Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติอาเซียน

ประวัติอาเซียน

Published by phatcharaphon, 2020-07-29 02:45:01

Description: ประวัติอาเซียน

Search

Read the Text Version

Association of Southeast Asian Nations(ASEAN) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ้

จาก ASA สู่ ASEAN สมาคมเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตห้ รอื สมาคมอาสา (Association of South-East Asia – ASA) กอ่ ตงั้ ขนึ้ เมอื่ 31 กรกฎาคม 2504 มสี มาชกิ 3 ประเทศไดแ้ ก่ ฟิ ลปิ ปิ นส ์สหพนั ธม์ ลายา และไทย โดยมวี ตั ถปุ ระสงค ์ เพอื่ ชว่ ยเหลอื กนั ทางเศรษฐกจิ และวฒั นธรรม แตเ่ กดิ การขดั แยง้ กนั เรอื่ งดนิ แดนระหวา่ งสหพนั ธม์ ลายา กบั ฟิ ลปิ ปิ นส ์ในปลายปี พ.ศ. 2505 ความสมั พนั ธเ์ ลยเหนิ หา่ งกนั ไป ตอ่ มาปี พ.ศ. 2509 จึงหันมาคนื ดีกันใหมอ่ กี ครงั้ สิงคโปร์ขอแยกตัวออกจากสหพนั ธม์ ลายา ในปี พ.ศ. 2508 และสหพนั ธม์ ลายาเปลีย่ นช่อื เป็นประเทศ มาเลเซีย

จาก ASA สู่ ASEAN การรวมตวั กนั ครงั้ นีม้ กี ารการขยายแนวคดิ ไปยงั ประเทศตา่ ง ๆ หลายประเทศจนสามารถรวมตวั กนั ได ้ โดยรวมตวั กนั ครง้ั แรกเมอื่ 8 สงิ หาคม 2510 ทกี่ รงุ เทพฯ จงึ ถอื เอาวนั ที่ 8 สงิ หาคม ของทกุ ปี เป็ นวนั อาเซยี น

กาเนิด ASEAN ASEAN ก่อต้งั ข้ึนโดยปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ลงนามโดย รฐั มนตรจี าก 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ นาอาดมั มาลกิ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ตนุ อบั ดลุ ราซกั บนิ ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง พฒั นาการแห่งชาติประเทศมาเลเซีย นายนาซโิ ซ รามอส รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการตา่ งประเทศสาธารณรฐั ฟิ ลปิ ปิ นส ์นายเอส ราชารัตนมั รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ และพนั เอก (พเิ ศษ) ดร.ถนัด คอมนั ตร ์รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการ ต่างประเทศ ราชอาณาจกั รไทย

กาเนิด ASEAN สมาคมประชาชาติเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรือ “อาเซียน” ถือกาเนิดข้ึนในเชา้ วนั องั คารท่ี 8 สิงหาคม 2510 เวลา 10.50 ภายในหอ้ งโถงใหญข่ องพระราชวงั สราญรมย์ ที่ทาการของกระทรวง การต่างประเทศ วตั ถุประสงคข์ องการกอ่ ตงั้ อาเซยี น คอื เพอื่ สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กนั ระหวา่ งประเทศในภมู ภิ าค ธารงไว ้ ซงึ่ สนั ตภิ าพเสถยี รภาพ และความม่นั คงทางการเมอื ง สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นเศรษฐกจิ การ พฒั นาทางสงั คม และ วฒั นธรรมการกนิ ดอี ยดู่ ขี อง ประชาชนบนพนื้ ฐานของความเสมอภาคและ ผลประโยชนร์ ว่ มกนั ของประเทศสมาชกิ

พนั เอก (พเิ ศษ) ดร. ถนัด คอมนั ตร ์เป็ นนักการทูตและการตา่ งประเทศ ผูไ้ ดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็ นผูม้ ี วสิ ยั ทศั นท์ กี่ วา้ งไกล และเป็ นบดิ าผูใ้ หก้ าเนิดอาเซยี น ดว้ ยคดิ รเิ รมิ่ ของทา่ น ทจี่ ะสรา้ งความรว่ มมอื ใน ระดบั ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ้

วนั ศกุ รท์ ี่ 4 สงิ หาคม 2510 ก่อนเร่ิมการประชุม 4 วนั ดร. ถนดั คอมนั ตร์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการ ต่างประเทศ โดยการเรียนเชิญผนู้ าท้งั 3 ท่าน ยกเวน้ รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย เดินทางไปท่ีบา้ นพกั รับรองของ รัฐบาล ซ่ึงต้งั อยทู่ ่ีเขาสามมุข บางแสน โดยที่ประชุมแห่งน้นั มีช่ือวา่ “บา้ นแหลมแท่น” ซ่ึงเป็นบา้ นพกั รับรองของ สานกั นายกรัฐมนตรี โดยแบง่ เป็ นการประชมุ อยา่ งไมเ่ ป็ น ทางการ 2 วนั ทบี่ างแสน และการ ประชมุ อยา่ งเป็ นทางการอกี 2 วนั ที่กรุงเทพ การประชมุ ในครง้ั นีเ้ ป็ นการประชมุ ภายใตบ้ รรยากาศของ “Spirit of Bangsaen” หรือ “จิตวิญญาณแห่งบางแสน” ซ่ึงอีกไมก่ ่ีวนั ต่อมา ความเขา้ ใจร่วมกนั ที่บา้ นแหลมแท่น ไดถ้ กู นามาเป็นหลกั การ และกรอบการเจรจา เพอื่ จดั ต้งั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน และเป็ นสาระสาคญั ทนี่ าไปสกู่ ารจดั ทาเอกสารปฏญิ ญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)

ปฏิญญากรุงเทพฯ(Bangkok Deมclaration) ไดร้ ะบวุ ตั ถปุ ระสงคส์ าคญั 7 ประการของการจดั ตง้ั อาเซยี น ไดแ้ ก่ 1 . ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ล ะ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ซ่ึ ง กัน แ ล ะ กัน ใ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม วัฒ น ธ ร ร ม เ ท ค โ น โ ล ยี วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมน่ั คงส่วนภูมิภาค 3 . เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พัฒ น า ก า ร ท า ง วัฒ น ธ ร ร ม ใ น ภู มิ ภ า ค 4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็ นอยู่และคุณภาพชีวิตท่ีดี 5 . ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ซ่ึ ง กัน แ ล ะ กัน ใ น รู ป ข อ ง ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะ ก า ร วิ จัย แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า ด้า น เ อ เ ชี ย ต ะ วัน อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ 6. เพ่ิมประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการคา้ ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม 7 . เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ อ า เ ซี ย น กับ ป ร ะ เ ท ศ ภ า ย น อ ก อ ง ค์ก า ร ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ห่ ง ภู มิ ภ า ค อื่น ๆ แ ล ะ อ ง ค ก์ า ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

ASEAN Member Countries

Timeline 23 กรกฎาคม 2540 ลาว เมียนม่า 7 มกราคม 2527 บรไู น 8 สิ ง ห า ค ม 2 5 1 0 28 กรกฎาคม 2538 30 เมษายน 2542 เวียดนาม กมั พูชา อินโดนีเซยี มาเลเซยี ฟิ ลิปปิ นส ์ สิงคโปร ์ ไทย

สัญ ลัก ษ ณ์แ ล ะ ธ ง ข อ ง อ า เ ซีย น ASSOCIATION OF SOUTHEAST ASIAN NATIONS ตวั อกั ษรคาวา่ “ASEAN” สนี า้ เงนิ รวงขา้ วสเี หลอื ง 10 มดั ตั ว อั ก ษ ร อ ยู่ ใ ต ้ภ า พ ร ว ง ข ้า ว อั น แ ส ด ง ถึ ง ห ม า ย ถึ ง ก า ร ที่ ป ร ะ เ ท ศใ น ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ค ว า ม มุ่ ง ม่ั น ที่ จ ะ ทา ง า น ร่ ว ม กั น เ พื่ อ ค ว า ม ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย งใ ต ้ท้ั ง 1 0 ป ร ะ เ ท ศ ร ว ม กั น เ พ่ื อ ม่ั น ค ง สั น ติ ภ า พ เ อ ก ภ า พ แ ล ะ มิ ต ร ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น น้า ห น่ึ ง ใ จ เ ดี ย ว กั น ค ว า ม ก้า ว ห น้ า ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก อ า เ ซีย น วงกลม อ ยู่ ใ น พื้น ที่ ว ง ก ล ม สี แ ด ง สี ข า ว แ ล ะ น้า เ งิ น ซ่ึ ง แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ภ า พ

ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง สีท้ัง ห ม ด ที่ป ร า ก ฏใ น สัญ ลัก ษ ณ์ข อ ง อ า เ ซีย น สีท้ัง ห ม ด ที่ป ร า ก ฏใ น สัญ ลัก ษ ณ์ข อ ง อ า เ ซีย น เ ป็ น สีสา คัญ ที่ป ร า ก ฏใ น ธ ง ช า ติข อ ง แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก อ า เ ซีย น สนี ้าเงนิ สแี ดง สเี หลอื ง สขี าว สันติภาพและความ ความกลา้ หาญและ ค ว า ม เ จ ร ิญ รุ ่ง เ ร ือ ง ค ว า ม บ ร ิสุ ท ธิ ์ ม่ันคง ความกา้ วหน้า

ภาษาอาเซยี น ภาษาทางการทใี่ ชใ้ นการตดิ ตอ่ ประสานงานระหวา่ งประเทศสมาชกิ คือ ภาษาองั กฤษ คาขวญั ของอาเซยี น \"หนึ่่ งวสิ ยั ทศั น์ หนึ่งเอกลกั ษณ์ หนึ่งประชาคม” (One Vision, One Identity, One Community)

สานักงานเลขาธกิ ารอาเซยี น จาการต์ า, อนิ โดนีเซยี

เลขาธกิ ารอาเซยี น ดาโตะก ์ปาดกู า ลิม จก โฮย ชาวบรูไน ดารงตาแหน่งระหวา่ งปี พ.ศ. 2561–2565 เลขาธกิ ารอาเซยี นไดร้ บั แตง่ ตง้ั โดยการประชมุ สดุ ยอด อาเซยี นเป็ นระยะเวลาดารงตาแหน่งหา้ ปี สมยั เดยี ว โดย เลอื กมาจากผูม้ สี ญั ชาตริ ฐั สมาชกิ อาเซยี นตามลาดบั พยญั ชนะภาษาองั กฤษ

เพลงประจาอาเซยี น The ASEAN Way Raise our flag high, sky high Embrace the pride in our heart ASEAN we are bonded as one Looking out to the world. For peace, our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream we care to share. Together for ASEANwe dare to dream, we care to share for it's the way of ASEAN

เพลงประจาอาเซยี น วถิ อี าเซียน (แปล) พลวิ้ ลลู่ ม โบกสะบดั ใตห้ มู่ธงปลิวไสวสญั ญาณแห่งสญั ญา ทางใจ วนั ทเี่ รามาพบกบั อาเซยี นเป็ นหนึ่งดงั ทใี่ จเราปรารถนา เราพรอ้ มเดนิ หนา้ ไปทางนั้น หลอ่ หลอมจติ ใจใหเ้ ป็ นหนึ่งเดยี ว อาเซยี นยดึ เหนี่ยวสมั พนั ธ ์ ใหส้ งั คมนีม้ แี ตแ่ บง่ ปัน เศรษฐกจิ สงั คมกา้ วไกล

กฎบตั รอาเซยี น(ASEAN Charter) กฎบตั รอาเซยี น (ASEAN Charter) เปรียบไดก้ ับ \"ธรรมนูญของ อาเซียน\" ซ่ึงเป็ นร่างสนธิสัญญาท่ีประเทศสมาชิกอาเซียนทาร่วมกัน กาหนดขนึ้ มาโดยมเี ป้ าหมายใหอ้ าเซยี นเป็ นองคก์ รทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ มากขนึ้ มีประชาชนเป็ นศูนยก์ ลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขบั เคลื่อนการรวมตวั เป็ น ประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558 ตามที่ผูน้ าอาเซียนไดต้ กลงกนั ไว้

โครงสรา้ งของกฎบตั รอาเซยี น (ASEAN Charter) โครงสรา้ งของกฎบตั รอาเซยี น ประกอบดว้ ยบทบญั ญตั ิ 13 หมวด 55 ขอ้ ครอบคลุมในทุก ๆ เรอื่ ง ไม่ว่าจะเป็ นเป้ าหมาย หลกั การ สมาชกิ ภาพ โครงสรา้ ง องคก์ รของอาเซยี น องคก์ รทีม่ ีความสมั พนั ธก์ บั อาเซยี น เอกสิทธิ ์ และความคุม้ กนั กระบวนการตดั สนิ ใจ การระงบั ขอ้ พิพาท งบประมาณและการเงิน การบรหิ าร จดั การ เอกลกั ษณแ์ ละสญั ลกั ษณข์ องอาเซยี น และความสมั พนั ธก์ บั ภายนอก ส รุ ป ไ ด ้เ ป็ น ด ้า น สา คัญ คือ - ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ - ด้ า น ก า ร เ มื อ ง ค ว า ม มั่น ค ง - ด้ า น ค ว า ม ม่ัน ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ - ด้า น สั ง ค ม - ด้า น วัฒ น ธ ร ร ม - ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม

3 เสาหลักอาเซียน คืออะไร มีอะไรบ้าง 3 เสาหลกั อาเซียน หมายถึง ประชาคมอาเซียน ซ่ึงเป็ นภาพรวมของการรวมตัว กันของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยตามข้อตกลงบาหลี 2 เมื่อปี พ.ศ.2546 โดยมขี อ้ ตกลงใหม้ กี ารจดั ตง้ั ประชาคมอาเซยี นขนึ้ โดยแบง่ แยกออกเป็ น 3 ประชาคมยอ่ ย โดยทง้ั 3 ประชาคมยอ่ ยนั้น เราเรยี กวา่ 3 เสาหลกั อาเซยี น น่ันเอง ซงึ่ มกี ารกาหนดเป้ าหมายใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ.2563 แตต่ อ่ มามกี ารกาหนดใหแ้ ลว้ เสรจ็ ใหเ้ รว็ ขนึ้ จากเดมิ อกี 5 ปี คอื ตอ้ งแลว้ เสรจ็ ภายในปี พ.ศ.2558

3 Pillars of ASEAN Community ประชาคมการเมอื งและความ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ม่นั คงอาเซยี น (Asean Economics (ASEAN Political and Community – AEC) Security Community – APSC) ประชาคมสงั คมและ วฒั นธรรมอาเซยี น (Asean Socio-Cultural Community – ASCC)

1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC) เ พื่อ เ ส ริม ส ร า้ ง แ ล ะ ธา ร งไ ว ้ซึ่ง สัน ติภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ม่ัน ค ง ข อ ง ภู มิ ภ า ค เ พื่อใ ห ้ป ร ะ เ ท ศใ น ภู มิภ า ค อ ยู่ ร่ว ม กัน อ ย่ า ง สัน ติสุ ข แ ล ะ ส า ม า ร ถ แ ก ้ไ ข ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ขัด แ ย ้ง โ ด ย สัน ติวิธี มีเป้ าหมาย 3 ประการ 1.1 สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความหลากหลายของแนวคิด และส่งเสริมให้ ประชาชนเป็ น ศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมั่นคง 1.2 ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุกคามความม่ันคงในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์ 1.3 ให้อาเซียนมีปฎิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดยอาเซียนมีบทบาทเป็ นผู้นาในภูมิภาค และจะช่วยส่งเสริมความม่ันคงของ ภูมิภาค นอกจากการมีเสถียรภาพทางการเมืองของภูมิภาคแล้ว ผลลัพธ์ประการสาคัญท่ีจะเกิดข้ึนจากการจัดต้ังประชาคมการเมืองและความม่ันคง อ า เ ซี ย น

2. ประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community หรือASCC) มีเ ป้ า ห ม า ยใ ห ้อ า เ ซีย น เ ป็ น ป ร ะ ช า ค ม ที่มีป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ศู น ย ก์ ล า ง สัง ค ม ที่เ อื้อ อ า ท ร แ ล ะ แ บ่ ง ปั น ป ร ะ ช า ก ร อ า เ ซีย น มีส ภ า พ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ดีแ ล ะ มี ก า ร พัฒ น า ใ น ทุ ก ด ้า น เ พื่อ ย ก ร ะ ดับ คุ ณ ภ า พ ชีวิต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ส่ ง เ ส ริม ก า รใ ช ท้ ร ัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติอ ย่ า ง ย่ัง ยืน ร ว ม ท้ัง ส่ ง เ ส ริม อัต ลัก ษ ณ์ข อ ง อ า เ ซีย น โ ด ย มี แ ผ น ป ฏิบัติก า ร ด ้า น สัง ค ม แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม อ า เ ซีย น ร ะ บุ อ ยู่ ใ น แ ผ น ป ฏิบัติก า ร เ วีย ง จัน ท น์ ซึ่ง ป ร ะ ก อ บ ด ้ว ย ค ว า ม ร่ว ม มือใ น 6 ด ้า น ไ ด ้แ ก่ มีเป้ าหมาย 3 ประการ 2.1 การพัฒนามนุษย์ (Human Development) 2.2 การคุ้มครองและสวสั ดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 2.3 สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 2.4 ความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Sustainability) 2.5 การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building and ASEAN Identity) 2.6 การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)

3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) เ ป็ น เ ป้ า ห ม า ย ก า ร ร ว ม ตัว กัน ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก อ า เ ซีย น เ พื่อ เ พิ่ม อา น า จ ต่ อ ร อ ง กับ คู่ ค ้า แ ล ะ เ พิ่ม ขีด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร แ ข่ ง ขัน ท า ง ด ้า น เ ศ ร ษ ฐ กิจ ร ะ ดับโ ล ก ร ว ม ถึง มีก า ร ย ก เ ว ้น ภ า ษี สิน ค ้า บ า ง ช นิ ด ใ ห ้กับ ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก ส่ ง เ ส ริมใ ห ้ภู มิภ า ค มี ค ว า ม เ จ ริญ ม่ัง ค่ัง ม่ัน ค ง ป ร ะ ช า ช น อ ยู่ ดีกิน ดี โดยในการประชมุ สุดยอดอาเซยี น ASEAN Summit คร้ังท่ี 8 เมื่อ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ณ กรุง พนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ได้เห็นชอบให้อาเซียนกาหนดทิศทาง ได้มีการดาเนินงานที่แน่ชัดเพื่อนาไปสู่เป้าหมายท่ีชัดเจน ได้แก่การเป็ นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน โดยจะมีตลาดและฐานการ ผลิตร่วมกัน และจะมีการเคล่ือนยา้ ยสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝี มืออย่างเสรี สาหรับการต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้ กาหนดให้สาเร็จภายในปี พ.ศ. 2558 ( ค.ศ. 2015)

เปา้ หมายสาคญั ของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรอื AEC มี 4 ดา้ น 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตรว่ มกัน (Single Market and Production Base) เพอื่ เคลอื่ นยา้ ยสนิ คา้ บรกิ าร ลงทุน แรงงานฝี มอื เงนิ ทุน อย่างเสรี ส่วนน้ี จริงๆ เป็นการดาเนินตามพนั ธกรณีท่ีไดต้ กลงและดาเนินการมากนั อยแู่ ลว้ ท้งั * AFTA (ASEAN Free Trade Area) เร่ิมปี 2535 (1992) * AFAS (ASEAN Framework Agreement on Services) กรอบความตกลงวา่ ดว้ ยการคา้ บริการ ลงนาม ปี 2538 (1995) ไดเ้ จรจาเปิ ดเสรีเป็นรอบๆ เจรจาไปแลว้ 5 รอบ * AIA (ASEAN Investment Area) กรอบความตกลงวา่ ดว้ ยการคา้ บริการ ลงนามและมีผลต้งั แต่ 2541 (1998)

เปา้ หมายสาคัญของ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน หรือ AEC มี 4 ด้าน 2. สร้างขดี ความสามามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic Region) ใหค้ วามสาคญั กบั ประเด็นดา้ นนโยบาย ทชี่ ว่ ยการรวมกลมุ่ เชน่ นโยบายการแขง่ ขนั นโยบายภาษี , ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา, พฒั นาโครงการสรา้ งพนื้ ฐาน ร่วมกนั ดาเนินการโดย แลกเปล่ียนขอ้ มูล ฝึกอบรมบุคคลากรร่วมกนั

เปา้ หมายสาคญั ของ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น หรือ AEC มี 4 ดา้ น 3. สร้างความเท่าเทยี มในการพัฒนาทางเศรษฐกจิ (Equitable Economic Development) สนับสนุนการพฒั นา SMES สรา้ งขดี ความสามารถผ่านโครงการทมี่ อี ยแู่ ลว้

เปา้ หมายสาคญั ของ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน หรอื AEC มี 4 ดา้ น 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกจิ โลก (Fully Integrated into Global Economy) เนน้ การปรบั ประสานนโยบายเศรษฐกจิ อาเซยี นกบั นอก ภมู ภิ าค เชน่ ทา FTA

กรอบความรว่ มมือ AEC ( 1 ) ก า ร ค้า สิ น ค้า ลดภาษีสนิ คา้ ใน Priority Sectors (เกษตร/ประมง/ผลิตภณั ฑ์ไม้/ผลิตภณั ฑ์ยาง/ส่ิงทอ/ยานยนต์ / อิเล็กทรอนิกส์/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาสุขภาพ) เป็ น 0% ( 2 ) ก า ร ค้า บ ริ ก า ร เปิ ดเสรสี าขาบรกิ ารใน Priority Sectors (สาขาสุขภาพ, e-ASEAN, ท่องเท่ียวและการขนส่งทาง อากาศ) ( 3 ) ก า ร ล ง ทุ น เปิ ดการลงทุนในรายการสงวน (Sensitive List)

กรอบความรว่ มมือ AEC ( 1 ) ก า ร ค้า สิ น ค้า ลดภาษีสนิ คา้ ใน Priority Sectors (เกษตร/ประมง/ผลิตภณั ฑ์ไม้/ผลิตภณั ฑ์ยาง/ส่ิงทอ/ยานยนต์ / อิเล็กทรอนิกส์/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาสุขภาพ) เป็ น 0% ( 2 ) ก า ร ค้า บ ริ ก า ร เปิ ดเสรสี าขาบรกิ ารใน Priority Sectors (สาขาสุขภาพ, e-ASEAN, ท่องเท่ียวและการขนส่งทาง อากาศ) ( 3 ) ก า ร ล ง ทุ น เปิ ดการลงทุนในรายการสงวน (Sensitive List)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook