Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุลสาร สภามทร.ธัญบุรี ฉบับปฐมฤกษ์

จุลสาร สภามทร.ธัญบุรี ฉบับปฐมฤกษ์

Published by fangz023, 2022-06-10 07:08:34

Description: จุลสาร สภามทร.ธัญบุรี ฉบับปฐมฤกษ์

Search

Read the Text Version

จลุ สารสภา มทร.ธญั บรุ ี ฉบับปฐมฤกษ ปท ่1ี ฉบบั ท่ี 1 เดือน เมษายน พ.ศ.2565  RMUTT

พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 หมวด 2 การด�ำ เนินการ มาตรา 15 ให้มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมีสภามหาวทิ ยาลัยประกอบดว้ ย (1) นายกสภามหาวทิ ยาลัย ซึง่ จะไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง (2) กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยโดยต�ำ แหน่ง ได้แก่ อธกิ ารบดแี ละประธานสภาคณาจารย์ และข้าราชการ (3) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จ�ำ นวนหกคน ซึง่ เลือกจากผู้ดำ�รงตำ�แหนง่ รองอธกิ ารบดี คณบดี ผู้อ�ำ นวยการสถาบนั ผู้อำ�นวยการส�ำ นัก ผอู้ �ำ นวยการวิทยาลยั และหัวหนา้ ส่วนราชการ ที่เรยี กชอ่ื อยา่ งอน่ื ที่มีฐานะเทียบเทา่ คณะ (4) กรรมการสภามหาวิทยาลยั จ�ำ นวนหกคน ซึง่ เลอื กจากคณาจารยป์ ระจำ�ของมหาวทิ ยาลยั และข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอดุ มศกึ ษาทม่ี ใิ ช่ผดู้ ำ�รงตำ�แหน่งตาม (3) (5) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคุณวฒุ ิจำ�นวนสิบสค่ี นซึง่ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แตง่ ตัง้ จากบคุ คล ภายนอกมหาวทิ ยาลัย โดยคำ�แนะนำ�ของนายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัยตาม (2) (3) และ (4) ทง้ั น้ี ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ งั กล่าวตอ้ งมาจากผมู้ คี วามรู้ ความเชย่ี วชาญดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กฎหมาย การงบประมาณและการเงนิ การบรหิ ารงานบคุ คล การศึกษา เศรษฐศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ อย่างน้อยดา้ นละหนึง่ คน และด้านอ่ืน ๆ ตามท่ีสภามหาวทิ ยาลยั เหน็ สมควร ให้สภามหาวทิ ยาลยั แต่งตัง้ รองอธกิ ารบดีคนหนึง่ ซ่ึงมใิ ชก่ รรมการสภามหาวทิ ยาลัยตาม (3) เป็นเลขานุการ สภามหาวิทยาลัยโดยคำ�แนะน�ำ ของอธิการบดี ใหส้ ภามหาวิทยาลัยเลอื กกรรมการสภามหาวิทยาลยั ผู้ทรงคุณวุฒิ คนหน่งึ เป็นอปุ นายกสภามหาวทิ ยาลัยทำ� หนา้ ท่ีแทนนายกสภามหาวทิ ยาลัย เมอ่ื นายกสภามหาวิทยาลัยไมอ่ าจปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ไดห้ รือเม่อื ไมม่ ีผู้ดำ�รงต�ำ แหน่งนายก สภามหาวทิ ยาลยั 2 จลุ สารสภา มทร.ธญั บุรี

กรรมการสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี นายกสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี นายวีระศกั ด์ิ วงษส มบตั ิ อปุ นายกสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี พลเอก ธงชยั เกอ้ื สกลุ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย (พิเศษ) ดร.ชุมพล พรประภา ดร.บญุ ปลกู ชายเกตุ รองศาสตราจารย ดร.สมชยั ฤชุพนั ธุ ดร.คณุ หญงิ สมุ ณฑา พรหมบญุ รองศาสตราจารย นายแพทยธงชยั ทวชิ าชาติ ศาสตราจารย ดร.วิชา จยุ ชุม ดร.สมเจตน ทิณพงษ ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ นายชาติชาย ชุติมา ดร.พยงุ ศกั ดาสาวติ ร นายบุญชู ประสพกจิ ถาวร ศาสตราจารย ดร.พชั รางสุ ชัยวรมขุ กุล ดร.ผดุงศกั ดิ์ รัตนเดโช จลุ สารสภา มทร.ธญั บุรี 3

กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั โดยตำแหนง รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธกิ ารบดี อาจารยส าโรจน อนนั ตอวยพร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ กรรมการสภามหาวิทยาลยั จากผูบรหิ าร ผศ.อภชิ าติ ไกฟ า รศ.ดร.กฤษณช นม ภมู กิ ติ ตพิ ชิ ญ ผศ.ดร.นาถรพี ชยั มงคล ผศ.ดร.ประภาภร ดลกิจ ศ.ดร.สมพร ธุรี ผศ.ณชั ติพงศ อูทอง รองอธิการบดี รองอธกิ ารบดี คณบดคี ณะบรหิ ารธรุ กจิ คณบดี คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร ผูอำนวยการสำนักสงเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน คณะเทคโนโลยีสอ่ื สารมวลชน กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารยประจำและขาราชการ ผศ.จติ รลดา ตรสี าคร ผศ.ชลิต เชาววไิ ลย ผศ.ดร.นพรัตน พุทธกาล อาจารยนิกร แสงงาม ผศ.ดร.อนินท มมี นต นางสาววารณุ ี ก่ีเอยี่ น เลขานุการสภามหาวิทยาลยั เลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลยั ผูชว ยเลขานุการสภามหาวทิ ยาลยั ผศ.เมธา ศริ กิ ลู ผศ.ปณติ า สงวนทรพั ย รองอธกิ ารบดี ผูชว ยอธิการบดี ผศ.ดร.สภุ ัทรา โพธพ์ิ ว ง นางจนั ทรทิพย จินสกลุ ท่ีปรกึ ษาดานกจิ การสภามหาวิทยาลยั หัวหนา สำนกั งานสภามหาวทิ ยาลยั 4 จลุ สารสภา มทร.ธัญบุรี

สภามทร.ธัญบรุ ีในการประชุม ครั้งท่ี 3/2565 วนั ท่ี 30 มนี าคม 2565 มีมติให้ความเห็นชอบหลักสูตรที่เข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกติ ) ระดบั ปรญิ ญาตรหี ลกั สตู รที่เขา้ ร่วม ปกี ารศึกษา 2565 ดว้ ยมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ได้มนี โยบายก�ำหนดให้เปดิ รบั สมคั รโครงการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ในระบบเทียบ โอนความรูแ้ ละประสบการณ์ (ธนาคารหนว่ ยกติ ) ระดับปริญญาตรี ในปกี ารศกึ ษา 2565 เพอื่ ใหก้ ารด�ำเนนิ การของการจัดการศกึ ษา เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยและมีประสทิ ธภิ าพ ส�ำนักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น (สวท.) จงึ ขออนุมตั หิ ลกั สตู รท่ีเขา้ รว่ มโครงการ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตในระบบเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ (ธนาคารหนว่ ยกิต) หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี ปกี ารศึกษา 2565 รายชอ่ื หลกั สูตร/สาขาวชิ าทเ่ี ปิดรบั นกั ศึกษาเข้าร่วมโครงการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตในระบบเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ (ธนาคารหนว่ ยกติ ) หลกั สตู ปริญญาตรี ปกี ารศึกษา 2565 คณะศลิ ปศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ - สาขาวช� าการทองเท่ยี ว - สาขาว�ชาการจัดการโรงแรม - สาขาวช� าเทคโนโลยบี ร�หารงานกอสราง - สาขาว�ชาภาษาอังกฤษเพ่�อการสือ่ สาร - สาขาวช� าอตุ สาหกรรมการบรก� ารการบิน - สาขาวช� าพลศึกษา คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร คณะวศ� วกรรมศาสตร หลักสตู รวท� ยาศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รว�ศวกรรมศาสตรบัณฑติ - สาขาวช� าสัตวศาสตร - สาขาวช� าวศ� วกรรมวัสดุ - สาขาวช� าเทคโนโลยีภูมทิ ศั น - สาขาวช� าวศ� วกรรมอิเลก็ ทรอนกิ สอากาศยาน - สาขาวช� าว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร - สาขาว�ชาวศ� วกรรมนวตั กรรมสิ�งทอ - สาขาวช� าการผลิตพช� - สาขาวช� าประมง คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร คณะบร�หารธรุ กจิ หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวช� าอาหารและโภชนาการ หลกั สตู รบรห� ารธุรกจิ บัณฑติ - สาขาวช� าการออกแบบแฟช่ันและนวตั กรรมเคร�่องแตงกาย - สาขาว�ชาการจัดการโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชน - สาขาวช� าศิลปประดษิ ฐในงานคหกรรมศาสตร - สาขาว�ชาการบรห� ารธุรกจิ ระหวา งประเทศ - สาขาว�ชาคอมพว� เตอรธ ุรกจิ คณะเทคโนโลยีสอ่ื สารมวลชน คณะศิลปกรรมศาสตร หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ - สาขาวช� าเทคโนโลยกี ารพ�มพดิจิทลั และบรรจภ� ณั ฑ หลักสูตรศลิ ปบัณฑติ - สาขาว�ชาเทคโนโลยีการโฆษณาและประชาสมั พันธ - สาขาวช� าศิลปะไทย - สาขาว�ชานวตั กรรมการออกแบบผลิตภณั ฑรว มสมัย - สาขาวช� าจติ รกรรม - สาขาว�ชาทัศนศลิ ป หลักสตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต - สาขาว�ชาดนตรค� ตี ศิลปไ ทยศึกษา - สาขาวช� าดนตรค� ตี ศลิ ปสากลศกึ ษา - สาขาว�ชานาฏศลิ ปไ ทยศกึ ษา คณะวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี คณะสถาปต ยกรรมศาสตร หลกั สูตรว�ทยาศาสตรบณั ฑิต หลกั สูตรสถาปต ยกรรมศาสตรบณั ฑิต - สาขาว�ชาวท� ยาการคอมพว� เตอร - สาขาวช� าสถาปต ยกรรม - สาขาว�ชาการวเ� คราะหและจัดการขอ มูลขนาดใหญ - สาขาวช� าสถาปตยกรรมภายใน - สาขาว�ชาชีวว�ทยาประยกุ ต คณะการแพทยบูรณาการ หลักสตู รว�ทยาศาสตรบณั ฑิต - สาขาวช� าสุขภาพและความงาม จุลสารสภา มทร.ธัญบรุ ี 5

สภามทร.ธัญบุรีในการประชุม ครง้ั ท่ี 3/2565 วันที่ 30 มีนาคม 2565 มมี ตริ บั ทราบและพจิ ารณารายงานผลการดำ� เนนิ งานของโรงเรยี นสาธติ นวตั กรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี โรงเรียนสาธติ นวตั กรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ไดร้ บั การประกาศจดั ตั้งเมอ่ื ปี พ.ศ. 2555 โดยจัดการ ศกึ ษาต้งั แตร่ ะดบั ประถมศึกษา ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามแนวคิด IDS STEAM MODEL ข้อเสนอแนะและขอ้ สงั เกตจากทป่ี ระชมุ สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ดงั น้ี 1.สภามหาวิทยาลัยขอชื่นชมในการด�ำเนินการของโรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึ่งเป็นโรงเรียนที่สนบั สนุนการสรา้ ง INNOVATION ซึง่ เป็นการสนบั สนุนทักษะอาชพี จุดเด่นคอื เป็นโรงเรียนที่อยใู่ นมหาวิทยาลยั ควรให้มปี ระโยชน์โดยเพ่มิ การจดั การร่วมกนั เชน่ นักเรียนท่มี ีความสนใจ มคี วามสามารถพเิ ศษสามารถเรยี นวชิ าในคณะตา่ ง ๆ ได้ สามารถสะสมหนว่ ยกติ ตัง้ แตย่ ังอยูใ่ นโรงเรียนสาธติ ฯ หรือสามารถเข้าศกึ ษาต่อในระดับปรญิ ญาตรีของมหาวิทยาลยั ได้ และการให้ อาจารยจ์ ากสาขาวิชาตา่ ง ๆ ร่วมดแู ลนักเรยี นเปน็ การช่วยสรา้ งแรงบันดาลใจให้กับเด็ก ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 2.การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นทกั ษะของอาชีพ ตัง้ แต่ระดบั ประถม มธั ยมต้น ซ่งึ ยงั เปน็ วัยเดก็ โรงเรยี นสาธติ ต้องเพม่ิ การ เรียนรูใ้ นดา้ นอืน่ ๆ ใหไ้ ด้มีความร้รู อบ รอบรู้ ซึ่งตอ้ งเน้นภาษา เนน้ ความเป็นมนษุ ย์ เนน้ ทักษะของชวี ติ อืน่ ๆ คือ ทักษะการเข้ารว่ ม งานกับผู้อื่น ทักษะของการบริหารจัดการตนเองในสงั คมที่เปลีย่ นแปลง รวมทัง้ การพัฒนาดา้ นจติ ใจอารมณ์ และทศั นคติอะไรตา่ ง ๆ ซงึ่ เปน็ ทกั ษะที่ส�ำคญั มากและส�ำคัญยง่ิ กว่าทกั ษะอาชพี กค็ ือ “ทักษะชีวติ ” โดยความร่วมมือระหวา่ งโรงเรียนและบ้าน 3.การจัดความสมดลุ ของการจัดการเรยี นการสอนในโรงเรยี น และนอกโรงเรียนเป็นเรื่องส�ำคัญ โดยเฉพาะการจัดการเรยี น การสอนในช่วง COVID และการให้ความรู้ในการดแู ลสุขภาพของนกั เรียน มตสิ ภา มทร.ธญั บรุ ี รบั ทราบ และมอบมหาวทิ ยาลยั รบั ขอ้ เสนอแนะของกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ไปพจิ ารณาดำ� เนนิ การ 6 จลุ สารสภา มทร.ธญั บุรี

สภามทร.ธญั บุรีในการประชุม ครงั้ ที่ 3/2565 วันท่ี 30 มนี าคม 2565 มีมตเิ ร่ืองประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ประจำ� ปกี ารศึกษา 2563 (ระดับหลกั สตู ร ระดับคณะ และระดบั สถาบัน) ตามทีม่ หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ถูกตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธญั บรุ ี ประจ�ำปกี ารศึกษา 2563 (ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 – 9 ธันวาคม พ.ศ. 2564) ในระดบั หลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบนั เพ่ือให้เป็นไปตามเกณฑแ์ ละตวั บ่งชก้ี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา ระดับอุดมศึกษา ของส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา น้ัน ส�ำนักประกันคุณภาพการศึกษา จงึ ขอรายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายใน ประจ�ำปีการศึกษา 2563 (ระดบั หลักสูตร ระดบั คณะ และระดับสถาบนั ) เพ่ือขอขอ้ เสนอแนะไปปรับปรุงแก้ไขตอ่ ไป ผลการประเมินระดับหลกั สูตร 1.ตามเกณฑ์ สกอ. หลักสูตรเขา้ รบั การตรวจประเมิน จ�ำนวนทัง้ สน้ิ 121 หลกั สตู ร พบว่า ทุกหลกั สตู รผ่านการก�ำกับ มาตรฐาน (องค์ประกอบที่ 1) หลกั สูตรไดร้ ับระดับคุณภาพดมี าก จ�ำนวน 7 หลักสตู ร (ร้อยละ 5.79) ระดับคณุ ภาพดี จ�ำนวน 110 หลกั สตู ร (ร้อยละ 90.91) และระดบั คุณภาพปานกลาง จ�ำนวน 4 หลกั สตู ร (รอ้ ยละ 3.31) 2.ตามเกณฑ์ สกอ. และเกณฑป์ ระกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน (เพิ่มเตมิ เฉพาะหลกั สูตรปรญิ ญาตร)ี หลกั สตู รเข้ารบั การตรวจประเมนิ จ�ำนวนท้ังส้ิน 88 หลักสูตร พบว่า ทุกหลักสูตรผา่ นการก�ำกบั มาตรฐาน (องคป์ ระกอบท่ี 1) หลักสตู รได้รบั ระดบั คณุ ภาพดีมาก จ�ำนวน 23 หลกั สูตร (รอ้ ยละ 26.14) ระดบั คณุ ภาพดี จ�ำนวน 65 หลกั สตู ร (ร้อยละ 73.86) ผลการประเมนิ ระดบั คณะ 1.ตามเกณฑ์ สกอ. มีคณะทไี่ ด้รบั ระดบั คุณภาพดีมาก จ�ำนวน 2 คณะ คอื คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม และคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ และอีก 5 คณะ ไดร้ ับระดบั คณุ ภาพดี 2.ตามเกณฑ์ สกอ. และเกณฑป์ ระกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน (เพม่ิ เตมิ ) มีคณะทีไ่ ด้รบั ระดบั คุณภาพดี จ�ำนวน 6 คณะ และคณะท่ไี ดร้ บั ระดับคณุ ภาพพอใช้ จ�ำนวน 1 คณะ (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร)์ ผลการประเมนิ ระดบั สถาบัน 1.ตามเกณฑ์ สกอ. มีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 4.65 คะแนน ผลการด�ำเนนิ งานระดบั ดมี าก 2.ตามเกณฑ์ สกอ. และเกณฑป์ ระกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน (เพิม่ เตมิ ) มีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 4.47 คะแนน ผลการ ด�ำเนินงานระดบั ดี ท้งั นี้ ส�ำนกั ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เสนอเรือ่ งเพ่อื พจิ ารณาโดยผ่านคณะกรรมการบริหารงานวิชาการและวิจัย ครง้ั ท่ี 2/2565 วันท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ 2565 เพื่อทราบ และผา่ นสภาสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ครัง้ ท่ี 3/2565 วนั ท่ี 1 มนี าคม 2565 เรยี บรอ้ ยแล้ว จึงน�ำเสนอวาระดงั กลา่ ว เพ่ือขอขอ้ เสนอแนะส�ำหรับน�ำไปปรบั ปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป ข้อเสนอแนะและขอ้ สังเกตจากทปี่ ระชมุ สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ดงั นี้ มหาวทิ ยาลยั ควรตดิ ตามผลการประเมนิ คณุ ภาพหลกั สตู รทกุ หลกั สตู รใหไ้ ดม้ าตรฐานคณุ ภาพตามทเี่ กณฑต์ า่ ง ๆ กำ� หนด เนอ่ื งจากหลักสตู รใดไม่ไดร้ ับการรับรองคุณภาพจะมผี ลทำ� ให้นักศกึ ษาในหลกั สูตรนั้นไม่สามารถกู้ยืมเรยี นได้ เป็นการเสียสิทธิ และโอกาสของนกั ศกึ ษา มตสิ ภา มทร.ธัญบุรี ใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานผลการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2563 (ระดับหลักสตู ร ระดบั คณะ และระดับสถาบนั ) จุลสารสภา มทร.ธัญบรุ ี 7

สภามทร.ธญั บุรีในการประชุม ครั้งท่ี 3/2565 วันที่ 30 มนี าคม 2565 มีมติพิจารณาให้ความเห็นชอบเงินประจ�ำต�ำแหน่งประเภทผบู้ รหิ ารจากเงนิ งบประมาณแผ่นดิน ตามทส่ี �ำนกั งานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ได้มอบอ�ำนาจ ใหส้ ภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี เป็นผ้พู ิจารณาใหค้ วามเห็นชอบเงนิ ประจ�ำต�ำแหน่งประเภทผูบ้ รหิ าร นน้ั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี จงึ ขอเสนอรายชอื่ ผบู้ ริหารท่ไี ด้รบั การแต่งตงั้ เพ่ือเสนอสภามหาวทิ ยาลัยให้ความ เห็นชอบเงนิ ประจ�ำต�ำแหน่ง จ�ำนวน 16 ราย ดังน้ี 8 จลุ สารสภา มทร.ธญั บุรี

ท้งั น้ี มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนนิ การตรวจสอบตามแนวทางการกลัน่ กรองคุณสมบัติและกระบวนการแตง่ ตั้งผ้ไู ดร้ บั เงินประจ�ำ ต�ำแหน่งแลว้ สรปุ ไดด้ ังนี้ 1.ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ประเภทผูบ้ รหิ ารรายดังกล่าว มีคุณสมบัตเิ ป็นไปตามท่กี �ำหนดไว้ในพระราชบัญญตั พิ ระราชบญั ญตั ิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. 2548 คือส�ำเร็จการศกึ ษาไม่ต่ำ� กว่าระดบั ปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเท่า และไดท้ �ำการสอนหรือมี ประสบการณ์ด้านการบริหารมาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 3 ปี 2.การแตง่ ตัง้ คณบดี รองคณบดี ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก และรองผ้อู �ำนวยการส�ำนัก เป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. 2548 จงึ เสนอต่อสภา มทร.ธญั บรุ ี เพอ่ื โปรดพิจารณาให้ความเหน็ ชอบเงนิ ประจ�ำต�ำแหน่งประเภทผบู้ ริหาร จำ� นวน 16 ต�ำแหน่ง ตามท่ีส�ำนักงานปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม มอบให้เปน็ อำ� นาจของสภามหาวิทยาลัย มติสภา มทร.ธญั บุรี อนมุ ตั เิ งินประจ�ำต�ำแหน่งประเภทผูบ้ ริหาร จำ� นวน 16 ตำ� แหนง่ รวม 16 ราย จากเงินงบประมาณ แผ่นดนิ สภามทร.ธัญบุรีในการประชมุ ครั้งท่ี 3/2565 วนั ที่ 30 มนี าคม 2565 มมี ตพิ จิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ (ร่าง) พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยปริญญาในสาขาวชิ า อักษรย่อสำ� หรบั สาขาวิชา ครยุ วทิ ยฐานะ เขม็ วทิ ยฐานะ และครยุ ประจ�ำต�ำแหน่ง ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... ด้วยคณะกรรมการด้านกฎหมายของสภามหาวิทยาลัย ในการประชมุ ครัง้ ที่ 3/2565 เมอ่ื วันอังคารท่ี 29 มนี าคม 2565 ได้ พิจารณากลนั่ กรอง (รา่ ง) พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยปริญญาในสาขาวิชา อกั ษรยอ่ ส�ำหรบั สาขาวิชา ครยุ วทิ ยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และ ครุยประจ�ำต�ำแหน่ง ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... เพ่ือน�ำเสนอสภามหาวทิ ยาลยั พิจารณาตามที่ มหาวิทยาลัยเสนอเรยี บร้อยแลว้ มตสิ ภา มทร.ธญั บรุ ี ให้ความเหน็ ชอบ (ร่าง) พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยปรญิ ญาในสาขาวิชา อักษรยอ่ สำ� หรับสาขาวชิ า ครุยวทิ ยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำ� ต�ำแหนง่ ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... จลุ สารสภา มทร.ธัญบรุ ี 9

สภามทร.ธญั บุรีในการประชมุ ครงั้ ที่ 3/2565 วันที่ 30 มีนาคม 2565 ได้มีมติอนุมัติการก�ำหนดต�ำแหน่งและแต่งต้ัง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาและพนักงาน มหาวิทยาลัยใหด้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางวชิ าการ จ�ำนวน 5 ราย และได้มมี ติใหค้ วามเห็นชอบหลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2565 จ�ำนวน 3 หลักสูตร คอื 1. หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษเพือ่ อาชีพนานาชาติ (หลักสูตรนานาชาต)ิ 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยวี ัสดแุ ละนวตั กรรม 3. หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดแุ ละนวตั กรรม 10 จลุ สารสภา มทร.ธัญบรุ ี

สภามทร.ธญั บุรีในการประชมุ คร้ังท่ี 3/2565 วันที่ 30 มนี าคม 2565 มีมตพิ จิ ารณาให้ความเหน็ ชอบแตง่ ตั้งกรรมการสภาวชิ าการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี มติสภา มทร.ธญั บรุ ี ให้ความเหน็ ชอบแต่งต้ังกรรมการสภาวิชาการ ดังมรี ายชอื่ ตอ่ ไปน้ี 1. อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร ี ประธานกรรมการ 2. รองอธกิ ารบดดี ้านวชิ าการและวิจัย รองประธานกรรมการ 3. ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ ดร.ธรรมศกั ดิ์ พงศพ์ ชิ ญามาตย์ กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ 4. ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณสุชาติ เถาทอง กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 5. ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง กรรมการสภาวชิ าการผ้ทู รงคณุ วุฒิ 6. ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ ลิ้มสุวรรณ กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคณุ วุฒิ 7. ศาสตราจารย์ ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ 8. ศาสตราจารย์ ดร.เทดิ ชาย ชว่ ยบ�ำรุง กรรมการสภาวชิ าการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 9. ศาสตราจารย์ ดร.ประยุทธ อัครเอกฒาลนิ กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ 10.ศาสตราจารย์ ดร.ตรีทศ เหล่าศริ ิหงษท์ อง กรรมการสภาวชิ าการผู้ทรงคณุ วุฒิ 11.รองศาสตราจารย์ ดร.พุทธกาล รัชธร กรรมการสภาวชิ าการผทู้ รงคณุ วุฒิ 12.รองศาสตราจารย์ นพ.นิยม ละออปกั ษิณ กรรมการสภาวชิ าการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 13.คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กรรมการ 14.คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารเกษตร กรรมการ 15.คณบดคี ณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ กรรมการ 16.คณบดคี ณะบริหารธรุ กิจ กรรมการ 17.คณบดคี ณะเทคโนโลยีสอ่ื สารมวลชน กรรมการ 18.คณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี กรรมการ 19.คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์ กรรมการ 20.คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ กรรมการ 21.คณบดคี ณะศิลปศาสตร ์ กรรมการ 22.คณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ กรรมการ 23.คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ กรรมการ 24.คณบดีคณะการแพทยบ์ ูรณาการ กรรมการ 25.ผอู้ �ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพัฒนา กรรมการ 26.รองศาสตราจารย์ ดร.อมร ไชยสตั ย ์ กรรมการจากคณาจารยป์ ระจ�ำ 27.รองศาสตราจารย์ ดร.ณวสั น์ ฐานวิสิฐพล กรรมการจากคณาจารย์ประจ�ำ 28.รองศาสตราจารย์ ดร.กล้าหาญ ณ น่าน กรรมการจากคณาจารยป์ ระจ�ำ 29.รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ ลพรรณ เพชรสมบตั ิ กรรมการจากคณาจารยป์ ระจ�ำ 30.ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชยั วรี ะนิตสิ กลุ กรรมการจากคณาจารย์ประจ�ำ 31.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรชยั ขนั แกว้ กรรมการจากคณาจารยป์ ระจ�ำ 32.ผชู้ ่วยศาสตราจารยณ์ ัชตพิ งศ์ อทู อง เลขานุการ 33.ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ระพี กาญจนะ ผชู้ ่วยเลขานุการ ท้งั น้ี ตง้ั แตว่ นั ท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2565 เปน็ ต้นไป จลุ สารสภา มทร.ธญั บรุ ี11

รายงานการประชมุ คณะกรรมการ การตา่ งประเทศของมหาวิทยาลัย (กต.) คร้งั ที่ 1/2564 เม่ือวนั องั คารที่ 26 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2564 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชมุ มงั คลอุบล ช้นั 1 อาคารเฉลิมพระเกยี รติ 48 พระชันษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี นายวรี ะศักด์ิ วงษส์ มบัติ นายกสภามหาวิทยาลัย กลา่ วว่า “คณะกรรมการที่แตง่ ตงั้ โดยสภามหาวทิ ยาลยั โดยเฉพาะคณะกรรมการ ท่มี ผี ทู้ รงคุณวฒุ ขิ องสภามหาวิทยาลยั เปน็ ประธานคณะท�ำ งาน และนายกสภา มหาวทิ ยาลยั เป็นผลู้ งนามในคำ�สั่งแต่งตง้ั ถอื วา่ เป็นงานสว่ นหน่ึงของสภา มหาวทิ ยาลยั เพราะฉะนน้ั บทบาทของเลขานกุ ารคณะกรรมการ จึงเปรยี บ เสมือนเป็นการทำ�หน้าที่เลขานุการในการประชุมของคณะกรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั ไม่ไดท้ �ำ หน้าทก่ี ารบริหารจัดการในเรื่องของหน่วยงาน การนำ�มติ ของคณะกรรมการไปปฏิบตั ติ ้องเป็นหน้าทีข่ องหน่วยงานตน้ เรือ่ ง” ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สมชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการต่างประเทศของมหาวทิ ยาลัย กลา่ วว่า “กรรมการท่ีตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยเป็นกลไกของสภามหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นกลไกบริหารสูงสุด สภามหาวิทยาลัยเป็นทั้งฝ่ายออกกฎหมาย ออกระเบียบ และกำ�กับดูแลการทำ�งานของอธิการบดีและผู้บริหารของ มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการใช้อำ�นาจเหมือนสภานิติบัญญัติของประเทศ นอกจากน้ีสภามหาวิทยาลัยยังมีอำ�นาจในการตัดสินใจในเชิงการบริหาร โดยสภามหาวทิ ยาลัย ถอื ได้ว่า เป็นหนว่ ยตดั สนิ ใจสูงสดุ ของมหาวิทยาลยั เพราะฉะน้ันผู้ที่มาทำ�งานในส่วนของเลขานุการคณะกรรมการที่สภา มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง และในขณะเดียวกันก็อาจจะเป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง บรหิ าร เช่น ผู้ช่วยอธิการบดี หรือรองอธิการบดี ซงึ่ เปน็ อกี หนา้ ท่ีหนึ่ง ซงึ่ มี อ�ำ นาจบรหิ ารตามต�ำ แหนง่ ของตน แต่เมอื่ มาท�ำ งานในคณะกรรมการทีส่ ภา มหาวทิ ยาลยั แตง่ ตัง้ กใ็ ห้ท�ำ หน้าทีใ่ นฐานะเลขานุการของคณะกรรมการท่ี สภามหาวิทยาลยั แต่งตั้ง” 12 จลุ สารสภา มทร.ธญั บรุ ี

รอบร้ัวสภามทร.ธญั บุรี ดร.ชุมพล พรประภา กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผู้ทรงคุณวฒุ ิ มทร.ธญั บรุ ี เป็นประธานในการประชุมหารือความร่วมมือทางวิชาการและวิจัยด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมอาหาร การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมอาหาร ระหวา่ งคณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธญั บรุ ี และบริษัท เฮอรเิ ทจ สแนค็ แอนด์ ฟดู้ จ�ำ กดั โดยมี ผศ.ดร.นิพทั ธ์ จงสวัสดิ์ คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี พรอ้ มทมี ผ้บู ริหาร คณาจารย์ของคณะฯ และคณะวศิ วกรรมศาสตร์เขา้ รว่ มประชมุ หารือและกำ�หนดแนวทางในการท�ำ งานรว่ มกนั และในโอกาสน้ไี ด้รว่ ม แสดงความยินดีกับ ดร.วารี พลไพศาล (ประธานบริษทั เฮอริเทจ สแน็ค แอนด์ ฟ้ดู จ�ำ กัด) บัณฑติ กิตตมิ ศักดิข์ องคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2563 ท่ี ได้รับปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ กติ ติมศกั ดิ์ สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละการจดั การ เทคโนโลยีอาหาร ในวนั พุธท่ี 6 เมษายน 2565 ณ หอ้ งประชุม ST-1306 คณะ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และผา่ นระบบประชุมออนไลน์ ศาสตราจารย์ ดร.ผดงุ ศักดิ์ รตั นเดโช กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคุณวฒุ ิ มทร.ธัญบุรี ใหเ้ กยี รตเิ ป็นวทิ ยากร โครงการการ พัฒนานักวจิ ยั แบบบูรณาการ ในการจดั ทำ�โครงการวิจยั ท่ีตอบโจทย์ยทุ ธศาสตร์การวิจัยของมหาวทิ ยาลยั เพ่อื ขอรับทนุ สนับสนนุ จาก แหล่งภายนอกและการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ในระดบั นานาชาติ ระยะท่กี ารจัดทำ�โครงการวิจัยเพื่อตอบโจทย์ยทุ ธศาสตรก์ ารวิจยั ของคณะ บริหารธรุ กจิ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ในวนั จนั ทรท์ ่ี 28 มนี าคม 2565 ณ ห้องประชุมวชริ ะนาวา ชั้น 9 อาคาร 4 คณะบรหิ ารธรุ กจิ มทร.ธญั บรุ ี จลุ สารสภา มทร.ธัญบรุ ี13

รอบรว้ั สภามทร.ธญั บุรี นายวรี ะศกั ดิ์ วงษส์ มบัติ นายกสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรมี อบโล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ “มหาวทิ ยาลัยท่ีมี นโยบายส่งเสริมอาจารย์ต้นแบบด้านการสอน”จากสมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่ง ประเทศไทยแก่ รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี โดยมกี รรมการสภามหาวทิ ยาลัยผู้ทรง คุณวฒุ ริ ่วมแสดงความยนิ ดี ในวันพธุ ที่ 30 มีนาคม 2565ณ หอ้ งประชุมมังคลอุบล มทร.ธญั บรุ ี นายวีระศักด์ิ วงษส์ มบัติ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี มอบชอ่ ดอกไมแ้ สดงความยนิ ดีกบั ดร.ทนพญ. รุ่งนภา ศรานชุ ิต คณะการแพทยบ์ รู ณาการ ท่ไี ด้รับประกาศเกียรตคิ ุณอาจารยต์ น้ แบบด้านการสอนจากสมาคมเครอื ข่ายการพฒั นา วิชาชพี อาจารย์และองค์กรระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ประเทศไทย โดยมีกรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคุณวฒุ ิร่วมแสดงความยินดี ในวันพุธ ที่ 30 มนี าคม 2565 ณ หอ้ งประชุมมงั คลอบุ ล มทร.ธญั บุรี 14 จลุ สารสภา มทร.ธญั บรุ ี

พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 หมวด 2 การด�ำ เนนิ การ มาตรา 17 สภามหาวิทยาลัยมอี ำ�นาจและหนา้ ทีค่ วบคมุ ดแู ลกิจการทว่ั ไปของมหาวิทยาลัย และโดยเฉพาะให้มีอำ�นาจและหน้าที่ ดงั น้ี (1) วางนโยบาย และอนุมตั แิ ผนพฒั นาของมหาวิทยาลัยเกย่ี วกบั การศึกษา การสง่ เสรมิ วิชาการและวชิ าชีพช้นั สงู ท่ี เน้นการปฏิบัติ ท�ำ การสอน ท�ำ การวิจัย ผลติ ครูวิชาชพี ใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการในดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แก่สงั คม ทะนบุ �ำ รุงศิลปะและวฒั นธรรมและอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อม (2) วางระเบยี บ ออกขอ้ บังคับและประกาศของมหาวทิ ยาลยั และอาจมอบให้สว่ นราชการใดในมหาวิทยาลัย เปน็ ผูว้ างระเบยี บ ออกขอ้ บงั คับและประกาศสำ�หรบั สว่ นราชการนั้นเปน็ เรอ่ื ง ๆ ไปกไ็ ด้ (3) ก�ำ กบั มาตรฐานการศกึ ษาและการประกันคุณภาพการศกึ ษา (4) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ�เนนิ งานของมหาวิทยาลยั (5) พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบหลกั สตู รการศึกษาใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐานท่ีคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาก�ำ หนด (6) พจิ ารณาการจดั ตั้ง การรวม และการยบุ เลกิ สำ�นกั งานวิทยาเขต บณั ฑติ วทิ ยาลยั คณะ สถาบนั สำ�นกั วทิ ยาลัย หรอื สว่ นราชการท่ีเรยี กช่ืออยา่ งอน่ื ทม่ี ฐี านะเทียบเท่าคณะ รวมท้งั การแบง่ สว่ นราชการของสว่ นราชการดงั กล่าว (7) อนุมตั ิใหป้ ริญญา ประกาศนยี บตั รบณั ฑิตชน้ั สูง ประกาศนียบตั รบณั ฑติ อนุปรญิ ญา และประกาศนยี บตั ร (8) อนมุ ตั กิ ารรบั สถาบนั การศกึ ษาชน้ั สูง และสถาบันอ่นื เขา้ สมทบ หรอื การยกเลกิ การสมทบ (9) พิจารณาเสนอเรอ่ื งเพ่ือทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตงั้ และถอดถอนนายกสภามหาวทิ ยาลัย กรรมการสภา มหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อธกิ ารบดี ศาสตราจารย์ และศาสตราจารยพ์ ิเศษ (10) แต่งตง้ั และถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอ้ �ำ นวยการสถาบัน ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลยั หรือ หวั หน้าสว่ นราชการทเี่ รยี กช่อื อยา่ งอ่นื ท่มี ฐี านะเทียบเทา่ คณะ ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ รองศาสตราจารยพ์ ิเศษ ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ ิเศษ และกรรมการสภาวชิ าการ (11) อนุมตั ิงบประมาณรายจา่ ยจากเงินรายไดข้ องมหาวทิ ยาลัย (12) วางระเบียบและออกข้อบังคับเกยี่ วกบั การบรหิ ารการเงนิ และทรพั ยส์ นิ ของมหาวิทยาลัย และการจดั หารายได้ ของมหาวทิ ยาลยั (13) พจิ ารณาด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของมหาวทิ ยาลยั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น ในสถาบันอุดมศึกษา หรือตามทค่ี ณะกรรมการข้าราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศึกษามอบหมาย (14) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ หรือบุคคลหนงึ่ บุคคลใดเพือ่ พจิ ารณาและเสนอความเหน็ ในเร่ืองหนึ่ง เรอื่ งใด หรอื เพอื่ มอบหมายให้ปฏบิ ัติการอยา่ งหนึง่ อย่างใดอันอยู่ในอ�ำ นาจและหนา้ ท่ขี องสภามหาวิทยาลยั (15) พจิ ารณาให้ความเห็นชอบในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกบั กิจการของมหาวทิ ยาลัยตามที่อธกิ ารบดเี สนอ และอาจมอบหมายให้ อธกิ ารบดีปฏบิ ตั อิ ยา่ งหนึ่งอย่างใดอันอยใู่ นอำ�นาจและหน้าทีข่ องสภามหาวิทยาลัยก็ได้ (16) ส่งเสริม สนบั สนุน และแสวงหาวธิ กี าร เพอื่ พัฒนาความก้าวหน้าของมหาวิทยาลยั (17) ปฏบิ ัติหนา้ ทอ่ี ่ืนเกย่ี วกับกิจการของมหาวทิ ยาลยั ท่ีมิได้ระบุใหเ้ ปน็ หนา้ ทีข่ องผใู้ ดโดยเฉพาะ ทปี่ รกึ ษา กองบรรณาธิการ ออกแบบและจัดรูปเล่ม นายวรี ะศกั ด์ิ วงษส์ มบัติ ผศ.อภชิ าติ ไกฟ่ ้า นางสาววิภาพร เกษม กองประชาสัมพนั ธ์ มทร.ธัญบรุ ี พลเอก ธงชยั เก้อื สกลุ รศ.ดร.กฤษณช์ นม์ ภมู กิ ติ ตพิ ิชญ์ ดร.ชมุ พล พรประภา นายวิรชั โหตระไวศยะ จัดทำ�โดย รศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ผศ.เมธา ศริ กิ ูล ส�ำ นักงานสภามทร.ธญั ุรี รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด ผศ.ปณิตา สงวนทรพั ย์ ผศ.อิทธิพล โพธิพันธุ์ ข้นั 2 อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 48 พระชนั ษา บรรณาธกิ าร โพธ์พิ ว่ ง นางจันทรท์ พิ ย์ จนิ สกลุ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี นายพนมฉตั คงพุ่ม เลขท่ี 39 หมทู่ ่ี 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตำ�บลคลองหก ผศ.ดร.สภุ ัทรา นางนงเยาว ์ ขัตวิ งษ์ อำ�เภอธญั บุรี จังหวัดปทธุ านี 12110 โทรศัพท์ 0-2549-4495-6 นางสาวชลธชิ า ศรอี ุบล โทรสาร 0-2549-3016 website : www.ucrt.rmutt.ac.th ขอบพระคณุ ภาพเขยี น ดร.ทวีพงษ์ ลิมมากร บณั ฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ มทร.ธัญบรุ ี จุลสารสภา มทร.ธญั บรุ ี15

มหาววทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ร มหาวทิ ยาลัยนักปฏิบัติ พัฒนานวัตกร และสรางสรรคนวตั กรรม มหาววทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ร ศนู ยรงั สิต วิทยาเขตปราจีนบุรี พื้นท่ี 33 ไร คลองสามวาตะวนั ออก สถานีวิทยุกระจายเสยี ง มทร.ธญั บุรี เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร ขอบพระคุณ ดร.พยงุ ศกั ดาสาวิตร ประธานกรรมการบริหาร กลมุ บริษทั ไทย ออโต ทูลส เปน ผนู ำการออกแบบและสรา งแมพ มิ พโลหะ อุปกรณจ ับยึด และชิน้ สว นยานยนตคุณภาพสูง ในภมู ภิ าคอาเซียน ดว ยเทคโนโลยที ่ที นั สมัย และบคุ ลากรทมี่ คี ุณภาพ www.thaiautotools.co.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook