Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AW Faculty of Medicine and Public Health Student Manual pdf 01

AW Faculty of Medicine and Public Health Student Manual pdf 01

Published by pccms.sa, 2021-02-05 04:03:05

Description: AW Faculty of Medicine and Public Health Student Manual pdf 01

Search

Read the Text Version

สารจากอธิการบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ในนามของคณะผบู รหิ ารราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ คณาจารยแ ละบคุ ลากรวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ผมขอตอ นรบั นกั ศกึ ษาใหมท กุ คนดว ย ความยินดยี ิ่ง การศกึ ษาตอ ในมหาวทิ ยาลยั นน้ั เรยี กไดว า เปน การกา วสโู ลกใบใหมส ำหรบั ทกุ คน เปน การกา วสรู ะดบั อดุ มศกึ ษาทม่ี รี ปู แบบการเรยี นการสอนทไ่ี มเ หมอื นการไปโรงเรยี น อยา งทผ่ี า นมา มกี ารใชช วี ติ และสงั คมทแ่ี ตกตา งไปจากทค่ี นุ เคย การปรบั ตวั ปรบั ใจ และปรบั ความคดิ ใหเ ขา กบั สภาวะแวดลอ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปใหไ ดด ที ส่ี ดุ จงึ เปน สง่ิ สำคญั ทจ่ี ะทำใหส ามารถดำรงชวี ติ ในโลกใบใหมน ไ้ี ดอ ยา งมคี วามสขุ และบรรลุ เปาหมาย คำวา “อดุ ม” แปลวา สงู สดุ ดเี ลศิ บรบิ รู ณ “อดุ มศกึ ษา” จงึ หมายความ ไดวา การเรียนขั้นสูงสุด การเรียนรูเพื่อใหดีเลิศ การเรียนรูใหเปนผูบริบูรณ ดวยปญญา ยิ่งในยุคปจจุบันที่โลกของเราหมุนไปอยางรวดเร็วขึ้น ที่ทุกอยาง เปลย่ี นแปลงเรว็ ขน้ึ ทง้ั การดำเนนิ ชวี ติ การทำงานและเทคโนโลยี “การเรยี นร”ู จงึ ไมใ ชแ คก ารใสข อ มลู ความรเู ขา ไปอยา งเดยี วอกี ตอ ไป แตก ารเรยี นรจู ะตอ ง เปน กระบวนการทต่ี อ งดำเนนิ ไปอยา งตอ เนอ่ื งบนพน้ื ฐานความเชอ่ื ทว่ี า เราไมร ู อะไรเลยและไมย ดึ ตดิ ความสำเรจ็ หรอื แนวทางเดมิ ๆ จนไมส ามารถเปลย่ี นแปลง “การเรียนรูท่ถี ูกตอ ง”เพอื่ ใหด เี ลิศและบริบูรณดว ยปญ ญานัน้ ประกอบไปดวย 3 สว นคอื 1. การเรียนรสู ิง่ ใหม ๆ หรือ Learn ผา นวธิ กี ารตา ง ๆ ไมว า จะเปน การเรยี นในหอ งเรยี น การอา น การดู การฟง การแลกเปลย่ี นความรู ความคิดเห็นระหวา งกนั การแบง ปนประสบการณหรือการทดลองวเิ คราะห 2. การไมยดึ ติดกับส่งิ ท่ีเคยเรียนมา ลบและลืมสิง่ ท่เี คยเรียนรทู ง้ิ ไป หรอื Unlearn ซง่ึ ไมไ ดห มายความวา เราจะตอ งทง้ิ ความรแู ละประสบการณ ท่ีมีอยไู ปทงั้ หมดแตห มายถึงการไมยดึ ติดความเชือ่ ของตนเองหรอื ยดึ ติดกับทฤษฎที ่ีเคยใชเ คยเรยี นกนั มาในการกระทำสง่ิ ตา ง ๆ เพ่ือยอมรบั แนวความคดิ หรือมมุ มองที่แตกตา งออกไปซง่ึ เปน สิง่ จำเปนในการรบั มอื กบั ความเปลีย่ นแปลงอยางรวดเรว็ ในยุคปจจุบนั และ 3. การเรียนรูดวยมมุ มองใหม หรอื Relearn เพราะทกุ อยา งทเ่ี ราเจอในชวี ติ มสี ง่ิ ทเ่ี ราสามารถเรยี นรไู ดเ สมอ การเรยี นรเู พอ่ื ใหไ ดม มุ มอง ท่กี วางข้นึ ก็จะทำใหเ ราสามารถพฒั นาความรแู ละทักษะไดต ลอดเวลา ซง่ึ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณจ ะเปน สถานทท่ี ส่ี ง เสรมิ การแลกเปลย่ี นทางปญ ญาในการศกึ ษาคน ควา วจิ ยั และเปด โลกแหง ความรแู ละการคน พบใหม ๆ ดว ยหลกั สตู รและกจิ กรรมเพอ่ื ใหน กั ศกึ ษาทกุ คนกา วไปสกู ารเปน บณั ฑติ ทส่ี มบรู ณ สามารถเปน กำลงั สำคญั ในการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ และสรางคณุ ประโยชนใ หก บั โลกและมวลมนษุ ยและระหวางทางไปสูการเปนบณั ฑิตท่สี มบรู ณน้ัน ผมขอใหท กุ คนตระหนักถึงพระปณิธานของ ศาสตราจารย ดร. สมเด็จพระเจานองนางเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี องคประธานราชวิทยาลัยฯที่ทรงมุงหวังจะสรางบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย วิทยาศาสตร สาธารณสุขและสิ่งแวดลอมที่มีจิตใน การทำประโยชนใ หผ อู น่ื กอ นคดิ ถงึ ประโยชนข องตวั เอง พรอ มบรกิ ารสงั คมดว ยความรู ความชำนาญ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม จติ อาสา ความมงุ มน่ั และดวยความเปนเลิศในวิชาชีพเพื่อทุกชีวิตในสังคมและขอใหทุกคนศึกษาดวยความภาคภูมิใจที่เปนสวนหนึ่งในการนอมนำพระปณิธานไปสู ความสำเรจ็ ศาสตราจารย นายแพทยน ิธิ มหานนท เลขาธิการราชวิทยาลยั จุฬาภรณ และรักษาการอธิการบดีวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ 2 คูม ือนักศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

สารจากคณบดีคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาทุกคนที่สามารถสอบผานการคัดเลือกเขา มาเปนนักศึกษารุนที่ 4 ของคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข วิทยาลัย วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ซึ่งไดรับการจัด ตั้งขึ้นตามพระวิสัยทัศนของ ศาสตราจารย ดร.สมเด็จพระเจานองนางเธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี องคประธานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ เพื่อผลิตแพทยและบุคลากรทางการแพทย เชน นกั ฟส กิ สก ารแพทย นกั วทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ นกั นวตั กรทางการแพทย ที่พรอมจะรับใชประชาชนดวยความรูความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม รวมทง้ั เปน ผทู ม่ี ที กั ษะชวี ติ อนั เหมาะสมกบั สงั คมไทย และสงั คมโลก มศี กั ยภาพในการเรียนรูด วยตนเองอยา งตอ เนอ่ื ง ตลอดชวี ติ ขอตอนรับนักศึกษาทุกคนสูคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ขอให นกั ศกึ ษาตง้ั ใจศกึ ษาเลา เรยี น เกบ็ เกย่ี วความรู ทกั ษะและประสบการณใ หม ากทส่ี ดุ เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ ปน บคุ คลทม่ี คี ณุ ภาพ เปน คนดขี องสงั คม สมดงั พระปณธิ าน ของศาสตราจารย ดร.สมเดจ็ พระเจา นอ งนางเธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี องคป ระธานราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ สดุ ทา ยน้ี ขอใหท กุ คนจงภมู ใิ จทไ่ี ดเ ขา มาเปน สมาชกิ ของคณะแพทยศาสตร และการสาธารณสขุ และขอใหน กั ศกึ ษาทกุ คนมคี วามสขุ กบั การเรยี นและประสบ ความสำเรจ็ ตามท่ีต้ังใจไวทุกประการ ศาสตราจารย ดร. แพทยห ญงิ จิรายุ เอ้อื วรากุล คณบดีคณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ วิทยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ คมู ือนกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2563 3 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

ขอมูลคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ปรัชญา “เปนเลศิ เพ่อื ทกุ ชวี ิต” “Be Excellent for Lives” ปณิธาน “คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ มีปณิธานมุงมั่นที่จะผลิต บัณฑิตที่เปนผูนำดานสุขภาพและการบริการทางการแพทย มีความสามารถดานการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม รวมทั้งมีจิตวิญญาณอุทิศตน เพอ่ื สงั คม เพือ่ สรางประโยชนใหเ กดิ กับมวลมนุษยชาติ” Faculty of Medicine and Public Health is committed to producing graduates who are leaders in health and medical services with an ability to excel in research and innovation and a spirit of dedication to society for the benefits of mankind. วิสัยทัศน คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ จะเปนสถาบันระดับโลกที่สง เสรมิ สขุ ภาพและความเปนอยูท ีด่ ีของประชาชน ดว ยความเปนเลศิ ดา นการศึกษา วจิ ัย นวัตกรรม และการเปนผูนำ Faculty of Medicine and Public Health wil be a world-class institute that enhances the wel-being and health of people through excelence in education, research, innovation and leadership. พันธกิจ จัดการศึกษา เพื่อสรางบัณฑิตดานแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพที่มีความเปนเลิศดานวิชาชีพ มีความสามารถดานการวิจัยและ คิดคน นวัตกรรมเพือ่ พฒั นาการแพทยและการสาธารณสุขของประเทศ และมกี ารเรยี นรแู ละพฒั นาตนเองอยา งตอ เน่ืองตลอดชีวิต วิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการแพทยและวิทยาศาสตรสุขภาพผานเครือขายสหสถาบันเพื่อตอบสนองตอปญหาสุขภาพที่สำคัญระดับ ชาติและนานาชาติ และสามารถนำไปประยุกตใชใ หเ กดิ ประโยชนตอ การพฒั นาชุมชนและสงั คม บริหารจัดการองคกรอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ มธี รรมาภบิ าล และมีการพฒั นาอยา งตอเน่อื ง ดว ยเทคโนโลยีที่ทันสมัยระดบั สากล ใหบริการวชิ าการและวชิ าชีพดา นการแพทยแ ละวทิ ยาศาสตรส ุขภาพอยา งเปน เลิศ ไมเ หล่อื มลำ้ ดว ยจิตเมตตาและความเพยี ร สืบสาน และทำนบุ ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา ศีลธรรม และภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ 4 คูม ือนกั ศึกษา ปการศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

สมรรถนะหลักของคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ผลติ แพทยแ ละบุคลากรทางการแพทยท ม่ี คี วามเชี่ยวชาญในวิชาชพี ทีเ่ กย่ี วกับสุขภาพ มีความสามารถระดับสากล ในการสรา งงานวิจยั และนวัตกรรม และมีคุณธรรม จริยธรรม และจติ อาสาบำเพญ็ ประโยชนเ พื่อสงั คม วัฒนธรรมองคกร Commitment Honesty Unity Loyalty Altruism มงุ ม่นั พากเพยี ร ซื่อสัตยส จุ รติ สามคั คี มรคูศี ณุรัทแธผาน จดงินรักภักดี เเหปนน็ ทปี่รตะ้งั โยชนสวนรวม Benevolence Happiness Opportunity Research Networking Excellence and เมตตากรณุ า นำพาความสขุ ไแดลร ะบั ใหโอโอกกาสาส Innovation มสรอื าสงูรเะคดรบัอื ขสาายกคลวามรวม วสิจูคยัวแาลมะเปนนวเตั ลกิศรดรามนการ เอกลักษณคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข “เปนตน แบบการบรู ณาการสหสาขาดา นการบรหิ ารจัดการการศึกษา การบริการวิชาการและสงั คม และการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดา นสขุ ภาพอยางเปน เลศิ เพ่อื ทกุ ชีวิต” “A model of multidisciplinary integration in education administration and management, academic and social services and research and innovation development in health with excellence for all lives” อัตลักษณของบัณฑิตคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข 5 “มปี ญญาและทกั ษะชวี ิตทเ่ี ปนเลศิ เพือ่ ทกุ ชีวติ ” คูมือนกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

สัญลักษณประจำวิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ สีประจำคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค Name: Emerald Green Code: #287233 Continuous professional development RGB: R40 G114 B51 CMYK: C84 M31 Y100 K20 เรียนรอู ยา งอยางตอ เนอื่ งเพอ่ื พฒั นาตนเองตลอดชีวติ Research and Innovation, Resilience มีความคดิ สรางสรรคพฒั นางานวจิ ัยและนวตั กรรม, มีความยืดหยนุ และความสามารถในการฟน ตวั Altruism เหน็ ประโยชนส วนรวมเปน ทีต่ งั้ Mastery เปน เลิศดานวชิ าชพี และวชิ าการ Digital literacy มสี มรรถนะดจิ ิตัล Professionalism มีความเปนมอื อาชีพ Humility and volunteerism มีความออนนอมถอ มตนและมีจิตอาสา 6 คูมอื นกั ศึกษา ปการศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

ปวิทระยวาัตลิัคยวณิทะยแาพศทายสศตารสกตารรแแพละทกยาเจรสาฟาธาาจรุฬณาสภุขรณราชวิทยาลัยจุฬาภรณ คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ไดรับการจัดตั้งขึ้นโดยพระปณิธานในศาสตราจารย ดร. สมเด็จพระเจานองนางเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2558 โดยแรกกอตั้งทรง พระราชทานนามวา “สำนักวิชาแพทยศาสตรและการสาธารณสุข” เปนสำนกั วิชาการสำนักแรกท่ีไดร บั การจัดต้งั ขนึ้ ภายใตสังกดั โรงพยาบาล จุฬาภรณ มูลนิธิจุฬาภรณ โดยทรงมุงหวังใหสำนักวิชาแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ทำหนาที่จัดการเรียนการสอนและผลิตแพทย พยาบาล และบุคลากรดานวิทยาศาสตรสุขภาพและการสาธารณสุขในสาขาที่ขาดแคลน รวมทั้งจัดการศึกษาระดับหลังปริญญาในสาขา ตางๆ เพื่อตอบสนองตอความตองการของประเทศ โดยแรกเริ่มจัดตั้ง ทรงกำหนดใหผลิตแพทยที่มีความเปนนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร จำนวน 32 คน พยาบาลจำนวน 50 คน และนักรังสีเทคนิคจำนวน 40 คน โครงการจัดตั้งสำนักวิชาแพทยศาสตรและการสาธารณสุข เปนสวนหนึ่งของโครงการเฉลิมพระเกียรติ 90 พรรษา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในป 2560 ซึ่งนอกจากจะมีการจัดตั้งสำนักวิชาแพทยศาสตรและการ สาธารณสขุ แลว ยงั ประกอบไปดว ยการกอ สรา งโรงพยาบาลจฬุ าภรณส ว นขยาย 400 เตยี ง เพอ่ื รองรบั ปรมิ าณคนไขท เ่ี พม่ิ มากขน้ึ และสนบั สนนุ การเรียนการสอนหลักสูตรตางๆ ของสำนักวิชาแพทยศาสตรและการสาธารณสุขที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยรักษาการผูอำนวยการสำนักวิชา แพทยศาสตรและการสาธารณสุขทานแรก ไดแก ศาสตราจารย นายแพทยนิธิ มหานนท ในฐานะผูอำนวยการโรงพยาบาลจุฬาภรณ และกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ และผูบริหารจัดการภารกิจตางๆ ของสำนักวิชาฯ ไดแก ศาสตราจารย ดร. แพทยหญิงจิรายุ เอื้อวรากุล ในฐานะรองผูอ ำนวยการโรงพยาบาลจุฬาภรณ ฝายวจิ ยั และวชิ าการ และกรรมการมลู นธิ จิ ฬุ าภรณ ตอมาเมื่อวิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ไดรับการประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2558 ซึ่งเปน หนวยงานภายในและภายใตกำกับของมูลนิธิจุฬาภรณ และเมื่อราชวิทยาลัยจุฬาภรณไดรับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติราชวิทยาลัย จฬุ าภรณ พ.ศ. 2559 เมอ่ื วนั ท่ี 18 มกราคม 2559 และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเมอ่ื วนั ท่ี 19 มกราคม 2559 ซง่ึ พระราชบญั ญตั มิ ผี ลบงั คบั ใชในวันที่ 19 เมษายน 2559 ภายหลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนเวลา 90 วัน ศาสตราจารย ดร. สมเด็จพระเจานองนางเธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี องคป ระธานราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหม กี ารจดั โครงสรา งขององคก รใหมต ามโครงสรา งของราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ สำนกั วชิ าแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ จงึ ไดร บั การปรบั เปลย่ี น ชื่อเปน “คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข” และยายสังกัดจากโรงพยาบาลจุฬาภรณ มูลนิธิจุฬาภรณ มาอยูในสังกัดของวิทยาลัย วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ซง่ึ เปน สว นงานหนง่ึ ภายใตร าชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ โดยมศี าสตราจารย ดร. แพทยห ญงิ จริ ายุ เออ้ื วรากลุ เปน คณบดีคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุขคนแรก เมือ่ วนั ที่ 1 เมษายน 2560 คมู ือนกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2563 7 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

ปวิทระยวาัตลิัคยวณิทะยแาพศทายสศตารสกตารรแแพละทกยาเจรสาฟาธาาจรุฬณาสภุขรณราชวิทยาลัยจุฬาภรณ คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ ไดด ำเนนิ การเปด รบั นกั ศกึ ษารนุ ท่ี 1 ในปก ารศกึ ษา 2560 ไดแ ก หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ โดยความรว มมอื กบั โรงพยาบาลรามาธบิ ดี (หลกั สตู รรามาธบิ ด-ี จฬุ าภรณ) จำนวน 32 คน และหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสีเทคนิค จำนวน 40 คน ตอ มาในปก ารศกึ ษา 2561 ไดเ ปด รบั นกั ศกึ ษาหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ โดยความรว มมอื กบั คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี (มจธ.) จำนวน 40 คน และในปก ารศกึ ษา 2562 ไดเ ปด รบั นกั ศกึ ษาระดบั วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกสการแพทย จำนวน 10 คน โดยในปการศึกษา 2563 เปดรับนักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลกั สตู ร 7 ป (iBSc/MD) โดยความรว มมอื กบั University Colege London (UCL) สหราชอาณาจกั ร จำนวน 32 คน และในปก ารศกึ ษา 2565 จะเปด รบั นกั ศกึ ษาหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ านวตั กรรมและวศิ วกรรมการแพทย (BSc/BEng) โดยความรว มมอื กบั University of Newcastle ออสเตรเลีย จำนวน 40 คน สำนักวิชาแพทยศาสตรและการสาธารณสุขถือวาเปนจุดเริ่มตนของหลายๆ สาขาวิชา/คณะในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ โดยใน ชว งทม่ี กี ารปรบั โครงสรางองคก รตามพ.ร.บ.ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ ไดมกี ารจัดตงั้ คณะพยาบาลศาสตรข ึ้นในชว งเดือนพฤษภาคม 2559 ซ่งึ ตอ มาในปการศึกษา 2560 ไดเปดรับนักศึกษาพยาบาลศาสตรรุนแรก ตอมาในป 2562 ไดมีการอนุมัติจัดตั้งคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตรสุขภาพ ขึ้นอีก 1 คณะ จึงไดรับโอนยายหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิคจากคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข นอกจากนี้ โรงเรียนการสัตวแพทยและสัตววิทยาประยุกตเดิมมีโครงสรางอยูภายในสังกัดคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ซึ่งตอมาไดแยกออกไป เปนคณะสตั วแพทยแ ละสัตววทิ ยาประยกุ ต ในป 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ ในชว งแรกมสี ำนกั งานชว่ั คราวอยทู โ่ี รงพยาบาลจฬุ าภรณ ตอ มายา ยไปสถาบนั บณั ฑติ ศกึ ษา จฬุ าภรณช น้ั 11 และตกึ กสทช. (CAT2) ชน้ั 4 ตามลำดบั โดยตกึ ถาวรของคณะฯ ยงั อยรู ะหวา งการกอ สรา ง ในบรเิ วณขา งเคยี งกบั โรงพยาบาล จฬุ าภรณสว นขยาย 400 เตยี ง โดยเปน สว นหนง่ึ ของสถาบนั การแพทยภทั รมหาราชานุสรณ คาดวาจะแลว เสรจ็ ในป 2565 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุขมีรหัสของหลักสตู รตางๆ ดังน้ี แพทยศาสตรบณั ฑติ หลกั สูตร 6 ป (รามาธิบดี-จฬุ าภรณ) วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรขอมลู สขุ ภาพ โดยความรวมมือกบั มจธ. แพทยศาสตรบณั ฑติ หลกั สูตร 7 ป (iBSc/MD) โดยความรว มมอื กบั UCL วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าฟส กิ สก ารแพทย 8 คมู อื นักศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

ทำเนียบผูบริหารคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ศาสตราจารย ดร. แพทยหญิงจิรายุ เออื้ วรากลุ คณบดีคณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข [email protected] รองคณบดคี ณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ผศ. นพ.ธีรภทั ร อ้งึ ตระกูล ผศ. นพ.วิสทุ ธิ์ ลำ้ เลศิ ธน แลระอรงกั คษณากบาดรคี หณวั หะแนพาสทำยนศักาวสชิตารกแาลระแกลาะรวสจิ าัยธบารรู ณณสากุขาร รองคณบดีคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ [email protected] [email protected] ผูชว ยคณบดคี ณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ ผศ. นพ.บญั ชร ศิริพงศปรดี า ผศ. นพ.ณัฐวุฒิ กนั ตถาวร ผศ. ดร.รจนภร พลู มานะอุสาหะกุล ผชู ว ยคณบดฝี า ยประกันคณุ ภาพการศึกษา ผชู ว ยคณบดฝี ายบรกิ ารวิชาการและสงั คม ผชู วยคณบดีฝา ยการศึกษา [email protected] [email protected] [email protected] อ. ดร.ทศพร เฟองรอด อ. ส.พญ. ดร.วรณิช หินทอง อ. น.สพ. ดร.พีรทุ ย เชียรวชิ ัย พฒั นาผผปู ูช รวะยกคอณบกบาดรฝี แา ลยะวเิจทัยคนโนวัตโลกยรสีรามรสนเทศ ผูชวยคณบดฝี ายยุทธศาสตรและการศึกษานานาชาติ ผชู กวายรคสณรรบหดาฝี แาลยะวกาางรแคผดันเกลลอื ยกทุ ธ [email protected] [email protected] [email protected] คมู อื นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2563 9 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

ทำเนียบอาจารยคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข อาจารยประจำคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ผศ. พญ.ศศกิ าญจน จำจด ผศ. ดร.ดนพุ ล นันทจติ ผศ. ดร.อรปรยี า ทรัพยท ววี ัฒน [email protected] [email protected] [email protected] ผศ. พญ.พรรณี ประดิษฐส ุขถาวร อ. พญ.สดุ ารตั น ชยั เพียรเจริญกจิ อ. นพ.ธนพล ชอบเปนไทย [email protected] [email protected] [email protected] อ.แสงอทุ ิศ ทองสวสั ด์ิ อ.กติ ตพิ ล เดชะวรกลุ อ. ดร.ศศธิ ร โชติวฒุ ิมนตรี [email protected] [email protected] [email protected] อ. ดร.อชุ ุพล เรอื งศรี อ. ดร.จุฑาพร สังวาลยเล็ก อ. ดร.เธียรสนิ เลย่ี มสุวรรณ [email protected] [email protected] [email protected] 10 คมู อื นกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

ทำเนียบอาจารยคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข อาจารยประจำคณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ อ. ดร.ปรยิ วุฒิ เหราบตั ย อ. ดร.วัชราภรณ ตันโชติศรีนนท อ. ทพญ. ดร.สิรมิ นสั เจยี รานชุ าต อ. พญ.นนั ทธ ดิ า ภัทราประยรู [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ. ดร.ปวรี นนทะแสน อ. ดร.ฤชุตา อาจเขยี น อ. ดร.อัญมณี ชยั ประสงคส ขุ อ. ดร.กมลวรรณ แชมชอ ย [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ. ดร.เอกชา มูลวิรยิ กจิ อ.ณภัทร ศรเี สรมิ โภค อ. ดร.จาตรุ นต ขวญั ทองดี อ.สายไหม ชาตรี [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ. ดร.พสษิ ฐ จารทุ สั นางกรู อ. ดร.ชวนิ จองวรรณสริ ิ อ. ดร.จริยา บุญเอี่ยม [email protected] [email protected] [email protected] คมู อื นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 11 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

ทำเนียบอาจารยคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข อาจารยท่กี ำลงั ศกึ ษาตอ ผศ. พญ.กญั ชนา งา วสวุ รรณ อ. ดร. พญ.ณัทญา ตรภี ูรเิ ดช อ. พญ.กฤตชญา ฤทธ์ิชยั อ. พญ.พัทรา จันทรอ อ น [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ.ปต ทิ ัศน ปูรณโชติ อ. นพ.ธนโชติ กมลาภริ ตั น อ. พญ.รนิ ทรา หวังวศิ วาวทิ ย อ. ภญ.อรวรรณ ทรัพยปราโมทย [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ. นพ.ชนวีร หริ ญั ภทั รศลิ ป อ.จรี ศกั ดิ์ คำฟองเครอื อ.รุงฤทธิ์ กลน่ิ จำปา อ. ภญ. ดร.วมิ ลฉตั ร ตง้ั อมรสขุ สนั ต [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ. ดร.พชั ราภรณ วงศชาดากุล อ.จริ พันธ เปรมสุรยิ า อ. นพ.ภวินทภัทร เบญจพงศาพนั ธุ อ. นพ.ชวิน วรกลุ [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] อ. นพ.พชรพล อรณุ วฒั นางคก ูล อ. พญ.ณัชชา วัฒนโภคาสนิ [email protected] [email protected] 12 คูม ือนกั ศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

บุคลากรสายสนับสนุนคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข หวั หนา สำนักงานคณบดคี ณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ น.ส.กรรญดา อสิ ระกลุ ฤทธา [email protected] กลมุ ภารกิจดานการบริหารจดั การ ภาระงานดา นงานเลขานกุ ารคณบดี สารบรรณและศนู ยเ อกสาร พธิ กี ารและการจดั ประชมุ การสอ่ื สารองคก ร วเิ ทศสมั พนั ธ และกจิ กรรมพเิ ศษ น.ส.สิรินัธ ดงั กอง นางนงลักษณ ภูมไิ พบลู ย น.ส.พรนภา แซโงว น.ส.นงนภสั แสงทอง เจาหนาท่บี รหิ ารงานทวั่ ไป เจาหนาทีบ่ ริหารงานท่ัวไป นกั วิเทศสมั พันธ พนกั งานปฏบิ ัตกิ าร [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] ภาระงานดา นการบรหิ ารยทุ ธศาสตร งบประมาณ การเงนิ การบญั ชี และการบรหิ ารตน ทนุ และความเสย่ี ง นางสุภาพรรณ เหลืององิ คะสุต น.ส.ประภาศรี ศิริ น.ส.ปญ ญวัน ลมิ ปนดั ดา นกั วิเคราะหนโยบายและแผน เจา หนา ทบ่ี รหิ ารงานทว่ั ไป (เลขานกุ าร) [email protected] [email protected] นักวเิ คราะหง บประมาณ [email protected] แภลาระะกงาารนปดระา นเมกนิ าผรบลกรหิาราปรทฏรบิ พั ตั ยงิ าากนรบแคุลคะกลารกขาอรพตฒำั แนหานอง าทจาางรวยชิ แ าลกะาบรคุ ลากรสายสนบั สนนุ การตดิ ตามการพฒั นาตนเอง น.ส.พชั รี ยะคะเสม น.ส.กรผกา พฒั นกำพล เ(จบา รหหิ นาารททพ่ี รัพัฒยนาากรระบบคุ บคงลาน) นกั จิตวทิ ยา (ทรัพยากรมนษุ ย) [email protected] [email protected] คมู อื นกั ศึกษา ปการศึกษา 2563 13 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

บุคลากรสายสนับสนุนคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข กลมุ ภารกิจดา นการบริหารจดั การ ภาระงานดา นการพสั ดแุ ละการบรหิ ารจดั การอาคารสถานท่ี หอ งเรยี น หอ งปฏบิ ตั กิ าร และหอ งสมดุ น.ส.อมรรัตน สขุ สนอง นายกิตติภมู ิ สายจนั ทร น.ส.กานตธีรา มว งชู เจา หนา ทบี่ รหิ ารงานทัว่ ไป นักวิทยาศาสตร นักวทิ ยาศาสตร [email protected] [email protected] [email protected] ภาระงานดา นการบรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ การพฒั นาเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา และโครงการตำราและสอ่ื การสอนออนไลน น.ส.กมลพร สขุ สมพืช นางสาวศภุ ทศิ า รอดดารา นกั เทคโนโลยีการศกึ ษา นักเทคโนโลยกี ารศึกษา [email protected] กลุมภารกิจดา นการศึกษาและประกนั คณุ ภาพ ภาระงานดา นการบรกิ ารการศกึ ษา ทะเบยี นและประมวลผล การประชาสมั พนั ธห ลกั สตู ร ทนุ การศกึ ษา และการประเมนิ บณั ฑติ น.ส.ชมพพู ราว ม่ิงมงคล น.ส.ศิวาพัชญ ปณุ ยกุลเศรษฐ นกั วชิ าการศกึ ษา นักวิชาการศึกษา [email protected] [email protected] ภาระงานดา นหลกกั าสรตู ปรระกสาารนสงนาบั นสอนานุจการายรเแ รลยี ะนนกกั าศรสกึ อษนาแแลละะกกาจิรปกรรระมเมอนิน่ื ผๆลขกอางรหพลฒั กั นสตูา/รปรบั ปรงุ หลกั สตู ร น.ส.กชมน หมนั่ หา นายอธิพงษ ราชเนตร น.ส.ลักษกิ า นาไข นกั วชิ าการศกึ ษา นกั วิชาการศกึ ษา นักวชิ าการศึกษา [email protected] [email protected] [email protected] 14 คมู อื นักศกึ ษา ปก ารศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

บุคลากรสายสนับสนุนคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข กลุม ภารกิจดานการศกึ ษาและประกนั คณุ ภาพ ภาระงานดา นหลกกั าสรตู ปรระกสาารนสงนาบั นสอนานุจการายรเแ รลยี ะนนกกั าศรสกึ อษนาแแลละะกกาจิรปกรรระมเมอนิน่ื ผๆลขกอางรหพลฒั กั นสตูา/รปรบั ปรงุ หลกั สตู ร น.ส.สุกัญญา ทริ าพงษ น.ส.ฉัตรลัดดา เกิดสุภาพ น.ส.อารีรัตน ปน แกว นักวิชาการศึกษา นักวชิ าการศึกษา นกั วชิ าการศกึ ษา [email protected] [email protected] [email protected] ภาระงานดา นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา นายมงคล ไชยศิลป น.ส.ชญานศิ ดวงขจี นักวชิ าการศึกษา นักวิชาการศกึ ษา [email protected] [email protected] ภาระงานดา นการพฒั นานกั ศกึ ษาและศษิ ยเ กา สมั พนั ธ และโครงการจติ อาสาและบำเพญ็ ประโยชน น.ส.จอมสดุ า สุจธิ รรม น.ส.ชลดา แสงนาค น.ส.ชนญั ญา รองสวสั ดิ์ นกั จิตวิทยา (กจิ การนักศึกษา) นักจติ วทิ ยา (กิจการนกั ศกึ ษา) นกั กจิ การนกั ศกึ ษา [email protected] [email protected] [email protected] กลมุ ภารกิจดา นการสนบั สนนุ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ ภาระงานดา นการบรกิ ารวชิ าการและสงั คม โครงการการศกึ ษาสว นขยาย (Academic Extension Program) และการจดั การความรใู นองคก ร น.ส.สุกัญญา พรหมทอง นายศรัทธา ศรมณี เจา หนา ท่ีบรกิ ารวิชาการและสงั คม เจา หนา ทบี่ ริการวชิ าการและสงั คม [email protected] [email protected] คูม ือนักศกึ ษา ปก ารศึกษา 2563 15 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลกั สตู รคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบิ ด-ี วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ) เปนหลักสูตรที่มีบูรณาการดานวิทยาศาสตรการแพทย เทคโนโลยี และการวิจัย เพื่อผลิตแพทยที่มีความรูทักษะความสามารถ ในการรกั ษาพยาบาลและพฒั นาระบบสาธารณสขุ ของประเทศ เนน เพม่ิ ทกั ษะดา นการวจิ ยั และปลกู ฝง การเปน แพทย มงุ ทำประโยชนเ พอ่ื มวลมนษุ ยชาติ เปนบัณฑิตหัวใจไทยปญญาสากล นักศึกษาคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุขของวิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ จะเรียนรวมกับนักศึกษาคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งรับคณะแพทยศาสตรฯ ของวิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ เขาเปน สถาบนั สมทบในระยะแรก โดยมศี กั ดิแ์ ละสทิ ธิเทียบเทา กับนกั ศึกษาแพทยจาก มหาวิทยาลัยรัฐบาลที่มีมาตรฐานเปนไปตามเกณฑของแพทยสภา และเมื่อสำเร็จการศึกษาจะไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต เปดรับ นกั ศึกษาแพทยร ุนแรก ปการศึกษา 2560 จำนวน 32 คน หลักสตู รการศกึ ษา ชือ่ ปริญญา (เตม็ ) ชอื่ ปรญิ ญา (ยอ) แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) Doctor of Medicine (M.D.) ระยะเวลาการศึกษา 6 ป จดั การเรียนการสอนใน 4 หมวดใหญ ตามโครงสรางหลักสตู ร คอื 1. กลุม วชิ าศกึ ษาทั่วไป ศึกษาในชน้ั ปท่ี 1 ทมี่ หาวทิ ยาลัยมหดิ ล วทิ ยาเขตศาลายา จงั หวดั นครปฐม 2. กลมุ วชิ าพน้ื ฐานวชิ าชพี (พรคี ลนิ กิ ) ศกึ ษาในชน้ั ปท ่ี 2 และ 3 ทค่ี ณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล วทิ ยาเขตพญาไท และคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี 3. กลุมวิชาคลินิก ศึกษาในชั้นปที่ 4, 5 และ 6 โดยนักศึกษาแพทยจะเริ่มฝกปฏิบัติงานทางคลินิกในโรงพยาบาลชั้นนำ หรือสถาบันตางๆ ในความรว มมอื ของโรงพยาบาลจฬุ าภรณ 4. กลุมวิชาเลือกเสรี นักศกึ ษามีอสิ ระในการเลือกเรยี นวชิ าเพอ่ื พฒั นาตนเอง ทั้งดา นวิชาการ จรยิ ธรรม กีฬาและศลิ ปวัฒนธรรม ผูที่สำเร็จการศึกษาจากคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ นอกจากจะเปน แพทยท ส่ี ามารถใหก ารรกั ษาตามมาตรฐานสากลแลว ยงั จะมที กั ษะในการเปน แพทยน กั วจิ ยั เพอ่ื คดิ คน องคค วามรใู หมใ นเชงิ ลกึ นำไปใชเ ปน ประโยชนในการรักษาพยาบาลผปู วยตอไป 16 คูมอื นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอมูลสุขภาพ (หลกั สตู รรว มระหวา งวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ไดรวมมือกับ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี จัดตั้งหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรขอมูลสุขภาพ ขนึ้ เพ่อื ตอบสนองตอ การขยายตวั อยางรวดเร็วของขอมลู ทางดา นวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ และรองรับความตองการนักวิทยาศาสตรข อ มลู ซึ่งเปน สาขาที่ใหมและมีความสำคัญ โดยทั้งสองสถาบันมุงหวังใหบัณฑิตของหลักสูตรฯ สำเร็จการศึกษาออกไปเปนบุคลากรที่มีความสามารถใน การคดิ วเิ คราะห และประมวลผลขอมลู สุขภาพจากแหลง ตางๆ และนำมาใชแ กไขปญ หาทางการแพทย และการสาธารณสขุ ไดอยา งถูกตอ ง รวดเร็ว มีระเบียบแบบแผน และสามารถเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศตอไปในอนาคต เปดรับนักศึกษารุนแรกเมื่อปการศึกษา 2561 โดยนกั ศกึ ษาจะไดเ ขาเรียนทงั้ ที่ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณและทม่ี หาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี หลกั สูตรการศึกษา ชื่อปรญิ ญาและสาขาวิชา (เตม็ ) ชือ่ ปริญญาและสาขาวิชา (ยอ ) วิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. Bachelor of Science B.Sc. ระยะเวลาการศึกษา 4 ป จดั การเรยี นการสอนใน 4 หมวดใหญ ตามโครงสรางหลักสูตร คอื 1. กลุมวิชาการศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะไดเรียนรูศาสตรในหลายๆ แขนงที่มีประโยชน และเสริมสรางความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวัน เชน รายวชิ าทางสังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ กีฬาประเภทตา งๆ เปน ตน 2. กลุมวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ นักศึกษาจะไดเรียนรูเกี่ยวกับโรคตางๆ ที่มีความสำคัญในปจจุบัน กลไกการเกิดโรค ปจจัยเสี่ยง รวมถึง ระบบการจัดการภายในโรงพยาบาล เศรษฐศาสตรส ขุ ภาพ และวิทยาการใหมๆ เกย่ี วกับวิทยาศาสตรสขุ ภาพอกี ดวย 3. กลุมวิชาวิทยาศาสตรขอมูล นักศึกษาจะไดเรียนรูเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห หาความสัมพันธ จัดเก็บขอมูลประเภทตางๆ โดยเฉพาะ ขอ มลู ทางดา นวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ นอกจากนน้ี กั เรยี นจะไดล งมอื วเิ คราะหข อ มลู จรงิ ทดลองเขยี นโปรแกรม และลองนำโปรแกรมดงั กลา ว ไปใชง าน 4. กลุมวชิ าเลอื กเสรี นกั ศกึ ษามีอสิ ระในการเลือกเรียนวิชาเพื่อพฒั นาตนเอง เมอ่ื นักศึกษาไดเรยี นรูทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั จิ นมีองคค วามรูเพยี งพอแลว นักศกึ ษาจะไดนำความรจู ากหองเรียนไปฝกใชใ นการทำงาน จริง โดยการทำโครงงานดานตา ง ๆ ท่เี กีย่ วของกบั วิทยาศาสตรข อ มลู สขุ ภาพ เพื่อใหเกดิ ความเขาใจอยางลกึ ซง้ึ ตอวิทยาการที่ไดเรียนรูมา คมู อื นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2563 17 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกสการแพทย ปจ จบุ นั ความตอ งการนกั ฟส กิ สก ารแพทยด า นรงั สรี กั ษาในโรงพยาบาล และในหนว ยงานอน่ื ๆ ทง้ั ในภาครฐั และภาคเอกชน มปี รมิ าณเพม่ิ ขน้ึ ทุกป แตการผลิตบุคลากรในดานดังกลาวยังไมเพียงพอตอความตองการของประเทศ อีกทั้งองคความรูและเทคโนโลยีดานฟสิกสการแพทย มคี วามเจรญิ รดุ หนา อยา งรวดเรว็ และมคี วามรใู หม ๆ เกดิ ขน้ึ ตลอดเวลา เพอ่ื ตอบสนองตอ ความตอ งการของระบบสาธารณสขุ และระบบการเรยี น การสอนดา นฟส กิ สก ารแพทยข องประเทศ คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ จงึ ไดจ ดั ตง้ั หลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาฟสิกสการแพทย โดยมุงเนนผลิตบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญดานฟสิกสการแพทย โดยเฉพาะดานรังสีรักษา ซง่ึ มคี วามสามารถทง้ั ในดา นการปฏบิ ตั กิ ารคลนิ กิ และในดา นการวจิ ยั และการพฒั นานวตั กรรมเพอ่ื นำไปสกู ารประยกุ ตใ ชจ รงิ ในองคก รของตน เพอ่ื ใหก ารรกั ษามปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ โดยคำนงึ ถงึ ผปู ว ยเปน สำคญั ดงั นน้ั หลกั สตู รนจ้ี งึ มงุ เนน การเรยี นการสอนภาคทฤษฎี ควบคกู บั ภาคปฏบิ ตั ิ ทั้งในและตางประเทศ รวมกับการผลิตผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เปนเลิศ ผานความรวมมือกับสถาบันชั้นนำทั้งในและตางประเทศ โดยมี เปาหมายในการผลติ บุคลากรท่ีมีความพรอ มในการปฏบิ ตั ิงานในโรงพยาบาล หรือสถานประกอบการอืน่ ๆ ที่เก่ยี วขอ ง ช่อื ปริญญา (เตม็ ) วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าฟส ิกสการแพทย (วท.ม) Master of Science (Medical Physics) ช่อื ปริญญา (ยอ) วท.ม (ฟสกิ สการแพทย) M.Sc. (Medical Physics) ระยะเวลาศึกษา 2 ป 36 หนว ยกิต ประกอบดว ย หมวดวิชาปรบั พืน้ ฐาน Radiation Physics Mathematics, Statistics & Programming for Medical Physicists Anatomy & Physiology for Medical Physicists หมวดวิชาบังคับ Radiotherapy Physics Radiation Dosimetry and Instrument Quality Assurance and Dose Measurement Laboratory Research Methodology Seminar in Medical Physics Radiation Protection Radiation Biology Radiation Oncology Treatment Planning Clinical Practice for Medical Physicists Diagnostic Imaging Physics Nuclear Medicine Physics 18 คมู ือนักศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกสการแพทย ทุนการศึกษา มที นุ การศึกษาสำหรบั คา เลา เรยี นและคาบำรุงการศกึ ษา รวมไมเกิน 200,000 บาทตลอดหลักสูตรตอคน สำหรบั ผทู ่ีมีคุณสมบตั ิเหมาะสม (ทนุ มีจำนวนจำกดั ) เกณฑก ารจบการศกึ ษา มาตรฐานความรูภาษาองั กฤษของนักศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา กอนสำเรจ็ การศกึ ษา ตามประกาศราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ เร่ือง มาตรฐานความรูภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา อาชีพทส่ี ามารถประกอบไดห ลงั สำเร็จการศึกษา นกั ฟส กิ สก ารแพทย อาจารย นักวชิ าการ นกั วิจัย อาชพี ทเ่ี กย่ี วขอ งกับการพัฒนาและปรึกษาดานเครอื่ งมอื ทางรังสีการแพทยและปองกัน อนั ตรายจากรงั สี รวมท้งั ศกึ ษาตอในระดับทสี่ งู ขนึ้ ในสาขาวิชาฟส ิกสการแพทยว ทิ ยาศาสตรสุขภาพ หรอื สาขาวชิ าอ่ืนที่เกี่ยวขอ ง คมู ือนักศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 19 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2563) คณะเเพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ 7 ป 2 ปรญิ ญา เปน หลกั สตู ร 2 ปรญิ ญาหลกั สตู รแรกของประเทศไทยทไ่ี ดร บั การรบั รองมาตรฐานสากล ตามเกณฑ WFME (World Federation for Medical Education) โดยสถาบนั รบั รองมาตรฐานการศกึ ษาแพทยศาสตร (สมพ.) และแพทยสภา โดยเปน ความรว มมอื กบั University Colege London (UCL) สหราชอาณาจกั ร ซง่ึ เปน มหาวทิ ยาลยั ทต่ี ดิ อนั ดบั 1 ใน 10 ของโลก หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ หลกั สตู รใหม พ.ศ.2563 ใชร ะยะเวลาศกึ ษา 7 ป แบง ออกเปน 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะที่ 1: Early Years เรยี นทว่ี ทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ และจดั การเรยี นการสอนเปน ภาษา อังกฤษและภาษาไทย ประกอบดว ย • ปการศึกษาที่ 1: Becoming a doctor การศึกษาวิชาทั่วไป และเตรียมความพรอมสูความเปนแพทย โดยไดพัฒนาทักษะทางการแพทย และไดเ รม่ิ เรยี นรจู ากผูปวยตั้งแตปแ รก • ปการศึกษาที่ 2: Fundamentals of clinical science I วทิ ยาศาสตรท างการแพทยแบบบรู ณาการ I • ปการศกึ ษาที่ 3: Fundamentals of clinical science II วทิ ยาศาสตรทางการแพทยแ บบบรู ณาการ II ระยะที่ 2: Research and Innovation ณ University Colege London (UCL) สหราชอาณาจกั ร • ปการศึกษาที่ 4: นักศึกษาจะไดเดินทางไปศึกษาและปฏิบัติเรียนรูกระบวนการวิจัยกับผูเชี่ยวชาญระดับโลกเปนระยะเวลา 1 ป ที่ University College London (UCL) สหราชอาณาจักร โดยมี 23 สาขาที่หลากหลายใหนักศึกษาไดเลือกเรียนตามที่สนใจ อาทิ Cardiovascular Science, Clinical Sciences, Global Health, Mathematics, Computers and Medicine, Medical Anthropology, Medical Physics and Bioengineering, Oncology, Orthopaedic Science, Policy, Communications and Ethics, Primary Health Care, Psychology, History and Philosophy of Science and Medicine, Sport & Exercise Medical Sciences, Women’s Health ระยะที่ 3: Later Years เปน วชิ าวทิ ยาศาสตรก ารแพทยค ลนิ กิ และการฝก ทกั ษะทางคลนิ กิ ณ โรงพยาบาลตำรวจ ซง่ึ เปน สถานฝก ปฏบิ ตั ทิ าง คลนิ กิ หลกั ของหลกั สตู รและโรงพยาบาลสมทบในการเรยี นการสอน ไดแ ก โรงพยาบาลจฬุ าภรณ โรงพยาบาลเพชรบรู ณ และโรงพยาบาลพนมไพร จังหวัดรอยเอ็ด ประกอบดว ย • ปก ารศึกษาท่ี 5: Integrated Clinical Care I • ปการศึกษาที่ 6: Life Cycle, Mental Health, Integrated Clinical Care II • ปการศึกษาที่ 7: Externship and Preparation for Practice 20 คมู อื นักศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2563) รูปแบบการเรียนการสอน นกั ศกึ ษาของหลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ หลกั สตู รใหม พ.ศ.2563 จะไดร บั การเรยี นรแู ละพฒั นาทกั ษะทางการแพทยร ปู แบบใหมใ นหลกั สตู ร การศึกษาตามมาตรฐานสากล ซึ่งจะแตกตางจากหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตปกติ โดยหลักสูตรไดมีการจัดการเรียนการสอนที่เชื่อมโยง ในแนวราบของแตละชั้นปเรียกวา “Horizontal Modules” ซึ่งนักศึกษาจะไดเรียนรูดวยการผสมผสานวิทยาศาสตรพื้นฐาน และวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก โดยนักศึกษาจะเริ่มเรียนรูจากผูปวย และฝกปฏิบัติดวยสถานการณจำลองการเปนแพทยตั้งแตชั้นปที่ 1 พรอมทั้งสงเสริม การเรยี นรูด วยตนเองในพื้นฐานทางคลินิก โดยใชร ูปแบบการเรียนการสอนและการประเมินอยางตอ เนื่องผา นเทคโนโลยกี ารศึกษา รวมถึงการ ปพู น้ื ฐานใหน กั ศกึ ษาฝก หดั คน ควา และรจู กั ใชข อ มลู ทท่ี นั สมยั ดว ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการวนิ จิ ฉยั และรกั ษาผปู ว ยอยา งเหมาะสมผา นกระบวนการ Evidence based practice และหลักสูตรเนนการประเมินผลแบบ Formative Assessment เพื่อการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษาแพทย ในทกุ รายวชิ าอยา งใกลช ดิ เพอ่ื ใหม ที กั ษะวชิ าชพี ทเ่ี ปน เลศิ และเปน แพทยท ม่ี คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมทง้ั นกั ศกึ ษาจะไดฝ ก คดิ คน ควา สง่ิ ใหมๆ ผานกระบวนการวิจัยตั้งแตชั้นปที่ 1 และไดเดินทางไปศึกษาและปฏิบัติเรียนรูกระบวนการวิจัยกับผูเชี่ยวชาญระดับโลก ณ UCL : University Colege London สหราชอาณาจกั ร พรอ มกนั นห้ี ลกั สตู รใหมย งั ไดม งุ เนน การบรู ณาการเรยี นรขู า มศาสตรค รอบคลมุ ทกุ สาขาตง้ั แต ชน้ั ปท ่ี 1 จนถงึ ปท่ี 7 โดยเชอ่ื มโยงผานการเรียนรใู นแนวตง้ั ทีเ่ รยี กวา “Vertical Modules” ประกอบดวย 6 คอลมั ภด งั ตอ ไปน้ี “Vertical Modules” • Doctor as scientist (Use of evidence) • Doctor as practitioner (Clinical skils and practical procedure, use of medicines) • Doctor as professional (clinical communication, ethics, patient pathways) • Health of the public (social determinants of health) • Songkran (Thai culture and health) • General education (Digital health, The portfolio) ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวชิ า (เต็ม) ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา (ยอ ) แพทยศาสตรบัณฑิต พ.บ. Doctor of Medicine MD Intercalated BSc iBSc คมู อื นกั ศึกษา ปการศกึ ษา 2563 21 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

สวัสดิการของนักศึกษา ติดตอสอบถาม ศูนยการเรียนรู สถาบนั บณั ฑิตศกึ ษาจุฬาภรณ ศนู ยการเรียนรู สถาบนั บัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ ช้ัน M อาคารสถาบันบัณฑติ ศกึ ษาจุฬาภรณ โทร 02 - 554 - 1900 ตอ 2712 เวลาเปดปดการใหบรกิ ารหองสมุด E-mail [email protected] - เปดใหบริการ วันจนั ทร - วันศุกร เวลา 09.00 น. – 17.00 น. - ปด ใหบรกิ าร วนั เสาร - วันอสทติ ย และวันหยดุ นักขตั ฤกษ หอ งสมุดราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ตดิ ตอสอบถาม บรรณารักษห องสมุดราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ เวลาเปด ปด การใหบรกิ ารหอ งสมดุ อาคารบริหาร 2 ชัน้ 1 โซน C-D - เปด ใหบริการ วนั จนั ทร – วันศกุ ร เวลา 8.00 น. – 16.00 น. - ปดใหบรกิ าร วนั เสาร – อาทติ ย และวันหยดุ นกั ขัตฤกษ 22 คมู อื นักศกึ ษา ปก ารศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

สวัสดิการของนักศึกษา อาคารกีฬาไปรษณียไทย ทีต่ งั้ : 99/61 ถนน แจง วฒั นะ แขวง ทุงสองหอง เขต หลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210 สนามกฬี าภายในอาคาร : สนามแบดมินตนั สนามบาสเกต็ บอล สนามฟตุ ซอล สนามตะกรอ โตะ ปงปอง วนั เวลาในการใหบริการ : เวลาทำการ วันจันทร - วันศกุ ร เวลา 08.30 – 16.30 น. นอกเวลาทำการ วันจนั ทร - วันศุกร เวลา 16.30 – 21.30 น. ปดใหบ รกิ าร วนั เสาร - วนั อาทติ ย และวันหยุดราชการ ศนู ยกีฬา บมจ. กสท โทรคมนาคม ท่ีตั้ง : อาคารสำนักงานใหญ (ใหม) ชั้น 6 เลขท่ี 99 ถ.แจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ 10210 ประเทศไทย วัน เวลาในการใหบรกิ าร : ตดิ ตอ 08-1352-0493 สำนักการกีฬา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร สนามอนิ ทรจี นั ทรสถติ ย จันทร – ศุกร เวลา 16.30 - 20.00 น. เสาร อาทิตย และวันหยดุ นกั ขตั ฤกษ เวลา 8.00 - 18.00 น. สนามแบดมนิ ตนั จันทร – อาทิตย เวลา 9.00 - 20.00 น. สนามเทนนสิ จันทร – อาทิตย เวลา 6.00 - 20.00 น. ศูนยออกกำลงั กายเพอ่ื สุขภาพ มก. จันทร – ศุกร 9.00 - 18.30 น. เสาร อาทิตย และวนั หยุดนักขตั ฤกษ ปด ใหบริการ สระจุฬาภรณวลัยลักษณ จันทร – ศกุ ร เวลา 6.00 - 18.00 น. เสาร – อาทติ ย และวันหยุดนกั ขัตฤกษ ปดใหบรกิ าร ศูนยวจิ ยั และพัฒนาวิทยาศาสตรก ารกฬี า จนั ทร – ศกุ ร 9.00 - 16.00 น. เสาร – อาทติ ย และวันหยดุ นักขัตฤกษ ปด ใหบรกิ าร *การเขาใชบริการหนว ยงานของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรใ หปฏบิ ัตติ ามระเบยี บการเขา ใชบรกิ ารของแตล ะหนวยงาน 23 คูมอื นกั ศึกษา ปการศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

สวัสดิการของนักศึกษา นักศึกษาวทิ ขยอ าคลวัยรวททิ รยาาบศการสณตเีรกก ดิ ากราแรพเจท็บยปเ จว ายฟา จฬุ าภรณ กรณีเกดิ อาการเจ็บปวย นักศึกษากำลงั ศกึ ษา ณ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล นักศกึ ษากำลังศึกษา ณ วิทยาลยั วิทยาศาสตร นักศกึ ษากำลังศึกษา การแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ณ มหาวทิ ยาลยั พระจอมเกลาธนบรุ ี ใชส ิทธกิ ารรักษา ใชสิทธิการรักษา ใชสทิ ธกิ ารรกั ษา - สิทธิหลักประกนั สุขภาพ - สทิ ธิหลกั ประกนั สุขภาพ - สิทธิหลกั ประกันสุขภาพ - สทิ ธสิ วสั ดิการรักษาพยาบาลราชการ (ถาม)ี - สทิ ธิสวสั ดิการรักษาพยาบาลราชการ (ถา ม)ี - สทิ ธิสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลราชการ(ถามี) - สิทธบิ ัตรประกนั ภัยอบุ ตั เิ หตแุ ละสขุ ภาพ (กลมุ ) - สทิ ธบิ ัตรประกันภยั อุบตั เิ หตแุ ละสุขภาพ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ (กลมุ ) ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ หากมีอาการเสีย่ งตดิ เชอ้ื โรค COVID-19 มีไขส ูง / ไอ / เจบ็ คอ / มนี ำ้ มกู / หายใจลำบาก / หายใจเหนื่อยหอบ คำแนะนำเพอ่ื ปองกนั โรค COVID-19 พบแพทยเ พื่อตรวจคัดกรอง ควรงดหรือยกเลกิ การเดินทางไปใน 1. หลกี เลย่ี งการเดนิ ทางไปในพน้ื ท่รี ะบาด แจง อาจารยท่ปี รกึ ษาหรอื ฝา ยกิจการนกั ศกึ ษา ประเทศกลมุ เสยี่ ง ไดแก ดร.ปรยิ าการ สุริยศ โทร. 0-81349-3399 - สาธารณรฐั ประชาชนจนี ของโรค - เกาลีใต - ญปี่ นุ 2. หลีกเลย่ี งพื้นทีแ่ ออัด - ฮอ งกง - สงิ คโปร 3. ไมอยใู กลผปู ว ย ไอ หรอื จาม - ไตหวัน - อติ าลี 4. สวมใสหนากากอนามัย - ฝรง่ั เศส - เยอรมนี 5. ไมสมั ผัสหรอื อยใู กลชิดกับสัตวโดยเฉพาะ ทีป่ วยหรอื ตาย 6. ตอ งลา งมอื ทกุ ครั้งดว ยน้ำหรือสบหู รอื ใช เจลลา งมือเมอ่ื สมั ผัสสงิ่ สกปรก 24 คูม อื นกั ศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

สวัสดิการของนักศึกษา ทนุ การศกึ ษาคณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ 1. นักศึกษาคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ • โครงการทุนเฉลิมพระเกียรติศาสตราจารย ดร. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ระดับปริญญาตรี ประเภทเรียนดีแตข าดแคลนทนุ ทรพั ย ปก ารศกึ ษา 2562 (ประเภทผลการเรียนดีเดน และประเภทผลการเรยี นดแี ตข าดแคลนทนุ ทรัพย) 2. หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑิต (โรงพยาบาลรามาธบิ ดี – วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ) • โครงการทนุ เฉลิมพระเกียรตเิ จาฟา จุฬาภรณ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระชนมายุ 90 พรรษา 3. หลกั สูตรวิทยาศาสตรข อมูลสุขภาพ • โครงการทุนเฉลิมพระเกียรติเจาฟาจุฬาภรณ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระชนมายุ 60 พรรษา เพื่อพัฒนาผูมีอัจฉริยภาพทาง การแพทยและบคุ ลากรทางการแพทย ดา นภัยพบิ ตั ิ เพือ่ พฒั นานักวทิ ยาศาสตรขอมูลสขุ ภาพ 4. หลกั สูตรฟส กิ สก ารแพทย • โครงการทุนเฉลิมพระเกียรติเจาฟาจุฬาภรณ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระชนมายุ 60 พรรษา เพื่อพัฒนานักฟสิกสการแพทย สำหรบั ผูส ำเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรีเพือ่ ศกึ ษาตอ ปริญญาโท 5. หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2563) • โครงการทุนสนับสนนุ การวจิ ยั และการจำเสนอผลงานวิจยั หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ • โครงการทุนการศกึ ษาท่ขี าดแคลนทนุ ทรพั ยอ ยา งแทจ รงิ สำหรบั หลักสตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ • โครงการทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ศาสตราจารย ดร. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี สำหรบั หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2563) • โครงการทนุ สนบั สนุนการทำวจิ ยั และนำเสนอผลงานวิจยั สำหรับนักศกึ ษาหลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑิต • โครงการทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพยอยางแทจริง สำหรับนักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คมู ือนกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 25 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

ขอบังคับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ (เครื่องแตงกาย) เนคไทสีสม เครือ่ งแตง กายปกติ เส้อื เชติ้ สีขาวไมมีลวดลาย แขนเสื้อส้นั เหนอื ศอก เขม็ ติดเนคไท เข็มตราราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ อญั เชิญพระนาม “จภ” ติดดมุ โลหะสเี งนิ ดาน ภายใตจ ุลมงกุฎมาประดบั อัญเชิญพระนาม “จภ” เข็มตดิ เสอื้ เข็มตดิ ปกเส้ือ ภายใตจ ลุ มงกฎุ มาประดบั และดมุ เสอื้ อญั เชิญพระนาม เสือ้ เช้ติ สีขาว ติดอกเสือ้ เบ้อื งขวาและ “จภ” ภายใตจ ุลมงกุฎ ตดิ ปกเส้อื และดุมเสือ้ มาประดับ ไมม ลี วดลาย สเี งนิ ดา น ใหกลัดดุมท่ีคอเส้ือ เขม็ ขดั หนงั สนี ำ้ ตาลทอง สาบเสอ้ื ดานหลัง หวั เข็มขดั ทำดวยโลหะสีเงิน เขม็ ขดั หนงั สีน้ำตาลทอง รูปส่เี หลย่ี มผนื ผา แนวนอน ดนุ โลหะสที องเปนตวั อกั ษร หวั เข็มขดั ทำดว ยโลหะสีเงนิ “ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ” รปู สี่เหลย่ี มผืนผาแนวนอน ดุนโลหะสีทองเปนตวั อักษร “ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ” กางเกงขายาว อานประกาศ กระโปรงสีนำ้ เงนิ แบบเรียบ แบบสากล สนี ำ้ เงิน ความยาวเหมาะสมและสุภาพ รองเทาหุมสน รองเทา หุมสน สดี ำหรือสขี าว หรือสีสุภาพ สดี ำหรอื สีขาว หรือสสี ุภาพ ไมม ลี วดลาย สนสงู ไมเกนิ 8 เซนติเมตร 26 คูมอื นักศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

ขอบังคับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ (เครื่องแตงกาย) เคร่ืองแตง กายพธิ ีการ แผงคอทีต่ ิดเสอ้ื ท้งั สองขา ง เขม็ ตราราชวิทยาลัยจุฬาภรณ เส้อื เชิต้ สีขาวไมมีลวดลาย แขนเสอ้ื สน้ั เหนือศอก ทำดวยสกั หลาดหรือ อญั เชญิ พระนาม “จภ” กำมะหยี่ สสี ม ตดิ ตราพระนาม ภายใตจุลมงกฎุ มาประดับ ติดดุมโลหะสีเงินดาน “จภ” ภายใตจ ุลมงกุฎ ตดิ อกเสื้อเบือ้ งขวาและ เข็มตดิ เสือ้ เขม็ ตดิ ปกเสอื้ ตดิ ปกเส้ือ และดุมเสอื้ และดุมเส้ืออัญเชิญพระนาม เสือ้ ราชประแตนสีขาว สีเงนิ ดาน ใหกลัดดมุ ทค่ี อเสื้อ “จภ” ภายใตจลุ มงกฎุ มาประดับ คอตงั้ แขนยาวถงึ ขอมอื มีชอ งกระเปา ท่ีอกเสือ้ สาบเส้ือดา นหลัง และที่เอวซาย-ขวา แนวสาบอกกลดั ดมุ โลหะ เขม็ ขดั หนัง สนี ำ้ ตาลทอง สที องดา นตราพระนาม “จภ” ภายใตจ ลุ มงกฎุ หวั เขม็ ขดั ทำดวยโลหะสีเงนิ รูปส่ีเหล่ียมผนื ผา แนวนอน ดนุ โลหะสีทองเปน ตวั อกั ษร “ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ” กางเกงขายาว อานประกาศ กระโปรงสนี ำ้ เงินแบบเรียบ แบบสากล สีขาว ปลายบานหรือจบั จีบ ความยาวเหมาะสมและสภุ าพ รองเทา หนังสดี ำ หุมสน ถงุ นอง ถงุ เทาสีดำไมม ลี วดลาย สเี นือ้ ไมมลี วดลาย รองเทาหนังสขี าวหมุ สน สวมถงุ นอ งสีเน้อื ไมมลี วดลาย คมู อื นักศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 27 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

ปฏิทินการศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 MD หลักสตู รแพทยศาสตรบัณฑิต (หลกั สตู รคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบิ ด-ี วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ) ภาคการศึกษาที่ 1/2563 เปดภาคเรียน ภาคการศึกษาที่ 1/2563 วนั จันทรท่ี 10 สิงหาคม 2563 สอบกลางภาค วันจนั ทรท ี่ 5 - วนั ศกุ รที่ 9 ตุลาคม 2563 การสอนสิ้นสุด วนั ศกุ รที่ 27 พฤศจกิ ายน 2563 สอบปลายภาค วนั จนั ทรท ี่ 30 พฤศจิกายน - วันศกุ รท ี่ 11 ธันวาคม 2563 ปดภาคการศึกษา วนั จนั ทรท ี่ 14 ธนั วาคม 2563 ประกาศผลสอบประจำภาค วนั พุธท่ี 30 ธนั วาคม 2563 วนั จนั ทรท ี่ 4 มกราคม 2563 ภาคการศึกษาที่ 2/2563 วันจันทรที่ 1 - วนั ศกุ รที่ 5 มนี าคม 2563 วนั ศุกรท ี่ 30 เมษายน 2563 เปด ภาคเรยี น ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2563 วนั จันทรท่ี 3 - วนั ศุกรท ี่ 14 พฤษภาคม 2563 สอบกลางภาค วนั จนั ทรท่ี 17 พฤษภาคม 2563 การสอนสน้ิ สุด วันศุกรท ่ี 28 พฤษภาคม 2563 สอบปลายภาค ปด ภาคการศึกษา ประกาศผลสอบประจำภาค ภาคการศึกษาฤดูรอน เปด ภาคการศกึ ษา วนั จนั ทรท ี่ 31 พฤษภาคม 2563 การสอนสิน้ สดุ วันศุกรที่ 16 กรกฏาคม 2563 สอบปลายภาค วันจันทรท ่ี 19 - วันพฤหสั บดที ี่ 22 กรกฎาคม 2563 ปด ภาคการศกึ ษา วันองั คารที่ 27 กรกฎาคม 2563 ประกาศผลสอบประจำภาค วนั ศุกรท่ี 6 สงิ หาคม 2563 * อางองิ ตามประกาศมหาวทิ ยาลัยมหิดล เรื่อง ปฏทิ นิ การศกึ ษาและกิจกรรมนักศึกษา ระดบั ปริญญาตรี (หลักสูตรไทย) ชั้นปท ี่ 1 - 2 (ศาลายา) ปการศกึ ษา 2563 28 คูม ือนกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

ปฏิทินการศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 HDS หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อ มูลสุขภาพ (หลกั สตู รรว มระหวา งวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ภาคการศึกษาที่ 1/2563 ลงทะเบยี นเรยี น วนั จันทรท ี่ 20 - วนั พฤหสั บดีที่ 23 กรกฎาคม 2563 ชำระเงินคา ลงทะเบียนเรยี น ภายในวนั ศุกรท่ี 24 กรกฎาคม 2563 เปดภาคการศกึ ษา วันจนั ทรท ี่ 10 สงิ หาคม 2563 ขอเพ่มิ - ลดรายวิชา วันจันทรท ี่ 10 - วนั ศุกรที่ 21 สิงหาคม 2563 (รายวิชาทีข่ อลดจะไมบ นั ทึกในใบแสดงผลการศึกษา และไมนบั ครงั้ ในการลงทะเบยี นเรยี น) ขอถอนรายวชิ า วันจันทรท ี่ 24 สิงหาคม - วันศกุ รท ่ี 20 พฤศจิกายน 2563 (รายวิชาที่ถกู ถอนจะถกู บันทกึ W ในใบแสดงผลการศึกษา และไมนบั ครง้ั ในการลงทะเบียนเรยี น) สอบกลางภาค วนั จันทรท ่ี 28 กนั ยายน - วนั อังคารที่ 6 ตุลาคม 2563 นกั ศกึ ษาประเมินการสอนประจำภาคของอาจารยผ ูสอน วนั จันทรท่ี 12 ตุลาคม - วนั ศุกรท ี่ 27 พฤศจกิ ายน 2563 สอบปลายภาค วันจนั ทรท ี่ 30 พฤศจิกายน - วันศุกรท่ี 11 ธันวาคม 2563 ปดภาคการศกึ ษา วันจนั ทรที่ 14 ธันวาคม 2563 ประกาศผลสอบประจำภาค วนั พธุ ท่ี 30 ธันวาคม 2563 ภาคการศึกษาที่ 2/2563 ลงทะเบยี นเรยี น วันจนั ทรท ่ี 14 - วันพฤหสั บดที ี่ 17 ธันวาคม 2563 ชำระเงินคาลงทะเบียนเรียน ภายในวนั ศุกรท ี่ 18 ธนั วาคม 2563 เปดภาคการศึกษา วันจันทรที่ 18 มกราคม 2564 ขอเพ่ิม - ลดรายวิชา วนั จนั ทรท ่ี 18 - วนั จันทรท ่ี 1 กุมภาพนั ธ 2564 (รายวชิ าท่ีขอลดจะไมบ ันทกึ ในใบแสดงผลการศกึ ษา และไมนบั ครง้ั ในการลงทะเบยี นเรียน) ขอถอนรายวิชา วนั องั คารที่ 2 กมุ ภาพนั ธ - วนั พฤหัสบดที ี่ 6 พฤษภาคม 2564 (รายวชิ าทถี่ กู ถอนจะถูกบนั ทึก W ในใบแสดงผลการศกึ ษา และไมนับคร้ังในการลงทะเบยี นเรยี น) สอบกลางภาค วนั จนั ทรท ่ี 8 - วนั อังคารที่ 16 มนี าคม 2564 นกั ศกึ ษาประเมินการสอนประจำภาคของอาจารยผ ูส อน วันพฤหสั บดที ี่ 1 เมษายน - วันศุกรท ่ี 14 พฤษภาคม 2564 สอบปลายภาค วนั จันทรที่ 17 - วนั พฤหสั บดีท่ี 27 พฤษภาคม 2564 ปดภาคการศกึ ษา วนั ศกุ รท ่ี 28 พฤษภาคม 2564 ประกาศผลสอบประจำภาค วนั ศุกรท ี่ 18 มถิ นุ ายน 2564 คูม ือนักศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 29 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

ปฏิทินการศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 HDS หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรข อมลู สุขภาพ (หลกั สตู รรว มระหวา งวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบรุ ี หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2561) ภาคการศึกษาฤดูรอน ลงทะเบียนเรียน วันจันทรท่ี 10 - วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤษภาคม 2564 ชำระเงนิ คา ลงทะเบียนเรียน ภายในวันศกุ รท ี่ 14 พฤษภาคม 2564 เปดภาคการศกึ ษา วนั จันทรที่ 14 มถิ ุนายน 2564 ขอเพ่ิม - ลดรายวชิ า วนั จนั ทรท ี่ 14- วันศกุ รท่ี 18 มถิ ุนายน 2564 (รายวิชาทีข่ อลดจะไมบนั ทึกในใบแสดงผลการศกึ ษา และไมน บั ครง้ั ในการลงทะเบียนเรยี น) ขอถอนรายวชิ า วนั จันทรท่ี 21 มิถุนายน - วันศกุ รท ่ี 23 กรกฎาคม 2564 (รายวิชาท่ีถกู ถอนจะถกู บนั ทึก W ในใบแสดงผลการศึกษา และไมน ับครงั้ ในการลงทะเบียนเรยี น) นักศึกษาประเมนิ การสอนประจำภาคของอาจารยผูสอน วันจนั ทรท ี่ 12 - วนั อังคารท่ี 27 กรกฎาคม 2564 ปดภาคการศกึ ษา วนั ศุกรท ี่ 6 สงิ หาคม 2564 ประกาศผลสอบประจำภาค วันพฤหัสบดที ่ี 19 สิงหาคม 2564 30 คมู ือนกั ศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

ปฏิทินการศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 MP หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวชิ าฟส กิ สก ารแพทย) การศึกษาปรับพื้นฐาน วันจันทรท ่ี 8 – วนั อังคารท่ี 9 มิถนุ ายน 2563 วันจันทรท ี่ 22 มิถนุ ายน – วันศกุ รที่ 14 สงิ หาคม 2563 ลงทะเบยี นเรียนปรับพน้ื ฐาน วันจนั ทรที่ 3 สงิ หาคม - วันศกุ รท ี่ 21 สิงหาคม 2563 เรยี นปรับพ้ืนฐาน วันจนั ทรท ี่ 17 สิงหาคม 2563 วันจนั ทรท ี่ 12 - วนั ศกุ รที่ 23 ตุลาคม 2563 ภาคการศึกษาที่ 1/2563 วนั จันทรท ่ี 7 ธันวาคม - วนั ศกุ รท ่ี 18 ธันวาคม 2563 วนั อังคารท่ี 26 ธันวาคม 2563 ลงทะเบียนเรียน วันพธุ ที่ 30 ธันวาคม 2563 เปด ภาคเรียน วันจันทรท ่ี 4 - วันศุกรท ี่ 22 มกราคม 2564 สอบกลางภาค วนั จันทรท่ี 18 มกราคม 2564 สอบปลายภาค วนั จันทรที่ 15 - วนั ศุกรที่ 26 มีนาคม 2564 ปด ภาคการศกึ ษา วนั จนั ทรท ่ี 3 - วันศกุ รที่ 14 พฤษภาคม 2564 ประกาศผลสอบประจำภาค วันเสารท ่ี 22 พฤษภาคม 2564 วนั ศกุ รท่ี 28 พฤษภาคม 2564 ภาคการศึกษาที่ 2/2563 วันจันทรท ี่ 7 - วันศุกรท ี่ 25 มถิ ุนายน 2564 วันจันทรท่ี 21 มิถุนายน - วนั ศกุ รท ี่ 13 สงิ หาคม 2564 ลงทะเบยี นเรยี น วนั เสารที่ 14 สิงหาคม 2564 เปดภาคเรยี น สอบกลางภาค สอบปลายภาค ปด ภาคการศึกษา ประกาศผลสอบประจำภาค ภาคการศึกษาฤดรู อ น ลงทะเบยี นเรียน เปด ภาคเรยี น ปด ภาคการศึกษา คมู อื นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 31 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

ปฏิทินการศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 MD / iBSc ปฏิทินการศกึ ษา ประจำปก ารศึกษา 2563 หลกั สตู รแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2563) ปฐมนิเทศและการเตรียมพรอ มสคู วามเปน นกั ศึกษาแพทย วนั จันทรที่ 1 มถิ นุ ายน - วนั อังคารท่ี 16 มถิ ุนายน 2563 (Introduction and Orientation Module) ภาคการศึกษาที่ 1/2563 ลงทะเบยี น ภาคการศึกษาท่ี 1/2563 วันองั คารท่ี 5 - วันศุกรท่ี 7 พฤษภาคม 2563 เปด ภาคเรียน ภาคการศกึ ษาที่ 1/2563 วนั จนั ทรท่ี 3 สิงหาคม 2563 ปด ภาคการศึกษา วันเสารท่ี 28 พฤศจกิ ายน 2563 ภาคการศึกษาที่ 2/2563 วนั อังคารท่ี 1 - วันศุกรท่ี 4 ธันวาคม 2563 วันจันทรท่ี 14 ธันวาคม 2563 ลงทะเบียน ภาคการศกึ ษาที่ 2/2563 วนั จันทรท่ี 10 - วันศกุ รท ี่ 21 พฤษภาคม 2564 เปด ภาคเรียน ภาคการศกึ ษาที่ 2/2563 วนั เสารที่ 29 พฤษภาคม 2564 สอบประมวลผลปลายปการศึกษา วันจันทรท่ี 7 - วนั ศุกรท ี่ 18 มิถุนายน 2564 (End of year Summative Assessment) วนั พฤหสั บดีที่ 24 มิถุนายน 2564 ปด ภาคการศกึ ษา สอบแกต วั (Resit) ประกาศผลการศกึ ษา 32 คูมือนักศึกษา ปการศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

ปฏิทินการศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 คณะเเพทยศาสตรและการสาธารณสขุ วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ เดือนกรกฎาคม 2563 โครงการกาวแรกสคู ณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข โครงการสานสัมพนั ธน อ ง-พ่ี แพทยจ ุฬาภรณ เดือนสงิ หาคม 2563 โครงการพัฒนาผูนำนักศกึ ษาคณะแพทยฯ โครงการพบอนศุ าสกและอาจารยทป่ี รึกษาคร้ังที่ 1/2563 เดอื นกันยายน 2563 โครงการพบอนุศาสกอาจารยและทีป่ รึกษาครั้งที่ 2/2563 โครงการจติ อาสาจฬุ าภรณเ พ่อื ชมุ ชน เดือนตลุ าคม 2563 โครงการพบอนศุ าสกและอาจารยท ปี่ รกึ ษาครั้งท่ี 3/2563 โครงการสรา งแรงบนั ดาลใจ เดือนพฤศจิกายน 2563 โครงการประเพณวี ันลอยกระทง เดอื นมกราคม 2564 โครงการเปดหัวใจใหไดร ู คร้ังที่ 1 เดอื นกมุ ภาพนั ธ 2564 โครงการพบอนุศาสกและอาจารยท ี่ปรกึ ษาครั้งที่ 1/2564 โครงการเปด หัวใจใหไ ดรู ครั้งที่ 2 เดอื นมนี าคม 2564 โครงการพบอนุศาสกและอาจารยท ี่ปรกึ ษาครงั้ ที่ 2/2564 เดอื นเมษายน 2564 โครงการพบอนศุ าสกและอาจารยท่ปี รกึ ษาครัง้ ท่ี 3/2564 โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต ปก ารศึกษา 2563 คมู อื นกั ศึกษา ปการศึกษา 2563 33 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

กิจการนักศึกษาคณะเเพทยศาสตรและการสาธารณสุข FMDPH Care บริการการนัดหมายเพื่อขอรับคำปรึกษาสำหรับนักศึกษา การใหคำปรึกษาเชงิ จติ วทิ ยา กจิ การนกั ศึกษา คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข จัดใหมีบริการแนะแนว ใหคำปรึกษา เพื่อใหความชวยเหลือนักศึกษาในดานตางๆ ทั้งทาง ดา นอารมณ ความรสู กึ พฤตกิ รรม การเรยี น การศกึ ษาตอ อาชพี ฯลฯ เพอ่ื เปน แนวทางในการบรรเทาความวติ กกงั วล กระตนุ ใหเ กดิ ความเขา ใจ ตนเองและผูอ่ืน เพอ่ื ใหเขา ใจปญหาและหาทางออกไดอยางเหมาะสม เอื้อใหนกั ศึกษาเปน บัณฑติ ทพี่ งึ ประสงคไ ดอ ยางสมบูรณ FMDPH Complaints Center ศูนยรับเรื่องรองเรียนสำหรับนักศึกษา ศูนยรบั เร่อื งรอ งเรยี นสำหรบั นกั ศกึ ษา กระบวนการจัดการรองเรียนของนักศึกษา จัดทำขึ้นเพื่อใหนักศึกษาที่ประสงคจะรองเรียนมีความสะดวก ในการเขา ถึงและไดร บั การจดั การรอ งเรยี นดวยความรวดเรว็ ทันเวลา นำไปสูการจดั การเรือ่ งรอ งเรียนทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ ประเภทเรื่องรอ งเรียน 1. เรอื่ งรอ งเรียนทเ่ี กยี่ วขอ งกับความไมปลอดภยั ตอชวี ิตและทรพั ยสนิ 2. เรือ่ งรองเรยี นท่เี กีย่ วกับพฤตกิ รรมบุคลากร 3. เรื่องรองเรียนที่เกี่ยวกับกับความบกพรองหรือความเสี่ยงที่พบใน หนวยงาน 34 คูมอื นักศึกษา ปก ารศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

กิจการนักศึกษาคณะเเพทยศาสตรและการสาธารณสุข การประสานงานวิชาทหาร นักศึกษา (ทุกระดับ) ท่ไี มไ ดเ รียน ร.ด. หรอื เรียน ร.ด. แตไ มสำเรจ็ จบป 3 ที่มอี ายไุ มเกนิ 26 ปบ ริบรู ณ ซ่งึ ตอ งเขา สรู ะบบเกณฑทหาร โดยมขี นั้ ตอนและเอกสารตอ งเตรยี ม ดังนี้ นักศกึ ษาขอผอนผนั ราชการทหาร นักศึกษาขอศึกษาวชิ าทหาร ตดิ ตอ กจิ การนักศกึ ษา ตดิ ตอกิจการนักศึกษา กจิ การนกั ศึกษาประสานงานกบั งานทะเบียนของวิทยาลัย กิจการนักศกึ ษาแจง รายละเอียดเอกสารทนี่ กั ศกึ ษาตอ งนำมายืน่ 1. สำเนาหมายเรียก สด.35 จำนวน 2 ฉบบั หลกั ฐานการสมัครและรายงานตัว 2. สำเนาหนังสอื สด.9 จำนวน 2 ฉบับ กรณเี ล่อื นชน้ั ซำ้ ชน้ั สถานศกึ ษาเดมิ 3. สำเนาหนังสอื รับรองการเปนนกั ศึกษา จำนวน 2 ฉบับ 4. สำเนาบตั รประชาชน จำนวน 2 ฉบบั 1. ใบสมคั รสีขาว (รด. 2) 5. สำเนาเปลีย่ นช่อื - สกลุ ถามี จำนวน 2 ฉบบั 2. สำเนาทะเบยี นบา น จำนวน 1 ชุด 3. สำเนาบัตรประชาชน จำนวน 1 ชดุ หลักฐานกรณีเลอื่ นชัน้ ซ้ำช้ัน โอนยายสถานศึกษา 1. ใบสมัครสขี าว (รด. 2) จำนวน 1 ชดุ 2. สำเนาทะเบยี นบาน 3. สำเนาบตั รประชาชน จำนวน 1 ชุด 4. หนงั สือรับรองการฝก (ออกโดยศูนยการกำลงั สำรองหรอื ศนู ยก ารฝก /หนวยฝก ภูมิภาคเดมิ 5. หนงั สือรับรองขอรับสทิ ธิ์ (กรณขี อรับสทิ ธ)์ิ ฉบบั จริงที่ รบั รองโดย กองอำนวยการรับสมคั รและรายงานตวั กิจการนกั ศึกษารวบรวมเอกสารจากนกั ศึกษาใหงานทะเบียน ศูนยกำลังสำรอง วิทยาลยั ดำเนนิ งานตอไป 6. รปู ถายสวมเคร่อื งแบบ นศท. ไมสวมหมวกขนาด 3x4 ซม. หมายเหตุ : สทิ ธกิ ารผอนผนั ฯ จะส้นิ สดุ ลงเมอ่ื สำเร็จการศกึ ษา ตามหลักสตู รของวิทยาลยั หรือหมดสภาพการเปนนักศึกษาหรอื 35 อายุครบ 26 ปบรบิ รู ณ นกั ศกึ ษาทีไ่ มย ื่นเอกสารตามกำหนด จะไมไดรบั การพิจารณาผอนผันการเกณฑทหาร คมู อื นกั ศึกษา ปก ารศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณและสถาบันรวมสอน วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ มหาวทิ ยาลัยมหิดล สถาบนั บัณฑติ ศึกษาจฬุ าภรณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร 36 คมู ือนกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข

วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจุฬาภรณและสถาบันรวมสอน ศูนยการแพทยจฬุ าภรณเ ฉลิมพระเกยี รติ ศูนยก ารแพทยม ะเรง็ วทิ ยาจฬุ าภรณ โรงพยาบาลจุฬาภรณ โรงพยาบาลจฬุ าภรณ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี โรงพยาบาลตำรวจ โรงพยาบาลพนมไพร โรงพยาบาลเพชรบรู ณ คูมือนกั ศึกษา ปการศกึ ษา 2563 37 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คำสั่ง ระเบยี บปฏิบัติสำหรับการใชงานส่อื สังคมออนไลน ระเบียบปฏิบตั ดิ า นความมั่นคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2019 สแกนอานประกาศ ประกาศราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ เรอ่ื ง แนวทางการเขา รว มกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี 2561 เรอ่ื ง นโยบายการจัดการศึกษา เพ่อื สง เสริมและพฒั นาคณุ ภาพผพู กิ าร ประกาศคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข เรื่อง จรรยาบรรณนักศกึ ษาแพทย คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ เร่ือง คณุ ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคข องคณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข เรื่อง กระบวนการจัดการเรอื่ งรอ งเรียนของนักศกึ ษา คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ พ.ศ.2562 เรอ่ื ง มาตรฐานความรภู าษาองั กฤษของนักศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ขอบงั คับราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ เรื่อง เคร่อื งแตงกายนักศึกษา พ.ศ.2560 สแกนอา นประกาศ เรอ่ื ง ครุยวิทยฐานะและเข็มวทิ ยฐานะ พ.ศ.2560 เรื่อง การสอบของนกั ศกึ ษา พ.ศ.2561 เรอ่ื ง กจิ กรรมนกั ศกึ ษา พ.ศ.2561 เร่ือง วนิ ัยนกั ศึกษา พ.ศ.2561 เรอื่ ง การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2562 38 คูมือนกั ศกึ ษา ปก ารศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

หนาที่ของนักศึกษา อา งถงึ ขอ บงั คบั ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ วา ดว ยกจิ กรรมนกั ศกึ ษาราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ พ.ศ. 2561 หมวดท่ี 2 ขอ ท่ี 6 นกั ศกึ ษามหี นา ท่ี ดงั นี้ 1. ธำรงไวซ ง่ึ เกยี รตแิ ละศกั ดศ์ิ รขี องราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ รกั ษาไวซ ง่ึ ความสามคั คี ชอ่ื เสยี ง เกยี รตขิ องนกั ศกึ ษา สถาบนั พระมหากษตั รยิ  สังคม ประเทศชาติ 2. ธำรงไวซ งึ่ วฒั นธรรม ประเพณีอันดงี ามของไทย และความสามคั คีในหมูนกั ศกึ ษา 3. ธำรงไวซ ึง่ วฒั นธรรมอนั ดงี ามขององคก ร 4. ใหค วามเคารพและใหเ กียรตคิ ณาจารย 5. ศกึ ษาหาความรอู ยา งต้ังใจและเตม็ ความสามารถ 6. ใหความรว มมือในการดำเนินงานของราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ และการดำเนนิ กิจกรรมของนักศึกษา 7. ปฏิบัติตามขอบังคับ ประกาศของราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ ประกาศของสวนงาน และประกาศของสโมสรนกั ศึกษา หนาท่ีของนกั ศกึ ษาทีม่ ตี อ อาจารยท่ีปรกึ ษา 1. เขาพบอาจารยท ่ีปรกึ ษาตามกําหนดเวลาทอ่ี าจารยท่ีปรึกษากําหนดหรือเมอื่ มีปญหา 2. ปรกึ ษาและรบั ฟงขอแนะนำจากอาจารยท ่ปี รึกษา เพอ่ื นำสิ่งท่ีไดไ ปคิดวเิ คราะหหาแนวทางในการจดั การตนเองไดอ ยางเหมาะสม 3. ติดตามและศึกษาขาวสารหรือประกาศที่เกี่ยวของกับนักศึกษา ทั้งการเรียน การสอน กิจกรรมนักศึกษา ทุนการศึกษา กิจกรรม ทางสงั คม ฯลฯ อยางสม่ำเสมอและใหข อมูลยอ นกลับเพ่ือการปรับปรุง และพฒั นาระบบอาจารยทปี่ รกึ ษา การตดิ ตอขอนัดพบอาจารยท ีป่ รึกษา อาจารยท ป่ี รกึ ษาจะมกี จิ กรรมเพอ่ื นดั พบนกั ศกึ ษาและจดั ตารางเวลา เพอ่ื ใหน กั ศกึ ษาสามารถขอเขา พบเพอ่ื ขอรบั คำปรกึ ษา โดยนกั ศกึ ษา จะตองทำการนัดหมายหรือแจง อาจารยล วงหนากอนเขาพบทุกคร้งั โดยแจงผานทางชองทางดังน้ี 1. อีเมลของอาจารยท ป่ี รกึ ษา 2. เบอรโทรของอาจารยท ป่ี รกึ ษา 3. เมอ่ื เจออาจารยท ีป่ รกึ ษาโดยตรง คูมอื นกั ศึกษา ปการศึกษา 2563 39 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ

กิจกรรมนักศึกษาคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข 40 คูม ือนักศึกษา ปการศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

กิจกรรมนักศึกษาคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข คูมอื นักศกึ ษา ปก ารศึกษา 2563 41 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ

ตารางการติดตอหนวยงานภายในและภายนอก คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข อาคารบริหาร 2 ช้นั 4 บมจ. กสท.โทรคมนาคม (อาคาร CAT) เลขที่ 99 ถนนแจง วฒั นะ แขวงทุงสองหอ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ 10210 สำนกั งานคณบดี ในวันและเวลาทำการ จันทร - ศุกร เวลา 8.00 - 16.00 น. กจิ การนกั ศึกษา โทรเขา จากสายนอก โทร. 0-2576-6600 หลักสตู รแพทยศาสตรบัณฑติ ตอ 8443, 8480, 8482 (มอื ถอื 06-4585-5263) ตอ 8472, 8461, 8478 (มือถือ 06-4585-5264) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต E-mail: [email protected] สาขาวิทยาศาสตรขอ มลู สขุ ภาพ ตอ 8477, 8411, 8485, 8456 (มอื ถือ 06-4585-5265) E-mail: [email protected] ตอ 8524 สถาบนั สมทบ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ศาลายา 0-2849-6000 เลขท่ี 999 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา สำนกั งานอธกิ ารบดี ชัน้ 3 0-2849-6101-14 อำเภอพทุ ธมณฑล นครปฐม 73170 0-2256-0024, 0-2201-1734-6 คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี เลขที่ 270 ถนนพระรามหก แขวงทุง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบรุ ี 0-2470-8000 เลขท่ี 126 ถนนประชาอทุ ิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กิจการนกั ศึกษา 0-2470-8110 กรุงเทพฯ 10140 โทรสาร 0-2427-0151 42 คูมือนักศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

แผนที่คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข กรมการกงสุล ไปปากเกรด็ ศาลปกครอง ออาาคคาารรรBฐั ประสานภกั ดี กกอองงบทัญพั ไชทายการ การประปานครหลวง ซอยแจง วฒั นะ 7 ไปรษณยี ห ลกั ส่ี ปม ปตท. สำนกั งานเขตหลกั ส่ี กสท. ควทิณยะาแลพัยทวยิทศยาาศสเตาจสราตแ ฟลรากะจากุฬราแารภพสรทาณธยา รณสุข ถนนแจงวฒั นะ ไอทีสแควร จฬุ าภศรูนณยเกฉาลรมิ แพพรทะยเก ียรติ โกลเดน เพลส บริษทั ไปรษณยี ไทย โรคงลพงั ยยาาบแาลละจเวุฬชาภภณั รณฑ ไปดอนเมอื ง บริษัท ทีโอที โรงพยาบาลจฬุ าภรณ ศูนยก ารแพทย ศูนยไปรษณยี  บริษทั ทโี อที ถนนหมายเลข 8 ภัทรมหาราชานสุ รณ หลกั สี่ โรงพยาบาลจุฬาภรณ ซอยแจง วัฒนะ 5 ถนนหมายเลข 8 เคหะชุมชนหลักส่ี มะเศรนูง็ วยิทก ยาารจแุฬพทาภยรโรณงพPCCยMาSบาลจฬุ าภรแณละศ เูนพยทไสซแโคกลนตแหรสองถนชาาบตันิ บัณฑจุฬติ าศภกึ รษณา มริ าเคิลโแรกงรแนรมด สถทางุ นสอตี งำหรวอจง สถจาุฬบาันภวริจณยั  ถนนกำแพงเพชร 6 อุโมงค นอรธปารค สถานีรถไฟหลกั สี่ ไป ม.เกษตรฯ ถนนวภิ าวดีรงั สติ ไปรามอินทรา คูมอื นกั ศึกษา ปการศกึ ษา 2563 43 คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข

เว็บไซตและหมายเลขฉุกเฉินที่นักศึกษาควรทราบ เว็ปไซต www.pccms.ac.th http://medical.pccms.ac.th/ วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ www.mahidol.ac.th คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสขุ www2.kmutt.ac.th มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล www.ku.ac.th มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาธนบรุ ี www.facebook.com/CRAPCCMS/ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร www.facebook.com/MDPH.CRA/ www.facebook.com/HealthDataSci/ เพจ www.facebook.com/mppccms/ www.facebook.com/CRA.SA2020/ วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ 0-2576-6000 (24 ชว่ั โมง) คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข 0-25766600 (ในวันและเวลาราชการ) หลักสตู รวทิ ยาศาสตรข อ มูลสขุ ภาพ 191 หลกั สูตรฟสกิ สการแพทย 1193 สโมสรนกั ศกึ ษาราชวิทยาลัยจุฬาภรณ 1555 1669 หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉินภายใน 0-2574-6465 1323 (ตลอด 24 ช่ัวโมง) โรงพยาบาลจฬุ าภรณ 0-2713-6793 (ทุกวนั เวลา 12.00-22.00 น.) คณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉินภายนอก แจงเหตุดว นเหตรุ าย ตำรวจทางหลวง หนว ยแพทยก ชู พี กรงุ เทพมหานคร (ปว ยฉกุ เฉิน) หนว ยแพทยฉ ุกเฉินแหง ชาติ สถานตี ำรวจทุง สองหอง กรมสขุ ภาพจติ สมาคมสะมาริตันส (ศูนยก รงุ เทพฯ) 44 คูม ือนกั ศกึ ษา ปการศึกษา 2563 คณะแพทยศาสตรแ ละการสาธารณสขุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook