่ 5 แผนภาพสรุปตัวอย่ำงกำรเช่ือมต่อระหว่ำงกลุ่มท่อี ยู่อำศัยกบั ระบบกำรสัญจร และพืน้ ที่ส่วนท่ีดินท่ียงั เหลืออย่ใู นปี ค.ศ.2100 6

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 4.2.4 ตวั อยา่ งการเช่ือมต่อระหวา่ งกลุ่มท่ีอยอู่ าศยั กบั บริบทรอบขา้ ง รูปท่ี 6 ตวั อยา่ งการเชื่อมตอ่ ระหวา่ งกลมุ่ ที่อยอู่ าศยั กบั บริบท 4.3 การจดั การทรัพยากรข้นั พ้ืนฐานในแหลง่ ท่ีอยอู่ าศยั ในชุมชนท่ีจะเกิดข้ึนในปี ค.ศ.2100 การจดั การทรัพยากรพ้ืนฐานในท่ีอยอู่ าศยั ประกอบดว้ ย 1. การจดั การขยะโดยใชแ้ นวคิด Zero waste (เอกรินทร์ ต้งั นิธิบุญ,ธิติมา เกตุแกว้ , 2562) คือการออกแบบพ้นื ที่ที่เอ้ือใหเ้ กิดการแยกขยะของผอู้ ยอู่ าศยั โดยแบ่งประเภท ขยะออกเป็น 4 ส่วนคือ 1.Organic Waste Reuse ที่สามารถนามาแปลรูปเป็นป๋ ุย อินทรียว์ ตั ถุเพอ่ื ใชใ้ นการเกษตรภานใสนครัวเรือน 2.Thing Reuse คือกระบวนการทา ความสะอาดขยะเพอ่ื นากลบั มาใชใ้ หม่ 3.Recycle คือการแปลรูปขยะเพ่อื นาไปใช้ ประโยชนอ์ ื่น 4.Deposal คือขยะท่ีตอ้ งใชก้ ารฝังกลบหรือขยะท่ีไม่สามารถนาหลบั มาใช้ ใหม่หรือแปลรูปได้ และอีกส่วนสาคญั ท่ีอยนู่ อกเหนือการออกแบบคือ Reduce คือการ ลดการเกิดขยะท่ีตอ้ งเกิดจากพฤติกรรมผอู้ ยอู่ าศยั จากการบวนการแยกขยะข้นั ตน้ จะ นามาสู่การเกิดมูลค่าของขยะโดย ขอ้ ที่1 กระบวนการท้งั หมดจะเกิดข้ึนภายในท่ีอยอู่ าศยั ขอ้ ท่ี 2-4 กระบวนการท้งั หมดจะเกิดข้ึนภายนอกที่อยอู่ าศยั สงั เกตไดจ้ ากภาพที่ 7 7

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 2. การจดั การน้าโดยใชแ้ นวคิด Water reuse (Simon Fane, 2013) คือการใชน้ ้าใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดโดยการแบ่งประเภทน้าออกเป็น 3 ส่วนคือ 1.Clean Water คือน้าที่ใชส้ าหรับการกินด่ืนท่ีไดจ้ ากกระบวนการClean water treatment 2.Gray Water คือน้าท่ีกกั เกบ็ จากน้าฝนหรือเกิดจากการใชง้ านน้าที่ไม่มี สารปนเป้ื อนและสามารถเกิดไดจ้ ากกระบวนการ Gray Water Treatment 3.Black Water คือน้าท่ีเกิดจากการใชง้ านน้าที่มีส่ิงสกปนหรือสารปนเป้ื อน ส่วนของวฏั จกั ร และความสมั พนั ธส์ งั เกตุไดจ้ ากภาพท่ี 7 3.การจดั การอาหารโดยใชแ้ นวคิด Plant base food (วรัปศร, 2564) คือการไดส้ ารอาหารจากพชื เป็นหลกั โดยการปลูกพชื ภายในที่อยอู่ าศยั การ จดั การพ้นื ท่ีจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือ 1.พ้ืนท่ีเพาะตน้ กลา้ เช่น 2.พ้ืนท่ีพชื หมุนเวยี น เช่นคะนา้ ซุกินี มะเขือยาว หวั ไชเทา้ ถว่ั ลนั เตา บวบ ถว่ั พลู ผกั ชี และแรดิชเป็นตน้ 3.พ้ืนท่ีปลูกไมย้ นื พ้ืนเช่นมะกรูด มะนาว ส้ม ตะไคร้ ขิง ข่า ขมิ้น ชะพลู และพริกไทย เป็ นตน้ 4.พ้นื ท่ีปลูกพชื ทะเลเช่น สาหร่ายพวงองุ่น สาหร่ายกลวง สาหร่ายเขากวาง สาหร่ายไส้ไก่ และสาหร่ายผมนางเป็นตน้ 4. พลงั งานไฟฟ้าโดยใชแ้ นวคิด Renewable Energy ( เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนภายนอก ที่อยอู่ าศยั ) (ดร.วสิ าขา ภู่จินดา, 2555) (ศิริรัตน์ สงั ขส์ ุวรรณ, 2563) คือการใชห้ ลงั งานที่สร้างทดแทนไดอ้ ยา่ งไมส่ ิ้นสุดซ่ึงเป็นแนวคิดสร้างความ ยงั่ ยนื ให้กลบั ชุมชนโดยการใชศ้ กั ยภาพของพ้ืนที่คือการใชพ้ ลงั งานลมแปลงเป็นผลงั งาน ไฟฟ้า และประเทศคิริบาติอยบู่ ริเวณเส้นศนู ยท์ ี่มีความเขม้ ของแสงสูง การใช้ Solar cell เป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมที่จะตอบโจทยค์ วามยง่ั ยนื ในการอยอู่ าศยั และสามารถใช้ ศกั ยภาพพ้ืนที่โดยการผลิตผลงั งานไฟฟ้าจากคล่ืนทะเล กระบวนการเกิดพลงั งานไฟฟ้า จะนอกเหนือความรับผดิ ชอบของผอู้ ยอู่ าศยั ที่ผอู้ อกแบบตอ้ งการเสนอแนวทางใหเ้ ห็น กระบวนการท่ีมาการใชง้ านแนวคิดท้งั หมดเป็นการปรับใชใ้ หเ้ ขา้ กบั ศกั ยภาพและบริบท ของประเทศคิริบาติ 8

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com รูปท่ี 7 แผนภาพสรุปจดั กำรทรัพยำกรข้นั พืน้ ฐำนในแหล่งท่ีอยู่อำศัย 4.4 การกาหนดกลุม่ ผอู้ ยอู่ าศยั และขนาดพ้ืนที่เพ่ือรองรับการอยอู่ าศยั 4.4.1 การกาหนดกลุ่มผอู้ ยอู่ าศยั และขนาดพ้ืนที่อยอู่ าศยั ในประเทศคิริบาสมีลกั ษณะการอยอู่ าศยั แบบครอบครัวใหญเ่ พอ่ื เป็นแรงงานช่วยในดา้ น การประกอบอาชีพท้งั ดา้ นเกษตรและดา้ นประมงจึงแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ 1. กลุม่ ผอู้ ยอู่ าศยั 2-3 คน เป็นกลุม่ ท่ีมีการแยกออกมาจากครอบครัวใหญ่ 2. กลุ่มผอู้ ยอู่ าศยั 3-5 คน มีผอู้ ยอู่ าศยั ท้งั ผใู้ หญว่ ยั กลางคนและเด็ก 3. กลุ่มผอู้ ยอู่ าศยั 6-8 คน มีผอู้ ยอู่ าศยั ท่ีเป็นวยั ชราอยดู่ ว้ ย รูปท่ี 8 แผนภาพสรุปกำรกำหนดกล่มุ ผ้อู ยู่อำศัยและขนำดพืน้ ทอี่ ย่อู ำศัย 9

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com รูปที่ 9 แผนภาพสรุปกำรกำหนดกลุ่มผ้อู ยู่อำศัยและขนำดพืน้ ท่ีอยู่อำศัย 4.5 วธิ ีการออกแบบสถาปัตยกรรมที่อยอู่ าศยั 4.5.1 การออกแบบฟังกช์ นั พ้ืนฐานสาหรับที่อยอู่ าศยั เน่ืองดว้ ยทรัพยากรในประเทศคีรีบาติที่มีอยอู่ ยา่ งจากดั จึงไดอ้ อกแบบให้ 1. Multi Function คือสามารถเปลี่ยนการใชง้ านพ้ืนที่ในช่วงเวลาที่ต่างกนั ได้ 2. Planting Area เป็นการแบ่งพ้ืนท่ีเพอื่ การเกษตรบนพ้นื ท่ีพกั อาศยั โดยไดแ้ บ่ง ออกเป็น 4 ส่วน คือ ผกั ไมย้ นื ตน้ ,ผกั ตามฤดูกาล,พ้นื ท่ีเพาะกลา้ ,ไมย้ นื ตน้ 3.Water Planting Area เป็นพชื ท่ีสามารถสร้างคุณภาพน้าใหด้ ีข้ึนได้ 4. Rainwater Collector เป็นส่วนหน่ึงของระบบ Water reuse ที่สามารถส่งน้า ออกไปไดท้ ้งั ส่วนกกั เกบ็ น้าและส่วนพ้นื ที่การเกษตร 5. Bio-waste treatment ไวเ้ กบ็ อินทรีวตั ถุไปแปรรูปเป็นป๋ ุยเพือ่ ใชใ้ นการเกษตร 6. Floating structure 10

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com รูปท่ี 10 แผนภาพสรุปกำรออกแบบฟังก์ชันพืน้ ฐำนสำหรับทอี่ ยู่อำศัย 4.5.2 วสั ดุที่ใชใ้ นงานสถาปัตยกรรม (ซนั มาน มูเกม็ , 2558) เป็นวสั ดุแปรรูปจากมะพร้าวเป็นวสั ดุท่ีหาไดจ้ ากในพ้นื ท่ีสามารถหามาทดแทนไดง้ ่าย เมื่อถูกแปรรูปแลว้ จะมีลกั ษณะ เป็นโครงลูกบาศกแ์ ละมีแผน่ 4 เหลี่ยมจตั ุรัส 1 โมดูลขนาด 2.3x2.3x2.3 เมตร เป็นความยาวตามขนาดของไมท้ วั่ ไปท่ี สามารถนามาประกอบโครงสร้างอาคาร รูปท่ี 11 แผนภาพสรุปวสั ดุแปรรูปจำกมะพร้ำว 11

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 4.6 รายละเอียดงานออกแบบ 4.6.1 ที่อยอู่ าศยั มีกระบวนการออกแบบดว้ ยระบบ Modular System (Arta Basha Jakupi, Berat Istogu, 2017) โดยใชเ้ ป็นรูปแบบช่องตารางมีขนาดช่องละ 2.3x2.3 เมตรเพ่ือลดความซบั ซอ้ นของการ ก่อสร้างและสร้างความเป็นไปไดใ้ นการเกิดสถาปัตยกรรมในระยะเวลาอนั ส้นั อีกท้งั ยงั มีการ ลดทอนความเป็นระบบของรูปแบบช่องตารางดว้ ยการออกแบบใหแ้ ต่ละที่อยอู่ าศยั มีรูปแบบท่ี แตกต่างกนั ออกไป รูปท่ี 12 แผนภาพสรุปกระบวนกำรออกแบบท่ีอยู่อำศัย ในส่วนขององคป์ ระกอบพ้ืนและผนงั ที่มีวสั ดุและรูปแบบที่หลากหลายเกิดจากการ ผสมผสานกนั ระหวา่ งวสั ดุจากรูปแบบที่อยอู่ าศยั เดิมและวสั ดุไมม้ ะพร้าวอีกท้งั ยงั ข้ึนอยกู่ บั จุดประสงคข์ องการใชง้ านในระนาบน้นั ๆ ทาใหเ้ กิดการลดตน้ ทุนการก่อสร้างได้ รูปที่ 13 แผนภาพสรุปกระบวนกำรออกแบบทอ่ี ยู่อำศัย 12

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com รูปที่ 14 แผนภาพสรุปกระบวนกำรออกแบบทอี่ ยู่อำศัยในแต่ละ Module รูปท่ี 15 ตวั อยา่ งรูปแบบของที่อยอู่ าศยั Type-A รูปท่ี 16 ตวั อยา่ งรูปแบบของท่ีอยอู่ าศยั Type-B 13

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com รูปท่ี 17 ตวั อยา่ งรูปแบบของที่อยอู่ าศยั Type-C 4.6.2 กลุ่มที่อยอู่ าศยั ในแต่ละช่วงของอาคารมีการเวน้ พ้ืนที่วา่ งอยา่ งนอ้ ย 1 ช่องตาราง ใหแ้ สงสามารถเขา้ ถึงพ้นื ท่ี ภายในอาคารไดเ้ พื่อลดการอบั ช้ืนท่ีอาจเกิดข้ึนภายในอาคาร รูปที่ 18 Layout plan 14

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com การสญั จรภายในโครงการมีลกั ษณะการเดินส้นั ๆ ส่วนการสญั จรระยะไกลมีการใชเ้ รือและเส้นทาง สญั จรบนโครงสร้างหลกั ถูกออกแบบใหร้ ถยนตส์ ามารถใชง้ านได้ ในส่วนของงานระบบท่อมีการติดต้งั อยู่ ภายใตเ้ ส้นทางสญั จรแต่ยงั อยเู่ หนือระดบั น้าและทุ่มลอยจึงทาให้สามารถซ่อมแซมท่อไดอ้ ยา่ งง่ายดาย รูปท่ี 19 Section แสดงถึงการสญั จรภายในอาคาร , ภายใน Platform , ตาแหน่งของท่อและทุม่ ลอยน้า ในส่วนของรายละเอียดของโครงสร้าง มีจุดเชื่อมต่อคือ 1.Floating platform คือการออกแบบระบบทุ่นลอยท่ีเชื่อมต่อกบั ท่อและพ้นื ที่อยเู่ หนือระดบั น้า 2.Perennial pot structure คือการออกแบบกระถางไมย้ นื ตน้ ท่ีตอ้ งการพ้ืนท่ีสาหรับรากไมท้ ี่เชื่อต่อกบั ทุ่นลอย 3.Water planting detail คือการออกแบบโมดูลที่ใชป้ ลูกพ้ืนทะเลท่ีสามารถเลื่อนข้ึนลงไดเ้ พอ่ื เกบ็ ผลผลิต 4.Land – platform connection คือการออกแบบจุดเชื่อมต่อระหว่างที่ดินกบั แท่นทางเดินสญั จรที่สามารถ ปรับข้ึนหรือลงไดต้ ามระดบั น้าทะเลท่ีมีการเปล่ียนแปลง 5.Hinge คือการออกแบบจุดเช่ือมต่อของโครงสร้างที่อณุญาติให้หยบั ไดใ้ นแกน Z ข้ึนลงได1้ 0เซนติเมตรตาม ระดบั น้าที่มีการเปล่ียนแปลง 15

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com รูปท่ี 20 รำยละเอยี ดของโครงสร้ำงที่ 1 – 4 รูปท่ี 21 รายละเอียดของโครงสร้างที่ 5 16

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 4.6.3 ทศั นียภาพของโครงการ รูปท่ี 22 ทศั นียภาพของโครงการ ภาพท่ี 1 รูปที่ 23 ทศั นียภาพของโครงการ ภาพท่ี 2 17

วิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 5. กำรอภปิ รำยผล 5.1การวิเคราะห์ขอ้ มูลกายภาพพ้ืนท่ีและวิถีชีวิตสู่ผลลพั ธ์การออกแบบท่ีเป็ นการเสนอแนวทางการแกไ้ ข ปัญหาโดยการใชเ้ ครื่องมือท่ีผอู้ อกแบบคาดวา่ เหมาะสมและสามารถนาไปต่อยอดโดยการใชว้ ิธีการออกแบบอ่ืนๆ 5.2การออกแบบสถาปัตยกกรรมประเภทที่อยู่อาศยั ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตตอ้ งศึกษาและคาดการขอ้ มูล กายภาพพ้ืนท่ี เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และการใช้งานที่อยู่อาศยั เพ่ือนามาประกอบการตดั สินใจในการเลือก เครื่องมือการออกแบบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5.3สามารถนาขอ้ มูลการศึกษาและทฤษฎีสถาปัตยกรรมลอยน้าไปพฒั นาต่อยอดสร้างองคค์ วามรู้ใหม่ 6. บทสรุป เนื่องดว้ ยสถานการณ์ระดบั น้าทะเลท่ีสูงข้ึนในปี ค.ศ.2100 ทาให้เกิดผลกระทบต่อประเทศคิริบาติ เป็นอยา่ ง มาก ผูอ้ อกแบบเห็นความสาคญั ของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบสถาปัตยกรรมท่ีสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของประชากรใน ประเทศคิริบาติ จึงไดน้ ากระบวนการการออกแบบที่สอดคลอ้ งกบั โครงสร้างหลกั เพื่อรองรับพ้ืนที่อยอู่ าศยั ตามทฤษฎี สถาปัตยกรรมลอยน้าผนวกกบั เส้นทางสัญจรและให้พ้ืนที่อยอู่ าศยั สามารถเกาะติดไปกบั โครงสร้างหลกั มีการนาไม้ มะพร้าวเป็ นวสั ดุของโครงสร้างหลกั เพ่ือให้เกิดความเป็ นไดใ้ นการก่อสร้าง และมีการคานึงถึงจุดเชื่อมต่อตามส่วน ต่างๆของโครงสร้างงานสถาปัตยกรรมท้งั หมดเพ่ือให้เกิดความหยืดหยนุ่ ของที่อยอู่ าศยั ตามสภาพแวดลอ้ มของชุมชน มีการคานึงถึงจานวนผอู้ ยอู่ าศยั ท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตในแต่ละครอบครัว อีกท้งั ยงั มีการคานึงถึงสิ่งจาเป็นต่อชีวิตและ ความเป็นอยอู่ าทิเช่น กระจดั การขยะ น้า อาหาร และไฟฟ้า กระบวนการท้งั หมดน้ีสามารถก่อให้เกิดสถาปัตยกรรมใน รูปแบบใหม่ที่คงไวซ้ ่ึงวถิ ีชีวติ เดิมของประชากรในประเทศคิริบาติต่อไปไดอ้ ยา่ งสูงสุด 7. กิตติกรรมประกำศ วทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้ีสาเร็จสมบูรณ์ตามเป้าหมายเน่ืองจากไดร้ ับความกรุณาอยา่ งสูงจากกลุ่มบุคคลเหล่าน้ี ขอขอบคุณ ครอบครัวผซู้ ่ึงสนบั สนุนเป็นอยา่ งดีตลอดมา ต้งั แต่เร่ิมการศึกษาที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลยั รังสิต และขอขอบคุณอาจารย์ อาจารยร์ พพี งศ์ กลุ ธรรมโยธิน ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ท่ีใหค้ าแนะนาคาปรึกษาตลอดจน ปรับปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ รวมถึงขอขอบคุณอาจารยอ์ าจารยท์ ุกท่านในสตูดิโอท่ีใหค้ าแนะนาเป็นอยา่ งดีเสมอ ขอบคุณเพ่ือนในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิตที่คอยรับฟังและแลกเปล่ียนขอ้ มูลอนั เป็นประโยชนท์ ี่ดี ในการศึกษาคน้ ควา้ มาโดยตลอด ผวู้ จิ ยั ขอกราบขอบพระเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ ที่น่ีจากใจจริง ซ่ึงหวงั วา่ วิทยานิพนธ์ฉบบั น้ีจะช่วยใหผ้ มู้ ีความสนใจไดร้ ับประโยชน์ไม่ทางใดกท็ างนึง ขอบคุณครับ 18

วทิ ยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต ประจาปี 2564 http://www.archrsu.com 8. เอกสำรอ้ำงองิ ซนั มาน มูเกม็ . (2558). ปอเนาะญาลนั นนั บารู พ้ืนท่ีมุสลิมแห่งศานติ (วทิ ยานิพนธ์ปริญญาบนั ฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รังสิต. ดร. วิสาขา ภู่จินดา. (2555). การบริหารจดั การพลงั งานหมุนเวียนเพอ่ื ผลิต พลงั งานใชใ้ นระดบั ชุมชนและระดบั ครัวเรือน(รายงานการวิจยั ). กรุงเทพฯ: สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์. ดร. วิสาขา ภจู่ ินดา. (2555). การบริหารจดั การพลงั งานหมุนเวียนเพ่ือผลิต พลงั งานใชใ้ นระดบั ชุมชนและ ระดบั ครัวเรือน(รายงานการวจิ ยั ). กรุงเทพฯ: สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์. วรัปศร. (2564). สวนครัวท่ีมีพืชผักกว่า 30 ชนิดพอกินตลอดเดือนโดยไม่ต้องซ้ือ. สืบค้น 27 สิงหาคม 2564 , จาก https://www.baanlaesuan.com/225143/garden-farm/littlefarm ศิริรัตน์ สงั ขส์ ุวรรณ. (2563). แนวทางการพฒั นาโรงไฟฟ้าชุมชนจากขยะเพอ่ื ความมนั่ คง ดา้ นพลงั งานอยา่ งยงั่ ยนื กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาแหง. เอกรินทร์ ต้งั นิธิบุญ, ธิติมา เกตุแกว้ . (2562). ชุมชนตน้ แบบการจดั การขยะมูลฝอยดว้ ยแนวคิดขยะเหลือศูนย์ (Zero waste) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนพนู บาเพญ็ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร (รายงานผลการวิจยั ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภฎั ธนบรุ ี Ahmed A. El-Shihy , Jose´ M. Ezquiaga. (2019). Architectural design concept and guidelines for floating structures for tackling sea level rise impacts on Abu-Qir. Spain: Technical University of Madrid Arta Basha Jakupi, Berat Istogu. (2017). Modular Architecture as a Synergy of Chaos and Order-Case Study Prishtina. Retrieved 27 August 2021, From (PDF) Modular Architecture as a Synergy of Chaos and Order-Case Study Prishtina (researchgate.net) Simon Fane. (2013). Wastewater reuse. Retrieved 27 August 2021, From https://www.yourhome.gov.au/water/wastewater-reuse 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook