Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AW Doctor of Veterinary Medicine Program Mahidol-Chulabhorn pdf 01

AW Doctor of Veterinary Medicine Program Mahidol-Chulabhorn pdf 01

Published by pccms.sa, 2021-02-08 02:06:32

Description: AW Doctor of Veterinary Medicine Program Mahidol-Chulabhorn pdf 01

Search

Read the Text Version

หลักสตู รส(มัตหวดิ แลพ-ทจฬุยาศภารณส)ตรบณั ฑิต Doctor (oMfaVheidteorlin–aryCMhueladbichinoernP)rogram คณะสตั วแพทยศาสตรและสัตววทิ ยาประยกุ ต วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลยั มหิดล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ปจจุบันประเทศไทยยังคงเผชญิ หนากับปญ หาสุขภาพของคนและสัตวอ ยา งตอ เนอ่ื ง ซึ่งสว นหนง่ึ มผี ลกระทบมาจากปญ หาการ ขาดแคลนสัตวแพทยโดยเฉพาะในสาขาสัตวแพทยส าธารณสุข สัตวแพทยสตั วท ดลอง สัตวแพทยนกั วจิ ัย สัตวแพทยปศสุ ัตว เปน ตน จงึ เปน ที่มาของการจดั ตั้งหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ) ซงึ่ มวี ตั ถุประสงคใ นการผลติ บัณฑติ สัตวแพทยใชทนุ เพ่อื ปฏบิ ตั ิงานในหนว ยงานที่กำลงั ขาดแคลนสตั วแพทยแ ละมุงหวังใหบัณฑติ สัตวแพทย สามารถปฏิบัติงานรว มกบั สาขาวชิ าชพี อน่ื ไดเ ปนอยางดี ในปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ คณะสัตวแพทยศาสตรแ ละสัตววิทยาประยกุ ตเ ปด รับนักศกึ ษารนุ ท่ี ๑ เปน จำนวน ๓๐ คนเพ่อื เขาศกึ ษาใน หลักสตู รดงั กลา ว โดยนักศกึ ษาจะศึกษารวมกับนกั ศกึ ษาคณะสตั วแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ตลอดหลกั สูตร และภายหลังสำเร็จ การศึกษานกั ศกึ ษาจะไดร ับคุณวุฒิ สตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.) จากมหาวทิ ยาลยั มหิดล ซึ่งไดรบั การรบั รองปริญญาในวิชาชีพ การสัตวแพทยจ ากสตั วแพทยสภา โครงสรา งหลกั สตู ร คณะสตั วแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั มหิดล จัดการศกึ ษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื งเกณฑม าตรฐานหลกั สตู รระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ ปรากฏดงั นี้ ๑) หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป ไมน อ ยกวา ๓๐ หนว ยกิต ๑. กลุมวชิ าท่ีมหาวทิ ยาลัยกำหนด ๑๒ หนวยกติ ๒. กลุมวชิ าทค่ี ณะกำหนด ไมน อยกวา ๑๘ หนวยกติ ๒) หมวดวิชาเฉพาะ ๒๐๘ หนวยกิต ๑. กลมุ พ้ืนฐานวิชาชีพ ๘๗ หนวยกติ ๒. กลุมวชิ าชีพ ๑๒๑ หนวยกิต วิชาชีพบังคับ ๑๑๕ หนว ยกติ วิชาชีพบังคบั เลือก ๖ หนว ยกติ ๓) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน อ ยกวา ๖ หนว ยกิต รายวชิ าในหลักสูตร หนวยกติ ของแตละรายวชิ าระบตุ ัวเลขหนว ยกิตรวมไวห นา วงเลบ็ สว นตัวเลขในวงเลบ็ แสดงจำนวนชว่ั โมงของการเรียนการสอน ทฤษฎที ใี่ ชแบบบรรยาย และ/หรอื ปฏิบตั แิ ละศึกษาดว ยตนเองตอ สปั ดาหต ลอดภาคการศึกษา โดยแสดงรหัสวชิ าเปน ตวั อักษรและตัวเลข ดงั น้ี xxxx xxx x (x-x-x) หมายถึง รหสั รายวชิ าเปนตัวอักษร ๔ ตัว และตัวเลข ๓ หลัก จำนวนหนวยกิตรวม (ทฤษฎ-ี ปฏิบตั ิ-ศกึ ษา ดวยตนเอง) โดยกำหนด ดังน้ี ตัวเลขรหสั รายวชิ าในหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสตั วแพทยศาสตรป ระกอบดว ยสัญลักษณ ๗ ตวั แบงเปน ๒ สวน ดังน้ี 2 คูมอื หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ก. ตวั อกั ษร ๔ ตัว มคี วามหมาย ดงั นี้ ตวั อักษร ๒ ตวั แรกเปน อักษรยอช่ือคณะ/สถาบันที่รับผิดชอบการจัดการเรยี นการสอนไดแก มม : MU หมายถงึ รายวิชาทจ่ี ดั รวมระหวา งทุกคณะโดยมหาวิทยาลัยมหิดล วท : SC หมายถงึ รายวชิ าทีจ่ ดั โดยคณะวทิ ยาศาสตร สพ : VS หมายถงึ รายวชิ าทจ่ี ดั โดยคณะสัตวแพทยศาสตร ศศ : LA หมายถงึ รายวชิ าที่จัดโดยคณะศลิ ปศาสตร ตัวอักษร ๒ ตัวหลงั เปนอักษรยอ ของภาควิชา/ช่ือรายวชิ า หรือโครงการ ทีร่ บั ผดิ ชอบการจัดการเรียนการสอน ดงั น้ี โครงการท่ีรับผดิ ชอบ ศท : GEหมายถงึ โครงการพัฒนาการจดั การศึกษาทว่ั ไป คณะวิทยาศาสตร คณ : MA หมายถงึ ภาควชิ าคณิตศาสตร คม : CH หมายถึงภาควิชาเคมี ชว : BI หมายถงึ ภาควชิ าชีววทิ ยา ฟส : PY หมายถึงภาควิชาฟส กิ ส คณะศลิ ปะศาสตร ภท : TH หมายถึงภาควชิ าภาษาไทย ภอ : EN หมายถงึ ภาควิชาภาษาองั กฤษ คณะสตั วแพทยศาสตร ปส : PA หมายถึงภาควิชาปรีคลินกิ และสัตวศาสตรประยุกต วค : CL หมายถงึ ภาควชิ าเวชศาสตรคลนิ ิกและการสาธารณสขุ ข. ตัวเลข ๓ ตวั ตามหลงั อักษรยอของรายวชิ า เลขตวั หนา หมายถงึ ระดับช้นั ป ทกี่ ำหนดใหศกึ ษารายวชิ านน้ั ๆ เลข ๒ ตวั ทาย หมายถงึ ลำดบั ทีก่ ารเปดรายวิชาในแตล ะหมวดหมู ของรายวิชานั้น ๆ เพ่อื ไมใ หตวั เลขซำ้ ซอ นกนั ความหมายของจำนวนหนวยกติ รวม ใหความหมายของตัวเลขโดยรายวชิ าภาคทฤษฎี ใชเ วลาบรรยายหรอื อภิปรายปญหาไมน อ ย กวา ๑๕ ช่ัวโมงตอ ภาคการศกึ ษาปกติ ใหมีคา เทา กับ ๑ หนว ยกิตระบบทวิภาค รายวชิ าภาคปฏบิ ตั ิ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอ ย กวา ๓๐ ชวั่ โมงตอ ภาคการศึกษาปกติ ใหมคี าเทา กับ ๑ หนว ยกิตระบบทวภิ าค และการฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ทีใ่ ชเวลาฝกไมนอ ย กวา ๔๕ ชั่วโมงตอ ภาคการศกึ ษาปกติ ใหม คี า เทา กับ ๑ หนว ยกติ 3 คูมือหลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ แผนการศึกษา ชน้ั ปท ี่ ๑ - ภาคการศึกษาตน จำนวนหนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) มมศท ๑๐๐ การศึกษาทว่ั ไปเพอ่ื การพัฒนามนษุ ย * ๓ (๓-๐-๖) MUGE 100 General Education for Human Development ๓ (๒-๒-๕) ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใชภ าษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร * ๓ (๒-๒-๕) LATH 100 Arts of Using Thai Language in Communication ๓ (๓-๐-๖) ศศภอ ๑๐๓ - ๑๐๔ ภาษาองั กฤษระดับ ๑-๒ *** ๐ (๐-๓-๑) LAEN 103 – 104 English Level 1-2 วทคม ๑๐๒ เคมีท่วั ไป ๒ (๒-๐-๔) SCCH 102 General Chemistry ๑ (๐-๓-๑) วทคม ๑๑๙ ปฏิบัติการเคมี ** ๕ SCCH 119 Chemistry Laboratory ๑ วชิ าท่ตี อ งศึกษากอนหรือศึกษาพรอ มกนั : วทคม ๑๐๒ ๒๑ หนว ยกิต วทศท ๑๒๒ วิทยาศาสตรเ บอ้ื งหลังการมชี วี ิตทด่ี ี SCGE 122 Science Behind a Good Life วทชว ๑๐๒ ปฏิบตั กิ ารหลักชีววิทยา ๑ SCBI 102 Biology Laboratory I วิชาศกึ ษาทั่วไป ไมน อยกวา วชิ าเลอื กเสรี ไมน อยกวา รวม หมายเหตุ * หมายถึงรายวชิ าตอ เนือ่ งท่เี รยี นทง้ั สองภาคการศึกษา แตนับหนว ยกิตในภาคตนและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย ** หมายถงึ รายวชิ าตอ เนอ่ื งทเ่ี รียนท้งั สองภาคการศกึ ษา แตนบั หนว ยกิตและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย *** รายวชิ าภาษาองั กฤษระดบั ๑-๒ (ศศภอ ๑๐๓ - ๑๐๔) ลงทะเบียนเรียนตามระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษา 4 คมู อื หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลยั มหิดล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ช้นั ปท่ี ๑ - ภาคการศึกษาปลาย จำนวนหนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว ยตนเอง) มมศท ๑๐๐ การศกึ ษาท่ัวไปเพ่ือการพฒั นามนุษย * ๐ (๓-๐-๖) MUGE 100 General Education for Human Development ๐ (๒-๒-๕) ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใชภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร * ๓ (๒-๒-๕) LATH 100 Arts of Using Thai Language in Communication ๒ (๒-๐-๔) ศศภอ ๑๐๕ - ๑๐๖ ภาษาองั กฤษระดบั ๓-๔ *** ๓ (๓-๐-๖) LAEN 105 - 106 English Level 3-4 ๑ (๐-๓-๑) วทศท ๑๓๒ การตัดสินใจโดยใชห ลกั สถิติ SCGE 132 Decision Making using Principles of Statistics ๓ (๓-๐-๖) วทศท ๑๐๓ ฟส ิกสเ พ่อื ผปู ระกอบการ ๑ (๐-๓-๑) SCGE 103 Physics for Future Entrepreneurs ๓ (๓-๐-๖) วทคม ๑๑๙ ปฏิบตั ิการเคมี ** ๑ (๐-๓-๑) SCCH 119 Chemistry Laboratory ๔ วชิ าทีต่ องศกึ ษากอนหรอื ศกึ ษาพรอมกัน: วทคม ๑๐๒ ๒๑ หนวยกติ วทคม ๑๒๕ เคมอี ินทรยี พ ืน้ ฐาน SCCH 125 Basic Organic Chemistry วทชว ๑๐๔ ปฏิบตั กิ ารหลกั ชวี วทิ ยา ๒ SCBI 104 Biology Laboratory II วทชว ๑๒๓ กระบวนการของชวี ติ SCBI 123 Process of Life วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัตกิ ารฟสิกสท่วั ไป SCPY 110 General Physics Laboratory วชิ าศึกษาทว่ั ไป ไมนอยกวา รวม หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาตอ เนอื่ งท่ีเรยี นทง้ั สองภาคการศกึ ษา แตนับหนวยกิตในภาคตนและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย ** หมายถงึ รายวิชาตอเน่อื งท่ีเรียนทง้ั สองภาคการศึกษา แตน บั หนว ยกติ และแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย *** รายวชิ าภาษาองั กฤษระดับ ๓-๔ (ศศภอ ๑๐๕ - ๑๐๖) ลงทะเบยี นเรยี นตามระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศกึ ษา 5 คมู อื หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต โครงการมหาวิทยาลยั มหดิ ล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ชนั้ ปท ี่ ๒ - ภาคการศึกษาตน จำนวนหนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพศท ๒๐๑ การดแู ลสตั วเล้ยี ง ๒ (๒-๐-๔) VSGE 201 (๑-๐-๒) สพปส ๒๐๐ Companion Animals Care (๓-๓-๗) VSPA 200 (๒-๐-๔) สพปส ๒๑๐ การแกปญ หาทางคลินิกและบรู ณาการทางการสตั วแพทย ๑* ๑ (๓-๖-๘) VSPA 210 (๓-๓-๗) สพปส ๒๖๐ Clinical Problem Solving and Integration of Veterinary Science I (๓-๐-๖) VSPA 260 สพปส ๒๒๐ หลักการผลติ ปศุสตั ว ๔ (๐-๓-๑) VSPA 220 Principles of Livestock Production หนว ยกิต สพปส ๒๒๑ VSPA 221 อนามัยสง่ิ แวดลอ มและอาชีวอนามยั ๒ สพปส ๒๒๔ Environmental and Occupational Health VSPA 224 โครงสรางและการทำงานของรางกาย ๑ ๕ สพปส ๒๒๕ VSPA 225 Body Structure and Function I วชิ าทตี่ องศึกษากอน: วทชว ๑๐๒, วทชว ๑๐๔, วทชว ๑๒๓ โครงสรา งและการทำงานของรา งกาย ๒ ๔ Body Structure and Function II วชิ าทต่ี องศึกษากอน: วทชว ๑๐๒, วทชว ๑๐๔, วทชว ๑๒๓ ชวี เคมที างการสตั วแพทย ๓ Veterinary Biochemistry วชิ าทต่ี อ งศกึ ษากอน: วทคม ๑๑๙, วทชว ๑๒๓ วิชาท่ีตองเรียนพรอมกัน สพปส ๒๒๕ ปฏบิ ตั กิ ารชวี เคมที างการสัตวแพทย ๑ Laboratory of Veterinary Biochemistry วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอ น: วทคม ๑๑๙, วทชว ๑๒๓ วชิ าที่ตอ งเรียนพรอ มกนั : สพปส ๒๒๔ รวม ๒๒ หมายเหตุ * หมายถึงรายวชิ าตอ เน่อื งท่ีเรียนทง้ั สองภาคการศึกษา แตน ับหนว ยกติ ในภาคตนและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย 6 คมู อื หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวิทยาลยั มหิดล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ชั้นปท่ี ๒ - ภาคการศึกษาปลาย จำนวนหนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๒๐๐ การแกป ญหาทางคลินกิ และบรู ณาการทางการสัตวแพทย ๑* ๐ (๑-๐-๒) VSPA 200 (๒-๓-๕) สพปส ๒๑๒ Clinical Problem Solving and Integration of Veterinary Science I (๓-๐-๖) VSPA 212 (๒-๓-๕) สพปส ๒๑๓ พฤตกิ รรมสตั ว การจับบังคบั สตั วแ ละสวัสดภิ าพสตั ว ๓ VSPA 213 (๔-๓-๙) สพปส ๒๑๔ Animal behavior, Restraint, and Welfare VSPA 214 (๓-๓-๗) พนั ธศุ าสตรส ตั วแ ละการปรับปรุงพนั ธุ ๓ สพปส ๒๒๒ (๒-๐-๔) VSPA 222 Animal Genetics and Breeding Improvement หนวยกติ สพปส ๒๒๓ โภชนศาสตรสตั ว ๓ VSPA 223 Animal Nutrition สพปส ๒๒๖ VSPA 226 วชิ าทีต่ องศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๔ โครงสรางและการทำงานของรา งกาย ๓ ๕ Body Structure and Function III วชิ าที่ตองศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๐, สพปส ๒๒๑ โครงสรางและการทำงานของรางกาย ๔ ๔ Body Structure and Function IV วชิ าทต่ี องศกึ ษากอน: สพปส ๒๒๐, สพปส ๒๒๑ บูรณาการชีวเคมที างการสตั วแพทย ๒ Integrated Veterinary Biochemistry วิชาทตี่ อ งศึกษากอ น: สพปส ๒๒๔ , สพปส ๒๒๕ รวม ๒๐ หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าตอ เน่อื งที่เรียนท้งั สองภาคการศกึ ษา แตน บั หนวยกติ ในภาคตนและแสดงผลการศึกษาในภาคปลาย 7 คูม ือหลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ชั้นปที่ ๓ - ภาคการศึกษาตน จำนวนหนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๐๑ การแกปญ หาทางคลนิ ิกและบูรณาการทางการสัตวแพทย ๒* ๑ (๑-๐-๒) VSPA 301 (๐-๓-๑) สพปส ๓๑๗ Clinical Problem Solving and Integration of Veterinary Science II (๒-๐-๔) VSPA 317 (๔-๐-๘) ฝกภาคสนาม ๑ สพปส ๓๒๗ (๒-๐-๔) VSPA 327 Field Practice (๐-๓-๑) สพปส ๓๓๐ วชิ าที่ตอ งศึกษากอ น: สพปส ๒๑๒ (๓-๖-๘) VSPA 330 (๓-๓-๗) หลกั เภสชั วิทยาทางการสตั วแพทย ๒ หนว ยกิต สพปส ๓๓๑ VSPA 331 Principles of Veterinary Pharmacology สพปส ๓๓๒ วชิ าท่ีตอ งศกึ ษากอน: สพปส ๒๒๓, สพปส ๒๒๖ VSPA 332 จุลชีววิทยาทางการสตั วแพทย ๔ สพปส ๓๓๓ VSPA 333 Veterinary Microbiology สพปส ๓๓๔ วิชาที่ตอ งศึกษากอ น: วทชว ๑๒๓ VSPA 334 วิชาทต่ี อ งเรียนพรอ มกนั : สพปส ๓๓๑, สพปส ๓๓๒ วิทยาภมู คิ ุมกนั ทางการสตั วแพทย ๒ Veterinary Immunology วชิ าท่ีตองศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๐, สพปส ๒๒๑ วชิ าท่ีตองเรยี นพรอ มกนั : สพปส ๓๓๐, สพปส ๓๓๒ ปฏิบัติการจุลชีววทิ ยาและภมู คิ ุม กันวทิ ยาทางการสัตวแพทย ๑ Laboratory of Veterinary Microbiology and Immunology วชิ าทีต่ อ งเรียนพรอ มกนั : สพปส ๓๓๐, สพปส ๓๓๑ ปรสิตวทิ ยาทางการสตั วแพทย ๕ Veterinary Parasitology วชิ าที่ตองศกึ ษากอน: วทชว ๑๒๓ พยาธิวทิ ยาทัว่ ไปทางการสัตวแพทย ๔ Veterinary General Pathology วิชาทต่ี องศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๒, สพปส ๒๒๓ รวม ๒๐ หมายเหตุ * หมายถึงรายวชิ าตอเน่อื งท่ีเรยี นทัง้ สองภาคการศกึ ษา แตนับหนว ยกิตในภาคตนและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย 8 คมู ือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต โครงการมหาวิทยาลยั มหดิ ล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ช้ันปที่ ๓ - ภาคการศึกษาปลาย จำนวนหนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๐๑ การแกปญหาทางคลนิ กิ และบรู ณาการทางการสตั วแพทย ๒* ๐ (๑-๐-๒) VSPA 301 (๒-๐-๔) สพปส ๓๐๒ Clinical Problem Solving and Integration of Veterinary Science II (๒-๐-๔) VSPA 302 (๒-๐-๔) นเิ วศวทิ ยาสัตวป าและการอนรุ ักษ ๒ (๒-๐-๔) สพปส ๓๐๕ (๓-๓-๗) VSPA 305 Wildlife Ecology and Conservation (๒-๐-๔) (๓-๓-๗) สพปส ๓๑๕ วิชาที่ตอ งศกึ ษากอน: มมศท ๑๐๐ (๒-๐-๔) VSPA 315 หนวยกิต ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางการสตั วแพทย ๒ สพปส ๓๑๖ VSPA 316 Veterinary Research Methodology สพปส ๓๒๘ วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอน: วทศท ๑๓๒ VSPA 328 หลักการผลติ สตั วน ำ้ ๒ สพปส ๓๒๙ VSPA 329 Principles of Aquatic Animal Production สพปส ๓๓๕ วิชาที่ตอ งศกึ ษากอน: วทชว ๑๒๓ VSPA 335 การจัดการสัตวทดลอง ๒ Laboratory Animal Management วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอน: วทชว ๑๒๓ เภสชั วิทยาตามระบบทางการสัตวแพทย ๔ Veterinary Systemic Pharmacology วชิ าทต่ี อ งศึกษากอน: สพปส ๓๒๗, สพปส ๓๓๔ พิษวทิ ยาทางการสัตวแพทย ๒ Veterinary Toxicology วิชาที่ตอ งศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๖ พยาธิวิทยาตามระบบทางการสัตวแพทย ๔ Veterinary Systemic Pathology วชิ าท่ตี อ งศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๒, สพปส ๒๒๓ วชิ าเลือกเสรี ๒ รวม ๒๐ หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาตอเนือ่ งทเี่ รียนทง้ั สองภาคการศกึ ษา แตน บั หนว ยกติ ในภาคตนและแสดงผลการศึกษาในภาคปลาย 9 คูมอื หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ช้ันปท่ี ๔ - ภาคการศึกษาตน จำนวนหนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๔๓๖ พยาธวิ ิทยาคลินกิ ทางการสตั วแพทย ๓ (๒-๓-๕) VSPA 436 Veterinary Clinical Pathology ๒ (๑-๓-๓) สพวค ๔๐๖ วิชาทต่ี องศกึ ษากอ น: สพปส ๓๓๕ ๒ (๒-๐-๔) VSCL 406 บูรณาการกระบวนการวิจยั ทางการสตั วแพทย* สพวค ๔๔๐ Integrated Veterinary Research Process ๑ (๑-๐-๒) VSCL 440 วชิ าที่ตองศกึ ษากอ น: สพปส ๓๐๕ หลกั เวชศาสตรท างการสัตวแพทย ๒ (๑-๓-๓) สพวค ๔๔๑ Principles of Veterinary Medicine ๑ (๐-๓-๑) VSCL 441 วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอน: สพปส ๓๓๕ วชิ าที่ตอ งเรยี นพรอ มกนั : สพวค ๔๔๓ ๔ (๓-๓-๗) สพวค ๔๔๒ หลกั วสิ ัญญีและศลั ยศาสตรทางการสตั วแพทย ๑ (๑-๐-๒) VSCL 442 Principles of Veterinary Anesthesia and Surgery สพวค ๔๔๓ วิชาที่ตองศึกษากอน: สพปส ๓๒๘ ๒ (๒-๐-๔) VSCL 443 วชิ าที่ตองเรียนพรอมกัน: สพวค ๔๔๓ ๑๘ หนวยกิต ทศั นวินจิ ฉัยทางการสตั วแพทย สพวค ๔๔๔ Veterinary Diagnostic Imaging VSCL 444 วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอน: สพปส ๓๓๕ สพวค ๔๔๖ ทักษะหตั ถการทางการสัตวแพทย VSCL 446 Clinical skil in Veterinary Science วิชาทต่ี องศึกษากอ น: สพปส ๓๒๘, สพปส ๓๓๕ สพวค ๔๔๗ วชิ าที่ตองเรยี นพรอ มกนั : สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๑, สพวค ๔๔๖ VSCL 447 วิทยาการสบื พนั ธุ ๑ หมายเหตุ Theriogenology I วิชาที่ตองศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๒ ออรโ ทพีดิกสทางการสัตวแพทย Veterinary Orthopedics วิชาที่ตองศกึ ษากอน: สพปส ๒๒๒, สพปส ๒๒๓ วิชาทตี่ องเรียนพรอมกนั : สพวค ๔๔๓ การแกปญ หาทางคลินิกในเวชศาสตรส ัตวเ ลก็ Clinical Problem Solving in Smal Animal Medicine วิชาทตี่ องศึกษากอ น: สพปส ๓๒๘, สพปส ๓๓๕ รวม * หมายถึงรายวิชาตอ เนือ่ งทเ่ี รยี นทงั้ สองภาคการศึกษา แตนบั หนวยกิตในภาคตน และแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย 10 คมู ือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จุฬาภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลัยมหิดล-วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ชัน้ ปท ี่ ๔ - ภาคการศกึ ษาปลาย จำนวนหนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๔๐๖ บรู ณาการกระบวนการวจิ ยั ทางการสตั วแพทย* ๐ (๑-๓-๓) VSCL 406 Integrated Veterinary Research Process ๔ (๓-๓-๗) วชิ าทีต่ อ งศกึ ษากอน: สพปส ๓๐๕ ๓ (๒-๓-๕) สพวค ๔๔๕ วทิ ยาการสบื พนั ธุ ๒ ๓ (๒-๓-๕) VSCL 445 Theriogenology II ๔ (๒-๖-๖) วิชาทตี่ องศกึ ษากอน: สพวค ๔๔๔ ๓ (๓-๐-๖) สพวค ๔๔๘ เวชศาสตรสตั วเล็ก ๑ ๓ (๒-๓-๕) VSCL 448 Smal Animal Medicine I ๒๐ หนวยกติ วิชาที่ตองศึกษากอน: สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๓ สพวค ๔๔๙ เวชศาสตรสตั วเ ลก็ ๒ VSCL 449 Smal Animal Medicine II วชิ าที่ตอ งเรยี นพรอ มกนั : สพวค ๔๔๘ สพวค ๔๕๐ ศัลยศาสตรสัตวเ ล็ก VSCL 450 Smal Animal Surgery วิชาท่ตี องศึกษากอ น: สพวค ๔๔๑, สพวค ๔๔๓ สพวค ๔๕๖ เวชศาสตรสุกร ๑ VSCL 456 Swine Medicine I วชิ าท่ีตองศึกษากอ น: สพปส ๒๑๐, สพวค ๔๔๓ สพวค ๔๕๘ เวชศาสตรส ัตวท ดลอง VSCL 458 Laboratory Animal Medicine วชิ าทีต่ องศึกษากอน: สพปส ๓๑๖, สพวค ๔๔๓ รวม หมายเหตุ * หมายถึงรายวชิ าตอ เนอ่ื งทีเ่ รียนทง้ั สองภาคการศึกษา แตน ับหนว ยกิตในภาคตน และแสดงผลการศึกษาในภาคปลาย 11 คูม ือหลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ชน้ั ปท่ี ๕ - ภาคการศึกษาตน จำนวนหนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๕๑ เวชศาสตรม า ๔ (๓-๓-๗) VSCL 551 Equine Medicine ๔ (๓-๓-๗) วชิ าที่ตอ งศึกษากอน: สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๒ ๕ (๓-๖-๘) สพวค ๕๕๒ เวชศาสตรส ตั วส วนสตั ว สตั วเ ลี้ยงชนดิ พิเศษและสัตวป า ๔ (๓-๓-๗) VSCL 552 Zoo, Exotic and Wildlife Medicine ๓ (๒-๓-๕) วชิ าท่ตี องศกึ ษากอ น: สพปส ๒๑๒,สพวค ๔๔๙ ๒๐ หนวยกติ สพวค ๕๕๓ เวชศาสตรสตั วปก VSCL 553 Avian Medicine วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอ น: สพปส ๒๑๐, สพปส ๒๒๓, สพปส ๔๓๖ สพวค ๕๕๔ เวชศาสตรส ัตวน้ำ VSCL 554 Aquatic Animal Medicine วิชาทตี่ อ งศกึ ษากอ น: สพปส ๒๒๓, สพปส ๓๑๕, สพปส ๔๓๖ สพวค ๕๕๗ เวชศาสตรสกุ ร ๒ VSCL 557 Swine Medicine II วชิ าทตี่ องศกึ ษากอ น: สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๕๖ รวม 12 คูมอื หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวิทยาลยั มหดิ ล-วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ชนั้ ปท ่ี ๕ - ภาคการศึกษาปลาย จำนวนหนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๐๓ เศรษฐศาสตรและการจดั การสำหรับวิชาชีพการสตั วแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSCL 503 Economics and Management for Veterinary Profession ๑ (๑-๐-๒) สพวค ๕๐๔ กฎหมายและจรรยาบรรณแหง วชิ าชีพการสตั วแพทย ๖ (๔-๖-๑๐) VSCL 504 Veterinary Ethics and Jurisprudence ๒ (๒-๐-๔) สพวค ๕๕๕ เวชศาสตรสตั วเ คี้ยวเอื้อง ๒ (๒-๐-๔) VSCL 555 Ruminant Medicine วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอน: สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๕ ๓ (๓-๐-๖) สพวค ๕๕๙ เวชศาสตรการผลิต VSCL 559 Production Medicine ๑ (๐-๓-๑) วชิ าที่ตอ งศึกษากอน: สพปส ๒๑๐, สพปส ๒๑๓ ๒ (๒-๐-๔) สพวค ๕๖๑ ความปลอดภัยทางอาหาร ๑ ๒ (๒-๐-๔) VSCL 561 Food Safety I ๒๑ หนว ยกติ วชิ าทต่ี อ งศึกษากอน: สพปส ๓๓๐ สพวค ๕๖๒ วิชาทต่ี อ งเรยี นพรอมกนั : สพวค ๕๖๒, สพวค ๕๖๓ VSCL 562 ความปลอดภัยทางอาหาร ๒ Food Safety II สพวค ๕๖๓ วิชาที่ตอ งศึกษากอน: สพปส ๓๓๐ VSCL 563 วชิ าที่ตองเรียนพรอ มกัน: สพวค ๕๖๑, สพวค ๕๖๓ ปฏิบัติการความปลอดภัยทางอาหาร สพวค ๕๖๔ Laboratory of Food Safety VSCL 564 วชิ าทีต่ องเรยี นพรอ มกนั : สพวค ๕๖๑, สพวค ๕๖๒ โรคสัตวสูคน สพวค ๕๖๕ Zoonosis VSCL 565 วิชาที่ตองศึกษากอน: สพปส ๓๓๐, สพปส ๓๓๓ วทิ ยาการระบาดทางการสตั วแพทย Veterinary Epidemiology วชิ าทต่ี องศกึ ษากอน: วทศท ๑๓๒ รวม 13 คูมอื หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต โครงการมหาวทิ ยาลยั มหิดล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ชั้นปท ่ี ๖ - ภาคการศกึ ษาตน จำนวนหนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๖๐๗ โครงการวิจยั * ๖ (๐-๑๘-๖) VSCL 607 Research Project วชิ าทต่ี องศกึ ษากอ น: สพวค ๔๐๖, สพวค ๔๕๘ สพวค ๖๔๐ ศัลยศาสตรสตั วใ หญ * ๓ (๑-๖-๔) VSCL 640 Large Animal Surgery วิชาทีต่ อ งศึกษากอ น: สพวค ๔๔๑, สพวค ๔๔๓ สพวค ๖๖๖ การฝก ปฏิบัติทางสัตวแพทยส าธารณสขุ ๑ * ๒ (๐-๖-๒) VSCL 666 Clerkship in Veterinary Public Health I วิชาที่ตองศกึ ษากอน: สพวค ๕๖๑, สพวค ๕๖๒, สพวค ๕๖๔, สพวค ๕๖๕ สพวค ๖๗๐ คลินิกปฏบิ ัตเิ วชศาสตรสัตวเ ลก็ ๑ * ๓ (๐-๙-๓) VSCL 670 Clinical Clerkship in Smal Animal Medicine I วชิ าที่ตองศกึ ษากอ น: สพวค ๔๔๙ สพวค ๖๗๑ คลินกิ ปฏบิ ตั ิศัลยศาสตรส ัตวเ ล็ก ๑ * ๓ (๐-๙-๓) VSCL 671 Clinical Clerkship in Smal Animal Surgery I วิชาที่ตอ งศกึ ษากอ น: สพวค ๔๕๐ สพวค ๖๗๓ คลนิ ิกปฏบิ ัติมา ๑ * ๓ (๐-๙-๓) VSCL 673 Clinical Clerkship in Equine I วิชาท่ตี อ งศกึ ษากอน: สพวค ๕๕๑ สพวค ๖๗๔ คลินกิ ปฏบิ ัตสิ ตั วป ก ๑ ** ๐ (๐-๙-๓) VSCL 674 Clinical Clerkship in Avian I วิชาทตี่ องศึกษากอน: สพวค ๕๕๓ สพวค ๖๗๕ คลินกิ ปฏบิ ตั สิ ัตวน ้ำ ๑** ๐ (๐-๙-๓) VSCL 675 Clinical Clerkship in Aquatic Animal I วชิ าที่ตองศกึ ษากอน: สพวค ๕๕๔ สพวค ๖๗๖ คลินกิ ปฏบิ ตั สิ ตั วเ คยี้ วเออ้ื ง ๑ ** ๐ (๐-๙-๓) VSCL 676 Clinical Clerkship in Ruminant I วิชาทต่ี องศึกษากอ น: สพวค ๕๕๕ สพวค ๖๗๗ คลินกิ ปฏบิ ัตสิ กุ ร ๑ ** ๐ (๐-๙-๓) VSCL 677 Clinical Clerkship in Swine I วิชาทตี่ อ งศกึ ษากอ น: สพวค ๕๕๗ รวม ๒๐ หนว ยกิต หมายเหตุ * หมายถึงรายวชิ าตอเนอื่ งท่เี รียนทง้ั สองภาคการศกึ ษา แตน บั หนว ยกิตในภาคตน และแสดงผลการศึกษาในภาคปลาย ** หมายถึงรายวิชาตอเน่ืองท่ีเรียนทงั้ สองภาคการศึกษา แตนับหนวยกิตและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย 14 คมู อื หลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ชน้ั ปท ่ี ๖ - ภาคการศึกษาปลาย สพวค ๖๐๗ โครงการวิจยั * จำนวนหนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) ๐ (๐-๑๘-๖) VSCL 607 Research Project วชิ าทต่ี อ งศึกษากอน: สพวค ๔๐๖, สพวค ๔๕๘ สพวค ๖๔๐ ศลั ยศาสตรสัตวใหญ * ๐ (๑-๖-๔) VSCL 640 Large Animal Surgery วชิ าทต่ี อ งศกึ ษากอ น: สพวค ๔๔๑, สพวค ๔๔๓ สพวค ๖๖๖ การฝก ปฏบิ ตั ทิ างสตั วแพทยส าธารณสขุ ๑ * ๐ (๐-๖-๒) VSCL 666 Clerkship in Veterinary Public Health I วชิ าทต่ี องศกึ ษากอน: สพวค ๕๖๑, สพวค ๕๖๒, สพวค ๕๖๔, สพวค ๕๖๕ สพวค ๖๗๐ คลินิกปฏิบตั ิเวชศาสตรส ตั วเลก็ ๑ * ๐ (๐-๙-๓) VSCL 670 Clinical Clerkship in Smal Animal Medicine I วชิ าที่ตองศกึ ษากอ น: สพวค ๔๔๙ สพวค ๖๗๑ คลินกิ ปฏิบตั ิศลั ยศาสตรสตั วเลก็ ๑ * ๐ (๐-๙-๓) VSCL 671 Clinical Clerkship in Smal Animal Surgery I วิชาท่ตี องศกึ ษากอน: สพวค ๔๕๐ สพวค ๖๗๓ คลินกิ ปฏบิ ตั มิ า ๑ ** ๐ (๐-๙-๓) VSCL 673 Clinical Clerkship in Equine I วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอ น: สพวค ๕๕๑ สพวค ๖๗๔ คลนิ ิกปฏิบัติสัตวป ก ๑ ** ๓ (๐-๙-๓) VSCL 674 Clinical Clerkship in Avian I วิชาท่ตี องศกึ ษากอ น: สพวค ๕๕๓ สพวค ๖๗๕ คลินกิ ปฏิบัติสัตวน ้ำ ๑ ** ๓ (๐-๙-๓) VSCL 675 Clinical Clerkship in Aquatic Animal I วชิ าที่ตองศกึ ษากอ น: สพวค ๕๕๔ สพวค ๖๗๖ คลินิกปฏิบตั ิสัตวเ คย้ี วเออื้ ง ๑ ** ๓ (๐-๙-๓) VSCL 676 Clinical Clerkship in Ruminant I วชิ าที่ตองศกึ ษากอ น: สพวค ๕๕๕ สพวค ๖๗๗ คลินิกปฏิบตั ิสกุ ร ๑ ** ๓ (๐-๙-๓) VSCL 677 Clinical Clerkship in Swine I วชิ าทตี่ อ งศึกษากอน: สพวค ๕๕๗ วชิ าชพี บังคับเลอื ก ๖ (๐-๑๘-๖) วชิ าเลือกเสรี ๓ หมายเหตุ รวม ๒๑ หนวยกิต * หมายถึงรายวิชาตอ เน่ืองทเี่ รียนทง้ั สองภาคการศกึ ษา แตนับหนวยกิตในภาคตนและแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย ** หมายถงึ รายวิชาตอ เนือ่ งทีเ่ รียนทัง้ สองภาคการศกึ ษา แตน บั หนวยกติ และแสดงผลการศกึ ษาในภาคปลาย 15 คมู อื หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวทิ ยาลยั มหิดล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ คำอธบิ ายรายวิชา ๑) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ๑. กลุมวชิ าทม่ี หาวทิ ยาลัยกำหนด หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) มมศท ๑๐๐ การศึกษาท่ัวไปเพ่ือการพฒั นามนษุ ย ๓ (๓-๐-๖) MUGE 100 General Education for Human Development 3 (3-0-6) การเปน บณั ฑติ ทเ่ี ปน มนษุ ยท ส่ี มบรู ณ ประเดน็ สำคญั ทม่ี ผี ลกระทบตอ สงั คมและสง่ิ แวดลอ มในบรบิ ทของตนเอง บรู ณาการความรู ศาสตรต า ง ๆ อยา งเปน องคร วมเพอ่ื หาเหตปุ จ จยั ของประเดน็ สำคญั พดู และเขยี นเพอ่ื สอ่ื สารกบั กลมุ เปา หมายไดต ามวตั ถปุ ระสงค รบั ผดิ ชอบ เคารพความคิดเห็นที่หลากหลายและมุมมองที่แตกตาง เปนผูนำหรือสมาชิกของกลุมและทำงานรวมกันเปนทีมในการเสนอวิธีแกปญหา หรอื แนวทางการจดั การประเดน็ สำคัญอยา งเปน ระบบตามหลกั การวจิ ยั เบอื้ งตน ประเมนิ ผลกระทบของประเด็นสำคัญทัง้ เชงิ บวกและลบ ตอสงั คมและส่ิงแวดลอมโดยใชส ติและปญ ญาเพ่ือใหอยกู ับสังคมและธรรมชาตไิ ดอยางมีความสขุ Wel-rounded graduates, key issues affecting society and the environment with respect to one’ particular context; holisticaly integrated knowledge to identify the key factors; speaking and writing to target audiences with respect to objectives; being accountable, respecting different opinions, a leader or a member of a team and work as a team to come up with a systematic basic research-based solution or guidelines to manage the key issues; mindful and intelectual assessment of both positive and negative impacts of the key issues in order to happily live with society and nature. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใชภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร ๓ (๒-๒-๕) LATH 100 Arts of Using Thai Language in Communication 3 (2-2-5) วชิ าทีต่ อ งศึกษากอน - ศลิ ปะการใชภ าษาไทย ทกั ษะการใชภ าษาไทยในดา นการพดู การฟง การอา น การเขยี น และการคดิ เพอ่ื การสอ่ื สารไดอ ยา งถกู ตอ ง เหมาะสม The Art of using the Thai language and of speaking, listening, reading, and thinking skils for accurate and appropriate communication 16 คมู อื หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) ศศภอ ๑๐๓ ภาษาองั กฤษระดบั ๑ ๓ (๒-๒-๕) LAEN 103 English Level 1 3 (2-2-5) วิชาทตี่ องศกึ ษากอน - โครงสรา งไวยากรณ และคำศพั ทภ าษาองั กฤษในบรบิ ททเ่ี กย่ี วขอ งกบั การใชภ าษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวนั ในลกั ษณะของการบรู ณาการ ทกั ษะการฟง พดู อา น และเขยี นภาษาองั กฤษ รวมทง้ั กลยทุ ธใ นการอา นบทความ การเขยี นในระดบั ประโยค การฟง เพอ่ื จบั ใจความสำคญั การออกเสียง และการพดู ส่ือสารในชน้ั เรียนระดบั บทสนทนา English structure, grammar, and vocabulary in the context of the daily language use, integration of listening, speaking, reading, and writing skils; reading strategies, sentence writing, listening for the gist, pronunciation, and classroom communication. หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) ศศภอ ๑๐๔ ภาษาองั กฤษระดบั ๒ ๓ (๒-๒-๕) LAEN 104 English Level 2 3 (2-2-5) วิชาท่ตี อ งศกึ ษากอน - ศพั ท สำนวน ไวยากรณ และการใชภ าษาองั กฤษในบรบิ ททางสงั คมปจ จบุ นั ทกั ษะการสนทนาในกลมุ ยอ ย การทำบทบาทสมมตุ ิ ในสถานการณตา ง ๆ ทกั ษะการเขียนในระดบั ยอหนา และเน้อื หาการอานและการฟง เร่อื งตางๆ Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skils in smal groups; simulations in various situations; writing practice at a paragraph level; and reading and listening from various sources 17 คูมือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดบั ๓ ๓ (๒-๒-๕) LAEN 105 English Level 3 3 (2-2-5) วชิ าทีต่ องศกึ ษากอน - กลยทุ ธท ส่ี ำคญั ในทกั ษะการใชภ าษาทง้ั ส่ี การอา นและการฟง จากแหลง ตา งๆ การพดู ในชวี ติ ประจำวนั และการเขยี นระดบั ยอ หนา และเรียงความสั้นๆ รวมทั้งทักษะยอย คือ ไวยากรณ การออกเสียงและคำศัพท เนนภาษาอังกฤษที่ใชในชีวิตประจำวัน และการอาน เชงิ วิชาการและเน้อื หาเกีย่ วกับสงั คมโลก Essential strategies for four language skils: reading and listening from various sources, speaking in everyday use and writing at a paragraph and short essay level, including sub-skils, i.e., grammar, pronunciation, and vocabulary; focusing on English in everyday life and in academic reading and issues enhancing students’ world knowledge. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) ศศภอ ๑๐๖ ภาษาองั กฤษระดบั ๔ ๓ (๒-๒-๕) LAEN 106 English Level 4 3 (2-2-5) วชิ าทต่ี องศึกษากอ น - บรู ณาการทกั ษะภาษาองั กฤษโดยการฝก อา นขา ว บทความวจิ ยั ความคดิ เหน็ และเนอ้ื หาทางวชิ าการเพอ่ื ความเขา ใจและคดิ อยา ง วเิ คราะหจ ากแหลง ตา งๆ โดยเนน ประเดน็ ซง่ึ ชว ยใหน กั ศกึ ษารเู กย่ี วกบั สงั คมโลก ฝก การฟง ขา ว การบรรยายและสนุ ทรพจนจ ากสอ่ื มลั ตมิ เี ดยี และอนิ เตอรเ นต็ การสนทนาในสถานการณต า งๆ รวมทง้ั การฝก พดู ในทช่ี มุ ชน การนำเสนอและการทำบทบาทสมมตุ ิ ฝก การเขยี นเรยี งความ รูปแบบโดยใชการอางอิงและบรรณานุกรม ทั้งนี้รวมทั้งการฝกทักษะยอย เชน ไวยากรณ การออกเสียงและคำศัพทในบริบทที่เหมาะสม Integrating four English skills by practicing reading news, research articles, commentaries, and academic texts, for comprehension and critical thinking, from various sources focusing on the issues enhancing students’ world knowledge; listening to news, lectures, and speeches via multimedia and the Internet; making conversations in various situations including speaking in the public, giving oral presentations and making simulations; writing essays in various types using citations and references; practicing sub-skils such as grammar, pronunciation, and vocabulary used in appropriate contexts. 18 คูมือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวิทยาลยั มหิดล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ๒. กลมุ วิชาทค่ี ณะกำหนด ๑๘ หนว ยกิต ประกอบดวย หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) วทศท ๑๒๒ วทิ ยาศาสตรเบ้ืองหลงั การมชี ีวิตที่ดี ๒ (๒-๐-๔) SCGE122 Science Behind a Good Life 2 (2-0-4) วิชาท่ตี องศึกษากอ น - สขุ ภาวะทด่ี ใี นโลกปจ จบุ นั อาหารเสรมิ การทำงานของยาและสารเสพตดิ บางชนดิ ชวี วทิ ยาสงั เคราะห เทคโนโลยกี ารผลติ วคั ซนี สเตม็ เซลล โรคทางพนั ธกุ รรม ยนี บำบดั เพศทางเลอื ก เชอ้ื ดอ้ื ยา โรคอบุ ตั ใิ หม- ซำ้ โรคระบาด การใชว คั ซนี อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพในสงั คม สุขภาวะของประชากรเมอื ง มลพษิ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Good life in the modern world; food supplements; how drugs and some additives work; synthetic biology; technology for vaccine production; stem cels; genetic disorders; gene therapy; sex selection; drug-resistance; emerging and re-emerging diseases; epidemiology; ef-fective use of vaccines in community; health condition of urban population; polutions; climate change. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดว ยตนเอง) วทศท ๑๐๓ ฟส ิกสเ พอื่ ผูประกอบการ ๓ (๓-๐-๖) SCGE103 Physics for Future Entrepreneurs 3 (3-0-6) วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอ น - หลกั การเชงิ ฟส กิ สข องนวตั กรรมตา งๆ ทผ่ี ปู ระกอบการในอนาคตควรจะรู เชน อปุ กรณท ใ่ี ชเ ทคโนโลยสี มยั ใหม นวตั กรรมทเ่ี กย่ี วกบั อปุ กรณฉ ลาดเพอ่ื การดแู ลสขุ ภาพ อปุ กรณป ระหยดั พลงั งาน ฟส กิ สก บั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ ม การเสนอแนวคดิ เกย่ี วกบั การพฒั นา นวัตกรรมทีอ่ าศัยหลักการทางฟสกิ สผานการทำงานเปนทมี และการส่ือสารผา นบคุ คลอ่นื Physics Working principles of innovation for future entrepreneurs such as advanced technology instruments, physics and smart devices for health cares, physics and energy saving; physics and safety, physics and environmental issues; presenting new ideas about developing innovation based on physics through team working and communicating to others’. 19 คูม ือหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จุฬาภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล-วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) วทศท ๑๓๒ การตัดสินใจโดยใชห ลกั สถติ ิ ๒ (๒-๐-๔) SCGE 132 Decision Making using Principles of Statistics 2 (2-0-4) วชิ าท่ตี อ งศกึ ษากอ น - แนวคดิ เกย่ี วกบั การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ประเภทของขอ มลู การนำเสนอขอ มลู เชงิ ปรมิ าณ การเลอื กใชว ธิ กี ารและเครอ่ื งมอื ทเ่ี หมาะสม ในการวิเคราะหขอ มลู การสรุปผลและการตดั สนิ ใจโดยใชห ลักสถติ ิ Concepts of data collection; types of data; presentation of quantitative data; the use of appropriate methods and tools for data analysis; conclusion and decision making using principles of statistics หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพศท ๒๐๑ การดแู ลสตั วเล้ียง ๒ (๒-๐-๔) VSGE 201 Companion Animals Care 2 (2-0-4) วิชาท่ีตองศกึ ษากอน - พนั ธขุ องสนุ ขั และแมว อปุ นสิ ยั และลกั ษณะประจำสายพนั ธุ พฤตกิ รรมของสนุ ขั และแมว การดแู ลสขุ ภาพสตั วเ ลย้ี งในขน้ั พน้ื ฐาน การจดั การอาหาร ระบบสบื พันธุ การปองกนั โรค การดแู ลสขุ ภาพมา กลมุ สัตวเลยี้ งชนิดพเิ ศษ สัตวปก และสัตวน ้ำ Dog and cat breeds, behavior, general health care of dog and cat, nutrition management, reproduction, preventive medicine and general health care of horses, exotic pets, avian and aquatic animals. 20 คูมือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลยั มหิดล-วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ๒) หมวดวชิ าเฉพาะ ๑. กลุมพื้นฐานวิชาชพี หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) วทชว ๑๐๒ ปฏิบัติการหลกั ชีววทิ ยา ๑ ๑ (๐-๓-๑) SCBI 102 Biology Laboratory I 1 (0-3-1) วิชาท่ตี องศกึ ษากอ น - ปฏบิ ตั กิ ารการใชก ลอ งจลุ ทรรศน โครงสรา งและหนา ทข่ี องเซลล เนอ้ื เยอ่ื พชื และสตั ว การแบง เซลล พนั ธศุ าสตรแ ละการคดั เลอื ก โดยธรรมชาติ นิเวศวิทยา และพฤตกิ รรม Microscopy, cel structure and function, plant and animal tissues; cel division, genetics and natural selection, ecology, and behavior. วทชว ๑๐๔ ปฏิบัตกิ ารหลกั ชวี วิทยา ๒ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) SCBI 104 Biology Laboratory II ๑ (๐-๓-๑) 1 (0-3-1) วชิ าทีต่ อ งศกึ ษากอน - ทักษะการจัดหมวดหมูของพืชและสัตว ทั้งสัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง และที่มีกระดูกสันหลัง การสรางเซลลสืบพันธุ ชีววิทยา ของการเจริญ ระบบประสาทและการควบคุมการทำงานของรางกาย การไหลเวยี นเลอื ด Diversity of plants and animals including invertebrates and vertebrates; reproduction and development; nervous system and control of body function; circulatory system. 21 คมู ือหลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) วทชว ๑๒๓ กระบวนการของชีวิต ๓ (๓-๐-๖) SCBI 123 Process of Life 3 (3-0-6) วชิ าทีต่ องศึกษากอน - ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต กระบวนการของชีวิตของพืชรวมถึงอาหารของพืช การลำเลียง ภาวะธำรงดุล การสืบพันธุและ การเจรญิ กระบวนการของชวี ติ ของสตั วร วมถงึ การสบื พนั ธุ การเจรญิ การควบคมุ ตอ มไรท อ การสง สญั ญาณประสาท การควบคมุ ประสาท และการรับความรูส กึ การปองกนั ภายใน การแลกเปลีย่ นกาซ การลำเลียงภายใน และการยอ ยอาหาร Diversity of life, life processes in plants nutrition, transport, homeostasis, reproduction and development, life processes in animalsincluding reproduction, development, endocrine regulation, neural signaling neural regulation, sensory reception, internal defense,gas exchange, internal transport and digestion. หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) วทคม ๑๑๙ ปฏิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑) SCCH 119 Chemistry Laboratory 1 (0-3-1) วิชาทีต่ องศึกษากอนหรอื เรียนพรอมกัน วทคม ๑๐๒ การทดลองเคมที ว่ั ไปและเคมอี นิ ทรยี เ บอ้ื งตน ไดแ ก ความคลาดเคลอ่ื นและเลขนยั สำคญั การเตรยี มสารละลายและการไทเทรต กฏอตั ราของปฏกิ ริ ยิ า สมดลุ เคมี การวเิ คราะหเ ชงิ ปรมิ าณโดยเทคนคิ ทางแสง การจำแนกสารอนิ ทรยี ต ามการละลาย การใชแ บบจำลอง ศึกษาสเตอริโอเคมีของสารอินทรีย ปฏิกิริยาของไฮโดรคารบอน แอลกอฮอล ฟนอล แอลดีไฮด คีโตน กรดคารบอกซิลิก อนุพันธของ กรดคารบอกซิลิก และเอมีน Experiments of general chemistry and basic organic chemistry include determinations of scientific errors, significant numbers, precision and accuracy, preparation of solution and titration, rate of reaction, chemical equilibria, quantitative analysis using spectroscopy, solubility classification, use of models to study stereochemistry of organic substance, reactions of hydrocarbons, reactions of alcohols and phenols, reactions of aldehydes and ketones, reactions of carboxylic acids and derivatives, reactions of amines. 22 คมู อื หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) วทฟส ๑๑๐ ปฏบิ ตั ิการฟส กิ สท ั่วไป ๑ (๐-๓-๑) SCPY 110 General Physics Laboratory 1 (0-3-1) วิชาทตี่ องศกึ ษากอ น - การทดลองฟสิกสพื้นฐานที่เกี่ยวของกับหลักสูตรฟสิกสที่นักศึกษาแตละคณะกำลังศึกษา Basic physics experiments relating to physics curriculums taught to the first year students in each faculty. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดว ยตนเอง) วทคม ๑๐๒ เคมที ่วั ไป ๓ (๓-๐-๖) SCCH102 General Chemistry 3 (3-0-6) วชิ าท่ตี องศึกษากอ น - โครงสรางอะตอม พันธะเคมี แกส ของแข็ง ของเหลว สารละลาย คอลลอยด อุณหพลศาสตรเคมี จลนพลศาสตรเคมี สมดลุ เคมี สมดุลของไอออน ไฟฟา เคมี ตารางธาตุปจ จุบัน Atomic structure, chemical bonding, gases, liquids, solids, solutions, coloids, chemical thermodynamics, chemical kinetics, chemical equilibria, ionic equilibria, electrochemistry, the present periodic table. 23 คูมือหลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต โครงการมหาวทิ ยาลยั มหิดล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาดวยตนเอง) วทคม ๑๒๕ เคมีอินทรยี พ้นื ฐาน ๓ (๓-๐-๖) SCCH125 Basic Organic Chemistry 3 (3-0-6) วิชาท่ีตอ งศกึ ษากอน - โครงสรา งโมเลกลุ และการจำแนกสารอนิ ทรยี  ปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบเคมอี นิ ทรยี  การเรยี กชอ่ื และสเตอรโิ อเคมี การสงั เคราะห และปฏกิ ริ ยิ าของแอลเคน ไซโคลแอลเคน แอลคนี แอลไคน อะโรมาตกิ ไฮโดรคารบ อน สารเฮไลด แอลกอฮอล ฟน อล อเี ทอร อลั ดไี ฮด คีโตน กรดคารบอกซิลิก อนุพนั ธกรดคารบอกซิลกิ อะมีน Molecular structure and classification of organic compounds, reactions of organic compounds, nomenclature and stereochemistry, syntheses and reactions of alkanes, cycloalkanes, alkenes, alkynes, aromatic hydrocarbons, halides, alcohols, phenols, ethers, aldehydes, ketones, carboxylic acids, carboxylic acid derivatives, amines. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๒๐๐ การแกปญ หาทางคลนิ กิ และบรู ณาการทางการสตั วแพทย ๑ ๑ (๑-๐-๒) VSPA 200 Clinical Problem Solving and Integration of Veterinary Science I 3 (3-0-6) วชิ าท่ีตอ งศกึ ษากอน - สหสมั พนั ธโ ครงสรา งและหนา ทข่ี องระบบอวยั วะในรา งกายสตั ว พฤตกิ รรม การจบั บงั คบั โภชนศาสตรส ตั ว พนั ธกุ รรม การเลย้ี ง และการผลิตสัตว กรณศี กึ ษาดานสตั วเล้ยี ง ปศุสตั ว สตั วนำ้ สัตวป า และสัตวเ ลีย้ งชนิดพเิ ศษ The correlation between structures and functions of the animal organ systems, behavior, restraint, nutrition, genetics and breeding, livestock production; case studies in companion, livestock, aquatic, wildlife, and exotic animals. 24 คมู อื หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจุฬาภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๑๐ หลกั การผลติ ปศสุ ตั ว ๔ (๓-๓-๗) VSPA 210 Principles of Livestock Production 4 (3-3-7) วชิ าทตี่ อ งศึกษากอน - หลกั การผลติ สตั วเ คย้ี วเออ้ื ง สกุ ร และสตั วป ก พนั ธสุ ตั ว การคดั พนั ธุ การปรบั ปรงุ พนั ธุ การจดั การรปู แบบการเลย้ี ง การจดั การ โรงเรือน การทำเครื่องหมายบนตัวสตั ว การควบคมุ บงั คับสัตว อาหารและการใหอาหาร การดแู ลสขุ ภาพและปอ งกันโรค การสขุ าภิบาล ในฟารม ในเชิงธุรกิจการเลี้ยงสัตว การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชในระบบการผลิต ความรูพื้นฐานในการเรียนทางดานปศุสัตว คลินิก Principles of livestock ruminants, swine and poultry production; animal breeding, breeding selection, breeding improvement; rearing management, housing management, animal labeling, animal restraint, feed and feeding, animal diseases and health management, farm sanitation, economics business production, information technology application for livestock production, and basic knowledge for clinical study in livestock animals. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๑๒ พฤตกิ รรมสัตว การจับบงั คับสตั วและสวสั ดภิ าพสตั ว ๓ (๒-๓-๕) VSPA 212 Animal behavior, Restraint, and Welfare 3 (2-3-5) วิชาทตี่ องศึกษากอน - พฤตกิ รรมสตั วแ ละความผดิ ปกติ หลกั การเรยี นรขู องสตั ว การจบั บงั คบั สตั วอ ยา งถกู วธิ ี การฝก สตั ว การจดั การและการปอ งกนั ปญ หาพฤติกรรม และหลักการสวัสดภิ าพสตั ว Animal behaviors and their abnormalities, animal learning principles, restraint and handling, training; management and prevention of behavioral problems, and animal welfare. 25 คูม อื หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลัยมหิดล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๑๓ พันธุศาสตรสัตวและการปรบั ปรุงพนั ธุ ๓ (๓-๐-๖) VSPA 213 Animal Genetics and Breeding Improvement 3 (3-0-6) วชิ าทตี่ อ งศกึ ษากอ น - หลกั พนั ธศุ าสตรท ว่ั ไปของสตั ว สถติ เิ พอ่ื การปรบั ปรงุ พนั ธสุ ตั ว พนั ธศุ าสตรป ระชากร พนั ธศุ าสตรเ ชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ ระบบ การคัดเลือก ผลตอบสนองตอการคัดเลือก พารามิเตอรทางพันธุศาสตร การผสมพันธุ การใชเทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ การปรับปรุงพันธสุ ตั วและการนำไปใช An introduction to animal genetics, statistics in animal breeding, population genetics, qualitative and quantitative genetics, genetic parameters; selection methods, response to the selection, the mating system, biotechnology in animal breeding, and animal breeding in practice. หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๑๔ โภชนศาสตรสัตว ๓ (๒-๓-๕) VSPA 214 Animal Nutrition 3 (2-3-5) วชิ าท่ตี องศกึ ษากอน สพปส ๒๒๔ โภชนศาสตรส ตั ว โภชนาการและระบบการยอ ยอาหารของสตั วเ ปรยี บเทยี บ การจำแนกประเภทโภชนะและสขุ ภาพสตั ว วตั ถดุ บิ อาหารสัตวและการเลือกใช การประเมินการใชประโยชนวัตถุดิบอาหารและโภชนะ การประเมินความตองการโภชนะ ปจจัยที่มีผลตอ การกินได สารยับยั้งการใชโภชนะในอาหารสัตว มาตรฐานการใหอาหารและการใหผลผลิต หลักการคำนวณและการสรางสูตรอาหาร ในสัตวไ มเค้ยี วเออื้ งและเคย้ี วเอ้อื ง การเตรียมวัตถดุ บิ และการแปรรปู อาหารสัตว การควบคมุ เชงิ คุณภาพของโรงงานอาหารสัตว โรคทาง โภชนาการ การวิเคราะหคณุ ภาพทางเคมขี องอาหารสัตว สมั มนางานวิจยั โภชนศาสตรส ัตว Animal nutrition, nutrition and comparative animal gastrointestinal tracts, nutrients classification and animal health; feedstuffs and its use, the determination of feed and nutrient utilization, determination of animal nutrient requirements; factors affecting feed consumption, inhibitory factors in feedstuffs, nutritional disorders; feeding standard and productivity; feed formulation concept for non-ruminants and ruminants, feed preparation and processing, feed quality control of feed mils, nutrition diseases, feed proximate analysis, and animal nutrition research seminar. 26 คมู อื หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๒๐ โครงสรางและการทำงานของรา งกาย ๑ ๕ (๓-๖-๘) VSPA 220 Body Structure and Function I 5 (3-6-8) วิชาท่ตี องศึกษากอน วทชว ๑๐๒, วทชว ๑๐๔, วทชว ๑๒๓ การใชก ลอ งจุลทรรศน พืน้ ฐานคพั ภะวทิ ยา มหกายวภิ าคศาสตร สรรี วทิ ยาระดบั เซลล จลุ กายวิภาคศาสตร และสรีรวทิ ยาของ กลา มเนือ้ ในสัตว Microscopic practice; basic embryology, anatomy, cel physiology, histology, and muscle physiology in animals. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๒๑ โครงสรา งและการทำงานของรา งกาย ๒ ๔ (๓-๓-๗) VSPA 221 Body Structure and Function II 4 (3-3-7) วิชาท่ีตอ งศึกษากอน วทชว ๑๐๒, วทชว ๑๐๔, วทชว ๑๒๓ โครงสรางและการทำงานของระบบประสาท ระบบอวยั วะรบั สมั ผสั พเิ ศษ ระบบไหลเวยี นโลหิต และระบบนำ้ เหลือง Structures and functions of nervous system, special sense system, cardiovascular system, and lymphatic system. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๒๒๒ โครงสรางและการทำงานของรางกาย ๓ ๕ (๔-๓-๗) VSPA 222 Body Structure and Function III 5 (4-3-7) วิชาทต่ี องศกึ ษากอน สพปส ๒๒๐, สพปส ๒๒๑ โครงสรางและการทำงานของระบบทางเดินอาหารสัตวกระเพาะเดี่ยว สัตวกระเพาะรวม สัตวที่มีการหมักยอยในลำไสใหญ และอวยั วะท่ีเก่ียวของ ระบบตอ มไรทอและฮอรโมนเพศในสัตว ระบบสืบพันธุเ พศผูและเพศเมีย Structures and functions of mono-gastric animals, compound-gastric animals, hind-gut fermentation and accessory digestive organs; the endocrine system and animal reproductive hormones; the male and female reproductive systems. 27 คูมือหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหิดล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพปส ๒๒๓ โครงสรา งและการทำงานของรางกาย ๔ ๔ (๓-๓-๗) VSPA 223 Body Structure and Function IV 4 (3-3-7) วิชาที่ตองศึกษากอ น สพปส ๒๒๐, สพปส ๒๒๑ โครงสรา งและการทำงานของระบบขบั ถา ยปส สาวะ ระบบทางเดนิ หายใจ ดลุ กรด-ดา ง และการปรบั อณุ หภมู ริ า งกาย โครงสรา ง และการทำงานของรางกายสตั วน ำ้ สัตวปก สัตวเล้ียงชนดิ พิเศษ และมา Structures and functions of the urinary, respiratory systems; acid-base balance and thermoregulation; body structures and functions of aquatic animals, avian, exotic pets, and equines. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๒๒๔ ชีวเคมที างการสตั วแพทย ๓ (๓-๐-๖) VSPA 224 Veterinary Biochemistry 3 (3-0-6) วิชาทีต่ องศึกษากอ น วทคม ๑๑๙, วทชว ๑๒๓ โครงสราง หนาที่ คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี ความผิดปกติและโรคที่เกี่ยวของกับ น้ำ อิเล็กโทรไลต คารโบไฮเดรต กรดอะมิโนและโปรตีน เอนไซม ไขมัน กรดนิวคลีอิก วิตามินและแรธาตุ เทคนิคทางอณูชีววิทยา และชีวเคมีคลินิก Structures, functions, physical and chemical properties; abnormality and related diseases of water, electrolyte, carbohydrate, amino acid and protein, enzymes, lipid, nucleic acids, vitamins and minerals; molecular biology techniques, and clinical biochemistry. 28 คูม อื หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต โครงการมหาวิทยาลยั มหดิ ล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๒๒๕ ปฏบิ ัติการชีวเคมีทางการสัตวแพทย ๑ (๐-๓-๑) VSPA 225 Laboratory of Veterinary Biochemistry 1 (0-3-1) วชิ าท่ตี องศกึ ษากอน วทคม ๑๑๙, วทชว ๑๒๓ วชิ าท่ตี อ งเรียนพรอมกัน สพปส ๒๒๔ ฝก ใชเ ครอ่ื งมอื ปฏบิ ตั กิ ารชวี เคมี พเี อช บฟั เฟอร การไตเตรท ทดสอบคณุ สมบตั แิ ละวดั ปรมิ าณของคารโ บไฮเดรต โปรตนี ดเี อน็ เอ ไขมัน ครีเอตินีน ยูเรีย ฮีโมโกลบิน บิลิรูบิน และเอนไซมที่เกี่ยวของกับการทำงานของตับ การทำงานของเอนไซม การสกัดแยกและ วดั ปริมาณดเี อ็นเอ และองคป ระกอบทางชีวเคมขี องเซลล Biochemical equipment practical handlings, pH, buffer, titration, qualitative and quantitative determination of carbohydrate, protein; DNA, lipid, creatinine, urea, hemoglobin, bilirubin, and hepatic enzymes; functions of enzyme, DNA extraction and measurement, and cel biochemical components. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๒๒๖ บรู ณาการชวี เคมีทางการสัตวแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSPA 226 Integrated Veterinary Biochemistry 2 (2-0-4) วิชาทีต่ อ งศึกษากอ น สพปส ๒๒๔ , สพปส ๒๒๕ อุณหพลศาสตร โซการขนสงอิเล็กตรอนและออกซิเดตีฟฟอสโฟรีเลชัน กระบวนการเมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรต ไขมัน สารประกอบไนโตรเจน ดีเอ็นเอ ความสัมพันธ และกระบวนการควบคุมเมแทบอลิซึม บูรณาการองคความรูใหมที่เกี่ยวกับชีวเคมีทาง สัตวแพทย Thermodynamics, electron transport chain, oxidative phosphorylation; metabolism of carbohydrate, lipid, and nitrogenous compounds; DNA, the integration and regulation of metabolisms, the integration of veterinary biochemistry knowledge. 29 คมู ือหลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๒๖๐ อนามัยส่ิงแวดลอมและอาชวี อนามัย ๒ (๒-๐-๔) VSPA 260 Environmental and Occupational Health 2 (2-0-4) วชิ าทต่ี องศึกษากอน - สาเหตแุ ละปญ หาดานมลภาวะแวดลอ ม มลภาวะทางดนิ มลภาวะทางนำ้ มลภาวะทางอากาศ การจัดการส่ิงแวดลอมในฟารม ปศุสัตว การจัดการของเสียจากโรงพยาบาลและคลินิกสัตวแพทย กฏหมายและขอกำหนดตางๆ การประเมินความเสี่ยง ชีวอนามัยใน วชิ าชพี สตั วแพทย Causes and effects of the environmental pollution, soil pollution, water pollution, air pollution farm environmental management; veterinarian hospital and clinic waste management; law and its regulation, risk assessment, and occupational health in veterinary medicine. หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๓๐๑ การแกป ญหาทางคลินกิ และบรู ณาการทางการสตั วแพทย ๒ ๑ (๑-๐-๒) VSPA 301 Clinical Problem Solving and Integration of Veterinary Science II 1 (1-0-2) วชิ าทตี่ องศึกษากอน สพปส ๒๒๔ , สพปส ๒๒๕ สหสมั พนั ธโ ครงสรา งและหนา ทข่ี องระบบอวยั วะในรา งกายสตั ว พฤตกิ รรม การจบั บงั คบั โภชนศาสตรส ตั ว พนั ธกุ รรม การเลย้ี ง และการผลิตสัตว วิทยาภูมิคุมกัน เภสัชวิทยา จุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา กรณีตัวอยางศึกษาดานสัตวเลี้ยง ปศุสัตว สัตวน้ำ สัตวปาและ สตั วเ ลย้ี งชนดิ พิเศษ The correlation between structures and functions of the animal organ systems, behavior, restraint, nutrition; genetics and breeding, livestock production, immunology, pharmacology, microbiology, parasitology; case studies in companion, livestock, aquatic, wildlife, and exotic animals. 30 คูม ือหลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๓๐๒ นเิ วศวทิ ยาสตั วปา และการอนรุ กั ษ ๒ (๒-๐-๔) VSPA 302 Wildlife Ecology and Conservation 2 (2-0-4) วิชาทต่ี องศึกษากอน มมศท ๑๐๐ องคประกอบ การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน สัตวปาในประเทศไทย หลักการศึกษาประชากรสัตวปา การประเมินผลความ เสี่ยงของสถานภาพสัตวปา โรคสัตวสูคน การอนุรักษสัตวปาในถิ่นอาศัย และนอกถิ่นอาศัย การใชเทคโนโลยีชีวภาพและบทบาทของ สตั วแพทยในการอนุรกั ษส ตั วปา Composition and exchange of the ecosystem cycle, wild animals in Thailand; principles of wildlife population study, risk estimation of species survival, zoonoses, in situ and ex situ wildlife conservation; biotechnology, and veterinary roles in the wildlife conservation. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๐๕ ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ทางการสตั วแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSPA 305 Veterinary Research Methodology 2 (2-0-4) วิชาทต่ี องศึกษากอ น วทศท ๑๓๒ แนวความคดิ ตรรกวทิ ยา และจรรยาบรรณดา นระเบยี บวธิ วี จิ ยั การตง้ั สมมตุ ฐิ านงานวจิ ยั การใชส ตั วท ดลองเพอ่ื การวจิ ยั เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั เทคนคิ การสมุ ตวั อยา ง ชวี สถติ ิ การศกึ ษาวจิ ยั เชงิ สงั เกต การวางแผนการทดลอง การศกึ ษาวจิ ยั ทางคลนิ กิ หลกั การวเิ คราะห ขอมูลทางสถติ ิ การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการติดตามคน ควาขอมูล การรายงานและการเขยี นรายงานการวิจัย Concepts, logic and ethics of research methodology, research hypothesis; the animal use for research, materials for research, sampling techniques, biostatistics, observational study, experimental design; clinical research study, principles of the data analysis, information technology for data searching, research reporting, and writing research reports. 31 คูมอื หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพปส ๓๑๕ หลักการผลติ สตั วน ้ำ ๒ (๒-๐-๔) VSPA 315 Principles of Aquatic Animal Production 2 (2-0-4) วชิ าที่ตองศึกษากอ น วทชว ๑๒๓ หลักการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ ระบบการผลิตสัตวน้ำในเชิงธุรกิจ การสรางฟารมเลี้ยงสัตวน้ำ การจัดการเรื่องน้ำสำหรับสัตวน้ำ คณุ ภาพนำ้ และดนิ ในการเลย้ี งสตั วน ำ้ อาหารและการใหอ าหาร หลกั พนั ธศุ าสตรส ตั วน ำ้ การจดั การแพลงกต อนและสาหรา ย การเพาะเลย้ี ง ปลา กงุ หอย กบ ตะพาบน้ำ และจระเข Principles of aquaculture; business in aquatic animals production; soil and water management, aquatic animal nutritions, genetics in aquatic animals, plankton and algae management; cultures of fish, shrimps, molusks, frogs, soft-sheled turtles, and crocodiles. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดวยตนเอง) สพปส ๓๑๖ การจัดการสัตวท ดลอง ๒ (๒-๐-๔) VSPA 316 Laboratory Animal Management 2 (2-0-4) วิชาทีต่ อ งศกึ ษากอน วทชว ๑๒๓ จรรยาบรรณการใชสัตว สวัสดิภาพสัตว ทางเลือกอื่นในวิทยาศาสตรสัตวทดลอง คุณภาพสัตวทดลอง การสืบสายพันธุและ การเพาะขยายพนั ธุ ระบบการจดั การและการปอ งกนั การตดิ เชอ้ื ในการเลย้ี งสตั วท ดลอง ขอ มลู จำเพาะของสตั วท ดลองประเภทสตั วฟ น แทะ และกระตาย การดแู ลสัตวระหวางการวิจยั ชีวอนามัยและความปลอดภัยของบคุ ลากรทีเ่ กี่ยวของ Ethics, welfare and alternative in laboratory animal science; laboratory animal quality, heritability and production, management and preventive health care in laboratory animals; the species specific of rodents and rabbits; the standard animal care during experimentations; occupational health and safety. 32 คูมือหลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๑๗ ฝก ภาคสนาม ๑ (๐-๓-๑) VSPA 317 Field Practice 1 (0-3-1) วิชาท่ีตอ งศึกษากอน สพปส ๒๑๒ การประยกุ ตค วามรสู กู ารปฏบิ ตั ใิ นปศสุ ตั ว สนุ ขั แมว สตั วเ ลย้ี งชนดิ พเิ ศษ สตั วส วนสตั วแ ละสตั วป า การเลย้ี งสตั วแ ละการจดั การ การสังเกตพฤติกรรมปกติของสัตว การบังคบั สัตว Practical y apply in the knowledge and skills in livestocks, dogs, cats, exotic, zoo and wildlife animals; husbandry and management, observing normal behavior of animals, and animal handling. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) สพปส ๓๒๗ หลักเภสชั วทิ ยาทางการสัตวแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSPA 327 Principles of Veterinary Pharmacology 2 (2-0-4) วชิ าทตี่ องศึกษากอ น สพปส ๒๒๓, สพปส ๒๒๖ หลกั การพน้ื ฐานของเภสชั วทิ ยาสตั วแพทย ความสำคญั และคำอธบิ ายของวชิ าเภสชั วทิ ยา คณุ สมบตั ขิ องยาและรปู แบบเภสชั ภณั ฑ เอกสารกำกับยา เภสัชตำรับ วิธีการนำยาเขาสูรางกายสัตว หลักการและขอพิจารณาการใชยา ขอกำหนดและการควบคุมผลิตภัณฑยา หลกั การของเภสชั จลนศาสตรแ ละเภสชั พลศาสตร ปฏกิ ริ ยิ าระหวา งยา ความแปรปรวนของการตอบสนอง หลกั เกณฑว ธิ กี ารทด่ี ใี นการผลติ ยา วติ ามนิ อาหารเสรมิ สารตา นอนมุ ลู อสิ ระ สารนำ้ และอเิ ลก็ โทรไลต เภสชั พนั ธศุ าสตร พนั ธกุ รรมบำบดั และหวั ขอ ปจ จบุ นั ทางเภสชั วทิ ยา Principles of veterinary pharmacology; the importance and description of pharmacology, pharmaceutical dosage forms and regimens, leaflet, pharmaceutical formulations, routes of drug administration; concept and rationale use of drugs, drug regulations and authorities, principles of pharmacokinetics and pharmacodynamics; drug interaction, variation in drug responses, Good Manufacturing Practice (GMP), vitamins, feed additives, antioxidants, fluid and electrolytes, pharmacogenomic, gene therapy, and current topics in pharmacology 33 คมู อื หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๒๘ เภสัชวิทยาตามระบบทางการสัตวแพทย ๔ (๓-๓-๗) VSPA 328 Veterinary Systemic Pharmacology 4 (3-3-7) วิชาทต่ี อ งศกึ ษากอ น สพปส ๓๒๗, สพปส ๓๓๔ เภสชั วทิ ยาทางสตั วแพทยข องยาทอ่ี อกฤทธต์ิ ามระบบประสาทอตั โนมตั ิ ประสาทสว นกลาง หวั ใจและหลอดเลอื ด ทางเดนิ หายใจ ทางเดนิ อาหาร ตอ มไรท อ ยาระงบั ปวด ยาลดไข ยาตา นการอกั เสบชนดิ ไมใ ชส เตยี รอยด ออตาคอยสแ ละสารตา นฤทธ์ิ ยาตา นการอกั เสบ ชนิดสเตียรอยด ยาออกฤทธิ์ตอผิวหนังและดวงตา ยาตานจุลชีพ หลักเกณฑการเลือกใช การตอบสนองและดื้อยา ยาตานเชื้อรา ไวรัส และปรสติ ยาฆา เชื้อภายนอก ยาเคมบี ำบัด ยาออกฤทธ์ติ อระบบภมู คิ ุมกนั ยาปรับพฤติกรรมสตั ว และสมุนไพรทางสตั วแพทย Veterinary pharmacology of systemic drugs including the autonomic and central nervous, cardiovascular, respiratory, gastrointestinal, endocrine systems; the analgesic, antipyretic, non-steroidal anti-inflammatory drugs; the autacoids and antagonists, steroidal anti-inflammatory drugs; the dermatologic and ophthalmic drugs, antimicrobial agents, rationale use, susceptibility and resistance of antimicrobials; the antifungal, antiviral, anti-parasitic drugs; disinfectants, antiseptic, and sterilant, chemotherapy, immune-modulating agents; the animal behavior-modifying drugs, and the veterinary herbal medicine. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๒๙ พษิ วทิ ยาทางการสตั วแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSPA 329 Veterinary Toxicology 2 (2-0-4) วิชาทีต่ อ งศกึ ษากอน สพปส ๒๒๖ หลักการและแนวคิดทางพิษวิทยา กลไกพื้นฐานของการเกิดพิษ การประเมินความเปนพิษของสารและการประเมินความเสี่ยง การตรวจวเิ คราะหห าสารพษิ ทางหอ งปฏบิ ตั กิ าร หลกั เบอ้ื งตน ของการรกั ษาอาการพษิ ในสตั ว พษิ วทิ ยาของสารกำจดั แมลง สารกำจดั ศตั รพู ชื และสตั วฟ นแทะ สารพษิ จากเชอื้ รา พิษจากพืชและสัตว พิษจากโลหะหนกั และสารพษิ จากอุตสาหกรรม Principles and concepts in toxicology, mechanisms of toxic injuries, classification of toxic substances, toxic evaluation and risk assessment; laboratory analysis of toxic substances; principles of poison treatment; toxicology of insecticides, pesticides, rodenticides, plant and animal toxins, heavy metals, and industrial polutants. 34 คมู อื หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหิดล-วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๓๐ จลุ ชีววิทยาทางการสัตวแพทย ๔(๔-๐-๘) VSPA 330 Veterinary Microbiology 4 (4-0-8) วิชาทต่ี องศึกษากอ น วทชว ๑๒๓ วิชาที่ตองเรยี นพรอ มกัน สพปส ๓๓๑, สพปส ๓๓๒ การจำแนก กายสณั ฐานวทิ ยา โครงสรา ง สมบตั ทิ างชวี เคมี การเจรญิ เตบิ โต ความสามารถ ในการกอ โรคของแบคทเี รยี เชอ้ื รา และไวรสั ในสตั ว โรคทส่ี ำคญั ทางสาธารณสขุ เทคนคิ การวนิ จิ ฉยั โรคในหอ งปฏบิ ตั กิ าร การทำไรเ ชอ้ื เทคนคิ ปลอดเชอ้ื และการเกบ็ ตวั อยา ง Classification, morphology, structure, biochemical properties; the growth, and pathogenicity of bacteria, fungi and virus in animals, diseases related to public health; laboratory diagnostic techniques, sterilization, aseptic techniques and specimen colections. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) สพปส ๓๓๑ วิทยาภมู คิ ุมกนั ทางการสัตวแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSPA 331 Veterinary Immunology 2 (2-0-4) วชิ าทต่ี องศกึ ษากอน สพปส ๒๒๐, สพปส ๒๒๑ วชิ าท่ีตอ งเรียนพรอ มกนั สพปส ๓๓๐, สพปส ๓๓๒ ระบบภูมิคุมกัน การตอบสนองตอสารกอภูมิตานทาน กลไกในการสรางภูมิคุมกัน ภูมิคุมกันในการติดเชื้อจุลชีพชนิดตางๆ ภาวะภูมไิ วเกนิ ภมู คิ มุ กนั บริเวณพ้นื ผิว ภมู คิ ุม กันในลูกออน โรคของระบบภมู คิ มุ กนั และวัคซนี The immune system, the immune response to antigen; mechanisms of immunity, immunity to microbes, hypersensitivity; the immunity at the body surface, the immunity in the fetus and newborn, diseases of the immune system, and vaccine. 35 คูมอื หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิต โครงการมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล-วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๓๒ ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและภูมคิ มุ กันวิทยาทางการสัตวแพทย ๑ (๐-๓-๑) VSPA 332 Laboratory of Veterinary Microbiology and Immunology 1 (0-3-1) วชิ าทต่ี อ งศกึ ษากอน - วชิ าทตี่ อ งเรยี นพรอ มกัน สพปส ๓๓๐, สพปส ๓๓๑ การเก็บตัวอยาง เทคนิคปลอดเชื้อ การจำแนกลักษณะ การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีของเชื้อจุลชีพ การทดสอบความไวของเชื้อตอยาปฏิชีวนะ หลักการทางหองปฏิบัติการในการวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ ปฏิบัติการทางภูมิคุมกันวิทยาสำหรับ ตรวจหาสารกอภมู ิตา นทาน และสารภมู ติ านทาน Sample collection, sterilization, classification, culture, isolation and identification, biochemical properties of microorganism, drug sensitivity; microbial laboratory diagnosis, immunological assay for the antigen and the antibody detection. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพปส ๓๓๓ ปรสติ วทิ ยาทางการสัตวแพทย ๕ (๓-๖-๘) VSPA 333 Veterinary Parasitology 5 (3-6-8) วิชาทต่ี อ งศึกษากอ น วทชว ๑๒๓ การจดั จำแนกสณั ฐานวทิ ยา วงชวี ติ พยาธสิ ภาพ และระบาดวทิ ยา ของสตั วข าปลอ ง โปรโตซวั และหนอนพยาธทิ างการสตั วแพทย เพ่อื ใชในการตรวจวนิ ิจฉยั ปรสิตในสตั ว การรกั ษา การปอ งกันและควบคมุ Classification, morphology, life cycle, pathogenesis and epidemiology of arthropods, protozoa and helminths in veterinary science; for diagnosis of the animal parasites, treatment; prevention and control. 36 คมู ือหลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๓๓๔ พยาธวิ ิทยาทั่วไปทางการสตั วแพทย ๔ (๓-๓-๗) VSPA 334 Veterinary General Pathology 4 (3-3-7) วชิ าทีต่ อ งศึกษากอ น สพปส ๒๒๒, สพปส ๒๒๓ ศพั ทท างพยาธวิ ทิ ยาทางสตั วแพทย กลไกการบาดเจบ็ การเสอ่ื ม การปรบั ตวั และการตาย ของเซลล การอกั เสบและการซอ มแซม ของเนื้อเยื่อ พยาธิวิทยาภูมิคุมกัน การรบกวนการไหลเวียนเลือด พยาธิวิทยาของโรคติดเชื้อ พยาธิวิทยาสิ่งแวดลอมและพิษวิทยา พยาธิวิทยาทางโภชนาการ การเจรญิ ของเซลลทผี่ ิดปกติ และการเกดิ มะเรง็ Terminology in veterinary pathology; mechanism of cel injury, degeneration, adaptation and cel death; inflammation and tissue healing, immunopathology, circulatory disturbance; infectious diseases, environmental and toxicopathology; nutritional pathology, and neoplasia. ๒. กลมุ วิชาชีพ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว ยตนเอง) ๒.๑ กลุมวิชาชพี บงั คับ สพปส ๓๓๕ พยาธิวิทยาตามระบบทางการสัตวแพทย ๔ (๓-๓-๗) VSPA 335 Veterinary Systemic Pathology 4 (3-3-7) วิชาทตี่ อ งศึกษากอน สพปส ๓๓๔ การเปลย่ี นแปลงทางพยาธวิ ทิ ยาของเซลล เนอ้ื เยอ่ื และอวยั วะทส่ี มั พนั ธก บั อาการทางคลนิ กิ และวกิ ารจากการชนั สตู รซากในระบบ ไหลเวยี นโลหติ ทางเดนิ หายใจ ทางเดนิ อาหาร สบื พนั ธุ ประสาท อวยั วะรบั สมั ผสั พเิ ศษ ผวิ หนงั ขบั ถา ยปส สาวะ กระดกู และกลา มเนอ้ื ตอมไรท อ ระบบสรางเม็ดเลือด Pathological changes of cells, tissues, and various organ systems that correlating with the clinical pictures and necropsy findings in the cardiovascular, respiratory, digestive, reproductive, nervous, special sense organs, integument, urinary, musculoskeletal, endocrine, and hemopoietic systems. 37 คูม อื หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพปส ๔๓๖ พยาธิวทิ ยาคลนิ ิกทางการสัตวแพทย ๓ (๒-๓-๕) VSPA 436 Veterinary Clinical Pathology 3 (2-3-5) วิชาท่ตี องศกึ ษากอน สพปส ๓๓๕ การเก็บตัวอยางเซลล เลือด อุจจาระ ปสสาวะ ซีรั่ม น้ำไขสันหลัง และของเหลวอื่น ๆ ในรางกาย การเก็บรักษาตัวอยาง การสงตัวอยา งไปยงั หองปฏบิ ัตกิ าร และการแปลผลการตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการเพอื่ ประกอบการวินิจฉัยโรค The collection of cells, blood, feces, urine, serum, the cerebrospinal fluid and the body fluid, preparation and shipment of laboratory specimens, and the interpretation of laboratory findings. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๔๐๖ บรู ณาการกระบวนการวจิ ัยทางการสัตวแพทย ๒ (๑-๓-๓) VSCL 406 Integrated Veterinary Research Process 2 (1-3-3) วชิ าทต่ี องศกึ ษากอ น สพปส ๓๐๕ การคน ควา รวบรวม วเิ คราะหแ ละวจิ ารณข อ มลู งานวจิ ยั การนำเสนอในรปู แบบการทบทวนวรรณกรรม บรู ณาการสมั มนางานวจิ ยั การนำสถิติมาประยุกตใชในการวิเคราะหขอมูล การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การเขียนและการนำเสนอเคาโครงงานวิจัย จรรยาบรรณการใชสัตวเพื่องานวิจยั Data collection, analysis and criticism, literature reviews and presentations, the integration of research seminar; applied statistics for data analysis, hypothesis, experimental design, research proposal writing and presentation; ethics of the animal use for research. 38 คมู ือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๔๔๐ หลกั เวชศาสตรท างการสตั วแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSCL 440 Principles of Veterinary Medicine 2 (2-0-4) วชิ าที่ตอ งศึกษากอน สพปส ๓๓๕ วชิ าทต่ี องเรยี นพรอ มกนั สพวค ๔๔๓ หลักการพื้นฐานในการตรวจวินิจฉัยโรคสัตว การสื่อสารกับเจาของสัตว การซักประวัติของสัตวปวย การตรวจรางกายตาม ระบบตา ง ๆ การใชเครอ่ื งมือพนื้ ฐานทางอายุรกรรม Principles of veterinary medicine, client communication, history taking, physical examination and basic clinical manipulation. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๔๔๑ หลกั วสิ ัญญแี ละศลั ยศาสตรทางการสัตวแพทย ๑ (๑-๐-๒) VSCL 441 Principles of Veterinary Anesthesia and Surgery 1 (1-0-2) วิชาทีต่ องศกึ ษากอ น สพปส ๓๒๘ วชิ าที่ตอ งเรียนพรอมกนั สพวค ๔๔๓ หลักวิสัญญีทางสัตวแพทย การระงับความเจ็บปวด การผาตัด การทำใหปลอดเชื้อ การผูกเงื่อน การเย็บแผล การหามเลือด การรักษาและการหายของบาดแผล สารน้ำบำบดั ทางศัลยกรรม การใชอ ุปกรณเ ฉพาะทางศัลยกรรมเพ่อื การวินิจฉยั และการรักษา Principles of veterinary anesthesia, pain management, veterinary surgical procedures; sterilization and disinfection, surgical tie and suturing, hemostasis; wound healing process and treatment, fluid therapy in the veterinary surgery; specific surgical instruments use for the diagnosis and treatment. 39 คมู ือหลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล-วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๔๔๒ ทศั นวนิ ิจฉัยทางการสตั วแพทย ๒ (๑-๓-๓) VSCL 442 Veterinary Diagnostic Imaging 2 (1-3-3) วชิ าทตี่ องศึกษากอ น สพปส ๓๓๕ ทศั นวนิ จิ ฉยั ทางสตั วแพทย การจดั ทา เทคนคิ การถา ยภาพรงั สี การลา งฟล ม การแปลผลภาพรงั สี เทคนคิ เบอ้ื งตน ในการบนั ทกึ ดว ยคลน่ื เสยี งความถส่ี งู และการแปลผล การใชเ ครอ่ื งถา ยเอกซเรยด ว ยระบบคอมพวิ เตอร การสรา งภาพเอม็ อารแ ละรงั สบี ำบดั ทางสตั วแพทย Diagnostic imaging in veterinary medicine, positioning; radiographic techniques, radiographic interpretations, ultrasonic applications and interpretations; computed tomography, magnetic resonance imaging and radiotherapy. หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๔๔๓ ทักษะทางคลินิกทางการสตั วแพทย ๑ (๐-๓-๑) VSCL 443 Clinical Skil in Veterinary Science 1 (0-3-1) วิชาที่ตอ งศกึ ษากอ น สพปส ๓๒๘, สพปส ๓๓๕ วิชาที่ตองเรียนพรอ มกัน สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๑, สพวค ๔๔๖ การซกั ประวตั ิ การตรวจรา งกาย การบนั ทกึ ขอ มลู สขุ ภาพของสตั วเ ลย้ี ง การใชเ ครอ่ื งมอื ทางอายรุ กรรมและศลั ยกรรม การผกู เงอ่ื น การเยบ็ แผล เทคนคิ ปลอดเชอ้ื เทคนคิ การวางยาสลบ การดแู ลสตั วช ว งกอ น ระหวา งและหลงั วางยาสลบ และหตั ถการทส่ี ำคญั ทางสตั วแพทย History taking and physical examination in companion animals; medical records, medical and surgical equipment practices, suture patterns, aseptic technique, anesthetic techniques, patient monitoring and clinical procedures. 40 คมู อื หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวทิ ยาลัยมหิดล-วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๔๔๔ วทิ ยาการสบื พันธุ ๑ ๔ (๓-๓-๗) VSCL 444 Theriogenology I 4 (3-3-7) วชิ าที่ตอ งศกึ ษากอ น สพปส ๒๒๒ การทำงานของระบบสืบพันธุ การประเมินความสมบูรณพันธุ วงรอบการเปนสัดและการตรวจการเปนสัด การลวงตรวจอวัยวะ สืบพันธุผานทางทวารหนัก การตรวจอวัยวะสืบพันธุภายในดวยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจวินิจฉัยการตั้งทอง และเทคโนโลยีชีวภาพ ทางการสบื พนั ธใุ นปศสุ ตั ว และสตั วเ ลีย้ ง Function of the reproductive system, the breeding soundness examination, the estrous cycle and heat detection; the rectal palpation, ultrasonography of reproductive organs; pregnancy diagnosis, the reproductive biotechnology in livestocks and companion animals. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๔๔๕ วิทยาการสืบพนั ธุ ๒ ๔ (๓-๓-๗) VSCL 445 Theriogenology II 4 (3-3-7) วชิ าทตี่ อ งศกึ ษากอ น สพวค ๔๔๔ ปญ หาระบบสบื พนั ธเุ พศผแู ละเพศเมยี ในสตั วต า งชนดิ ปญ หาการผสมไมต ดิ การไมแ สดงอาการเปน สดั การคลอดยากและการแกไ ข การแทง ปจจัยดานอาหารและฤดูกาล การใชยาและฮอรโมนในการจัดการทางระบบสืบพันธุ การประเมินประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ Male and female reproductive disorders in various species; repeat breeding, anestrus, dystocia and correction, abortion, nutrition and seasonal effects; the pharmacological and hormonal use on reproduction, evaluation of the reproductive performance. 41 คมู ือหลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ โครงการมหาวิทยาลยั มหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๔๔๖ ออรโทพีดกิ สทางการสัตวแพทย ๑ (๑-๐-๒) VSCL 446 Veterinary Orthopedics 1 (1-0-2) วชิ าทีต่ อ งศึกษากอ น สพปส ๒๒๒, สพปส ๒๒๓ วชิ าท่ีตองเรียนพรอ มกัน สพวค ๔๔๓ มหกายวิภาคประยุกตในออรโทพีดิกสทางสัตวแพทย ลักษณะการหัก กระบวนการเชื่อมของกระดูก การตรวจวินิจฉัย วิธียึด กระดูกหัก การดแู ลสัตวปวย ภาวะแทรกซอนหลังการผา ตัดในสว นกระดกู และขอตอ Applied anatomy of veterinary orthopedics, classification of bone fracture, the bone healing process, diagnostic and fixation methods, post-operative care, complications in orthopedics. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๔๔๗ การแกปญหาทางคลินกิ ในเวชศาสตรส ตั วเ ล็ก ๒ (๒-๐-๔) VSCL 447 Clinical Problem Solving in Smal Animal Medicine 2 (2-0-4) วิชาที่ตอ งศึกษากอน สพปส ๓๒๘, สพปส ๓๓๕ อาการทางคลินกิ อายรุ ศาสตรส ัตวเล็กและการเรยี นรจู ากปญ หา แนวทางการวนิ จิ ฉยั โรค และการสอื่ สารกับเจา ของสตั ว Clinical manifestations, the problem-oriented approach in smal animal medicine, assessment and diagnostic plans and client communication. 42 คูมอื หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๔๔๘ เวชศาสตรสัตวเ ลก็ ๑ ๓ (๒-๓-๕) VSCL 448 Smal Animal Medicine I 3 (2-3-5) วชิ าที่ตองศึกษากอ น สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๓ การใหส ารนำ้ บำบดั การวนิ จิ ฉยั และรกั ษา ภาวะไมส มดลุ ของอเิ ลก็ โทรไลต และกรดดา งในรา งกาย การถา ยเลอื ด การใหส ารอาหาร ทางหลอดเลือด โรคระบบเลือด โรคในชองปากและความผิดปกติของตอมน้ำลาย โรคทางทันตกรรม โรคผิวหนัง และโรคฮอรโมนที่ เกี่ยวของกับระบบผิวหนัง โรคกระดูกและขอ โรคทางระบบประสาท โรคมะเร็ง โรคทางพฤติกรรม กรณีศึกษาสัตวปวย และการสื่อสาร กับเจา ของสตั ว Fluid therapy, electrolytes and acid-base imbalance, transfusion medicine, parenteral nutrition; the diagnosis and treatment of clinical problems of the hematology and immunology, dentistry, opthalmology, dermatology and endocrinology related to skin diseases, oncology, joint and neuromuscular disorders, behavior medicine; case studies in small animals, and client communication. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๔๕๐ ศัลยศาสตรส ัตวเลก็ ๔ (๒-๖-๖) VSCL 450 Smal Animal Surgery 4 (2-6-6) วิชาทตี่ องศึกษากอน สพวค ๔๔๑, สพวค ๔๔๓ การซกั ประวตั ิ การตรวจวนิ จิ ฉยั การวางแผนการรกั ษา การฝก ปฏบิ ตั หิ ตั ถการ และการดแู ลสตั วภ าวะแทรกซอ นหลงั การผา ตดั เนื้อเยอื่ ออนในสุนขั และแมว History taking, diagnostic procedures, therapeutic plans, surgical skills, post-operative care and complications of the soft tissue surgery in dogs and cats 43 คูมอื หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๔๕๖ เวชศาสตรสุกร ๑ ๓ (๓-๐-๖) VSCL 456 Swine Medicine I 3 (3-0-6) วชิ าทต่ี องศึกษากอ น สพปส ๒๑๐, สพวค ๔๔๓ ระบบการผลิตสุกร การจัดการฟารมสุกร การจัดการโรงเรือน มาตรฐานฟารมสุกร สารตองหามในอุตสาหกรรมการผลิตสุกร เทคนิคการฝากเลี้ยงเพื่อลดและตัดปญหาการแพรโรค ปญหาที่เกิดจากการจัดการไมเหมาะสม อาหารและน้ำ โภชนาการ สารพิษจาก เชอ้ื ราทป่ี นเปอ นในอาหาร ระบบความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟารม สกุ ร การกกั กนั โรคและการปรบั สภาพสกุ รในฟารม การเฝา ระวงั และ ตดิ ตามโรค การรักษา ควบคมุ และปองกนั โรคในฟารม สุกร The pig production system, farm management, prohibiting substances, cross-fostering techniques; the inappropriate management of water and nutrition, mycotoxin, herd biosecurity, isolation and acclimatization; health monitoring program, treatment, prevention and control programs. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๔๕๘ เวชศาสตรส ตั วทดลอง ๓ (๒-๓-๕) VSCL 458 Laboratory Animal Medicine 3 (2-3-5) วชิ าทต่ี อ งศึกษากอ น สพปส ๓๑๖, สพวค ๔๔๓ จรรยาบรรณ แนวปฏบิ ัติในการใชส ัตวทดลองตามมาตรฐานสากล การเขียนขอใชสตั วทดลอง ชีววิทยาและโรคของสตั วท ดลอง การจดั การ การเฝา ระวงั การวนิ จิ ฉยั การควบคมุ โรค และการดแู ลทางการแพทยโ ดยสตั วแพทย การระงบั ความเจบ็ ปวดและการวางยาสลบ อาชีวอนามยั และความปลอดภัยของบคุ ลากร เทคนิคพ้นื ฐานในการปฏิบตั ติ อสัตวทดลอง Ethics and welfare, international standard and protocol writing for the laboratory animal care and use; biology and diseases of laboratory animals, veterinary care, pain management and anesthesia; occupational health and safety of personnel; basic techniques and procedures in laboratory animals 44 คมู อื หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล-วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๕๐๓ เศรษฐศาสตรและการจัดการสำหรบั วชิ าชพี การสัตวแพทย ๒ (๒-๐-๔) VSCL 503 Economics and Management for Veterinary Profession 2 (2-0-4) วิชาที่ตอ งศึกษากอ น - เศรษฐศาสตรแ ละการจดั การทเ่ี กย่ี วขอ งกบั วชิ าชพี สตั วแพทย องคป ระกอบของการจดั การและการบรหิ ารงานฟารม และสถานพยาบาล การวางแผนดำเนินงาน การวิเคราะหอุปทาน วิธีการผลิตและแนวโนมดานอุปสงค การตลาดและโครงสราง การวิเคราะหการลงทุน นโยบายของประเทศ และผลกระทบ จรรยาบรรณของสตั วแพทย Economics and management in the veterinary profession, project management, industry benchmarking, pricing strategies, inventory management, financial statements, demand, supply, marketing and structure, investment analysis, and country’s policy and it effect; ethics in the veterinary profession. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดวยตนเอง) สพวค ๕๐๔ กฎหมายและจรรยาบรรณแหงวชิ าชพี การสตั วแพทย ๑ (๑-๐-๒) VSCL 504 Veterinary Ethics and Jurisprudence 1 (1-0-2) วิชาทีต่ องศึกษากอน - กฎหมายและความเปน มาของกฎหมาย ความสมั พนั ธข องกฎหมายกบั สงั คม องคก ารบญั ญตั กิ ฎหมาย กฎหมายและพระราชบญั ญตั ิ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั วชิ าชพี สตั วแพทย จรรยาบรรณและองคก รควบคมุ วชิ าชพี สตั วแพทย สวสั ดภิ าพของสตั วใ นดา นศลี ธรรม สงั คมและกฎหมาย Laws and history of laws, the relationships between laws and social, lawmaker organization, laws and acts related to veterinary professional, ethics, morals and organization administrating veterinary professional, animal welfare in aspects of morals, social and laws 45 คมู ือหลกั สตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๕๑ เวชศาสตรมา ๔ (๓-๓-๗) VSCL 551 Equine Medicine 4 (3-3-7) วชิ าทตี่ องศึกษากอ น สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๒ การจดั การฟารม มา เทคนคิ ปฏบิ ตั ใิ นการตรวจรา งกายมา การหาสาเหตขุ องโรค การวนิ จิ ฉยั การรกั ษาและการปอ งกนั โรคระบบ ทางเดนิ หายใจ หวั ใจ หลอดเลอื ดและทอ นำ้ เหลอื ง ทางเดนิ อาหาร ภมู คิ มุ กนั กลา มเนอ้ื และโครงสรา งรา งกาย ขบั ถา ยปส สาวะ ผวิ หนงั ประสาท ตอมไรทอ โรคตา โรคที่เกิดจากการใหอาหารและการจัดการที่ไมถูกตอง โรคติดเชื้อ โรคที่เกี่ยวของกับการเมแทบอลิซึม โรคในลกู มาและมา แก Equine farm management, physical examination, diagnostic procedures, the treatment and prevention of diseases of the respiratory, cardiovascular and lymph vessels, the gastrointestinal, immune, musculoskeletal, urinary, integument, nervous, and endocrine systems; ophthalmic diseases, nutritional management, infectious diseases, metabolic diseases, neonatal and geriatrics diseases. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๕๕๒ เวชศาสตรส ตั วส วนสัตว สัตวเลยี้ งชนดิ พเิ ศษและสตั วป า ๔ (๓-๓-๗) VSCL 552 Zoo, Exotic and Wildlife Medicine 4 (3-3-7) วชิ าทีต่ อ งศกึ ษากอ น สพปส ๒๑๒,สพวค ๔๔๙ สตั วป า สตั วส วนสตั ว สตั วเ ลย้ี งชนดิ พเิ ศษ การจบั บงั คบั การเลย้ี ง การตรวจวนิ จิ ฉยั การวางแผนการรกั ษา หตั ถการ การจดั การ สวนสตั ว การจดั การพเิ ศษ พฤตกิ รรม การสง เสรมิ พฤตกิ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ การวจิ ยั สตั วป า นเิ วศวทิ ยา การฟน ฟพู ฤตกิ รรม การคืนสูธ รรมชาติ สขุ ภาพหน่งึ เดยี ว Wild, zoo, and exotic animals; restraint, husbandry, diagnostic procedures, therapeutic plans, clinical skills, zoo management, special management, behavior enrichment, biodiversity; wildlife research, ecology, rehabilitation, reintroduction and one health. 46 คูม อื หลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหิดล - จุฬาภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวทิ ยาลัยมหิดล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๕๕๓ เวชศาสตรส ตั วป ก ๕ (๓-๖-๘) VSCL 553 Avian Medicine 5 (3-6-8) วชิ าท่ีตองศกึ ษากอ น สพปส ๒๑๐, สพปส ๒๒๓, สพปส ๔๓๖ ระบบการผลิต และการจัดการสัตวปก ปญหาที่เกิดจากการจัดการผิดพลาด ปญหาโภชนาการ โรคสำคัญ การตรวจวินิจฉัย การรกั ษา การปองกัน การเฝา ระวงั การตดิ ตามโรค และกรณีศึกษา Poultry production and the management systems, inappropriate management problems; nutritional disorders, important diseases, diagnostic procedures, treatment, prevention, surveilance, monitoring and case studies. หนว ยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๕๔ เวชศาสตรสตั วน ้ำ ๔ (๓-๓-๗) VSCL 554 Aquatic Animal Medicine 4 (3-3-7) วิชาท่ีตอ งศึกษากอน สพปส ๒๒๓, สพปส ๓๑๕, สพปส ๔๓๖ การจดั การคณุ ภาพดนิ และนำ้ ระบบพยงุ ชวี ติ ระบบภมู คิ มุ กนั การวนิ จิ ฉยั รกั ษาและควบคมุ โรคปรสติ โรคตดิ เชอ้ื และไมต ดิ เชอ้ื ปญ หาโภชนาการในปลา กงุ หอย เตา และสตั วค รง่ึ บกครง่ึ นำ้ พษิ วทิ ยาของสตั วน ำ้ เทคนคิ การบรหิ ารยา การวางยาสลบและศลั ยกรรม ในปลา Soil and water quality management, the life support system; immunology, diagnosis, treatment and control of parasitic disease, infectious and non-infectious diseases; nutritional disorder in fish, shrimps, shelfish, turtles and amphibians; toxicology, drug administration, general anesthesia and surgery in fish. 47 คูม อื หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวทิ ยาลยั มหิดล-วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๕๕ เวชศาสตรสตั วเคี้ยวเอ้อื ง ๖ (๔-๖-๑๐) VSCL 555 Ruminant Medicine 6 (4-6-10) วิชาท่ตี อ งศกึ ษากอ น สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๔๐, สพวค ๔๔๕ การตรวจรา งกาย การวนิ จิ ฉยั และการรกั ษาโรคตดิ เชอ้ื และไมต ดิ เชอ้ื ในระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ทางเดนิ หายใจ ทางเดนิ อาหาร กลามเนื้อและกระดูก ผิวหนัง ตา หัวนมและเตานม ระบบสืบพันธุ ทางเดินปสสาวะ เมแทบอลิสม และโรคที่เกี่ยวของกับหลายระบบ สารพิษและภาวะขาดแคลนสารอาหารของโค กระบอื แพะ แกะ การระงบั ความเจ็บปวดและศลั ยกรรมในสัตวเ ค้ยี วเอ้ืองขนาดใหญ Clinical examination, diagnosis and treatment of infectious and non-infectious diseases in cardiovascular, respiratory, gastrointestinal, muscoskeletal, skin, eyes, mammary gland, reproductive, urinary, metabolism and polysystemic diseases; feeding and related diseases, parasitic diseases in ruminant and smal ruminant, pain management, anesthesia and surgery in large ruminants. หนวยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว ยตนเอง) สพวค ๕๕๗ เวชศาสตรสกุ ร ๒ ๓ (๒-๓-๕) VSCL 557 Swine Medicine II 3 (2-3-5) วิชาทตี่ องศึกษากอน สพปส ๔๓๖, สพวค ๔๕๖ โรคทางระบบทส่ี ำคญั โรคตดิ เชอ้ื ทส่ี ำคญั การจดั การสขุ ภาพและโปรแกรมวคั ซนี การตรวจ การวนิ จิ ฉยั การรกั ษาและการปอ งกนั โรคทางอายรุ กรรม การจบั บังคบั สุกรอายตุ า งๆ ศัลยกรรม การชันสูตร และกรณีศึกษา Systemic and infectious diseases; prevention, health management, and vaccination programs, diagnostic procedures and treatment, medication programs; restraint and handling, surgery, necropsy and case studies. 48 คมู อื หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑติ (มหิดล - จฬุ าภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ โครงการมหาวิทยาลัยมหิดล-วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๕๙ เวชศาสตรการผลิต ๒ (๒-๐-๔) VSCL 559 Production Medicine 2 (2-0-4) วชิ าทต่ี องศกึ ษากอน สพปส ๒๑๐, สพปส ๒๑๓ การจดั การผลผลติ และสขุ ภาพระดบั ฝงู ในสกุ ร โคนม แพะ สตั วป ก และสตั วน ำ้ โครงสรา งการผลติ ขอ มลู การผลติ การจดั เกบ็ ขอมูลของฟารม การเขาเยี่ยมฟารม โปรแกรมคอมพิวเตอรสำหรับการจัดการฟารม การวิเคราะหขอมูลและการประเมินประสิทธิภาพ การจดั การสขุ ภาพในระดบั ฝูง การสบื พันธุ และหรอื การผลิต การควบคมุ และปองกันปญหาทีเ่ ก่ยี วขอ งกับการผลติ The production and herd health management in pigs, dairy cattles, goats, poultry and aquatic animals; production structure , farm records, farm visit, farm management software, an analysis of herd health management, reproduction and/or production, prevention and control problems related to the production. หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาดว ยตนเอง) สพวค ๕๖๑ ความปลอดภัยทางอาหาร ๑ ๒ (๒-๐-๔) VSCL 561 Food Safety I 2 (2-0-4) วชิ าท่ีตอ งศึกษากอน สพปส ๓๓๐ วชิ าทตี่ องเรยี นพรอ มกนั สพวค ๕๖๒, สพวค ๕๖๓ สขุ ศาสตรแ ละความปลอดภยั ของอาหาร ความสำคญั และปจ จยั ตอ การเจรญิ เตบิ โตของจลุ นิ ทรยี ใ นอาหาร อนั ตรายจากจลุ นิ ทรยี  และสารพิษที่ทำใหเกิดโรคอาหารเปนพิษ การตรวจสอบคุณภาพอาหารทางจุลชีววิทยา อันตรายจากยาและสารเคมีที่ปนเปอนในอาหาร ปญ หาและการแกไขอันตรายทีเ่ กิดจากเช้อื จลุ ินทรยี  ยาและสารเคมใี นอาหารและผลิตภณั ฑอ าหารจากสัตว Food hygiene and safety, importance and factors affecting the growth of microorganisms of food, biological hazard and its toxins related to food borne diseases; quality control, testing, problems, and corrections on food microbiology, drug residues, and chemical hazard contaminated in food and animal products. 49 คมู ือหลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จุฬาภรณ) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการมหาวิทยาลัยมหดิ ล-วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ หนว ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดวยตนเอง) สพวค ๕๖๒ ความปลอดภยั ทางอาหาร ๒ ๓ (๓-๐-๖) VSCL 562 Food Safety II 3 (3-0-6) วิชาทตี่ องศกึ ษากอ น สพปส ๓๓๐ วชิ าที่ตอ งเรยี นพรอ มกัน สพวค ๕๖๑, สพวค ๕๖๓ การสอบสวนโรคอาหารเปนพิษ การปนเปอนจุลินทรียในอาหารทั้งกอน ระหวางและหลังการผลิต การประเมินความเสี่ยง คุณภาพเนื้อสัตวและผลิตภัณฑจากสัตว การวิเคราะหอันตรายและจุดวิกฤตที่ตองควบคุมในการผลิตอาหาร มาตรฐานและสุขศาสตร โรงพักสัตว โรงฆาสัตว โรงแปรรูปเนื้อสัตว ไขและผลิตภัณฑจากสัตว โรงแปรรูปนมและผลิตภัณฑจากนมตามหลักการ HACCP GMP และ ISO ที่เกี่ยวของในสุขศาสตรอาหาร คุณภาพและมาตรฐานน้ำที่ใชในโรงงานแปรรูปและการกำจัดของเสีย สุขาภิบาลในโรงฆาสัตว โรงแปรรปู เนอ้ื สตั วแ ละผลติ ภณั ฑจ ากสตั ว การคา ระหวา งประเทศกบั ความปลอดภยั ดา นอาหาร กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งและหนว ยงานทด่ี แู ล การควบคมุ คณุ ภาพความปลอดภยั ของอาหารในระดบั ประเทศและนานาชาติ Food borne investigation, contamination of microorganisms in pre-, during- and post-food processing, risk assessment, the quality of meats and their products; hazard analysis and critical control point (HACCP), good manufacturing practice (GMP), international organizations for the standardization (ISO) with food hygiene for food industries, lairage, abattoir, meat processing including eggs, meat, milk, and dairy products; standard and quality of water used in processing plants and waste disposals; cleaning and sanitation in abattoir, meat processing and animal product plants; national and international law, and agencies responsible for food quality and safety. 50 คมู อื หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต (มหดิ ล - จฬุ าภรณ) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook