Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AW Paramedicine Program pdf 01

AW Paramedicine Program pdf 01

Published by pccms.sa, 2021-02-05 04:06:21

Description: AW Paramedicine Program pdf 01

Search

Read the Text Version

สาขาวิชาหฉลักุกสเตู ฉรวินทิ กยาาศราแสตพรทบณัยฑ (ติ ตอ เนอ่ื ง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) Bachelor of S(CcioenntcineuPinroggPraromgrainmP)aramedicine คณะเทคโนโลยีวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) ช่ือสถาบันอดุ มศึกษา วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า ศูนยแ พทยภยั พบิ ัตแิ ละฉุกเฉินเจา ฟา จุฬาภรณ หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหสั และชือ่ หลักสูตร ภาษาไทย : หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เนื่อง) ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Science Program in Paramedicine (Continuing Program) 2. ช่ือปรญิ ญาและสาขาวชิ า ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม วิทยาศาสตรบัณฑิต (ฉกุ เฉินการแพทย) ชื่อยอ วท.บ. (ฉกุ เฉินการแพทย) ภาษาอังกฤษ ชือ่ เต็ม Bachelor of Science (Paramedicine) ชอ่ื ยอ B.Sc. (Paramedicine) 3. วิชาเอก (ถา ม)ี ไมม ี 4. จำนวนหนว ยกิตท่ีเรยี นตลอดหลักสตู ร จำนวนหนวยกิตตลอดหลกั สตู ร 81 หนวยกติ 5 รปู แบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอเนอ่ื ง) 5.2 ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปรญิ ญาตรีทางวชิ าชพี 5.3 ภาษาท่ีใช้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเอกสารและตำราในรายวชิ าของหลกั สตู รเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5.4 การรบั เขา ศึกษา นักศึกษาไทยและนกั ศกึ ษาตา งประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเ ปน อยา งดี 5.5 ความรว มมือกับสถาบันหรอื องคกรอน่ื 5.5.1 ภายในราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ ไดแก 5.5.1.1 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ โดยคณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ คณะพยาบาลศาสตร คณะเทคโนโลยวี ิทยาศาสตรส ขุ ภาพ และโรงพยาบาลจฬุ าภรณ 2 คูม อื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าฉุกเฉนิ การแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เน่ือง) (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2562) 5.5.1.2 สถาบนั บณั ฑิตศกึ ษาจุฬาภรณ 5.5.2 ภายนอกราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ ไดแ ก 5.5.2.1 หนว ยงาน สถานพยาบาล และหนว ยปฏบิ ตั ใิ นระบบการแพทยฉ กุ เฉนิ โดยความรวมมอื ใน ลกั ษณะสถานทีฝ่ ก งานภาคสนาม ในลักษณะตางๆ ดังน้ี 5.5.2.1.1 กระทรวงสาธารณสุข 5.5.2.1.2 กระทรวงกลาโหม 5.5.2.1.3 สถาบนั การแพทยฉุกเฉินแหง ชาติ 5.5.2.1.4 มลู นิธิปอเตก ตง้ึ 5.5.2.1.5 กองทพั อากาศ 5.5.2.2 เปนหลักสูตรเฉพาะของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ โดยศูนยแพทยภัยพิบัติและฉุกเฉิน เจาฟาจุฬาภรณ วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ และไดรับความรวมมือ ในการจดั การเรยี นการสอน หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปและหมวดวชิ าชพี บางรายวชิ า จากมหาวทิ ยาลยั และสถาบันการศึกษาตางๆดงั นี้ 5.5.2.2.1 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร 5.5.2.2.2 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 5.6 การใหป ริญญาแกผ สู ำเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดยี ว 6. อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศกึ ษา - นักฉุกเฉนิ การแพทยห รือนักปฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ การแพทย - ผชู ว ยสอนในองคก รการศึกษาหรอื ฝกอบรม - นกั วิชาการ/ นกั วิจัย คำอธิบายหลกั สูตร ผลิตบัณฑิตใหม ีความรคู วามชำนาญ และทกั ษะดา นฉุกเฉนิ การแพทย ไดอ ยางถูกตอง มปี ระสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและเจตคติที่ดีตามมาตรฐานการแพทยฉุกเฉินบัณฑิตสามารถทำงานเปนทีมรวมกับสหวิชาชีพใน งานฉุกเฉินการแพทยไดอยางถูกตอง มีความทันสมัยเขากับบริบทของประเทศและนานาชาติ นำไปสูการวิจัย ชวยเหลือ และการถา ยทอดความรใู หกับบุคคลอน่ื ได 3 คมู ือหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าฉกุ เฉนิ การแพทย (ตอ เน่ือง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) “นกั ฉุกเฉนิ การแพทยม ืออาชพี เช่ียวชาญพรอมชวยเหลอื สังคม” วัตถปุ ระสงคของหลักสูตร (Program Objectives) 1) เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ใหเ ปน นกั ฉกุ เฉนิ การแพทย ซง่ึ มคี วามรคู วามชำนาญและทกั ษะทางวชิ าชพี ดา นฉกุ เฉนิ การแพทย ทีม่ คี ณุ ธรรมและจริยธรรมในการประกอบวชิ าชพี และมเี จตคตติ ามมาตรฐานวชิ าชีพฉุกเฉนิ การแพทย 2) เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนนักฉุกเฉินการแพทย ที่มีภาวะผูนำ คิดวิเคราะหเชิงระบบแกปญหาและสามารถทำงาน เปนทีมรวมกับสหวิชาชีพในงานฉุกเฉนิ การแพทย 3) เพอ่ื ใหบ ณั ฑติ เปน นกั ฉกุ เฉนิ การแพทย ทม่ี คี วามรู ทกั ษะ และเจตคตทิ างฉกุ เฉนิ การแพทย สามารถใหก ารชว ยเหลอื ผปู วยฉกุ เฉินดว ยการใชเ ครอ่ื งมืออปุ กรณฉ กุ เฉนิ การแพทยไ ดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ 4) เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ใหม คี วามทนั สมยั เขา กบั บรบิ ทของประเทศและนานาชาติ เขา ใจกระบวนการงานวจิ ยั ชว ยเหลอื และถายทอดประสบการณแกผูร ว มอาชีพได แสดงแผนการศึกษา สำหรบั การจดั การศึกษา 2 ป 2 3(3-0-6) ชั้นปที่ 1 2(2-0-4) 1 11 3(2-2-5) 101 2(1-2-3) 101 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 102 102 2(1-2-3) 2(1-2-3) 3(2-2-5) 103 19 3(3-0-6) 105 103 3(2-2-5) 118 104 3(3-0-6) 119 105 3(3-0-6) 120 106 107 19 4 คูมือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาฉุกเฉนิ การแพทย (ตอ เน่อื ง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) ชนั้ ปท ่ี 1 ช้ันปที่ 2 12 2 4(3-2-7) 2 4(0-12- 2 4) 202 1 4(0-12- 204 4(0-12- 203 4) 2 4) 205 2(1-2-3) 206 1 4(0-12- 207 4(0-12- 4) 4) 4(0-12- 4(0-12- 208 4) 4) 18 209 210 16 2 3(2-2-5) 213 3 5 คูมือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าฉกุ เฉนิ การแพทย (ตอเนอ่ื ง) (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอเนอื่ ง) (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2562) คำอธิบายรายวชิ า จภศท 101 การศึกษาทั่วไปเพอ่ื การพฒั นามนุษย 2(1-2-3) CHGE 101 General Education for Human Development ความหมาย ความสำคญั และความสมั พนั ธข องวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปกบั วชิ าชพี วชิ าชพี เฉพาะ ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธร ะหวา งพฤตกิ รรม กบั ความสามารถในคดิ วเิ คราะห คณุ สมบตั ขิ องจติ ใจสงั เคราะหอ ยา งมวี จิ ารณญาณ คณุ สมบตั ขิ องบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงค การวเิ คราะหเ หตุ ปจจัยและผลกระทบของเหตุการณปญหาและสถานการณ การสังเคราะหแนวทางแกไข ปองกันปญหาหรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ สถานการณ สังคมเพ่ือคุณประโยชนต อตนเองและผูอ น่ื การประยกุ ตค วามรูเพ่อื เสนอแนวทางแกไขปญ หากรณีศกึ ษา The meaning, significance, and relation of general education to other vocational, specific subjects, the relation between behavior and mentality, critical thinking, the qualifications of ideal graduates, analysis of causes and consequences of events, situations, problems, synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events, situations to benefit individuals and their community, and the application of knowledge to solve the problems of case studies. จภศท 102 สังคมศกึ ษาเพื่อการพัฒนามนุษย 3(2-2-5) CHGE 102 Social Studies for Human Development หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวของกับสถานการณ เหตุการณ ปญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก อาทิ วิวัฒนาการ ของอารยธรรมและเหตกุ ารณสำคญั ในประวตั ศิ าสตร ระบบการเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบสุขภาพ การวเิ คราะหเ หตปุ จ จยั และผลกระทบของเหตกุ ารณ สถานการณป ญ หา เพอ่ื คณุ ประโยชนต อ ตนเอง ผอู น่ื และสงั คม การประยกุ ตค วามรเู พอ่ื เสนอแนวทางแกไ ข ปญ หากรณีศกึ ษา Basic principles and theory in relation to events, situations, major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization, important events inhistorical, political and publicadministration systems; teleonomic and health systems, etc., analysis of causes and consequences of events/situations to benefit individuals and their community, and the application of knowledge to solve the problems of case studies. 6 คมู อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉกุ เฉนิ การแพทย (ตอเนอื่ ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าฉุกเฉนิ การแพทย (ตอเน่อื ง) (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2562) จภศท 103 ศิลปะวทิ ยาการเพอ่ื การพัฒนามนษุ ย 2(1-2-3) CHGE 103 Art and Sciences for Human Development มนษุ ยภ าพในอดตี ปจ จบุ นั และอนาคต/เหตกุ ารณ/ สถานการณ/ ปญ หาเกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการทส่ี ำคญั ทางดา นศลิ ปะวทิ ยาการของ ประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะหเหตุปจจัยและผลกระทบของเหตุการณ/สถานการณ/เพื่อคุณประโยชน ตอ ตนเอง ผูอ่ืนและสังคม การประยกุ ตค วามรูเพื่อเสนอแนวทางแกไ ขปญหากรณีศกึ ษา Humankind in the past, present and future; events, situations/problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities, concepts of the sufficiency economy, analysis of cause and consequences of events, situations, problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/situations to benefit individuals and their community, and the application of knowledge to solve the problems of case studies. จภศท 118 การจดั การสารสนเทศยคุ ใหมในชีวติ ประจำวนั 3(2-2-5) CHGE 118 New Age Information Management in Everyday Life แนวคดิ และแนวโนม เกย่ี วกบั ขอ มลู สารสนเทศยคุ ใหม กระบวนการจดั การสารสนเทศ การประยกุ ตส ารสนเทศทม่ี ปี ระโยชนก บั ชวี ติ และสงั คม ความปลอดภยั การใชสารสนเทศตามกฏหมายและจริยธรรม Concepts and trends of new age data and information, information management process, information applications benefiting everyday life and society, security, information usage conforming to laws and ethics. จภศท 119 การคดิ สรางสรรคเพอื่ การจดั การคณุ คา 3(3-0-6) CHGE 119 Creativity for Value Management การคดิ สรา งสรรคแ ละการจดั การคณุ คา ววิ ฒั นาการแนวคดิ ยคุ ใหม การตระหนกั ปญ หาดว ยจติ สำนกึ การแกป ญ หาอยา งสรา งสรรค การจดั องคก รใหเกิดศกั ยภาพสูงสุด Creative thinking and value management, evolution of thought in the new age, problem awareness, creative problem solving, organization management for maximum efficiency. จภศท 120 สขุ ภาพเพื่อชวี ิต 3(3-0-6 ) CHGE 120 Health for Life กลไกการกำเนดิ และพฒั นาการของมนษุ ย บทบาททางเพศ การดแู ลสง เสรมิ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ การปอ งกนั ภาวะเสย่ี ง ของบคุ คลวยั ตา ง ๆ สขุ ภาพผบู รโิ ภค สง่ิ แวดลอ มกบั สขุ ภาพ ปจ จยั ทางครอบครวั ทส่ี ง ผลตอ สขุ ภาพ ความกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ มกี ารศึกษานอกสถานที่ Fertilization and human development. Sex roles. Physical and mental health care promotion. Human risk prevention. Consumer health. Environment and health. Family factors influencing health. Health Science innovation. Field trip. 7 คูมือหลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาฉุกเฉนิ การแพทย (ตอเนอื่ ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เนอื่ ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) จภภอ 105 ภาษาอังกฤษสำหรับวทิ ยาศาสตรก ารแพทย 3(3-0-6 ) CHEN 105 English for Medical Sciences ฝก อา นบทความดา นวทิ ยาศาสตรก ารแพทยจ ากตำรา เอกสารทางวชิ าการ วารสารตลอดจนสง่ิ ตพี มิ พอ น่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งดว ยเทคนคิ การอานทสี่ อดคลอ งกับลกั ษณะของบทความนนั้ ๆ ฝกเขียนตลอดจนสรปุ สาระสำคญั ของบทความ Practice reading articles on medical science from textbooks, technical documents, journals and other related publications using reading techniques relevant to each type of article. Practice writing and summarizing articles. จภวพ 101 วทิ ยาศาสตรก ารแพทยพน้ื ฐาน 3(3-0-6) CHME 101 Basic Medical Sciences มาโครโมเลกลุ สารละลาย สมดลุ กรดเบส ระบบบฟั เฟอรท างสรรี วทิ ยา โครงสรา งและการทำงานของเนอ้ื เยอ่ื พน้ื ฐาน โครงสรา ง รางกาย ของเหลวในสวนตางๆ ของรางกายและองคประกอบ การแลกเปลี่ยนสารและของเหลวผานหลอดเลือดฝอย การขนสงสารผาน เยื่อหมุ เซล สรีรวิทยาไฟฟาของเย่ือหุมเซล การทำงานของกลามเน้ือ การปรับตวั ของเซลเมอ่ื เกิดอนั ตราย เสียงและการไดย นิ แสง เลนส และการมองเหน็ รงั สีอะตอมและกัมมันตภาพรังสี Macromolecules; solutions; acid-base equilibrium; physiological buffering systems; structure and function of basic tissue components;Human body; intracelular accumulations; substance and fluid exchange across the capilary; cel membrane transport; electrophysiology of cell membrane; muscular functions; adaptive cell response to injury; sound and audition; light lens and vision; atomic radiation and radioactivity. จภวพ 102 วทิ ยาศาสตรการแพทยในรางกายมนุษย 2(2-0-4) CHME 102 Medical Sciences in Human body ของเหลวและองคป ระกอบของของเหลวในรา งกาย สว นตา งๆภายในรา งกายทข่ี องเหลวกระจายอยู ระบบบฟั เฟอรภ ายในรา งกาย เยื่อหุมเซล และการขนสงสารและของเหลวผานเยื่อหุมเซล การแลกเปลี่ยนของของเหลวผานหลอดเลือดฝอยสรีรวิทยาทางไฟฟาของเซล การสง ผา นการแปลสญั ญาณของเซล ภาวะธำรงดลุ ของรา งกายระบบประสาทอตั โนมตั สิ รรี วทิ ยาของกลา มเนอ้ื องคป ระกอบของรา งกายมนษุ ย เและกายวภิ าคศาสตรของระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด ระบบหายใจระบบยอ ยอาหารและระบบขบั ถา ยปส สาวะ Body fluid composition and compartments; physiological buffering system; cell membrane and transport across the membrane; capilary fluid exchange; celular electrophysiology; celular signal transduction; body homeostasis; autonomic nervous system; muscular physiology; human body organization; anatomy of the nervous, cardiovascular, respiratory, digestive and urinary systems. 8 คูม ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าฉุกเฉินการแพทย (ตอเนื่อง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าฉกุ เฉนิ การแพทย (ตอเน่ือง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) จภวพ 103 วทิ ยาศาสตรก ารแพทยในระบบไหลเวยี นเลอื ดและการหายใจ 3(2-2-5) CHME 103 Medical Sciences in Cardiovascular and Respiratory System วเิ คราะหแ กป ญ หาในกรณผี ปู ว ยในโรคระบบหวั ใจ หลอดเลอื ดและระบบหายใจ โดยใชค วามรดู า นชวี เคมี กายวภิ าค สรรี วทิ ยา พยาธสิ รรี วทิ ยา เภสชั วทิ ยา ศพั ทท างสาธารณสขุ เขา มาใชป ระกอบกนั การประเมนิ ทางเดนิ หายใจ การเปด ทางหายใจใหโ ลง เทคนคิ ในการ เปด ทางหายใจใหโ ลง เทคนคิ และวธิ กี ารใหอ อกซเิ จน การชว ยหายใจ การประเมนิ และรกั ษาเบอ้ื งตน ในระบบหวั ใจหลอดเลอื ดและระบบหายใจ การบนั ทึกคล่นื ไฟฟา หัวใจและแปลผล Problem based learning in cardiovascular and respiratory system by integrating knowledge of biochemistry, anatomy, physiology, pathophysiology, pharmacology, medical terminology together. Airway Assessment,airway management, Oxygen administration,ventilator support. Practice in primary survey and initial management for cardiovascular and respiratory system, Electrocardiographyic (ECG) record and interpretation. จภวพ 104 วทิ ยาศาสตรการแพทยในระบบประสาท กลามเนือ้ และกระดกู 3(2-2-5) CHME 104 Medical Sciences in Neurological and Musculoskeletal System การประเมนิ การซกั ประวตั ิ ตรวจรา งกาย วเิ คราะหแ กป ญ หาและกรณผี ปู ว ยในโรคทาง อายรุ กรรม บาดเจบ็ และศลั ยกรรม ในดาน ระบบสมอง ประสาทไขสันหลัง กระดูก ขอตอ และกลามเนื้อ โดยใชความรูดานชีวเคมี กายวิภาค สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา เภสัชวิทยา ศัพททางสาธารณสุขเขามาใชประกอบกัน องครวมการดูแลผูปวยฉุกเฉินที่มีปญหาการบาดเจ็บฉุกเฉิน การดูแลผูบาดเจ็บ เน้อื เยอ่ื ออ น บาดเจบ็ กระดกู สันหลงั Assessment, Initial management, history taking, physical examination and Problem based learning in medical, trauma and surgical problems following Brain, Spine, Bone, joints and muscles systems by integrating knowledge of biochemistry,anatomy, physiology, pathophysiology, pharmacology, medical terminology together.Holistic care in emergent patients with trauma, soft tissue injury, spine injury. จภวพ 105 วิทยาศาสตรก ารแพทยในการรกั ษาสมดลุ รางกาย ภูมิคมุ กนั และตอมไรท อ 3(2-2-5) CHME 105 Medical Sciences in Homeostasis, Immune and Endocrine System วเิ คราะหแ กป ญ หาและกรณผี ปู ว ยในดา นการรกั ษาภาวะสมดลุ ของนำ้ และเกลอื แรใ นรา งกาย ระบบภมู คิ มุ กนั และระบบตอ มไรท อ โดยใชความรูดานชีวเคมี กายวิภาค สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา เภสัชวิทยา ศัพททางสาธารณสุขเขามาใชประกอบกัน การประเมินและ ทำการรกั ษารวมทง้ั สามารถปรบั เปลย่ี นการรกั ษาไดเ มอ่ื อาการเปลย่ี นแปลงไป การดแู ลภาวะชอ็ คในกรณตี า งๆทง้ั กรณบี าดเจบ็ และทางอายรุ กรรม Problem based learning in water and electrolytes homeostasis, immune system and endocrine system by integrating knowledge of biochemistry, anatomy,physiology, pathophysiology,pharmacology,medical terminology together.Assessment, Initial management, Adaptive management in changeable conditions. Management in Shock for different situations including trauma and medical conditions. 9 คมู ือหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉนิ การแพทย (ตอ เนือ่ ง) (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2562) ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เน่อื ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) จภวพ 106 วทิ ยาศาสตรก ารแพทยในระบบยอ ยอาหาร ทางเดินปส สาวะและระบบสืบพนั ธุ 2(1-2-3) CHME 106 Medical Sciences in Digestive and Genitourinary System วเิ คราะหแ กป ญ หาและกรณผี ปู ว ยในดา นระบบทางเดนิ อาหาร อวยั วะในชอ งทอ ง ระบบทางเดนิ ปส สาวะ และระบบสบื พนั ธโุ ดย ใชค วามรดู า นชวี เคมี กายวภิ าค สรรี วทิ ยา พยาธสิ รรี วทิ ยา เภสชั วทิ ยา ศพั ทท างสาธารณสขุ เขา มาใชป ระกอบกนั เขา ใจภาวะแทรกซอ น ทเ่ี กี่ยวขอ งกบั กลุม โรคเหลานี้และสามารถปรับเปลี่ยนการรกั ษาไดอ ยางเหมาะสม Problem based learning in digestive tract, intraabdominal organ, urinary and reproductive system by integrating knowledge of biochemistry, anatomy, physiology, pathophysiology, pharmacology, medical terminology together. Understand in complications and adapt the treatment properly. จภวพ 107 วิทยาศาสตรก ารแพทยในกุมารเวชศาสตร พฤฒเวชศาสตร สูตศิ าสตร และนรเี วชศาสตร 3(2-2-5) CHME 107 Medical Sciences in Pediatrics, Geriatrics, and Obstetrics and Gynecology วิเคราะหแกปญหาและกรณีผูปวยเด็ก ผูปวยสูงวัยและระบบสูตินรีเวชศาสตรโดยใชความรูดานชีวเคมี กายวิภาค สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา เภสัชวิทยา ศัพททางสาธารณสุขเขามาใชประกอบกัน สามารถใหการรักษาที่เหมาะสมตามกลุมผูปวยเหลานี้ไดอยาง เหมาะสมทง้ั ในหอ งฉกุ เฉนิ และระบบการรกั ษานอกโรงพยาบาล ทราบถงึ อปุ กรณก ารรกั ษาทแ่ี ตกตา งกนั ในกลมุ ผปู ว ยเดก็ และผสู งู วยั เขา ใจ หลักการทำคลอดทา ปกตแิ ละทาคลอดตา งๆทั้งในหอ งฉุกเฉนิ และนอกโรงพยาบาล Problem based learning in pediatric, geriatric, obstetrics and gynecologic system by integrating knowledge of biochemistry, anatomy, physiology, pathophysiology, pharmacology, medical terminology together.Proper treatment in Emergency room and out of hospital, knowledge in different devices among pediatric and elderly patients. Understand the ER and EMS operations in normal and abnormal delivery. จภฉพ 201 การประเมินแนวปฏบิ ัติและงานวิจัย 3(2-2-5) CHPM 201 Appraisal in Guidelines and Researches ความหมาย ประเภทของการวจิ ยั แนวคดิ ทฤษฎกี ารวจิ ยั รปู แบบและการออกแบบการวจิ ยั กระบวนการวจิ ยั สถติ ทิ ใ่ี ชใ นการวจิ ยั นำผลการวิจัยไปประยกุ ต โดยเนน การการวจิ ัยในสาขาของผเู รียนระบบขอ มลู สารสนเทศทางสขุ ภาพ ขอมูลดานคลนิ กิ การใชร ะบบฐาน ขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยูใหเปนประโยชนตอระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การประเมินและเพื่อชี้ประเด็นปญหาสุขภาพโดย อาศัยขอ มูลโดยเนน การการวิจยั ในสาขาของผเู รยี น Research definition, classification of research, research theory, research design, research process, statistic used in research, bringing research results to application, clinical and health information computer technology system, how to use the information technology for decision making, evaluation and issue of the health problems by focusing on research in the field of student’s curriculum. 10 คูม อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉนิ การแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาฉกุ เฉินการแพทย (ตอเนอื่ ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) จภฉพ 202 ประมวลระบบการแพทยฉ กุ เฉิน 4(3-2-7) CHPM 202 Comprehensive Emergency Medical Service System องคป ระกอบของระบบการแพทยฉ ุกเฉิน ระบบการส่ือสาร การอำนวยการปฏิบัติการฉุกเฉนิ การใชฐานขอ มูลทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การ ปฏิบัตกิ ารฉุกเฉนิ การพฒั นาคุณภาพบรกิ ารและการวจิ ัยหลักการใชย านพาหนะฉกุ เฉนิ ฝก ขบั รถพยาบาลแบบปลอดภัย ศึกษาดูงานการ ขนยา ยทางนำ้ ศึกษาดงู านการขนยา ยทางอากาศ EMS Acts components, communications system, the emergency medical system administration, the development and use of databases related to emergency medical services, knowledge to improve service quality and research, principles of emergency vehicle operation, safe driving practices, study tour in marine transportation, study tour in air medical transportation. จภฉพ 203 ทักษะและหตั ถการฉกุ เฉินการแพทย 1 4(0-12-4) CHPM 203 Emergency Medical Skils and Procedures 1 การคดั แยกผปู ว ย ฝก ปฏบิ ตั กิ ารซกั ประวตั ิ การวดั สญั ญาณชพี ตรวจรา งกาย การประเมนิ ทางระบบประสาท วเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบเพอ่ื ปฏิบัติการฉกุ เฉิน รวมทง้ั สามารถปฏบิ ัตทิ ักษะและหัตถการฉุกเฉนิ การแพทยข ้นั พ้นื ฐาน ขั้นสูง และข้นั สูงยง่ิ (ภาคผนวก จ. การจำแนกประเภททกั ษะและหัตถการฉกุ เฉนิ การแพทย) Triage, history taking, vital sign measurement,physical examination, neurological sign assessment, systematic analysis for medical operation. Competencies of Basic Advanced and Extended advanced emergency medical procedures. จภฉพ 204 ทักษะและหตั ถการฉุกเฉินการแพทย 2 4(0-12-4) CHPM 204 Emergency Medical Skils and Procedures 2 บรุ พวิชา :จภฉพ 203 ทกั ษะและหตั ถการฉุกเฉินการแพทย 1 ชำนาญในการคัดแยกผูปวย ฝกปฏิบัติการซักประวัติ การวัดสัญญาณชีพ ตรวจรางกาย การประเมินระบบประสาท วิเคราะห อยางเปนระบบเพื่อการปฏิบัติการฉุกเฉิน สามารถปฏิบัติทักษะและหัตถการฉุกเฉินการแพทยขั้นพื้นฐาน ขั้นสูง ขั้นสูงยิ่ง ขั้นวิกฤต และขน้ั เฉพาะทาง (ภาคผนวก จ. การจำแนกประเภททกั ษะและหัตถการฉกุ เฉินการแพทย) Efficiency in Triage taking, vital sign measurement, physical examination, neurological sign assessment, systematic analysis for emergency medical operations plan. Competencies of Basic , Advanced ,Extended advanced,Critical and Special emergency medical procedures. 11 คมู ือหลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาฉุกเฉนิ การแพทย (ตอเนื่อง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอเน่อื ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) จภฉพ 205 ฝกปฏิบตั ิดูแลผูปวยนอกโรงพยาบาล 4(0-12-4) CHPM 205 Out of Hospital Practice ฝก ปฏบิ ตั กิ ารชว ยอำนวยการในหนว ยปฏบิ ตั กิ ารอำนวยการ การสอ่ื สารในขณะออกปฏบิ ตั กิ าร การประเมนิ และควบคมุ สถานการณ ฉกุ เฉนิ ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ณ จดุ เกดิ เหตุ การสง มอบผปู ว ยฉกุ เฉนิ การบนั ทกึ รายงานการออกปฏบิ ตั กิ ารและระบบการอำนวยการ สามารถ ปฏิบตั ิทักษะและหัตถการฉกุ เฉินการแพทยข น้ั ตน ข้ันทว่ั ไป และขัน้ สูงยิ่ง (ภาคผนวก จ. ตามผนวกเรอื่ งการจำแนกประเภททกั ษะและหตั ถการฉุกเฉนิ การแพทย) Practicing in preparation, emergency cal taking and dispatching, EMS communication, scene size up and control dangerous situation, emergency medical operation, transferring patients, documentation report for operation and dispatch. Competencies of Basic ,Advanced and Extended advanced Emergency Medical Procedures. จภฉพ 206 การปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ ในหนวยปฏบิ ัตกิ ารอำนวยการ 1 4 (0-12-4) CHPM 206 Emergency Operations Center 1 โครงสรางของหนวยปฏิบัติการประเภทอำนวยการ ระบบสื่อสารและสารสนเทศ การติดตอสื่อสารในระบบการแพทยฉุกเฉิน การประสานงาน การรบั แจง กรแยกประเภทผปู ว ย คำสง่ั การแพทย การใหค ำแนะนำผทู อ่ี ยู ณ จดุ เกดิ เหตุ ปฏบิ ตั กิ ารรถพยาบาลฉกุ เฉนิ การบันทึกรายงานการรับแจงและปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ในสถานการณต างๆ Structure of ambulance center, practice in emergency operating center, radio communication using, communication and information system, coordination, call taking, triage, medical direction, prearrival instruction, ambulance operation, documents of reporting and operation in different situations. จภฉพ 207 การปฏิบตั ิการฉุกเฉนิ ในหนวยปฏบิ ตั ิการอำนวยการ 2 4(0-12-4) CHPM 207 Emergency Operations Center 2 บรุ พวชิ า :จภฉพ 206 การปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ในหนวยปฏิบตั กิ ารอำนวยการ 1 ฝกปฏิบัติงานชวยอำนวยการในการรับแจง ประสานงาน จายงาน และกำกับการชวย พัฒนางานคุณภาพในหนวยปฏิบัติการ การทำงานรว มกบั สหสาขาวิชาชพี ตางๆ Assist EMS medical director, EMS supervisor, cal taker and dispatcher. Quality management in ambulance center, work with multidisciplinary team. 12 คูมอื หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉนิ การแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2562) ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอเน่อื ง) (หลักสตู รใหม พ.ศ. 2562) จภฉพ 208 ฝก พัฒนาการเปน วิทยากรฉกุ เฉนิ การแพทย 2(1-2-3) CHPM208 Instructor for Basic Emergency Medical Operations ฝกเรียนเปนผูสอนในหลักสูตรปฏิบัติการฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน ไดแก อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย พนักงานฉุกเฉินการแพทย พนักงานรบั แจงการเจ็บปว ยฉุกเฉนิ พนกั งานขบั รถรวมทงั้ เปนผสู อนในหลกั สตู รชวยชวี ิตสำหรบั ประชาชน Instructor training in basic emergercy medical operation curriculum for example: Emergency Medical Responder, Emergency Medical Technician, Cal Taker, Driver. Instructor training in basic life support for lay person. จภฉพ 209 บรู ณาการระบบฉุกเฉนิ การแพทย 4 (0-12-4) CHPM 209 Integration of Emergency Medical Service Practice ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ณ จดุ เกดิ เหตุ การดแู ลผปู ว ยในภาวะฉกุ เฉนิ ในการบาดเจบ็ ระบบหายใจลม เหลว โรคกลา มเนอ้ื หวั ใจขาดเลอื ด โรคสมองขาดเลือด ภาวะช็อค การทำคลอด สามารถปฏิบัติทักษะและหัตถการฉุกเฉินการแพทยขั้นตน ขั้นสูง ขั้นสูงยิ่ง ขั้นวิกฤต และขั้นเฉพาะทาง (ภาคผนวก จ. ตามผนวกการจำแนกประเภททักษะและหัตถการฉกุ เฉนิ การแพทย) ได Emergency medical operation at scene, Emergency care in trauma, respiratory failure, myocardial infarction, stroke, shock, delivery. Competencies of Basic, Advanced ,Extended advanced,Critical and Special Emergency Medical Procedures. จภฉพ 210 ฝก ปฏบิ ตั ิบรหิ ารจดั การระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน 4 (0-12-4) CHPM 210 Emergency Medical Service System Management ฝก ระบบบรหิ ารจดั การหนว ยปฏบิ ตั กิ าร หลกั การและระบบมาตรฐานความปลอดภยั ของรถ การปอ งกนั แพรก ระจายเชอ้ื การพฒั นา คณุ ภาพของระบบปฏบิ ตั กิ าร และความปลอดภยั ของผปู ว ย ระบบปฏบิ ตั กิ ารในภาวะภยั พบิ ตั ิ ระบบปฏบิ ตั กิ ารสอ่ื สารทางไกล การปอ งกนั การบาดเจบ็ สามารถปฏิบัตทิ กั ษะและหัตถการฉกุ เฉินการแพทยข น้ั ตน ขั้นสูง ข้ันสงู ย่ิง ข้นั วกิ ฤต และขน้ั เฉพาะทาง (ภาคผนวก จ.ตามผนวกการจำแนกประเภททักษะและหตั ถการฉกุ เฉนิ การแพทย) ได Ambulance administration, principle and standard system in ambulance safety, infection control system, quality control and patient safety in ambulance center, EMS management in mass casualty incident, telemedicine, injury prevention. Competencies of Basic, Advanced ,Extended advanced,Critical and Special emergency medical procedures. 13 คูม อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เนอ่ื ง) (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอเนอื่ ง) (หลกั สูตรใหม พ.ศ. 2562) จภฉพ 211 อาชีวอนามยั และการดูแลสขุ ภาพสว นบุคคล 3(2-2-5) CHPM 211 Occupational and Personal Healthcare พฤตกิ รรมและการดแู ลสขุ ภาพของมนษุ ย การออกกำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพและนนั ทนาการ ทา ทางการยกเคลอ่ื นยา ยทด่ี ตี อ สขุ ภาพ การสงเสริมสขุ ภาพจติ การประกันชวี ติ ประกนั อุบัตเิ หตุ ประกันสงั คม การปองกนั ตัวจากอบุ ตั ภิ ัย อบุ ตั เิ หตุ และโรคระบาด มาตรฐาน ความปลอดภยั ของการปอ งกันการตดิ เชอ้ื Healthy behavior and human health care, exercise and recreation for health, lifting and moving in good position, enrichment of mental health, environment and health, , life insurance, accident insurance, social security, protection from danger, accidents and communicable diseases, standard infection control procedures. Principles of emergency vehicle operation. จภฉพ 212 การดแู ลผไู ดร บั พิษและอบุ ัตภิ ัยวตั ถุอันตราย 3(2-2-5) CHPM 212 Toxicological and Hazmat Care ระบาดวิทยาของการเจ็บปวยจากสภาพแวดลอม ภาวะฉุกเฉินจากสภาพแวดลอมและพิษที่เปนปญหาสำคัญในประเทศไทย และในเขตเมือง การจมน้ำ อันตรายจากกระแสไฟฟาและฟาผา โรคจากความรอน ความผิดปกติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพความกด อากาศ แอลกอฮอล สารเสพตดิ อาการแสดงของการ Epidemiology of environmental illness, environmental and toxicologic emergencies as public health problem in Thailand and big cities, drowning, electrical shock and lightning, heat stroke, decompression sickness, alcohol, substance abuses, toxidromes, chemical hazard, biological hazard, radiological hazard, bomb. จภฉพ 213 การจัดการสขุ ภาพในภาวะภัยพบิ ตั ิ 3(2-2-5) CHPM 213 Disaster Health Management กฎหมาย นโยบาย และแผนทเ่ี กย่ี วของกบั การจดั การทางฉุกเฉนิ การแพทยใ นสถานการณสาธารณภยั การเตรียมการเพื่อรองรับ สถานการณส าธารณภัย หลกั การและขน้ั ตอนการจัดการทางฉกุ เฉนิ การแพทยในสถานการณทว่ั ไปและกรณีวตั ถุอันตราย การจัดการหลงั สิน้ สดุ สถานการณ การฝก ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการแจง เหตสุ าธารณภัยและการจดั การทางฉุกเฉินการแพทย รวมท้งั การรักษาพยาบาลฉกุ เฉนิ ใน สถานการณส าธารณภยั ความปลอดภยั ของบุคลากรและผปู ว ย Laws, policy and plan in medical care operation in disaster situation, preparation to support disasters, principles and steps in medical care administration in disaster situation, common and dangerous materials, medical cares in disaster situation, practicing the notification for disaster and administration for medical cares and trauma, medical treatment in disaster situation, safety of the personnel and the patients. 14 คูมือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าฉกุ เฉินการแพทย (ตอ เนอื่ ง) (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2562) ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

คณะเทคโนโลยวี ิทยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ 906 ถนนกำแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลกั ส่ี กทม. 10210 โทร 0-2576-6000 วันเวลาทำการ ทุกวนั จนั ทร – ศุกร ต้ังแตเ วลา 08.00 – 16.00 น. ยกเวน วนั หยดุ นักขตั ฤกษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook