Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป 5 บททักษะชีวิต 1 ปี63

สรุป 5 บททักษะชีวิต 1 ปี63

Published by นฤมล เอมเปีย, 2020-05-10 06:47:36

Description: สรุป 5 บททักษะชีวิต 1 ปี63

Search

Read the Text Version

สรุปผลการจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต ปีงบประมาณ 2563 (ไตรมาส1-2) โครงการอบรมใหค้ วามรกู้ ฎหมายในชวี ิตประจาวนั ในวันท่ี 30 มกราคม 2563 ณ กศน.ตาบลกุฎโงง้ หมทู่ ่ี6 ตาบลกฎุ โงง้ อาเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี กศน.ตำบลกุฎโงง้ ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยอำเภอพนสั นิคม สำนักงำนส่งเสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จงั หวัดชลบรุ ี สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

คำนำ กศน.ตาบลกุฎโง้ง สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนัสนิคม ได้จัดทา โครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวนั โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และนาความรู้ท่ีได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งมีการสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการ ดังกล่าวเพ่ือต้องการทราบว่าการดาเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทา เอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตเสนอต่อผู้บริหาร ผู้เก่ียวข้องเพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการดาเนินโครงการใหด้ ียง่ิ ข้นึ คณะผจู้ ดั ทา ขอขอบคุณผอู้ านวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอพนัสนิคม ที่ให้คาแนะนา คาปรกึ ษา ในการจดั ทาสรุปผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ ในครัง้ นี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ต่อไป ธรี พงศ์ เขยี วหวาน ครู กศน.ตาบล มกราคม 2563 สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สำรบญั หน้ำ ก หัวเรือ่ ง ข คานา ค สารบญั สารบญั ตาราง 1 บทท่ี 1 บทนา 1 - หลกั การและเหตผุ ล 1 1 - วตั ถุประสงค์ 1 - เปา้ หมายการดาเนินงาน - ผลลพั ธ์ 2 - ตัวชี้วดั ผลสาเร็จของโครงการ 2 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง 16 - กรอบการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต 19 - เอกสาร/งานทีเ่ กี่ยวข้อง 24 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินงาน บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล บทที่ 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก - แผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ - โครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวิตประจาวัน - หนังสือขออนเุ คราะห์วิทยากร - รายงานผลการจัดกจิ กรรม - แบบประเมินผ้รู ับบริการ คณะผูจ้ ดั ทา สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

สำรบญั ตำรำง หน้ำ ตำรำงที่ 19 19 1. ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามเพศ 20 2. ผู้เขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามอายุ 20 3. ผู้เขา้ รว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามอาชพี 20 4. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามระดับการศึกษา 21 5. แสดงค่ารอ้ ยละเฉลย่ี ความสาเร็จของตัวชีว้ ัด ผลผลิต ประชาชนท่วั ไป 21 6. คา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 22 7. ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านบริหารจัดการ 22 8. คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 9. คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านประโยชนท์ ่ีได้รับ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

1 บทท่ี 1 บทนำ หลกั กำรและเหตผุ ล ปัจจบุ นั หลักการใชช้ ีวติ ของประชาชนทุกคนต้องเกย่ี วข้องกับกฎหมาย เนือ่ งจาก กฎหมายเปน็ ตัวช่วยให้สงั คมอยกู่ นั ดว้ ยความสงบเรียบรอ้ ย และความเปน็ ระบบระเบยี บในสงั คม แตม่ ปี ระชาชนบางส่วนที่ยงั ไม่มีความรู้ทางดา้ นกฎหมาย จึง พบปญั หาเกี่ยวกับการกระทาความผิดและถกู ดาเนินคดีเป็นจานวนมาก จากความไม่รู้กฎหมาย และประชาชนทุกคนควรมี โอกาสในการไดร้ ับขอ้ มูลขา่ วสารเกยี่ วกับการดาเนินการตา่ งๆของรัฐ เพอื่ ที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเหน็ และใช้ สิทธิเสรีภาพได้โดยถูกต้องกบั ความจรงิ ป้องกันมิให้ประชาชนกระทาความผิด จากความไมร่ กู้ ฎหมาย และเพื่อสทิ ธใิ นการได้ รู้เกยี่ วกับข้อมูลขา่ วสารของรัฐ ทาให้เกดิ การแสวงหาผลประโยชน์ เอารัดเอาเปรยี บโดยใช้ชอ่ งทางทางกฎหมาย จนมี ผลกระทบไปถงึ รา่ งกาย จติ ใจ สิทธิเสรภี าพ ของผู้นน้ั ประกอบกบั ประชาชนในพ้นื ที่ตาบลกฎุ โง้ง บางคนยงั ไมม่ คี วามรทู้ าง กฎหมายในชวี ิตประจาวนั จงึ ถกู เอารดั เอาเปรยี บโดยใชช้ ่องทางทางกฎหมาย เสยี ทรัพย์สิน ครอบครบั แตกแยกจนเป็น ปัญหาสงั คม เพือ่ เปน็ การแกไ้ ขปัญหาดังกลา่ วทจี่ ะทาให้ ประชาชนในพ้นื ท่ตี ระหนัก เขา้ ใจในกฎหมายท่เี กี่ยวข้องใน ชีวิตประจาวันและนาความรู้ทไี่ ด้รบั มาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั จากเหตผุ ลดังกลา่ ว กศน.ตาบลกฎุ โงง้ สังกดั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนสั นคิ ม จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชวี ิตประจาวัน ขึน้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม มีความรู้ ความเขา้ ใจกฎหมายทเี่ กยี่ วข้องในชวี ติ ประจาวัน 2. เพอ่ื ให้ผู้ร่วมกิจกรรม นาความรู้ท่ีได้รับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจาวัน เปำ้ หมำย (Outputs) เป้ำหมำยเชิงปริมำณ - ประชาชนตาบลกุฎโงง้ จานวน 20 คน เปำ้ หมำยเชิงคุณภำพ 1. ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจกฎหมายที่เกยี่ วข้องในชวี ติ ประจาวัน 2. ผ้รู ่วมกิจกรรม นาความรู้ที่ได้รบั มาปรับใช้ในชวี ติ ประจาวัน ผลลัพธ์ - ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม มีความรู้ ความเขา้ ใจกฎหมายท่ีเกยี่ วข้องในชวี ิตประจาวัน และนาความรทู้ ไ่ี ดร้ ับมาปรับใช้ใน ชีวติ ประจาวนั ดัชนีช้วี ัดผลสำเรจ็ ของโครงกำร ตัวชว้ี ัดผลผลติ - ร้อยและ 80 ของผู้เข้ารว่ มกิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจกฎหมายที่เกี่ยวข้องในชีวติ ประจาวนั ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ - รอ้ ยและ 80 ของผู้ร่วมกจิ กรรม นาความร้ทู ไี่ ด้รับมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

บทที่ 2 2 เอกสำรกำรศึกษำและงำนวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในการจดั ทาสรุปผลโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชีวติ ประจาวัน ครัง้ น้ี คณะผู้จดั ทาโครงการไดท้ าการคน้ ควา้ เนื้อหาเอกสารการศกึ ษาและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง ดังนี้ 1. กรอบการจัดกิจกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต 2. เอกสาร/งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 1. กรอบกำรจดั กิจกรรมกำรศกึ ษำเพ่อื พัฒนำทักษะชวี ติ ภำรกิจตอ่ เนอื่ ง 1. ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำและกำรเรยี นรู้ 1.3 กำรศึกษำตอ่ เนอื่ ง 2) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการจาเป็นของแตล่ ะบุคคล และมงุ่ เนน้ ให้ทกุ กลุ่มเปา้ หมายมที ักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถ ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มคี วามรคู้ วามสามารถในการบรหิ ารจดั การชวี ิตของตนเอง ให้อย่ใู นสังคมได้อย่างมคี วามสุข สามารถเผชิญสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่ีเกิดขนึ้ ในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ และเตรยี มพร้อมสาหรับการปรบั ตัวให้ ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของข่าวสารข้อมลู และเทคโนโลยี สมยั ใหมใ่ นอนาคต โดยจดั กจิ กรรมทีม่ เี น้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สขุ ภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพตดิ เพศศกึ ษา คุณธรรมและคา่ นิยมทีพ่ ึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวติ และ ทรัพย์สนิ ผ่านการศึกษารปู แบบต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทักษะชวี ิต การจดั ตั้งชมรม/ชมุ นุม การส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษ ตา่ ง ๆ 2. เอกสำร/งำนวิจัยที่เกีย่ วข้อง 1. กฎหมำยทเ่ี ก่ียวข้องกับชีวิตประจำวัน บตั รประจาตวั ประชาชน กฎหมายกาหนดว่า ผู้ท่ีจะมบี ัตรประจาตวั ประชาชนไดต้ ้องมีคุณสมบัติ ดงั นี้ 1) เป็นบคุ คลท่มี สี ญั ชาตไิ ทย 2) มีอายุ 15 ปี บรบิ รู ณ์ขึ้นไป จนถึงอายุ 70 ปี บรบิ รู ณ์ 3) มีภูมิลาเนาหรือชื่อในทะเบียนบา้ นในท้องที่ท่ีไปยน่ื คาร้องขอมบี ตั ร 2. กฎหมำยเกีย่ วกบั กำรศกึ ษำ ตามพระราชบัญญัติการ ศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดวา่ 1) บุคคลมสี ิทธแิ ละโอกาสเสมอกัน ในการไดร้ บั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานไมน่ ้อยกว่า 12 ปี ทร่ี ัฐตอ้ งจัดให้อยา่ งทว่ั ถึงและ มคี ุณภาพ โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ ่าย 2) บคุ คลซึ่งมีความบกพร่องทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา สงั คมการสอ่ื สารและการเรยี นรู้ หรือร่างกายพกิ าร ทุพพลภาพ หรอื บุคคลไม่สามารถพงึ่ ตนเองได้ หรอื ไมม่ ผี ดู้ ูแล หรอื ผดู้ อ้ ยโอกาส จะมสี ิทธิและมีโอกาสได้รบั การศึกษาข้ัน พ้ืนฐานเป็นพเิ ศษ โดยไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย และมสี ิทธไิ ด้รบั สิ่งอานวยความสะดวกและความช่วยเหลือทางการศึกษาตามกฎหมาย 3. กฎหมำยทะเบียนรำษฎร์ 1) การแจง้ เกิด เจ้าบ้านจะต้องแจ้งต่อนายทะเบยี นท้องที่ท่มี ีคนเกิดภายใน 15 วนั นับแตว่ นั เกดิ เมอื่ นายทะเบียนรบั แจง้ การเกิดไวแ้ ลว้ กจ็ ะออก ใบแจ้งการเกดิ หรอื สตู ิบตั ร ให้แก่ผู้แจ้งไว้เป็นหลักฐาน สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

3 2) การแจง้ ตาย เจา้ บ้านจะตอ้ งแจง้ แกน่ ายทะเบยี นทอ้ งถิน่ ภายใน 24 ชัว่ โมง หรอื 1 วนั นับแตเ่ วลาตาย 4. กฎหมำยจรำจรทำงบก เปน็ กฎหมาย ที่ควบคุมการใช้รถ ใช้ถนน ให้เปน็ ระเบียบเรียบร้อย 1) การปฏิบัตติ ามกฎจราจรของผ้ขู ับข่ีรถจักรยาน (1) ขบั ขี่รถจักรยานในทางทีจ่ ัดทาไว้สาหรบั รถจักรยาน (2) รถจกั รยานที่ใชข้ ับขี่ต้องมีกระดงิ่ ให้สญั ญาณ เครอื่ งห้ามล้อ โคมไฟติดหนา้ รถ (3) ผูข้ ับขี่รถจักรยานต้องขับใหช้ ดิ ขอบทางด้านซ้ายของทางเดนิ รถหรือไหล่ทาง (4) ไมข่ ับขี่รถจักรยานโดยประมาทเปน็ ท่ีหวาดเสยี ว หรอื ขับขโี่ ดยไมจ่ บั คันบังคบั 2) การปฏิบัตติ ามกฎจราจรของคนเดินเท้า (1) ใหค้ นเดินเท้าบนทางเท้าหรือไหล่ทางที่มี (2) ห้ามไมใ่ ห้คนเดนิ เทา้ ขา้ มถนนนอกทางมา้ ลาย ภายในระยะไมเ่ กนิ ๑๐๐ เมตร (3) ให้คนเดนิ เท้าทต่ี อ้ งการข้ามถนนปฏบิ ตั ติ ามไฟสญั ญาณจราจร (4) ห้ามไม่ให้ผู้ใดเดินแถวหรือเดนิ เปน็ ขบวนแห่ในลกั ษณะกีดขวางจราจร ยกเว้นแต่จะได้รบั อนุญาตจากเจ้า พนกั งานจราจร กฎหมำยทะเบียนรำษฎร ทะเบยี นราษฎร หมายถึง ทะเบยี นคนเกิด ทะเบียนคนตาย และทะเบยี นบา้ น เหตุท่ตี ้องมีทะเบยี นเหล่านีก้ ็เพื่อให้ ทราบวา่ ในบ้านหลงั หนงึ่ ในท้องทห่ี นงึ่ มีประชากรกีค่ น เปน็ เพศอะไรบา้ ง แตล่ ะคนมคี วามสมั พันธก์ ันอย่างไร มกี ารศึกษาชน้ั ไหน มีการโยกย้ายออกไปหรือเข้ามาในท้องท่นี น้ั อยา่ งไร และมจี านวนเพ่มิ หรือลดเน่ืองจากการเกดิ หรือตายแลว้ แต่กรณี เท่าใด ซงึ่ ความรเู้ หลา่ นีน้ อกจากในแงเ่ พ่ือความเปน็ ระเบยี บแลว้ ฝา่ ยปกครองยังนาไปใช้ในแง่การควบคุมอนื่ ๆ เช่น การ สาธารณสุข เม่ือมีการแจ้งการตายดว้ ยโรคระบาด ฝา่ ยปกครองตอ้ งเรง่ รัดให้มีการฉดี วัคซีนป้องกนั โรคนั้นใหแ้ ก่คนในท้องท่ี น้ันโดยเรว็ เพ่อื ปอ้ งกันโรคระบาดเปน็ ตน้ และเพ่อื ใหก้ ารจัดทาทะเบยี นตา่ งๆบรรลุถงึ เป้าหมาย ครบถว้ นสมบรู ณ์ กฎหมาย ทะเบยี นราษฎรไดแ้ ก่ พรบ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 ซงึ่ ได้สาระสาคัญดังตอ่ ไปนี้ เจ้าหน้าทที่ ่เี กยี่ วข้อง 1. ให้ผอู้ านวยการทะเบียน มีอานาจออกระเบียบกาหนดแบบพิมพ์ หลักเกณฑ์และวิธปี ฏบิ ตั ิเพ่อื ปฏิบัตติ าม พรบ.น้ี โดย 2. ในสว่ นภมู ิภาค มนี ายทะเบียนจังหวดั นายทะเบียนอาเภอ นายทะเบียนท้องถิ่น และนายทะเบยี นตาบล บคุ คล เหล่านเี้ ป็นผู้ปฏิบัติตามระเบียบที่ผอู้ านวยการทะเบยี นวางไว้ ก) คนตาย คนเกิด และลูกตายในทอ้ ง (1) คนเกิด เมื่อมีคนเกดิ ในบ้านไม่วา่ บา้ นนั้นเปน็ ของผใู้ ด เจ้าบา้ นตอ้ งแจ้งต่อนายทะเบียนท้องท่ีภายใน 15 วนั นับต้งั แตว่ ันที่เดก็ เกิด (2) คนตาย เม่อื มีคนตายในบ้านผใู้ ดตอ้ งแจง้ ภายใน 24 ชัว่ โมง นับแต่เวลาตาย หรือนับตั้งแตเ่ วลาพบศพ (3) ลกู ตายในท้อง หมายความถงึ ทารกในครรภ์มารดาท่มี ีอายุเกินกว่า 28 สัปดาห์และคลอดออกมาโดยไม่ มีชีวติ ตอ้ งแจ้งนายทะเบียนท้องท่ีที่ลูกตายในทอ้ งคลอดออกมาภายใน 24 ชัว่ โมง นบั แตเ่ วลาคลอด สรุปผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต งบประมาณปี 2563

4 กฎหมำยกำรเกณฑ์ทหำร ชายทม่ี สี ัญชาตไิ ทยตามกฎหมาย มหี นา้ ท่ีเข้ารับราชการทหารทุกคนตามพระราชบญั ญัติรบั ราชการทหาร พทุ ธศกั ราช 2479 โดยการรบั ราชการทหารของชายไทยมีดังนี้ ทหารกองเกิน หมายความวา่ ผู้ท่ซี ง่ึ มีอายตุ ้ังแตส่ บิ แปดปีบริบรู ณ์ และยังไมถ่ งึ สามสิบปีบรบิ รู ณ์ ทหารกองประจาการ หมายความวา่ ผู้ ซ่งึ ขนึ้ ทะเบยี นทหารกองประจาการ และได้เขา้ รับ ราชการในกอง ประจาการจนกว่าจะได้ปลด ทหารกองหนุน หมายความว่า ทหารทป่ี ลดจากกองประจาการ โดยรับราชการในกองประจา การจนครบกาหนด แล้ว หรอื ข้ึนทะเบยี นกองประจาการแล้ว ปลดเป็นกองหนุน (โดยปกติจะพ้นราชการทหารกองหนนุ เมือ่ อายคุ รบ 40 ปี บรบิ ูรณ์ ยกเว้นผทู้ ผี ่านการฝึกวชิ าทหารตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการฝึกวิชาทหาร) 1. ชายสญั ชาตไิ ทยเมอื่ อายุ ย่างเขา้ 18 ปี ในพทุ ธ ศักราชใดก็ต้องแสดงตนเพ่ือลงบัญชีกองเกนิ ที่อาเภอท้องท่ีซึง่ เป็นภมู ิลาเนา ของตนภายในเดือนพฤศจิกายนของปีนนั้ ๆผู้ทไี่ มส่ ามารถ ไป ลงทะเบียนด้วยตนเองได้ ต้องใหผ้ ทู้ บี่ รรลุนติ ิ ภาวะ และพอเชอื่ ถอื ได้ไปแจ้งแทน 2. ผ้ทู ยี่ ังมไิ ด้ลงทะเบียน ทหารกองเกินพร้อมกบั คนชนั้ เดยี วกนั เพราะเหตใุ ดก็ ตามถา้ อายยุ งั ไม่ถงึ 46 ปบี รบิ ูรณ์ ตอ้ งปฎบิ ตั ิทานองเดียวกับบคุ คลในข้อที่ หนง่ึ ภายในสามสิบวันนบั แต่วนั ทส่ี ามารถปฎิบัตไิ ด้ แตต่ ้องแจ้งแทนไม่ได้ 3. ผู้ซึ่งไดร้ ับยกเวน้ ไม่ตอ้ งลงบญั ชที หารกองเกนิ ได้แก่ บุคคลซง่ึ ไมม่ วี ฒุ ทิ จี่ ะเป็นทหารได้เฉพาะบาง ท้องทต่ี าม กาหนดในกฎกระทรวง พระภิกษุทม่ี ีสมณศักดิ์ หรอื ทเ่ี ปน็ เปรียญและนักบวชในพระพทุ ธศาสนาแหง่ นิกายจีน หรอื ญวนทมี่ ี สมณศกั ดิ์ 4. ผู้ซึง่ ไมไ่ ปแสดงตนเพือ่ ลงบัญชีทหารกองเกิน ได้แก่ สามเณรเปรยี ญ และผู้ซึ่ง อย่ใู นที่คุมขังของเจา้ พนักงาน กฎหมำยกำรศึกษำ กฎหมายเก่ียวกับการศึกษาในปจั จุบนั ได้แก่ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่งึ มสี าระสาคญั ที่ควรรู้ และทาความเข้าใจ ดังนี้ 1. จดุ มุ่งหมายและหลักการ เนือ่ งจากมนุษยเ์ ปน็ ทรัพยากรทสี่ าคัญท่ีจะสว่ นพัฒนา สังคมและประเทศชาติให้เจริญกา้ วหนา้ ดงั น้นั การศกึ ษาจึงมีส่วน สาคญั ย่งิ ทจ่ี ะช่วยใหค้ นในชาตมิ คี วามรู้ เพื่อนาไปพฒั นาประเทศต่อไป รฐั จึงตอ้ งลงทนุ ดา้ นการศึกษา เพือ่ พฒั นาเด็กและ เยาวชนของชาติขึน้ มาทดแทนผ้ใู หญ่ที่จะออ่ นกาลังลงในอนาคต ประเทศชาติจงึ ต้องทุ่มเทงบประมาณจานวนมหาศาลเพ่ือ พฒั นาการศึกษา สาหรบั การจัดการศึกษาของทกุ ประเทศรวมทั้งประเทศไทยมงุ่ เน้นให้คนในสงั คมมี ความสมบูรณ์ทั้งดา้ น รา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา มีความรู้คคู่ ณุ ธรรม และดารงไว้ซงึ่ วฒั นธรรมประเพณีของชาติ 2. หน้าท่ีของรฐั ในการจัดการศึกษา รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กาหนดใหร้ ัฐจะตอ้ งดาเนนิ การทางดา้ นการศึกษาใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชน ดังน้ี 1) รฐั ต้องจัดการศึกษาขึ้นพืน้ ฐานไม่นอ้ ยกวา่ 12 ปี โดยใหเ้ ด็กและเยาวชนในชาตมิ สี ิทธิและโอกาสเสมอกนั ในการเข้ารับการศึกษาอยา่ ง ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ า่ ย 2) รฐั ตอ้ งจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเป็นพิเศษ สาหรบั บุคคลทมี่ คี วามบกพร่องทางร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคมต้องจดั ให้มีการสอื่ สารและการเรียนรู้ สาหรบั ผ้ทู ี่มีรา่ งกายพิการ ทุพพลภาพ บคุ คลท่ีไมส่ ามารถพ่ึงพาตนเองได้ บคุ คลท่ีไม่มีผดู้ แู ล หรือด้อยโอกาส สรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ งบประมาณปี 2563

5 3. สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง บิดามารดา หรือผู้ปกครองมหี น้าที่จดั ให้บตุ รหรือบุคคลซึ่งอย่ใู นความดูแลได้รับการ ศึกษาภาคบังคับ จานวน 9 ปี โดยให้เดก็ ที่มอี ายยุ า่ งเข้าปที ีเ่ จ็ดเข้าเรียนในสถานศกึ ษาขน้ึ พน้ื ฐานจน อายุสบิ หก เวน้ แตส่ อบได้ชน้ั ปีที่เก้าของ การศกึ ษาภาคบงั คบั ตลอดจนให้ไดร้ บั การศกึ ษานอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนให้ไดร้ ับการศึกษาภาคบังคับ ตามความพรอ้ มของครอบครัว 4. รปู แบบการจัดการศึกษา 1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่กี าหนดจดุ มงุ่ หมาย วธิ ีการศกึ ษา หลกั สตู ร ระยะเวลาการศกึ ษา การ วดั และการประเมนิ ผลอนั เป็นเงือ่ นไขของการสาเร็จการศึกษาท่ีแน่นอน ไดแ้ ก่ การเรียนการสอนในโรงเรียน วทิ ยาลัย หรอื มหาวิทยาลยั ต่าง ๆทั้งของรฐั และเอกชน 2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศกึ ษาที่มีความยืดหยุน่ ในการกาหนดจดุ มุ่งหมาย รูปแบบ วธิ กี ารจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และประเมินผลซ่งึ เป็นเง่ือนไขสาคัญของการสาเรจ็ การศกึ ษา โดยเน้ือหาและหลักสตู ร จะต้องมีความเหมาะสมกบั สภาพปัญหา และความต้องการของบุคคลแตล่ ะกลุ่ม เชน่ การศึกษาผู้ใหญ่ การศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม เปน็ ตน้ 3) การศึกษาตามอัธยาศยั เป็นการศึกษาทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยอาศยั จากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาแวดลอ้ ม สือ่ หรอื แหล่งเรียนรู้ เช่น การ ฝึกอบรมวชิ าชีพของสถาบนั แรงงานตา่ ง ๆ การอบรมวชิ าชีพในสถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน การอบรมภาษาองั กฤษ คอมพวิ เตอรต์ ามสถาบันต่าง ๆ เป็นต้น 5. แนวทางการจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การจัดการศกึ ษาทกุ รปู แบบจะเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความสามารถ แบะพฒั นาตนเองได้ โดยยึดหลักผเู้ รียนสาคัญท่สี ดุ ดว้ ย เหตุน้ี กระบวนการจดั การเรียนร้จู งึ ตอ้ งสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนสามารถพฒั นาตนเองได้ตาม ธรรมชาตแิ ละเตม็ ศกั ยภาพ 1.สถานีโทรทศั นห์ รือสถานวี ทิ ยุ เชญิ พรรคการเมอื งมาให้สมั ภาษณต์ อ้ งเชิญอย่างเทา่ เทยี มกนั และรายงาน ขา่ วและ วเิ คราะห์ข่าวตามขอ้ เทจ็ จรงิ หา้ มเอนเอยี งหรือเข้าข้างฝา่ ยใดฝ่ายหน่งึ ต้องเปน็ กลาง หากฝา่ ฝืนมีโทษตามมาตรา 59, 60 โทษจาคุก 6 เดอื น หากผูส้ มคั รหรอื ผู้มีสิทธิเลือกต้ังมขี ้อสงสัยเก่ยี วกับกตกิ ามารยาท ทาหนังสอื มาได้ที่ กกต. 2. พาหนะในการหาเสียง -ใช้รถยนตห์ าเสียงได้ -แผ่นปา้ ยหาเสยี งตดิ ข้างรถต้องไม่เกิน 2 ป้าย ขนาด 130×245 ซม. -ห้ามดดั แปลงรถหาเสียงเปน็ เวทปี ราศรัย -ใชเ้ ครอ่ื งขยายเสียงในการหาเสยี งได้ -หาเสยี งผา่ นเว็บไซท์และสื่อสิ่งพมิ พ์ เชน่ หนังสือพิมพ์ หรอื ซื้อสื่อโฆษณาทางหนงั สือพิมพไ์ ด้ -การซ้อื เวลาสถานีโทรทัศน์หรือวทิ ยเุ พื่อโฆษณาหาเสียง ไม่สามารถทาได้ -กกต.เป็น ผกู้ าหนดชว่ งเวลาและเง่ือนไขในการออกอากาศทางสถานวี ทิ ยุและโทรทัศนไ์ ดเ้ ทา่ น้ัน 3. พรรคทีข่ ้นึ คัตเอาทห์ รือป้ายโฆษณา หรอื ปิดปา้ ยหาเสยี งตามท้องถนน หรือตามบิลบอรด์ หรือสแี่ ยกริม ทางด่วนยา่ นชุมชน ต้องปลดป้ายลง หากฝา่ ฝนื มคี วามผิด 4. หา้ มจัดเวทปี ราศรยั เอง ปราศรยั ไดเ้ ฉพาะจดุ ท่ี กกต.จดั ไว้ให้เท่าน้ัน - การแถลงขา่ วเปดิ ตวั ผู้สมัคร ส.ส.ต้องใช้ความระมัดระวัง มฉิ ะน้นั อาจเข้าขา่ ยจดั เวทีปราศรยั หา เสยี ง นอกจุดท่ี กกต.กาหนด สรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต งบประมาณปี 2563

6 - ผู้สมคั ร สส.เดินทางไปพบปะประชาชนเพื่อแจกเอกสารแนะนาตัวและนาเสนอนโยบายของ พรรคการ เมืองสามารถทาได้ 5. การแหก่ ลองยาวหรอื ขบวนแหใ่ นวันสมคั ร ส.ส. ไมส่ ามารถทาได้ -ห้ามแจก เอกสารของผู้สมัคร สส. ควบไปกับหนังสอื พิมพ์ หรือ วารสาร หรือวาง หรือโปรยในที่ สาธารณะ 6. พ.ต.ท.ทกั ษณิ ชนิ วัตร อดีตหวั หน้าพรรคไทยรกั ไทย ซง่ึ ถูกเพิกถอนสิทธิตามคาวนิ ิจฉัยของตลุ าการ รฐั ธรรมนญู เปน็ เวลา 5 ปี สามารถเป็นประธานพรรค พปช. - มาตรา 97 ไมไ่ ดห้ า้ มไว้ ห้ามเพยี งหา้ มจดแจ้ง แจ้งจัดตง้ั พรรคการเมืองข้ึนมาใหม่ -หา้ มเปน็ กรรมการบรหิ ารพรรค - หา้ มมสี ว่ นรว่ มในการจดแจง้ จัดตง้ั พรรคการเมืองข้ึนมาใหม่ 7. อานาจของ กกต.ในการออกประกาศหรือระเบียบเกีย่ วกับการเลอื กตง้ั -เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 231(1) - พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง มาตรา 5, 10(2), 10(3), 10(5) - พรบ. ประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลือกต้ัง ส.ส. และการได้ซง่ึ สว.- มติ กกต. ครัง้ ที่ 28 / 2550 8. ระเบียบ กกต. วา่ ด้วยการหาเสียงฉบบั ลงวันที่ 24 ต.ค. 2550 มคี วามสาคญั เนื่องจากมกี ารกาหนดกรอบ เกยี่ วกับข้อควรปฏบิ ตั ิ , ขอ้ ห้าม ของพรรคการเมือง ,ผู้สมคั ร ส.ส. ผมู้ ี สิทธิเลอื กต้งั ดงั นน้ั ประชาชนควรศกึ ษาไว้ เพ่ือ ประกอบในการตดั สนิ ใจเลือกผแู้ ทน กฎหมำยพรรคกำรเมือง มาตรา 1 พระราชบัญญตั ินเี้ รียกวา่ \"พระราชบญั ญตั ิ พรรคการเมือง พ.ศ. 2524\" มาตรา 2 พระราชบัญญตั นิ ้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ตงั้ แตว่ ันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้นไป มาตรา 3 ใหย้ กเลิกคาสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดนิ ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 บรรดาบทกฎหมาย กฎและข้อบงั คบั อ่นื ในสว่ นท่ีมบี ัญญตั ิไว้แล้ว ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี หรอื ซ่งึ ขัดหรือแย้งกับบท แหง่ พระราชบัญญัตนิ ้ี ใหใ้ ชพ้ ระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบญั ญัติน้ี \"สมาชกิ \" หมายความวา่ สมาชกิ พรรคการเมือง \"ทอี่ ยู่\" หมายความว่า ที่อยตู่ ามกฎหมาย วา่ ด้วยการทะเบยี นราษฎร \"นายทะเบียน\" หมายความวา่ นายทะเบียนพรรคการเมือง \"รฐั มนตรี\" หมายความวา่ รฐั มนตรีผรู้ กั ษาการ ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ มาตรา 5 ใหร้ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี และให้ มีอานาจออกกฎกระทรวง เพ่อื ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี กฎกระทรวงนัน้ เม่ือไดป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ช้บังคบั ได้ มาตรา 6 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยเปน็ นายทะเบยี นมีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

7 มาตรา 7 ผ้มู สี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิดมอี ายุไมต่ า่ กวา่ ยี่สบิ ปีบรบิ ูรณแ์ ละไม่เปน็ ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนกั บวช มี จานวนตง้ั แตส่ ิบหา้ คนขึน้ ไป อาจรวมกันเป็นคณะผเู้ รม่ิ จดั ตง้ั พรรคการเมือง ซึง่ มีแนวนโยบายในลักษณะท่ีไมก่ ่อให้เกิด ความรสู้ กึ แตกแยกในเร่อื งเชื้อชาติ หรือศาสนาระหวา่ งชนในชาติ ไมเ่ ปน็ ภัยต่อความม่ันคงของรฐั หรือไม่ขดั ต่อกฎหมายหรือ ความสงบเรียบรอ้ ย หรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนหรือการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ ตามรัฐธรรมนูญ เพ่ือดาเนนิ การออกหนงั สือเชิญชวนผู้อ่ืนให้สมคั รเข้า เปน็ สมาชกิ เม่ือมีจานวนผูส้ มัครเข้าเป็นสมาชกิ รวมกนั จานวนผเู้ ริม่ จดั ตัง้ พรรคการเมือง แลว้ ไม่ นอ้ ยกว่าห้าพนั คน ย่อมตง้ั พรรคการเมืองได้ โดยจดทะเบยี นต่อนายทะเบยี นที่ กระทรวงมหาดไทย สมาชกิ จานวนห้าพนั คน ดังกลา่ วในวรรคหนึ่ง อยา่ งน้อยต้องประกอบดว้ ยสมาชิกซึ่งมที ี่อยู่ ในแต่ละภาคไม่น้อยกวา่ ภาคละห้าจงั หวดั ตามบญั ชีรายชื่อภาคและจงั หวัดท้ายพระราชบญั ญตั นิ ี้ และมีจานวนสมาชกิ จงั หวดั ละไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าสิบคน ผู้ทจี่ ะสมคั รเข้าเปน็ สมาชกิ ได้ ต้องเปน็ ผูม้ สี ัญชาติไทยโดยการเกิดมอี ายุไมต่ ่ากว่าย่ีสิบปีบรบิ ูรณ์ และไม่เปน็ ภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรอื นักบวช มาตรา 8 กอ่ นดาเนินการโฆษณาเชญิ ชวนผูอ้ ่นื เข้าเปน็ สมาชิกให้คณะผูเ้ ร่มิ จัดต้ัง พรรคการเมืองทาหนงั สือแจง้ ตอ่ นายทะเบียน ตามแบบท่นี ายทะเบียนกาหนดพร้อมกับหนงั สอื เชิญชวนสามฉบบั ซงึ่ คณะผเู้ รม่ิ จัดตัง้ พรรคการเมืองได้ลง ลายมอื ชอื่ กากับไว้ดว้ ยทุกฉบับ หนงั สอื เชญิ ชวนนัน้ อย่างนอ้ ยต้องมรี ายการดงั ต่อไปน้ี (1) ชื่อพรรคการเมอื ง (2) ภาพเครื่องหมายพรรคการเมอื ง (3) แนวนโยบายพรรคการเมือง (4) ช่อื อาชีพ และทอี่ ยู่ของผู้ซ่ึงเปน็ คณะผูเ้ ร่มิ จดั ต้ังพรรคการเมอื ง มาตรา 9 เมอ่ื นายทะเบียนได้รับแจ้งตาม มาตรา 8 แลว้ เหน็ ว่าหนังสือเชญิ ชวนมีรายการครบถว้ น โดยมีชือ่ ภาพ เครอื่ งหมายหรอื แนวนโยบายของพรรคการเมืองในลกั ษณะทไ่ี ม่ก่อให้เกดิ ความ แตกแยกในเร่อื งเชื้อชาติ หรือศาสนาระหว่าง ชนในชาติ ไมเ่ ปน็ ภัยต่อความม่ันคงของรัฐ ไม่ขัดต่อกฎหมาย ไมข่ ดั ต่อความสงบเรยี บร้อยหรอื ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ ตามรัฐธรรมนญู และคณะผ้เู รมิ่ จัดตั้งพรรคการเมอื ง เปน็ ผู้มคี ุณสมบตั ิและไม่มลี ักษณะต้อง หา้ มตาม มาตรา 7 และ ชื่อพรรคการเมอื งหรือภาพเครื่องหมายพรรคการเมืองไม่ซ้า หรอื พ้องหรือมลี กั ษณะคล้ายคลึงกบั ชือ่ พรรคการเมอื งหรือสภาพเครื่องหมายพรรคการเมอื งของคณะผูเ้ รมิ่ จดั ตั้งพรรค การเมืองอื่นท่ี ได้แจ้งไว้ตาม มาตรา 8 หรอื ของพรรคการเมอื งอื่นที่ไดจ้ ดทะเบียนตาม มาตรา 23 ไวก้ อ่ นแล้ว ใหน้ าย ทะเบยี นออกหนงั สือรับรองการแจง้ ใหค้ ณะผเู้ ร่มิ จัดตั้งพรรคการเมืองภาย ในสบิ หา้ วัน นับแต่วนั ท่ีไดร้ ับแจ้ง เม่ือไดร้ บั หนงั สือ รบั รองการแจ้งแลว้ ให้คณะผเู้ รมิ่ จัดตง้ั พรรคการเมืองมสี ิทธิโฆษณา เชิญชวนผอู้ ่ืนเข้าเปน็ สมาชกิ และดาเนินการก่อตัง้ พรรคการเมอื งได้ หนงั สอื รับรองการแจง้ น้นั ใหใ้ ช้ได้หนงึ่ ปีนบั แต่วนั ทอ่ี อก มาตรา 10 ในกรณีทน่ี ายทะเบยี นเหน็ ว่า หนังสือเชญิ ชวนมีชื่อภาพเครื่องหมายหรอื แนว นโยบายของพรรคการเมือง ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความรู้สึกแตกแยกในเรื่องเช้ือ ชาตหิ รือศาสนา ระหว่างชนในชาติเปน็ ภยั ตอ่ ความม่นั คงของรัฐ ขัดต่อ กฎหมาย ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรอื ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน หรอื การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ เ์ ป็น ประมุขตามรัฐธรรมนญู หรอื ผเู้ รม่ิ จดั ตง้ั พรรคการเมืองผูใ้ ดขาดคุณสมบตั ิหรือมีลักษณะต้องหา้ ม ตาม มาตรา 7 และผู้เร่ิมจดั ต้งั พรรคการเมืองท่ีเหลอื มจี านวนไม่ถึงสบิ หา้ คน หรือชื่อพรรคการเมอื ง หรือภาพเคร่ืองหมายพรรค การเมืองของพรรคการเมืองซ้าหรือพ้องกับชือ่ หรือภาพ เครื่องหมายพรรคการเมืองอื่นที่ไดแ้ จ้งต่อนายทะเบยี นหรอื จด สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต งบประมาณปี 2563

8 ทะเบยี นพรรคการ เมอื งไวก้ ่อน แล้ว ให้นายทะเบียนส่ังไม่รับแจง้ และบอกกลา่ วเปน็ หนังสอื พร้อมทง้ั เหตุผลท่ีสั่ง ไมร่ ับแจง้ ไป ยัง คณะผู้เริ่มจดั ตง้ั พรรคการเมอื งภายในสบิ ห้าวันนบั แต่วนั ที่ไดร้ ับแจง้ มาตรา 11 ในกรณที ีน่ ายทะเบียนเหน็ วา่ หนังสือเชิญชวนมีรายการไม่ครบตาม มาตรา 8 หรือมขี ้อความไมช่ ดั เจน หรอื บกพร่องให้นายทะเบียนบอกกลา่ วเป็นหนงั สอื ไปยัง คณะผูเ้ รม่ิ จัดตงั้ พรรคการเมืองภายในเจด็ วันนับแต่วันทไี่ ดร้ ับแจ้ง เพื่อใหด้ าเนินการแก้ไขภายในเจด็ วัน นบั แตว่ นั ที่ได้รับหนังสือบอกกล่าว เมื่อคณะผเู้ ร่มิ จัดตั้งพรรคการเมืองไดแ้ ก้ไขภายใน กาหนด เวลาดังกลา่ วเป็นการถูกต้องแลว้ ใหน้ ายทะเบียนออกหนงั สือรบั รองการแจง้ ใหแ้ ก่ คณะผู้เร่ิม จดั ตัง้ พรรคการเมือง ภายในสบิ ห้าวันนับแตว่ ันทไ่ี ด้แกไ้ ข ถา้ ไม่แกไ้ ขหรือแก้ไขแล้วยงั ไมถ่ ูกต้อง ภายในกาหนดเวลาดงั กลา่ ว ให้สง่ั ไม่รับแจง้ ทันที และบอกกล่าวเปน็ หนังสือพร้อมท้ังเหตผุ ลไป ยังคณะผเู้ ริม่ จดั ตั้งพรรคการเมืองภายในสิบหา้ วนั นับแต่วันที่สง่ั ไม่รับ แจ้ง มาตรา 12 ในกรณที ่นี ายทะเบียนเห็นว่าชื่อพรรคการเมืองหรอื ภาพเครื่องหมาย พรรคการเมอื งคณะผู้เรมิ่ จัดตั้ง พรรคการเมืองตามทป่ี รากฏในหนงั สือเชญิ ชวนซา้ หรอื พ้องหรือมี ลกั ษณะคล้ายคลึงกบั ชอื่ พรรคการเมืองหรอื ภาพ เคร่อื งหมายพรรคการเมืองของคณะ ผู้เริ่มจดั ต้งั ของพรรคการเมืองอืน่ ที่ได้แจ้งไว้ในวนั เดยี วกัน ใหน้ ายทะเบยี นดาเนินการ ตอ่ ไปนี้ (1) มีหนงั สือบอกกลา่ วไปยังคณะผ้เู ร่ิมจดั ต้ังพรรค การเมืองท่ีเก่ยี วข้องทุกฝ่ายเพื่อใหท้ าความตกลงกนั วา่ คณะผู้เริ่ม จัดตงั้ พรรคการเมืองคณะใดจะเปน็ ผู้มสี ทิ ธิใช้ช่อื พรรคการเมือง หรือภาพเครื่องหมายพรรคการเมืองนน้ั เม่ือได้ตกลงกันเปน็ ประการใดแลว้ ใหน้ ายทะเบยี นรบั แจง้ ตามท่ีได้ตกลงกัน การตกลงกนั ดงั กล่าวใหก้ ระทาใหเ้ สร็จส้ินภายในสิบหา้ วนั นับแต่ วันทไี่ ดร้ ับ หนังสอื บอกกล่าว (2) ในกรณีท่ีคณะผูเ้ รมิ่ จัดตัง้ พรรคการเมืองทเ่ี ก่ียวขอ้ งยนื ยนั ไม่ยอมตกลงกันหรอื เมอ่ื พ้นกาหนดเวลาดงั กลา่ วใน (1) แล้วยงั ตกลงกนั ไมไ่ ด้ ใหน้ ายทะเบียน พจิ ารณารบั แจ้งจาก คณะผเู้ ริ่มจดั ตัง้ พรรคการเมอื งที่เห็นวา่ มสี ทิ ธทิ จี่ ะใชช้ ื่อหรือ ภาพ เครอื่ งหมายพรรคการเมืองนนั้ ดี กว่าโดยพิจารณาตามหลักเกณฑด์ ังน้ี (ก) คณะผเู้ รม่ิ จัดต้งั พรรคการเมอื งคณะ ใดมีจานวนผเู้ ร่มิ จัดตั้งพรรคการเมืองซ่ึงเคย ได้รบั เลือกตงั้ เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของการเลือกต้ังทว่ั ไปครง้ั หลงั สดุ ในนามของ พรรคการเมอื งหรือกลมุ่ การเมืองตามหลักฐานใบ สมคั รรบั เลอื กตงั้ เป็นสมาชกิ สภา ผูแ้ ทนราษฎรที่ เคยใช้ชอ่ื หรอื ใชภ้ าพเครื่องหมายพรรคการเมืองนนั้ มากกว่า คณะผเู้ ร่มิ จดั ต้ังพรรคการเมือง คณะน้นั ย่อมมีสทิ ธดิ ีกว่า (ข) ในกรณที ่ีจานวนผเู้ ริ่มจัดต้ังพรรคการเมืองตาม (ก) มจี านวนเทา่ กัน คณะผเู้ ริม่ จัดตง้ั พรรคการเมืองคณะใดมี จานวนผเู้ รม่ิ จัดต้ังพรรคการเมืองซ่ึงเคยสมัคร รับเลอื กตั้งเปน็ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรของการเลอื กต้งั ทวั่ ไปครั้งหลงั สดุ ใน นามของพรรคการ เมืองหรือกล่มุ การเมืองตามหลกั ฐานใบสมัครรบั เลอื กตง้ั เป็นสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทเ่ี คยใช้ ชือ่ หรือใช้ ภาพ เครอื่ งหมายพรรคการเมืองนัน้ มากกวา่ คณะผเู้ รม่ิ จัดตั้งพรรคการเมืองคณะนัน้ ย่อมมีสทิ ธดิ ีกวา่ (ค) ในกรณีที่จานวนผเู้ ร่มิ จดั ตั้งพรรคการเมืองตาม (ข) มีจานวนเท่ากัน ให้ นายทะเบยี นดาเนนิ การจบั สลากเพอื่ ให้ ได้ผู้มีสิทธิใช้ชอ่ื พรรคการเมอื งหรอื ภาพเคร่ืองหมาย พรรคการเมืองโดยเปิดเผย ใหน้ ายทะเบียนบอกกลา่ ว การรบั แจง้ ตาม (2) เป็นหนงั สือไปยงั คณะผเู้ ริ่มจัดตง้ั พรรคการเมืองที่เกย่ี วข้องภายใน เจ็ดวันนบั แตว่ นั ทรี่ บั แจ้ง มาตรา 13 คณะผู้เร่มิ จัดต้งั พรรคการเมืองคณะใดไมเ่ ห็นด้วยกบั คาวินิจฉยั ของ นายทะเบยี นตาม มาตรา 12 มีสทิ ธิ ยื่นคารอ้ งเพ่ือให้ศาลฎกี าวินจิ ฉยั ช้ีขาด โดยยืน่ ตอ่ ศาลแพ่ง ภายในสามสบิ วันนบั แต่วันท่ีได้รบั หนงั สอื บอกกล่าว เมอื่ ศาลแพง่ ได้รบั คา ร้องดังกล่าว ใหด้ าเนนิ การพิจารณาโดยไม่ชักช้า แล้วให้รีบสง่ สานวนและความเห็นไปยังศาล ฎีกาเพื่อวินิจฉยั ชขี้ าด เมื่อศาลฎกี าได้วินิจฉยั เป็นประการใดแลว้ ให้ นายทะเบียนปฏบิ ัติไปตามน้ันโดยไม่ชักช้า สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

9 ในการพิจารณาของศาล ให้พิจารณาหลักเกณฑ์ตาม มาตรา 12 (2) ประกอบด้วย การดาเนินคดีตามมาตรา นี้ ใหน้ า ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาใช้บงั คับ โดยอนุโลม และให้ได้รบั การ ยกเวน้ การเสียคา่ ฤชาธรรมเนียม มาตรา 14 ในกรณีท่ีนายทะเบยี นสั่งไมร่ บั แจ้งตาม มาตรา 10 หรือ มาตรา 11 คณะผู้ เรมิ่ จดั ต้ังพรรคการเมืองมี สิทธิยื่นคารอ้ งขอให้ศาลฎกี าวินิจฉยั โดยยื่นตอ่ ศาลแพ่งภายในสามสิบ วันนบั แตว่ ันที่ไดร้ ับหนังสือบอกกลา่ ว และให้นา มาตรา 13 วรรคสองและวรรคสมี่ าใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม มาตรา 15 เม่อื คณะผู้เร่มิ จัดตั้งพรรคการเมืองที่ได้รับหนังสือรบั รองการแจ้งจาก นายทะเบยี นเชิญชวนผู้อื่น ให้ สมัครเข้าเปน็ สมาชกิ ได้ครบห้าพนั คนซ่ึงมผี ลู้ งช่อื เข้าเป็นสมาชกิ ซง่ึ มที ่ีอยใู่ นแตล่ ะภาคไม่นอ้ ยกวา่ ภาคละห้าจังหวัด และมี จานวนสมาชกิ จังหวัดละไม่น้อยกวา่ ห้าสิบคนแลว้ ใหค้ ณะผเู้ ร่มิ จดั ต้งั พรรคการเมืองนดั ประชุมผลู้ งช่ือเขา้ เปน็ สมาชกิ การ ประชมุ นีใ้ ห้ เรียกว่าการประชุมต้ังพรรคการเมือง มาตรา 16 การเรียกประชมุ ต้ังพรรคการเมืองต้องแจ้งให้บรรดาผลู้ งชือ่ เข้าเปน็ สมาชิกทราบกอ่ นวันประชมุ ไมน่ ้อย กวา่ เจ็ดวันและคณะผูเ้ ร่มิ จัดตั้งพรรคการ เมืองตอ้ งแจ้งระเบียบ วาระการประชมุ พร้อมท้ังบญั ชีรายช่อื ผู้ลงชอื่ เขา้ เปน็ สมาชิก ทั้งหมดให้ผู้ เขา้ ประชุมทราบด้วย มาตรา 17 การประชมุ ตงั้ พรรคการเมือง ต้องมีผู้ลงชื่อเข้าเปน็ สมาชิกมาประชุมไมน่ ้อยกวา่ หนึ่งร้อยคน แตใ่ นจานวน น้ตี ้องมีผูล้ งชื่อเข้าเป็นสมาชิกของแต่ละภาค ภาคละไม่นอ้ ย กว่าหา้ จงั หวดั มาร่วมประชุมดว้ ย จึงจะเป็นองคป์ ระชมุ มาตรา 18 กิจการอนั จะพึงทาในที่ประชมุ ตั้งพรรคการเมอื ง คือ (1) การกาหนดนโยบายของพรรคการเมืองซึ่ง ประกอบดว้ ยเปา้ หมายและวธิ ดี าเนินการ (2) การกาหนดข้อบงั คบั ของพรรคการเมือง (3) การเลือกต้ังคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองตาม มาตรา 33 มาตรา 19 ให้ทีป่ ระชมุ ตัง้ พรรคการเมืองเลือกผลู้ งชอ่ื เข้าเป็นสมาชิกท่ีมาประชุมคนใด คนหนึ่งทาหน้าที่ประธานของ ที่ประชมุ คาวนิ ิจฉยั ของที่ ประชมุ ให้เป็นไปตามเสียงข้างมาก ผู้ลงชอ่ื เข้าเป็นสมาชกิ ท่ีมาประชุม คนหนึง่ มเี สียงหน่ึงในการ ลงคะแนนถา้ มีคะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธานในท่ี ประชมุ ออกเสยี ง เพ่มิ ข้ึนอีกเสียงหนึง่ เปน็ เสียงชีข้ าด มาตรา 20 การลงคะแนนเสยี งในที่ประชุมดังพรรคการเมอื งให้ลงคะแนนโดยวธิ ี เปดิ เผย เวน้ แตผ่ ู้ลงชอ่ื เข้าเปน็ สมาชกิ ทม่ี าประชมุ เกนิ กว่าก่ึงหนงึ่ ร้อยขอให้ลง คะแนนลับ กใ็ ห้ ลงคะแนนลับ มาตรา 21 ให้ผู้ที่ได้รับเลอื กต้ังเป็นหวั หนา้ พรรคการเมอื งตาม มาตรา 18 (3) ย่นื คาขอจดทะเบยี นพรรคการเมือง ตามแบบทนี่ ายทะเบียนกาหนดภายในหน่งึ ปีนับแตว่ นั ท่ีได้รบั หนงั สอื รับรองการแจง้ พร้อมทงั้ สง่ ร่างนโยบายของพรรค การเมืองและรา่ งข้อ บังคับของ พรรคการเมอื งอยา่ งละสามฉบับ ทะเบียนประวัตผิ ู้ลงช่ือเข้าเปน็ สมาชกิ ตามแบบทน่ี าย ทะเบยี น กาหนด และสาเนารายงานการประชุมต้ังพรรคการเมอื ง แบบคาขอจดทะเบียนพรรค การเมืองนั้น อยา่ งน้อยต้องมีรายการดงั ต่อไปนี้ (1) ชือ่ พรรคการเมอื ง (2) ภาพเครอื่ งหมายพรรคการเมือง (3) ทีต่ ้งั สานักงานใหญ่ของพรรคการเมือง (4) ชอื่ อาชพี ท่ีอยู่ และลายมือช่ือของคณะกรรมการบรหิ ารของพรรคการเมืองซ่งึ ใน วาระเริ่มแรกนตี้ ง้ั ขึ้นโดยที่ ประชุมของผู้ลงชื่อเข้าเป็นสมาชิกตาม มาตรา 18 (3) สรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ งบประมาณปี 2563

10 (5) รายละเอยี ดเก่ียวกับผู้ลงชื่อเขา้ เปน็ สมาชกิ อย่างนอ้ ยต้องมเี ลขหมาย บตั รประจาตวั ประชาชนหรือหลกั ฐานอื่นท่ี ทางราชการออกให้ใชเ้ ปน็ หลักฐานเชน่ เดียวกับบัตรประจาตัวประชาชน ชือ่ อาชพี ที่อยู่และลายมือช่ือของผลู้ งช่อื เขา้ เปน็ สมาชกิ เปน็ รายจังหวัด มาตรา 22 ขอ้ บงั คบั ของพรรคการเมืองน้ัน อยา่ งน้อยตอ้ งมีรายการดังต่อไปนี้ (1) ช่อื พรรคการเมอื ง (2) ภาพเคร่อื งหมายพรรคการเมอื ง (3) ทีต่ ้ังสานกั งานใหญ่ของพรรคการเมือง (4) การเลือกต้ัง ระยะเวลาการดารงตาแหนง่ การส้นิ สุดและการออกตามวาระของ หัวหนา้ พรรคการเมือง รอง หวั หน้าพรรคการเมือง เลขาธิการพรรคการเมือง รองเลขาธิการ พรรคการเมืองและกรรมการบรหิ ารอื่น การกาหนดอานาจ หน้าท่ี ให้คณะกรรมการบริหารและ กรรมการบริหารแตล่ ะคนปฏบิ ัติ (5) การจัดต้งั สาขาพรรคการเมือง ผู้ดาเนนิ กจิ การสาขาพรรคการเมืองและอานาจหน้าท่ี (6) การประชมุ ใหญ่ของพรรคการเมือง และการประชุมของสาขาพรรคการเมือง (7) สิทธแิ ละหนา้ ท่ขี องสมาชิก (8) ความรับผิดชอบของพรรคการเมืองตอ่ สมาชิก (9) การรับสมาชกิ และการส่ังให้สมาชิกออก (10) วนิ ยั และจรรยาบรรณของสมาชิก (11) วธิ ีการเลอื กสมาชกิ เพ่ือสง่ เข้า สมคั รรบั เลือกตัง้ เป็นสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรใน เขตเลอื กตั้งต่าง ๆ (12) การบริหารการคลังและการบัญชีของพรรคการเมือง และสาขาพรรคการเมือง มาตรา 23 เมื่อนายทะเบยี นได้รับคาขอจดทะเบยี นพรรคการเมืองแล้ว เหน็ วา่ คาขอ จดทะเบยี นพรรคการเมือง ถกู ต้องตาม มาตรา 21 ขอ้ บังคบั มรี ายการครบถ้วนตาม มาตรา 22 และผ้ลู งชอื่ เข้าเป็นสมาชิกตามทะเบียนพรรคการเมือง นน้ั มคี ณุ สมบตั ิและไม่มีลกั ษณะต้องหา้ ม และจานวนถกู ต้องตาม มาตรา 7 ทงั้ ขอ้ ความในเอกสารดังกล่าวนน้ั ไมข่ ัดต่อความ มั่นคงของรัฐ หรอื กฎหมายหรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน หรือการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมุขตามรัฐธรรมนญู ใหน้ ายทะเบยี นจดทะเบียน พรรคการเมือง และแจง้ เปน็ หนังสือให้หัวหน้า พรรคการเมอื งทราบภายในสามสิบวันนบั แต่วนั ท่ี ไดร้ ับคาขอจดทะเบยี น มาตรา 24 ในกรณีทีน่ ายทะเบียนไม่รับจดทะเบียนพรรคการเมอื งใหน้ ายทะเบยี นแจ้ง เป็นหนงั สือให้ผ้ทู ่ีได้รับ เลือกตงั้ เปน็ หัวหน้าพรรคการเมืองตาม มาตรา 21 ทราบภายในสามสบิ วนั นับแต่วนั ที่ได้รับคาขอจดทะเบยี น ผทู้ ี่ไดร้ ับเลือกตั้ง เป็นหัวหนา้ พรรคการเมอื งตาม มาตรา 21 มีสิทธิยน่ื คารอ้ งเพื่อให้ ศาลฎีกาวนิ ิจฉยั ชข้ี าดว่าการไม่ ยอมรับ จดทะเบียนพรรคการเมอื งเป็นไปโดยมชิ อบ และขอใหส้ ั่ง ให้รบั จดทะเบยี น คาร้องตามวรรคสองให้ ยืน่ ต่อศาลแพ่งภายใน กาหนดสามสิบวนั นบั แตว่ ันท่ไี ด้รับหนังสอื แจ้งการไมร่ บั จดทะเบียน และใหน้ า มาตรา 13 วรรคสองและวรรคสี่มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม มาตรา 25 การจดทะเบียนพรรคการเมืองน้นั ใหป้ ระกาศราชกิจจานเุ บกษาโดยระบุท่ี พรรคการเมือง ภาพ เครอื่ งหมายพรรคการเมือง ท่ีตง้ั สานักงานใหญข่ องพรรคการเมือง นโยบายของพรรคการเมือง และชอ่ื ของหัวหนา้ พรรค การเมือง รองหัวหนา้ พรรคการเมอื ง เลขาธิการพรรคการเมือง รองเลขาธกิ ารพรรคการเมือง และกรรมการบรหิ ารอนื่ ของ พรรคการเมอื ง สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิต งบประมาณปี 2563

11 มาตรา 26 สมาชกิ ภาพของสมาชิกส้ินสดุ ลง เมอ่ื (1) ตาย (2) ลาออก (3) พรรคการเมอื งสงั่ ใหอ้ อกตามขอ้ บงั คับ (4) ศาลมคี าส่งั ยบุ เลกิ พรรคการเมอื งทผี่ ้นู ั้นเป็นสมาชิก การสนิ้ สุดของสมาชิก ภาพของสมาชกิ ตาม (3) ในกรณีท่ีสมาชกิ ผนู้ ั้นดารงตาแหน่งเป็น สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร ด้วย ตอ้ งมมี ติดว้ ยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของทป่ี ระชมุ ร่วมของ คณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรทส่ี ังกดั พรรคการ เมืองนน้ั การลงมตติ ามวรรคนใี้ หล้ งคะแนนเสยี งโดยวิธีเปดิ เผยเทา่ น้ัน มาตรา 27 พรรคการเมืองใดท่ีมีจานวนสมาชกิ ตง้ั แตห่ น่งึ ร้อยคนขึน้ ไปในจังหวดั ใด ประสงค์จะต้งั สาขาพรรค การเมืองข้ึนในจังหวดั นัน้ ใหห้ วั หนา้ พรรคการเมืองมี หนังสอื แจง้ การ จดั ตั้งสาขาพรรคการเมืองต่อนายทะเบียนภายในสบิ หา้ วันนับแต่วันจดั ตง้ั สาขา พรรคการเมือง หนังสอื แจง้ การจดั ต้งั สาขาพรรคการเมือง ให้เปน็ ไปตามแบบทนี่ ายทะเบยี นกาหนด และ อยา่ งน้อยจะต้องมีรายการ แสดงที่ตง้ั สาขาพรรคการเมือง รายชือ่ อาชพี ท่ีอยขู่ องสมาชิก ผู้ดาเนินการสาขาพรรคการเมอื งนน้ั เมอ่ื นายทะเบียนได้รับ แจง้ การจดั ตงั้ สาขาพรรคการเมือง แลว้ ใหบ้ ันทึกการจดั ตั้งสาขา พรรคการเมืองน้นั ลงใน ทะเบียนการจดั ตงั้ สาขาพรรคการเมือง และให้ออกหนงั สือรบั รองการ แจ้งการจัดตง้ั สาขาพรรคการเมืองภายในสบิ ห้าวันนบั แตว่ ันรับแจ้ง มาตรา 28 เมอื่ มีการเปลย่ี นแปลงข้อบงั คับ นโยบาย หรอื รายการตาม มาตรา 21(4) ทย่ี ืน่ ไว้ในการจดทะเบียน หรือ รายละเอียดทีแ่ จง้ ไวใ้ นแบบตาม มาตรา 27 ใหห้ วั หน้าพรรคการเมือง แจง้ การเปลีย่ นแปลงนั้นเปน็ หนังสอื ตอ่ นายทะเบยี น ภายในสามสบิ วันนบั แตว่ นั ท่ี ได้มีการเปล่ียนแปลง เพื่อให้พิจารณาแกไ้ ขรายละเอยี ดดงั กลา่ ว การเปลยี่ นแปลงตามวรรค หน่งึ จะสมบูรณต์ ่อ เมื่อไดร้ ับแจ้งการยอมรับการเปล่ียนแปลง จากนายทะเบยี น และให้ นา มาตรา 23 และ มาตรา 24 มาใช้บังคับแกก่ ารยอมรับ หรือไม่ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงของนายทะเบียนโดยอนุโลม ถา้ หวั หนา้ พรรคการ เมอื งไม่แจ้งการเปลี่ยนแปลง ตามวรรคหนึง่ ภายในระยะเวลาดังกล่าว ใหน้ ายทะเบียนมีอานาจ ส่งั ใหห้ วั หน้าพรรคการเมอื งแจ้งการเปลีย่ นแปลงนัน้ ภาย ในระยะเวลาที่ กาหนด การแก้ไขรายการที่ เกยี่ วกบั ที่ได้ประกาศไว้ตาม มาตรา 25 ใหป้ ระกาศใน ราชกิจจานเุ บกษา มาตรา 29 ในการปฏิบตั ิหน้าท่ีของนายทะเบยี นตามหมวดนี้ให้นายทะเบียนมีอานาจ เรยี กบคุ คลท่ีเกยี่ วข้องมาให้คา ชีแ้ จง หรอื ใหส้ ง่ เอกสารเพื่อการตรวจสอบได้ มาตรา 30 ให้พรรคการเมืองทจี่ ดทะเบียนแล้วเป็นนิติบคุ คลมวี ัตถปุ ระสงค์ดาเนินกิจการใน ทางการเมอื ง มาตรา 31 การดาเนินกิจการตอ่ ไปนห้ี ลงั จากท่จี ดทะเบียนพรรคการเมืองแลว้ ให้ กระทาโดยที่ประชมุ ใหญ่ของ พรรคการเมือง (1) การเปลยี่ นแปลงนโยบายของพรรคการเมือง (2) การเปล่ยี นแปลงข้อบังคับของพรรคการเมือง (3) การเลอื กต้ังหวั หน้าพรรคการเมือง รองหวั หน้าพรรคการเมือง เลขาธกิ าร พรรคการเมอื ง รองเลขาธกิ ารพรรค การเมืองและกรรมการบรหิ ารอ่นื (4) กจิ การอืน่ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 32 ท่ปี ระชุมใหญ่ของพรรคการเมอื งตอ้ งประกอบด้วยสมาชิกหรือผู้แทนสมาชกิ ทง้ั น้ีใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบงั คับ ของพรรคการเมืองแต่ถ้าประกอบด้วยผู้แทนสมาชกิ ตอ้ งกาหนด หลักเกณฑ์ วิธกี ารเลอื กต้งั และจานวนผูแ้ ทนสมาชกิ ไวด้ ้วย สรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

12 มาตรา 33 ให้พรรคการเมืองมีคณะกรรมการบรหิ ารคณะหน่งึ ประกอบด้วยหัวหนา้ พรรคการเมือง รองหัวหน้า พรรคการเมือง เลขาธิการพรรคการเมือง รองเลขาธกิ าร พรรคการเมือง และกรรมการบรหิ ารอ่ืน อีกไมน่ ้อยกว่าเจ็ดคน ซ่งึ เลือกตง้ั ขึน้ จากสมาชิกโดยที่ ประชมุ ใหญต่ ามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ีกาหนดในข้อบังคับ มีหน้าท่ีดาเนนิ กิจการให้เป็นไปตาม นโยบายของพรรคการเมือง ใหห้ วั หนา้ พรรคการ เมอื งเปน็ ผ้แู ทนของพรรคการเมือง ในกิจการอันเกีย่ วกับบุคคลภายนอก เพื่อการน้หี วั หน้า พรรคการเมืองจะมอบหมายเป็นหนงั สอื ใหก้ รรมการบริหาร คนหนงึ่ หรือหลายคนทาการแทนก็ได้ มาตรา 34 เมือ่ ปรากฏว่าหวั หน้าพรรคการเมือง คณะกรรมการบรหิ ารหรือกรรมการบริหาร จดั ให้พรรคการเมือง กระทาการใด ๆฝา่ ฝนื นโยบายหรอื ขอ้ บงั คบั ของพรรคการเมืองอันอาจเปน็ ภัย ต่อความมั่นคงของรฐั หรือขดั ต่อความสงบ เรียบร้อย หรอื ศีลธรรมอนั ดีของประชาชนหรือการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุขตาม รัฐธรรมนูญ แต่ลักษณะการกระทายงั ไม่รุนแรง จนเปน็ สาเหตุให้ต้องยบุ เลิกพรรคการเมืองตาม มาตรา 48 ใหน้ ายทะเบียนมี อานาจเตือนเปน็ หนงั สือ ให้หัวหน้าพรรคการเมอื งและคณะกรรมการบรหิ าร และกรรมการบริหารน้ันระงับหรือจดั การแก้ไข การกระทานั้นภายในระยะเวลาทน่ี ายทะเบียนกาหนด ในกรณีท่นี ายทะเบียนเตือนเป็นหนังสือแก่บุคคล ที่ไม่ใชห่ วั หน้าพรรค การเมือง ตอ้ งสง่ สาเนาหนังสือนน้ั ใหห้ วั หน้าพรรคการเมืองทราบโดยเร็ว ถา้ หัวหนา้ พรรคการ เมอื ง คณะกรรมการบริหาร หรือกรรมการบริหารไมป่ ฏิบตั ิการดังกล่าว ในวรรคหนง่ึ ให้นาย ทะเบยี นมีอานาจยืน่ คารอ้ งเพื่อให้ศาลฎกี ามคี าส่ังใหร้ ะงบั หรือจดั การ แกไ้ ข การกระทาดังกล่าวหรือใหห้ ัวหนา้ พรรค การเมือง หรือคณะกรรมการบริหารท้งั คณะหรือบางคน ออกจากตาแหนง่ ได้ คารอ้ งตามวรรคสองให้ ยื่นต่อศาลแพง่ และใหน้ า มาตรา 13 วรรคสอง และวรรคส่ี มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่ศาลฎีกามีคา สั่งใหห้ ัวหนา้ พรรคการเมือง คณะกรรมการบริหารท้ังคณะหรือ บางคนออกจากตาแหน่งผูน้ ้นั ไม่มีสิทธิเปน็ กรรมการอกี เว้นแตจ่ ะพน้ กาหนดสองปนี บั แต่วันท่ี ศาลฎกี ามคี าส่ัง มาตรา 35 หัวหน้าพรรคการเมอื งและผดู้ าเนินกจิ การสาขาพรรคการเมอื ง ต้องจัดให้ ทาบัญชขี องพรรคการเมือง หรือสาขาพรรคการเมอื งต่อไปน้ใี ห้ถกู ต้องตามทีเ่ ป็น จริง คอื (1) บัญชีแสดงจานวนเงนิ ทพ่ี รรคการเมือง ไดร้ บั และไดจ้ ่ายท้งั รายการอนั เป็นเหตุให้ รับหรอื จา่ ยเงนิ หรอื หลักฐาน การรบั เงินและจ่ายเงนิ ทุกครัง้ (2) บัญชแี สดงทรพั ยส์ ินและหน้ีสินของพรรคการเมอื ง รายไดแ้ ละทรพั ยส์ ินที่ พรรคการเมอื งได้รบั มา โดยไม่ขัดตอ่ พระราชบัญญตั ินี้ ใหไ้ ดร้ บั ยกเวน้ การทจี่ ะต้องเสียภาษี ตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 36 หวั หนา้ พรรคการเมืองต้องจัดให้ทาบญั ชีรายรบั รายจา่ ยและงบดลุ ของ พรรคการเมืองอย่างน้อยคร้ังหนง่ึ ทกุ รอบสิบสองเดือนงบดุลต้องมีรายการย่อแสดง จานวนทรพั ย์สนิ และหนสี้ นิ ของพรรคการเมือง งบดุลน้ันต้องจัดใหม้ ี ผู้สอบบัญชีคนหน่ึง หรอื หลายคนตรวจสอบแล้ว เพอื่ อนุมัติในทป่ี ระชุมใหญ่ ภายในหนึง่ ร้อย ยสี่ บิ วนั นบั แต่วนั ทล่ี งในงบดุลน้ัน ให้ส่งสาเนางบดลุ ไปยงั สมาชิกท่มี ีชอ่ื ในทะเบยี นก่อนวันนดั ประชุมใหญ่ลว่ งหน้าไม่นอ้ ยกว่า สามวัน และใหม้ ีสาเนา งบดุลเปดิ เผยไว้ท่สี านักงานใหญ่ของพรรคการเมืองเพือ่ ให้สมาชิก ตรวจดู ไดด้ ้วย เมื่อทีป่ ระชมุ ใหญร่ บั รองงบดุลแลว้ ใหส้ ง่ งบดลุ นั้นต่อนายทะเบียนภายในสิบหา้ วนั มาตรา 37 หวั หน้าพรรคการเมือง กรรมการบริหาร ผู้ดาเนินกิจการสาขาพรรคการเมือง สมาชิกหรือบุคคลใด ๆ ใน พรรคการเมอื งท่ีเกี่ยวข้องต้องอานวยความสะดวกแกผ่ สู้ อบบัญชตี ามท่จี าเป็น สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ งบประมาณปี 2563

13 มาตรา 38 ห้ามมใิ ห้ผใู้ ดให้เงิน ทรพั ยส์ ินหรือประโยชน์อื่นใดแก่พรรคการเมืองใดหรือ สมาชกิ ผูใ้ ดเพื่อเปน็ การจูงใจ ใหพ้ รรคการเมืองหรือสมาชิกระทาการอันเป็นการ บอ่ นทาลาย ความมน่ั คงของราชอาณาจกั ร ราชบลั ลงั ก์ เศรษฐกจิ ของ ประเทศหรือราชการแผน่ ดิน หรือ กระทาการอันเป็นการก่อกวนหรอื คกุ คามความสงบเรียบร้อยหรือศลี ธรรมอนั ดีของ ประชาชน หรือกระทาการอนั เป็นการทาลายทรัพยากรของประเทศหรือเปน็ การบนั่ ทอนสขุ ภาพ อนามัยของประชาชน มาตรา 39 ห้ามมใิ หพ้ รรคการเมืองใดหรอื สมาชิกผูใ้ ดรับเงินทรัพยส์ นิ หรือประโยชน์ อืน่ ใดจากผ้ใู ด เพื่อกระทาการ อันเปน็ การบ่อนทาลายความม่นั คงของราชอาณาจักร ราชบัลลังก์ เศรษฐกิจของประเทศหรือราชการแผ่นดนิ หรือกระทา การอันเป็นการก่อกวนหรือคุกคาม ความสงบเรยี บร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือกระทาการอนั เปน็ การทาลาย ทรัพยากร ของประเทศหรอื เปน็ การบ่นั ทอนสขุ ภาพอนามัยของประชาชน มาตรา 40 หา้ มมิใหพ้ รรคการเมืองใด หรอื สมาชิกผู้ใดรับเงินทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อื่นใดเพื่อดาเนินกิจการพรรค การเมืองหรอื เพื่อดาเนินกิจการทางการเมืองจาก (1) บคุ คลผู้ไมม่ ีสญั ชาติไทย (2) นติ บิ คุ คลตามกฎหมายต่างประเทศท่ีประกอบธรุ กิจ หรอื กจิ การหรอื จดทะเบยี นสาขา อยใู่ นประเทศไทยหรือ นอกประเทศไทย (3) นิตบิ คุ คลทจ่ี ดทะเบียนในประเทศไทย ซ่งึ มีบคุ คลผู้ไม่มีสัญชาตไิ ทยมที ุนหรือเปน็ ผถู้ ือหุ้นเกินร้อยละยี่สิบห้า (4) องค์การหรอื นิติบุคคลท่ีได้รบั ทนุ จากตา่ งประเทศ ซึง่ มวี ัตถปุ ระสงค์ดาเนินกจิ การ เพื่อประโยชนข์ องบุคคลผไู้ ม่มี สัญชาติไทย หรอื มีผู้จัดการ หรือกรรมการเปน็ บคุ คลผูไ้ ม่มสี ญั ชาตไิ ทย (5) บุคคล องค์การ หรือนิตบิ ุคคลที่ไดร้ ับเงนิ ทรัพยส์ ิน หรือประโยชน์อนื่ ใด เพ่ือ ดาเนินกจิ การพรรคการเมืองหรอื เพ่อื ดาเนนิ กิจการทางการเมืองจากบุคคล องค์การ หรือ นติ ิบุคคลตาม (1) (2) (3) หรอื (4) มาตรา 41 ห้ามมิใหพ้ รรคการเมืองใดรบั บคุ คลซ่ึงไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกดิ เข้าเป็น สมาชกิ หรือดารงตาแหน่งใด ๆ ในพรรคการเมืองหรอื ยอมให้กระทาการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งเพือ่ ประโยชน์ของพรรคการเมอื ง มาตรา 42 ห้ามมใิ หบ้ ุคคล องคก์ าร หรือนิตบิ ุคคลตาม มาตรา 40 (1) (2) (3) (4) หรอื (5) ใหเ้ งิน ทรัพยส์ ิน หรือ ประโยชนอ์ น่ื ใดแกพ่ รรคการเมืองใด หรือสมาชิกผูใ้ ดเพื่อ ดาเนินกิจการพรรคการเมืองหรือเพื่อดาเนินกจิ การทางการเมือง มาตรา 43 ห้ามมิใหผ้ ไู้ ม่มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิดเข้าเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใด ๆ ในพรรคการเมือง หรอื ร่วม กระทาการอย่างใดอย่างหนงึ่ ในการดาเนนิ กิจการของพรรคการเมือง มาตรา 44 ห้ามมิให้ผู้ใดเปน็ สมาชิกของพรรคการเมืองในขณะเดยี วกันเกินกว่าหนึง่ พรรคการเมือง การลาออกจากสมาชกิ ให้ถือว่า สมบูรณ์ เม่อื ไดย้ ่ืนใบลาออกตอ่ หวั หนา้ พรรคการเมอื ง มาตรา 45 หา้ มมิใหผ้ ใู้ ดใชช้ ่อื หรอื ถอ้ ยคาในประการที่น่าจะทาใหป้ ระชาชนเขา้ ใจว่าเป็น พรรคการเมือง หรือใชช้ อ่ื ที่ มอี กั ษรไทยประกอบวา่ \"พรรคการเมือง\" หรอื อักษรตา่ งประเทศ ซ่ึง แปลหรืออา่ นวา่ \"พรรคการเมือง\" ในดวงตราปา้ ย ชอ่ื จดหมาย ใบแจ้งความหรอื เอกสารอย่างอ่นื โดยมิได้เป็นพรรคการเมือง เวน้ แต่ไดใ้ ชม้ าก่อนและขอจัดตั้งหรือจดทะเบียน พรรคการเมอื ง ภายใน เก้าสิบวันนบั แต่วนั ท่ีพระราชบญั ญัตินใี้ ช้บงั คับ มาตรา 46 พรรคการเมอื งย่อมเลกิ ดว้ ยเหตใุ ดเหตหุ นึง่ ดังต่อไปน้ี (1) มเี หตตุ ้องเลิกตามข้อบังคับของพรรคการเมือง (2) มจี านวนสมาชกิ เหลือไม่ถึงหา้ พันคน หรือมีสมาชิกซง่ึ มีท่ีอยูใ่ นจังหวัดตา่ ง ๆ จังหวัดละห้าสบิ คนไมถ่ ึงหา้ จังหวัด ของแตล่ ะภาคท้งั น้ี เปน็ เวลาตดิ ตอ่ กนั หกเดือน (3) ไม่ส่งหรอื ส่งสมาชิกสมคั ร รับเลือกตงั้ เปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรในการเลือกตั้ง ทว่ั ไปไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจานวน สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรท่ีจะพงึ มีได้ สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

14 (4) มีคาสั่งศาลส่ังยุบเลกิ พรรคการเมืองตาม มาตรา 48 (5) ไมด่ าเนินการให้เปน็ ไปตาม มาตรา 31 หรือ มาตรา 32 เมื่อมีกรณีที่พรรคการเมืองใดต้องเลิกตามวรรคหน่ึง นอกจาก (4) ใหผ้ ้ซู ึง่ เปน็ หัวหน้า พรรคการเมืองแจ้งตอ่ นาย ทะเบียนภายในเจด็ วนั นับแตว่ ันทีพ่ รรคการเมืองเลกิ เม่ือนายทะเบียนไดร้ ับ แจง้ ตามวรรคสอง หรอื กรณีปรากฏตอ่ นายทะเบียน ให้ นายทะเบยี นดาเนินการสอบสวน และย่ืนคาร้องเพ่ือใหศ้ าลฎกี ามคี าสงั่ ยุบเลิกพรรค การเมือง ดังกลา่ ว คารอ้ งตามวรรคสองให้ ย่นื ต่อศาลแพง่ และใหน้ า มาตรา 13 วรรคสองและวรรคสี่มา ใช้บงั คับโดยอนโุ ลม ในกรณีท่ีศาลฎีกามีคา สัง่ ให้ยุบเลิกพรรคการเมืองใดแลว้ ใหน้ ายทะเบียนประกาศคาส่งั การยบุ เลิกพรรคการเมือง นั้นในราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา 47 เมือ่ พรรคการเมืองกระทาการดังตอ่ ไปนี้ อาจถูกศาลสั่งยุบเลกิ (1) กระทาการอันอาจเป็นปฏิปกั ษต์ ่อ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมขุ ตาม รฐั ธรรมนูญ (2) กระทาการอันอาจเปน็ ภัยต่อความมน่ั คงของรัฐ ขัดตอ่ กฎหมาย หรือ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอันดีของ ประชาชน หรอื (3) การกระทาการฝ่าฝืน มาตรา 39 มาตรา 40 หรือ มาตรา 41 มาตรา 48 เมอื่ ปรากฏต่อนายทะเบยี นวา่ พรรคการเมืองใดกระทาการตาม มาตรา 47 หรอื ไดร้ ับแจ้งจากคณะ กรรมการบรหิ ารของพรรคการเมอื งวา่ พรรคการเมืองใดกระทาการ ตาม มาตรา 47 ใหแ้ จง้ ตอ่ อธบิ ดีกรมอัยการพร้อมดว้ ย หลกั ฐานถา้ อธิบดีกรมอัยการเหน็ สมควร กใ็ หย้ ื่นคาร้องเพ่อื ใหศ้ าลฎีกามีคาสั่งยุบเลิกพรรคการเมืองดงั กลา่ ว คารอ้ งตามวรรคหนึง่ ให้ ย่นื ต่อศาลแพ่งและใหน้ า มาตรา 13 วรรคสอง และวรรคส่ี มา ใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม ในกรณีท่ีศาลฎกี ามีคาส่ังให้ยุบเลิกพรรคการเมืองใดแล้ว ใหน้ ายทะเบียนประกาศคาส่งั การยุบเลกิ พรรคการเมอื ง น้ันในราชกจิ จานเุ บกษา หากนายทะเบียนเห็น สมควรจะให้ระงับ การดาเนนิ การของพรรคการเมืองซง่ึ กระทาการ ตาม มาตรา 47 ให้นาย ทะเบียนแจง้ ต่ออธบิ ดีกรมอยั การขอให้ ศาลฎีกาสัง่ ระงบั การกระทาดงั กลา่ ว ของพรรคการเมอื งไวเ้ ปน็ การช่วั คราวด้วยก็ได้ มาตรา 49 ในกรณีที่พรรคการเมืองเลิกตาม มาตรา 46 ใหส้ านักงานตรวจเงินแผน่ ดิน เปน็ ผชู้ าระบญั ชี เมื่อไดห้ กั หนส้ี นิ และค่าใช้จา่ ยในการชาระบญั ชแี ล้ว ยังมีทรัพย์ในเหลืออยู่เท่าใด ให้โอนให้แก่องคก์ ารสาธารณกศุ ลตามท่รี ะบุไวใ้ น ขอ้ บงั คบั ของพรรคการเมือง ถา้ ในข้อบังคับ ไม่ไดร้ ะบุ ก็ให้ทรพั ย์สินทเี่ หลอื นัน้ ตกเป็นของรฐั มาตรา 50 ผูใ้ ดเพื่อประโยชนใ์ นการจัดตั้งพรรคการเมือง แจง้ รายนามสมาชิกตาม มาตรา 21 โดยรูอ้ ยวู่ า่ เปน็ ความ เทจ็ ประกาศหรอื โฆษณาเชิญชวนผ้ใู ดเข้าเปน็ สมาชกิ โดยไม่มี หนังสอื รับรองการแจง้ หรือประกาศโฆษณาเชิญชวนให้ผดิ ไป จากรายการในหนังสอื เชญิ ชวนซ่ึง ขอ้ ความในประกาศหรอื ข้อความน้ันเป็นภัยตอ่ ความม่ันคงของรัฐหรอื ขัดตอ่ กฎหมาย หรือ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมุข ตามรัฐธรรมนูญ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินสองหมืน่ บาท มาตรา 51 หัวหน้าพรรคการเมืองผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ติ าม มาตรา 27 วรรคหนึ่ง หรอื มาตรา 28 วรรคหนงึ่ ต้องระวาง โทษปรบั ไมเ่ กินหา้ พันบาท มาตรา 52 หวั หน้าพรรคการเมืองผู้ใดไมป่ ฏบิ ัตติ ามคาส่งั ของนายทะเบียนซึ่งสั่งตาม มาตรา 28 วรรคสาม ตอ้ ง ระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หนึ่งหมื่นบาท มาตรา 53 ผู้ใดไมป่ ฏบิ ัติตามคาสง่ั ของนายทะเบยี นซ่ึงสั่งตาม มาตรา 29 ตอ้ งระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าพนั บาท สรุปผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

15 มาตรา 54 หวั หนา้ พรรคการเมืองหรือผดู้ าเนินกิจการสาขาพรรคการเมอื งผู้ใดไม่จดั ให้ ทาบัญชตี าม มาตรา 35 หรอื ไม่จัดให้ทาบัญชีรายรบั รายจ่ายและงบดลุ ตาม มาตรา 36 ต้องระวางโทษ ปรบั ไมเ่ กินสองหมืน่ บาท มาตรา 55 หวั หน้าพรรคการเมือง กรรมการบริหาร ผ้ดู าเนินกจิ การสาขาพรรคการเมือง สมาชิกหรือบุคคลใด ไม่ อานวยความสะดวกแก่ผสู้ อบบญั ชตี าม มาตรา 37 ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ หนึ่งหม่ืนบาท มาตรา 56 ผใู้ ดมหี น้าท่ีในการจัดทาบัญชขี องพรรคการเมอื งตาม มาตรา 35 ละเวน้ การลงรายการในบัญชลี ง รายการเทจ็ ในบัญชี แกไ้ ขบัญชี หรือซอ่ นเร้น หรอื ทาหลกั ฐานใน การลงบัญชีอนั จะเป็นผลให้การแสดงท่ีมาของรายได้และ การใชจ้ า่ ยของพรรคการ เมืองไม่ถูกต้อง ตามท่ีเปน็ จรงิ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หนึง่ แสนบาท มาตรา 57 หวั หนา้ พรรคการเมือง หรอื ผู้ดาเนินกจิ การสาขาพรรคการเมืองผใู้ ด โดยทจุ ริตไม่ปฏิบตั ิตาม มาตรา 35 หรอื มาตรา 36 ตอ้ งระวางโทษปรบั ต้งั แตส่ องหมื่นบาท ถงึ หน่งึ แสนบาท มาตรา 58 ผู้ใดฝ่าฝืน มาตรา 38 ตอ้ งระวางโทษจาคุกตงั้ แต่หน่งึ ปถี งึ ห้าปี หรอื ปรบั ต้งั แต่หนง่ึ แสนบาทถึงห้าแสน บาท หรือทั้งจาท้งั ปรบั มาตรา 59 กรรมการบรหิ ารผู้ดาเนินกิจการสาขาพรรคการเมืองหรือสมาชิกผูใ้ ดจดั ให้ พรรคการเมืองกระทาการฝา่ ฝืน มาตรา 39 หรอื มาตรา 40 ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแตส่ องปี ถึงสบิ ปี หรอื ปรับตั้งแตส่ องแสนบาทถงึ หน่งึ ลา้ นบาท หรอื ทัง้ จาทั้งปรบั มาตรา 60 กรรมการบรหิ าร หรือผดู้ าเนินกจิ การสาขาพรรคการเมืองผู้ใดรู้อยแู่ ล้วแต่ จัดใหพ้ รรคการเมืองกระทา การฝ่าฝนื มาตรา 41 ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ สองปี หรือปรับไม่ เกนิ สหี่ ม่นื บาทหรอื ท้งั จาทัง้ ปรับ มาตรา 61 ผูใ้ ดฝ่าฝนื มาตรา 42 ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินสบิ ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน หนึง่ ล้านบาท หรอื ท้งั จาทงั้ ปรับ และถา้ ผู้ฝา่ ฝนื ใดไมม่ สี ญั ชาติไทย ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงมหาดไทยส่ังเนรเทศออกจากประเทศไทยดว้ ย มาตรา 62 ผู้ใดฝ่าฝืน มาตรา 43 ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสองปี หรือปรับไมเ่ กินสี่ หมื่นบาท หรือทัง้ จาทั้งปรับ และถา้ ผู้ฝ่าฝืนใดไมม่ สี ัญชาติไทยโดยการเกดิ ให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยสัง่ เพิกถอนสัญชาติไทยและเนรเทศออก จากประเทศไทยด้วย มาตรา 63 ผ้ใู ดฝา่ ฝนื มาตรา 44 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ หน่ึงหม่ืนบาท มาตรา 64 ผูใ้ ดฝา่ ฝืน มาตรา 45 ตอ้ งระวางโทษปรับต้ังแต่หน่งึ หมน่ื บาทถึงหนึง่ แสนบาท และปรับอีกวันละสองรอ้ ย บาท จนกว่าจะเลกิ ใช้ มาตรา 65 หัวหนา้ พรรคการเมอื งผ้ใู ดไม่ปฏบิ ตั ติ าม มาตรา 46 วรรคสอง ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกนิ ห้าพันบาท มาตรา 66 ผู้ใดโดยเจตนาสมคบกนั ตัง้ แต่สิบห้าคนข้ึนไปดาเนนิ กิจการเช่นเดยี วกับ พรรคการเมืองหรอื เขา้ ลักษณะ เปน็ พรรคการเมืองโดยมิได้จดทะเบียนพรรคการเมือง เว้นแต่ ในกรณดี าเนนิ กิจการเพื่อขอจดั ต้ังหรือจดทะเบยี นพรรค การเมือง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน สิบปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ สองแสนบาท สรุปผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

16 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ งำน การดาเนนิ โครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชวี ิตประจาวัน ได้ดาเนนิ การตามขนั้ ตอนต่างๆ ดงั น้ี 1. ขัน้ เตรียมกำร  กำรศกึ ษำเอกสำรทเี่ ก่ียวข้องกับโครงกำรอบรมให้ควำมรกู้ ฎหมำยในชีวิตประจำวัน ผู้รบั ผิดชอบโครงการได้ศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารทเ่ี กีย่ วข้องเพ่ือเป็นข้อมลู และแนวทางในการดาเนินการโครงการอบรม ใหค้ วามรู้กฎหมายในชวี ิตประจาวนั ดงั นี้ 1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนังสอื เกย่ี วกับความรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวัน เพ่ือเป็นแนวทางเกยี่ วกบั การ จัดโครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชีวิตประจาวนั 2. ศึกษาขัน้ ตอนการดาเนินโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวิตประจาวนั เพอ่ื เป็นแนวทางในการจดั เตรียมงาน วัสดุอปุ กรณ์ และบุคลากรใหเ้ หมาะสม  กำรสำรวจควำมตอ้ งกำรของประชำชนในพ้นื ที่ (ตำมนโยบำยของรัฐบำล) กลมุ่ ภารกิจ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล สารวจความตอ้ งการของ กลุ่มเปา้ หมายเพ่ือทราบความต้องการท่แี ทจ้ ริงของประชาชนในตาบล และมีข้อมลู ในการจดั กจิ กรรมท่ีตรงกับความต้องการ ของชมุ ชน  กำรประสำนงำนผูน้ ำชมุ ชน / ประชำชน /วทิ ยำกร 1. ครู กศน.ตาบล ไดป้ ระสานงานกบั หัวหนา้ /ผูน้ าชมุ ชนและประชาชนในตาบลเพ่ือรว่ มกันปรกึ ษาหารือใน กลุ่มเก่ียวกับการดาเนินการจัดโครงการใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน 2. ครู กศน.ตาบล ไดป้ ระสานงานกบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องเพอื่ จัดหาวิทยากร  กำรประชำสัมพันธ์โครงกำรฯ ครู กศน.ตาบล ได้ดาเนินการประชาสมั พันธก์ ารจัดโครงการอบรมใหค้ วามรกู้ ฎหมายในชีวติ ประจาวัน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทราบข้อมูลการจดั กิจกรรมดงั กล่าวผ่านผนู้ าชุมชน  ประชุมเตรียมกำร / วำงแผน 1) ประชุมปรึกษาหารือผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง 2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายตา่ งๆ เตรียมดาเนินการ 3) มอบหมายหน้าที่ แต่งตงั้ คณะทางาน  กำรรบั สมคั รผเู้ ขำ้ ร่วมโครงกำรฯ ครู กศน.ตาบล ได้รบั สมัครผู้เขา้ รว่ มโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชวี ติ ประจาวนั โดยให้ประชาชน ทัว่ ไปที่อาศยั อยู่ในพน้ื ที่ตาบลกฏุ โง้ง เข้ารว่ ม เปา้ หมายจานวน 22 คน  กำรกำหนดสถำนท่ีและระยะเวลำดำเนนิ กำร ครู กศน.ตาบล ได้กาหนดสถานที่ในการจดั อบรมคือ กศน.ตาบลกฎุ โง้ง หมู่ท6ี่ ตาบลกุฎโง้ง อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี ในวนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2563 จานวน 1 วัน เวลา 08.30-12.00 น. สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

17 2. ข้ันดำเนินงำน  กลุ่มเป้ำหมำย กล่มุ เป้าหมายของโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชวี ิตประจาวัน -ประชาชนตาบลกฎุ โง้ง จานวน 20 คน  สถำนที่ดำเนินงำน ครู กศน.ตาบลกฎุ โงง้ จดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชวี ติ ประจาวนั โดยจดั กจิ กรรมอบรมให้ความรู้ ในวันท่ี 7 มถิ ุนายน พ.ศ. 2562 เวลา 08.30-12.30 น. ณ กศน.ตาบลกฎุ โง้ง หมู่ที่6 ตาบลกุฎโงง้ อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี  กำรขออนมุ ตั แิ ผนกำรจัดกิจกรรมกำรศึกษำเพ่อื พัฒนำทกั ษะชีวิต กศน.ตาบลกุฎโงง้ ไดด้ าเนนิ การขออนุมัตแิ ผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต โครงการ อบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวัน ตอ่ สานักงาน กศน.จงั หวัดชลบุรี เพือ่ ให้ตน้ สังกัดอนุมตั ิแผนการจดั กิจกรรม การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ  กำรจดั ทำเครื่องมือกำรวัดควำมพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ  ข้ันดำเนนิ กำร / ปฏิบัติ 1. เสนอโครงการเพือ่ ขอความเห็นชอบ/อนุมัตจิ ากต้นสงั กัด 2. วางแผนการจัดกจิ กรรมในโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชวี ติ ประจาวนั โดยกาหนดตารางกจิ กรรมที่กาหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ กผ่ ูร้ ับผิดชอบฝา่ ยต่างๆ 4. แตง่ ตง้ั คณะกรมการดาเนนิ งาน 5. ประชาสัมพนั ธ์โครงการอบรมใหค้ วามรูก้ ฎหมายในชีวติ ประจาวัน 6. จดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชวี ิตประจาวัน ตามตารางกิจกรรมท่ีกาหนดการ 7. ตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชวี ิตประจาวัน 3. กำรประเมินผล  วิเครำะห์ข้อมูล 1. บนั ทกึ ผลการสงั เกตจากผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 2. วเิ คราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 3. รายงานผลการปฏิบัติงานรวบรวมสรุปผลการปฏิบตั ิงานของโครงการนาเสนอต่อผู้บริหารนาปัญหา ขอ้ บกพร่องไปแก้ไขคร้ังตอ่ ไป สรุปผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

18  คำ่ สถิติทใี่ ช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสาเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามคดิ เปน็ รายขอ้ โดยแปลความหมายค่าสถิติรอ้ ยละออกมาไดด้ งั นี้ คา่ สถิตริ อ้ ยละ 90 ขน้ึ ไป ดีมาก คา่ สถิตริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี ค่าสถิติร้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ คา่ สถติ ิร้อยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง คา่ สถติ ิรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรับปรุงเรง่ ดว่ น ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้าหนักคะแนน และ นามาเปรยี บเทยี บ ได้ระดับคณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้ เกณฑ์การประเมนิ (X) ค่าน้าหนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ คือ ดีมาก ค่านา้ หนกั คะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคุณภาพ คอื ดี ค่าน้าหนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คณุ ภาพ คือ พอใช้ ค่านา้ หนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ต้องปรบั ปรุง ค่าน้าหนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

19 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนนิ งำนและกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู ตอนท่ี 1 รำยงำนผลกำรจดั กจิ กรรมโครงกำรอบรมให้ควำมรูก้ ฎหมำยในชีวิตประจำวนั การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชีวติ ประจาวนั สรปุ รายงานผลการจัดกิจกรรมไดด้ งั นี้ ในการจัดกจิ กรรมอบรมให้ความร้ตู ามโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชวี ติ ประจาวัน เป็นการอบรมให้ ความรู้ โดยมี นายประกาย รตั นมณี เป็นวทิ ยากรในการบรรยายให้ความรู้ เรือ่ ง กฎหมายในชีวติ ประจาวันทีป่ ระชาชนควร รู้หลังจากเสรจ็ สน้ิ กจิ กรรมดังกล่าวแล้ว ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม มคี วามรู้ ความเข้าใจกฎหมายท่เี ก่ียวข้องในชีวติ ประจาวัน และนา ความรทู้ ีไ่ ด้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจาวนั ตอนท่ี 2 รำยงำนผลควำมพึงพอใจของโครงกำรอบรมให้ควำมรูก้ ฎหมำยในชีวิตประจำวัน การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชวี ติ ประจาวัน ซึ่งสรปุ รายงานผลจากแบบสอบถามความคดิ เหน็ ข้อมูลท่ีไดส้ ามารถวิเคราะห์และแสดงคา่ สถติ ิ ดังน้ี ตำรำงท่ี 1 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามเพศ รำยละเอยี ด เพศ หญงิ ชาย 16 72.72 จานวน (คน) 6 รอ้ ยละ 27.28 จากตารางที่ 1 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามทีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต โครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชวี ติ ประจาวัน เปน็ ชาย 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.28 และเปน็ หญงิ จานวน 16 คน คดิ เป็นร้อยละ 72.72 ตำรำงที่ 2 ผเู้ ข้าร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ปี) อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ขนึ้ ไป 10 8 จานวน (คน) 1 1 2 45.45 36.36 รอ้ ยละ 4.55 4.55 9.09 จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ โครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชวี ติ ประจาวัน มอี ายุ 15-29 ปี จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 4.55 มีอายุ 30 – 39 ปี จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.55 มอี ายุ 40 – 49 ปี จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09 มีอายุ 50 – 59 ปี จานวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45.45 และมีอายุ 60 ปีขน้ึ ไป จานวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 36.36 สรุปผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

20 ตำรำงที่ 3 ผู้เขา้ รว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามอาชีพ รำยละเอียด เกษตรกรรม รับจา้ ง อำชพี ค้าขาย อ่ืนๆ รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ - 3 - 13.64 จานวน (คน) 2 17 - รอ้ ยละ 9.09 77.27 - จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทเี่ ขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชวี ติ ประจาวนั มอี าชีพเกษตรกรรม จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.09 มอี าชพี รับจ้าง จานวน 17 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77.27 และอาชีพอน่ื ๆ จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 13.64 ตำรำงท่ี 4 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามระดบั การศึกษา รำยละเอยี ด ระดบั กำรศึกษำ การศึกษา ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีขนึ้ ไป 8 จานวน (คน) - 5 9 36.36 ร้อยละ - 22.73 40.91 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ โครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวัน มีระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 22.73 มีระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 40.91 และมีระดบั ปวส./ป.ตรี ขน้ึ ไป จานวน 8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.36 ตำรำงท่ี 5 แสดงค่าร้อยละเฉล่ียความสาเรจ็ ของตัวช้วี ัด ผลผลติ ประชาชนทั่วไป เขา้ รว่ มโครงการจานวน 22 คน ผลสำเร็จของโครงกำร เป้ำหมำย(คน) ผ้เู ข้ำรว่ มโครงกำร(คน) คิดเปน็ ร้อยละ 20 22 100 จากตารางที่ 5 พบวา่ ผลสาเร็จของตัวช้วี ดั ผลผลติ กิจกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ โครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวัน มผี เู้ ขา้ ร่วมโครงการ จานวน 22 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ซง่ึ บรรลุ เปา้ หมายด้านตัวช้วี ดั ผลผลติ สรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต งบประมาณปี 2563

21 ตำรำงท่ี 6 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมที่มีความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมให้ ความรกู้ ฎหมายในชีวติ ประจาวนั ในภำพรวม รายการ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับ ความพึงพอใจ ดา้ นบริหารจดั การ () () ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.50 0.63 ดีมาก ดา้ นประโยชนท์ ่ไี ด้รบั 4.51 0.53 ดีมาก รวมทกุ ดา้ น 4.66 0.48 ดีมาก 4.56 0.55 ดีมาก จากตารางท่ี 6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทม่ี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวนั ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดีมาก (=4.50) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า ด้านประโยชน์ทไี่ ดร้ บั อยู่ในระดบั มากท่สี ุด มีค่าเฉลีย่ (= 4.66) รองลงมาคอื ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ มอี ยูใ่ นระดบั ดมี าก มคี ่าเฉล่ีย (= 4.51) และ ด้านบริหารจดั การ อยู่ในระดับดมี าก มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) ตามลาดับ โดยมสี ่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.50 - 0.59 แสดงว่า ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจสอดคล้องกนั ตำรำงที่ 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ ความรกู้ ฎหมายในชีวติ ประจาวัน ด้ำนบริหำรจัดกำร รายการ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ ความพงึ พอใจ 1. อาคารสถานท่ี () มาตรฐาน () 2. ส่ิงอานวยความสะดวก 4.77 0.42 ดมี าก 3. กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 4.45 0.58 ดี 4. เอกสารการอบรม 4.27 0.45 ดี 5. วิทยากรผู้ให้การอบรม 4.59 0.72 4.41 0.78 ดีมาก รวม 4.50 0.59 ดี ดมี าก จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน ด้านบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อาคารสถานท่ี มีค่าเฉล่ีย (= 4.77) รองลงมา คือ เอกสารการอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.59) สิ่งอานวยความสะดวก มี ค่าเฉล่ีย (= 4.45) วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.41) กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ มี ค่าเฉล่ีย (= 4.27) ตามลาดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.42 - 0.78 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมี ความคดิ เหน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

22 ตำรำงท่ี 8 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ ความรู้กฎหมายในชีวติ ประจาวัน ดำ้ นกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ รายการ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบน ระดับ () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความร้กู ฎหมายใน ชวี ิตประจาวัน 4.41 0.49 ดี 7. การให้ความร้เู ร่ืองกฎหมายในชวี ติ ประจาวนั 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.50 0.50 ดมี าก 4.86 0.34 ดีมาก 9. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของผู้เขา้ รับการอบรม 4.32 0.47 10. การสรปุ องค์ความรรู้ ว่ มกัน 4.55 0.66 ดี 11. การวดั ผล ประเมินผล การฝึกอบรม 4.41 0.49 ดมี าก 4.51 0.49 รวม ดี ดีมาก จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอย่ใู นระดับดมี าก มคี ่าเฉลยี่ (= 4.51) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การตอบขอ้ ซกั ถามของวิทยากร มคี า่ เฉล่ีย (= 4.86) รองลงมาคือ การสรุปองค์ความรรู้ ว่ มกัน มคี ่าเฉล่ยี (= 4.55 ) การให้ความรู้เร่ืองกฎหมายในชีวิตประจาวัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.50 ) การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ กฎหมายในชีวิตประจาวัน มีค่าเฉลี่ย (=4.41) การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.41) และการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม ( = 4.32) ตามลาดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.34 - 0.66 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคดิ เห็นสอดคล้องกัน ตำรำงท่ี 9 คา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมทม่ี ีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมให้ ความรูก้ ฎหมายในชวี ติ ประจาวัน ด้ำนประโยชน์ทีไ่ ด้รบั รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบีย่ งเบน ระดับความ () มาตรฐาน () พึงพอใจ 12. ไดเ้ รียนรู้และฝึกตนเอง เกยี่ วกบั กฎหมายใน ชีวิตประจาวนั 4.73 0.45 ดมี าก 13. นาความรทู้ ไี่ ดร้ ับมาปรับใช้ในชวี ติ ประจาวนั 4.59 0.49 ดีมาก รวม 4.66 0.47 ดมี าก สรุปผลการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

23 จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้กฎหมายในชีวิตประจาวัน ด้านประโยชน์ท่ไี ด้รบั ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.66) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ได้เรียนรู้และฝึก ตนเอง เก่ียวกับกฎหมายในชีวิตประจาวัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.73) รองลงมา นาความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.59) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.45 - 0.49 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ คิดเห็นไปในทิศทางเดยี วกนั สรุปในภำพรวมของกิจกรรมคิดเปน็ รอ้ ยละ 90.56 มีคำ่ นำ้ หนักคะแนน 4.53 ถือว่ำผู้รับบริกำร มีควำมพงึ พอใจทำงดำ้ นตำ่ งๆ อย่ใู นระดับดีมำก โดยเรียงลำดบั ดงั น้ี  อนั ดบั แรก ดา้ นดา้ นประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ คิดเปน็ ร้อยละ 93.18 มคี า่ น้าหนักคะแนน 4.66 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดมี าก  อนั ดบั สอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 90.15 มคี า่ นา้ หนักคะแนน 4.51 อยู่ในระดบั คณุ ภาพดี  อันดับสำม ด้านบริหารจัดการ คดิ เปน็ ร้อยละ 90.00 มีคา่ นา้ หนักคะแนน 4.50 อย่ใู นระดบั คณุ ภาพดี สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต งบประมาณปี 2563

บทท่ี 5 24 อภปิ รำยและข้อเสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชวี ิตประจาวัน ได้ผลสรุปดงั นี้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเขา้ ใจกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อให้ผู้รว่ มกจิ กรรม นาความรู้ทีไ่ ด้รับมาปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวัน เป้ำหมำย (Outputs) เปำ้ หมำยเชิงปรมิ ำณ - ประชาชนตาบลกุฎโงง้ จานวน 22 คน เป้ำหมำยเชิงคุณภำพ - ประชาชนตาบลกุฎโงง้ มคี วามรู้ ความเข้าใจกฎหมายที่เก่ียวข้องในชวี ิตประจาวนั และนาความรูท้ ่ีได้รับ มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวัน เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นกำรเก็บรวบรวมข้อมูล เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในครง้ั นี้ คือ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบลกุฎโง้ง ท่ีรบั ผิดชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความพึง พอใจให้กบั ผรู้ ่วมกจิ กรรม โดยใหผ้ ูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมประเมินผลการจดั กจิ กรรมต่างๆ ตามโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายใน ชีวติ ประจาวนั สรุปผลกำรดำเนินงำน กศน.ตาบลกฎุ โงง้ ไดด้ าเนนิ การจัดกิจกรรมตาม โครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายในชวี ติ ประจาวัน โดยดาเนินการ เสรจ็ สิ้นลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งานไดด้ ังน้ี 1. ผรู้ ว่ มกจิ กรรมจานวน 22 คน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องในชวี ติ ประจาวัน และนาความรู้ที่ไดร้ บั มาปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 2. ผูร้ ว่ มกจิ กรรมร้อยละ 93.18 นาความรูท้ ี่ได้รบั มาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน 3. จากการดาเนินกจิ กรรมตามโครงการดงั กลา่ ว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจ ต่อโครงการ อย่ใู นระดับ “ดมี ำก ” และบรรลุความสาเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัดผลลัพธท์ ต่ี ัง้ ไว้ โดยมีคา่ เฉล่ียรอ้ ยละภาพรวม ของกิจกรรม 90.56 และคา่ การบรรลเุ ปา้ หมายค่าเฉลีย่ 4.53 ข้อเสนอแนะ - อยากให้มีการจัดกิจกรรมอีก จะไดน้ าความรู้ไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ ตอ่ ไป สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ งบประมาณปี 2563

บรรณำนุกรม ที่มา กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2546) บุญชม ศรีสะอาด และ บุญส่ง นลิ แกว้ (2535 หนา้ 22-25) กระทรวงศึกษาธิการ . (2543). http://singkle.blogspot.com/p/blog-page_6535.html สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ งบประมาณปี 2563

ภำคผนวก สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

รำยงำนผลกำรจัดกิจกรรม โครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชีวิตประจาวัน จานวน 1 วัน ในวันที่ 30 มกราคม 2563 ณ กศน.ตาบลกุฎโงง้ หมู่ท่ี 6 ตาบลกุฎโง้ง อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี วทิ ยากรคือ นายประกาย รัตนมณี ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมจานวน 22 คน สรุปผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

แบบสอบถำมควำมพงึ พอใจ โครงกำรอบรมให้ควำมรู้กฎหมำยในชวี ิตประจำวัน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลกฎุ โงง้ อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี คำช้แี จง 1. แบบสอบถามฉบบั นม้ี ีวัตถุประสงค์ เพ่ือใช้ในการสอบถามความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมใหค้ วามรู้กฎหมายในชวี ิตประจาวนั 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดงั นี้ ตอนที่ 1 ถามขอ้ มูลเก่ียวกบั ผตู้ อบแบบสอบถามจานวน 4 ข้อ ให้ทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งใหต้ รงกับสภาพจรงิ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมใหค้ วามร้กู ฎหมายในชวี ิตประจาวนั จานวน 13 ขอ้ ซ่ึงมรี ะดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังน้ี 5 มากท่สี ุด หมายถึง มีความพึงพอใจมากท่ีสดุ 4 มาก หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก 3 ปานกลางหมายถงึ มคี วามพงึ พอใจปานกลาง 2 นอ้ ย หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ย 1 น้อยท่ีสดุ หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ ตอนท่ี 3 ขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการอบรมใหค้ วามรกู้ ฎหมายในชวี ิตประจาวนั ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถำม หญงิ 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปีข้นึ ไป อำยุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี กำรศกึ ษำ ต่ากว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ประกอบอำชพี อนุปริญญา ปริญญาตรี สงู กว่าปรญิ ญาตรี รบั จา้ ง ค้าขาย เกษตรกร ลกู จา้ ง/ข้าราชการหนว่ ยงานภาครัฐหรือเอกชน อืน่ ๆ …………………………………. สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

ตอนที่ 2 ควำมพึงพอใจเกย่ี วกบั โครงกำรอบรมให้ควำมรกู้ ฎหมำยในชวี ติ ประจำวัน ข้อท่ี รำยกำร ระดบั ควำมคิดเหน็ 1 5 432 ดำ้ นบริหำรจัดกำร 1. อาคารและสถานท่ี 2. สงิ่ อานวยความสะดวก 3. กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วทิ ยากรผ้ใู ห้การอบรม ด้ำนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 6. การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรกู้ ฎหมายใน ชีวติ ประจาวัน 7. การใหค้ วามรเู้ รื่องกฎหมายในชีวติ ประจาวัน 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ของผเู้ ข้ารับการอบรม 10. การสรปุ องค์ความรรู้ ่วมกนั 11. การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม ดำ้ นประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั 12 ได้เรยี นร้แู ละฝึกตนเอง เก่ยี วกับกฎหมายในชีวติ ประจาวนั 13 นาความร้ทู ไี่ ด้รบั มาปรับใช้ในชีวิตประจาวนั ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ข้อคิดเหน็ .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคุณท่ีใหค้ วามร่วมมือ กศน. อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563

คณะผจู้ ัดทำ ท่ปี รึกษำ หมน่ื สา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนัสนิคม การงานดี ครู 1. นางณชั ธกญั ศรีเทพ บรรณารักษป์ ฏิบตั ิการ 2. นางสาวมทุ ิกา คลังสินธ์ ครู อาสาสมคั ร กศน. 3. นางปลื้มจติ ร 4. นางสาวเฟอ่ื งฟา้ เขียวหวาน ครู กศน.ตาบลกฎุ โงง้ คณะทำงำน เขยี วหวาน ครู กศน.ตาบลกุฎโง้ง - นายธีรพงศ์ บรรณำธกิ ำร - นายธีรพงศ์ สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ งบประมาณปี 2563

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต งบประมาณปี 2563


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook