กฎหมายการศึกษา กฎหมายเปน็ กฎเกณฑ์ที่รฐั กำหนดขนึ้ เพื่อบงั คบั ให้มกี ารประพฤติปฏบิ ตั ติ าม หากผู้ใดละเมดิ หรอื ไม่ ปฏิบตั ิตามกจ็ ะไดร้ บั โทษ กฎหมายคือเคร่ืองมือของรฐั ในการดำเนินงานด้านตา่ ง ๆ และเปน็ เร่อื งท่ีมี ความสมั พันธ์เก่ียวขอ้ งกบั ชีวิตประจำวันและการดำเนินงานของทกุ คน โดยเฉพาะผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการจดั การศกึ ษา ยอ่ มต้องใชก้ ฎหมายเปน็ เครื่องมอื ในการดำเนินงานด้วย ความสำคญั ของกฎหมายการศึกษา การดำเนนิ งานทางการศกึ ษา เป็นบริการที่เกย่ี วข้องกบั ผู้คนเปน็ จำนวนมาก ทงั้ ทีเ่ ป็นฝา่ ยจดั การศึกษา ฝ่ายรบั บริการทางการศกึ ษา และฝา่ ยที่เก่ยี วข้องอื่นๆ โดยบคุ คลดังกลา่ ว ตอ้ งปฏิบตั แิ ละดำเนินงาน ตามบทบาทหนา้ ทีใ่ หเ้ ป็นไปตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคท์ ี่กำหนดไว้ ดังนนั้ กฎหมายจึงมี ความสำคัญต่อการดำเนินงานทางการศึกษากล่าวได้ ดังนี้ ๑. กฎหมายเป็นเครอ่ื งมอื ในการดำเนนิ งานจัดการศกึ ษาของรัฐและเจา้ หนา้ ทที่ เ่ี ก่ียวขอ้ ง ให้สามารถ จัดการศกึ ษาเป็นไปตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายได้ ๒. กฎหมายการศึกษาเป็นกรอบการดำเนินงานทช่ี ่วยให้การบริหารการศึกษาเป็นไปอยา่ งเหมาะสม มี ประสิทธิภาพ เป็นท่ยี อมรับของผู้รบั บริการและสังคม ๓. กฎหมายการศกึ ษาช่วยให้สามารถใช้การศึกษาพฒั นาเดก็ และเยาวชน เพ่ือเปน็ กำลงั สำคญั ในการ พัฒนาประเทศ ๔. กฎหมายการศึกษาทำใหป้ ระชาชนของประเทศเกดิ สทิ ธิและหน้าทเ่ี กยี่ วกับการศึกษา ทำให้ สามารถปฏิบตั ติ นตามสิทธิและหน้าที่ไดอ้ ย่างเหมาะสม ดว้ ยบทบาทดังกล่าว กฎหมายและกฎหมายการศกึ ษาจงึ มีความสำคัญในฐานะเป็นเครื่องมือ ดำเนนิ งานเก่ียวกบั การศึกษาของชาติ หากขาดกฎหมายแล้วอาจทำให้การจัดการศกึ ษาไมบ่ รรลุวัตถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายได้ ลักษณะของกฎหมายการศกึ ษา กฎหมายการศึกษาเป็นกฎหมายชนดิ หน่ึง ซึง่ ต้องมีลกั ษณะของกฎหมายเชน่ เดียวกับกฎหมายท่ัวๆ ไป กล่าวคอื กฎหมายเปน็ กฎเกณฑท์ ี่กำหนดความประพฤติของบคุ คล ซึ่งผมู้ ีอำนาจในประเทศกำหนดขน้ึ และใช้ บังคบั ให้ผ้ทู ่ีอยู่ในสังกัดประเทศนัน้ ถอื ปฏบิ ัตติ าม มีลกั ษณะสำคญั ประกอบดว้ ย (มานิตย์ จุมปา, ๒๕๔๘) ๑) ตอ้ งมลี กั ษณะเปน็ กฎเกณฑ์ทใ่ี ช้บังคบั เป็นมาตรฐานของสงั คม ๒) ต้องเป็นการกำหนดความประพฤติของบคุ คล ๓) ตอ้ งมีสภาพบังคับ ๔) ต้องมกี ระบวนการทีแ่ น่นอนในการดำเนินการ ให้เป็นไปตากฎ กฎเกณฑใ์ นกฎหมาย สำหรบั กฎหมายท่ใี ชใ้ นประเทศไทย ตามรูปแบบเป็นกฎหมายลายลกั ษณอ์ ักษร กำหนดตามศักดิ์ของ กฎหมายได้ ดังนี้ ๑. รฐั ธรรมนญู ๒. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ๓. พระราชบญั ญตั ิ
๔. พระราชกำหนด ๕. พระราชกฤษฎกี า ๖. กฎกระทรวง ๗. กฎหมายทต่ี ราข้นึ โดยองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ นอกจากรูปแบบของกฎหมายดังกลา่ วแล้ว กฎหมายยงั สามารถแบ่งเป็นประเภทตา่ งๆ ได้หลาย ลักษณะ ตามหลกั เกณฑท์ ีใ่ ช้ในการแบ่งประเภท เชน่ หลกั แหลง่ กำเนิดของกฎหมาย หลกั สภาพการบงั คับของ กฎหมาย หลกั การใช้กฎหมาย หลกั ฐานะและความสัมพันธร์ ะหว่างรฐั กบั ประชาชน เปน็ ตน้ โดยทั่วไปแล้วการ แบ่งประเภทของกฎหมายจะยึดหลักฐานะและความสัมพันธร์ ะหว่างรัฐกบั ประชาชนเปน็ เกณฑ์ ซึ่งแบง่ ประเภทกฎหมายออกเปน็ กฎหมายมหาชน และกฎหมายเอกชน กลา่ วคือ ๑) กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายท่ีกำหนดสถานะและนิตสิ ัมพนั ธ์ระหว่างรัฐหรอื หนว่ ยงานของ รัฐกบั เอกชน หรอื หน่วยงานของรัฐดว้ ยกัน ในฐานะท่ีรัฐหรือหนว่ ยงานของรฐั เปน็ ผปู้ กครอง เชน่ กฎหมาย อาญา กฎหมายปกครอง และกฎหมายการคลัง เปน็ ต้น ๒) กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายท่กี ำหนดสถานะและนิติสัมพันธร์ ะหวา่ งเอกชนตอ่ กัน ในฐานะผู้ อยใู่ ต้ปกครองท่ีตา่ งฝา่ ยต่างก็เทา่ เทยี มกัน กลา่ วโดยเฉพาะกฎหมายการศึกษา กจ็ ะหมายถงึ กฎเหณฑ์ท่รี ัฐหรือผมู้ ีอำนาจกำหนดขึ้น เป็นกฎ ข้อบงั คบั การปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับการบรหิ ารและจัดการศึกษา โดยมีรูปแบบทงั้ ท่เี ป็นพระราชบญั ญัติ พระราช กฤษฎีกา กฎกระทรวง รวมท้ังขอ้ บังคับ ระเบียบ คำสั่ง ทใ่ี ชบ้ ังคบั ในการดำเนนิ งานทางการศึกษา และมี ลกั ษณะเปน็ กฎหมายมหาชนในสาชากฎหมายปกครอง เนื่องจากกฎหมายการศึกษาส่วนใหญ่มีลกั ษณะเป็น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั กบั เอกชน และระหว่างองค์กรของรัฐด้วยกัน เช่น พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ .ศ.๒๕๔๖ พระราชบัญญัตสิ ภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖ พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังโรงเรยี นมหิดลวทิ ยานสุ รณ์ พ.ศ.๒๖๔๓ กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการนับอายุเด็ก เพ่ือเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.๒๕๔๕ และ ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินเทียบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและการศึกษา ระดับอดุ มศึกษาต่ำกวา่ ปรญิ ญา พ.ศ.๒๕๔๖ เป็นตน้ การจำแนกประเภทกฎหมายการศกึ ษา กฎหมายการศึกษาไทย สามารถจำแนกเป็นประเภทไดห้ ลายลกั ษณะตามหลักเกณฑ์ทนี่ ำมาใชใ้ นการ จำแนก กลา่ วคือ หากจำแนกตามศักด์ขิ องกฎหมายสามารถแบง่ ประเภทออกเป็น ๑) กฎหมายแม่บท ได้แก่ รัฐธรรมนูญ ๒) กฎหมายลกู บท ไดแ้ ก่ กฎหมายที่ออกตามทีร่ ฐั ธรรมนญู กำหนดไว้ หากจำแนกตามลักษณะการออกกฎหมาย สามารถแบง่ ประเภทออกเปน็ ๑) กฎหมายหลัก ได้แก่ กฎหมายท่ีออกโดยฝา่ ยนิตบิ ญั ญัติ ประกอบด้วย พระราชบัญญัตติ า่ งๆ ๒) กฎหมายรอง ได้แก่ กฎหมายที่ออกโดยฝา่ ยบรหิ าร ซึ่งอาศยั อำนาจตามที่กำหนดไว้ใน กฎหมายหลกั ประกอบดว้ ย กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ เปน็ ต้น ในทน่ี จ้ี ะขอจำแนกประเภทตามลกั ษณะสาระสำคัญของกฎหมาย ซึ่งสามารถแบ่งกฎหมายการศึกษาออกเป็น ๕ ประเภท ดังน้ี ๑. กฎหมายแมบ่ ททางการศกึ ษา ไดแ้ ก่ รัฐธรรมนูญ และกฎหมายท่ใี หอ้ ำนาจในการออกกฎหมาย
การศึกษาอื่นๆ ได้แก่ ๑.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๑.๒ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๒ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑.๓ พระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ ๒. กฎหมายว่าด้วยการจดั การโครงสรา้ งและการบรหิ ารจดั การทางการศกึ ษา ได้แก่ ๒.๑ พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และ กฎกระทรวง ระเบยี บท่ีออกตามพระราชบัญญตั ิฉบบั นี้ ๒.๒ พระราชบัญญตั วิ า่ ดว้ ยการบริหารจัดการศึกษาเฉพาะด้าน เช่น พระราชบัญญตั ิการ อาชวี ศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๐ พระราชบัญญัติโรงเรยี นเอกชน พ.ศ.๒๕๕๐ พระราชบญั ญัติการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย และพระราชบญั ญัตจิ ดั ตัง้ สถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๖ เปน็ ต้น ๒.๓ พระราชบัญญัติจดั ตั้งสถานศึกษาเปน็ การเฉพาะแห่ง เชน่ พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัย ราชภฎั พระราชบัญญตั มิ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นตน้ ๓. กฎหมายว่าด้วยการประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ได้แก่ พระราชบัญญตั ิสภาครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๖ และกฎกระทรวง ข้อบงั คบั ประกาศ คำสัง่ ที่ออกตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ๔. กฎหมายวา่ ด้วยการบรหิ ารงานบุคคลทางการศึกษา ไดแ้ ก่ ๔.๑ พระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ และแก้ไข เพ่มิ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔.๒ พระราชบัญญตั ิเงินเดือน เงินวทิ ยฐานะ และเงนิ ประจำตำแหน่งข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ ๔.๓ พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบันอดุ มศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๗ ๔.๔ พระราชกฤษฎีกา การปรบั อตั ราเงนิ เดือนของข้าราชการ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๐ ๕. กฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกบั การบริหารจดั การศึกษา ไดแ้ ก่ กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับการบริหารจัด การศึกษาทผ่ี บู้ ริหารการศึกษาและผเู้ ก่ียวข้องจะตอ้ งนำมาใชป้ ระกอบการดำเนนิ งาน กล่าวคือ ๕.๑ พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ ๕.๒ พระราชบัญญตั ิความรับผิดชอบทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ.๒๕๓๙ ๕.๓ พระราชบญั ญัติข้อมลู ข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ๕.๔ พระราชบัญญตั วิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ๕.๕ พระราชบัญญัตจิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ ๕.๖ พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ดี ี พ.ศ.๒๕๔๖ การบังคบั ใช้กฎหมายการศึกษา การใชก้ ฎหมาย (Application of Law) มีความหมายสองประการ คือ ๑) การใชก้ ฎหมายในทางทฤษฎี เป็นการนำกฎหมายไปใช้แก่บุคคลในเวลาและสถานท่หี รือตาม เหตกุ ารณห์ รือเงื่อนไข ในเวลาหน่งึ ๆ ซึ่งจะสมั พนั ธก์ บั เจตนารมณข์ องกฎหมายนน้ั ๆ ๒) การใช้กฎหมายในทางปฏบิ ตั ิ เปน็ การนำกฎหมายไปปรบั ใชแ้ ก่คดี หรอื เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขึน้ โดย เฉพาะเจาะจง เพ่ือหาคำตอบหรือเพื่อวนิ จิ ฉัยพฤติกรรมของบุคคลหนงึ่ ในเหตุการณห์ นึ่ง ซ่งึ เรียกว่าการปรบั ใช้ บทกฎหมาย การใชก้ ฎหมายในทางปฏบิ ตั ิ ต้องทำดว้ ยความระมัดระวงั เพราะอาจตคี วามผดิ หรอื นำเอา
บทบัญญตั ทิ ี่เป็นข้อยกเว้นมาใช้ โดยลมื นกึ ถึงส่วนท่ีเป็นหลักเมืองหรือนำเอาสว่ นที่เปน็ หลักมาใช้ โดยไม่รูว้ า่ เป็นขอ้ ยกเวน้ (วษิ ณุ เครืองาม, ๒๕๓๘) อย่างไรก็ตามนักบริหารการศึกษาในฐานะผู้รบั ผดิ ชอบดำเนินงานใหอ้ งคก์ ารบรรลเุ ปา้ หมายทีว่ างไว้ จะตอ้ งเลอื กใช้กฎหมายอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายน้นั ๆ ซ่งึ มีแนวทางพอสรปุ ได้ ดงั น้ี ๑. ผบู้ ริหารการศกึ ษาต้องรู้กฎหมายเก่ียวกับบทบาทหน้าที่ของตน เขา้ ใจ และสามารถปรับ กฎหมายใช้กบั เหตุการณท์ ี่เกิดขน้ึ ได้ ๒. ผูบ้ รหิ ารการศึกษาต้องมคี วามสจุ รติ ในการปฏิบัติงาน ซง่ึ เป็นเจตนาที่ดีในการปฏบิ ัตงิ านตาม แนวทางท่ีกฎหมายกำหนดไว้ ๓. ผบู้ รหิ ารการศึกษาต้องถอื กฎหมายเป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานไปสู่ความสำเรจ็ กฎหมาย ไมใ่ ชส่ ิ่งขัดขวางการปฏบิ ตั งิ าน ดังนน้ั ผู้บรหิ ารการศึกษาจะตอ้ งเฉลยี วฉลาด และมีไหวพริบเพียงพอที่จะใช้ กฎหมายให้เกดิ ประโยชน์ต่อการบริหารและจัดการศึกษาให้ได้ การใชก้ ฎหมายในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ผ้บู รหิ ารการศกึ ษาจะต้องมี ความรอบรู้ และเข้าใจกฎหมายท่เี กย่ี วข้องกบั บทบาทหนา้ ท่ี มคี วามสจุ รติ และมไี หวพริบท่จี ะใช้กฎหมายตาม เจตนารมณ์อย่างแท้จริง เอกสารอา้ งองิ มานติ ย์ จุมปา. (๒๕๔๘). ความรูพ้ นื้ ฐานเก่ียวกับกฎหมาย. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . วษิ ณุ เครองาม. (๒๕๓๕). เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบอื้ งตน้ เกย่ี วกับกฎหมาย. พิมพค์ ร้ังที่ ๒๓ นนทบุรี: สำนักพมิ พ์มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. สถาบันพระปกเล้า. (๒๕๔๔). ประเภทและศกั ดข์ิ องกฏหมายในรฐั ธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ องค์การค้าของ สกสค. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๔๘). รวมกฎหมายการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พอ์ งคก์ ารค้า ของ สกสค. สุทศั น์ ทวิ ทอง. (๒๕๔๖) “หนว่ ยท่ี ๖ บรบิ ทด้านกฎหมาย” ในประมวลสาระวชิ าบริบททางการบริหาร การศึกษา. นนทบรุ ี: สำนกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมธริ าช.
สรปุ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 คำนิยาม “ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า บคุ คลซึ่งได้รบั การบรรจแุ ละแต่งต้ังตาม พระราชบัญญตั ิให้รบั ราชการโดยไดร้ ับเงนิ เดือนจากเงนิ งบประมาณแผน่ ดิน งบบุคลากรที่จ่ายในลกั ษณะ เงินเดอื นในกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม หรือกระทรวงอืน่ ท่ี กำหนดในพระราชกฤษฎกี า “ข้าราชการคร”ู หมายความว่า ผู้ที่ประกอบวชิ าชีพซ่ึงทำหน้าท่ีหลักทางด้านการเรยี นการสอนและ ส่งเสริมการเรยี นร้ขู อง ผู้เรียนดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ ในสถานศกึ ษาของรฐั “คณาจารย์” หมายความว่า บุคลากรซง่ึ ทำหน้าทีห่ ลกั ทางดา้ นการสอนและการวจิ ยั ในสถานศกึ ษา ระดับอุดมศึกษาระดับ ปริญญาของรัฐ “บคุ ลากรทางการศกึ ษา” หมายความวา่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา ผ้บู รหิ ารการศึกษา รวมทั้งผู้สนบั สนนุ การศกึ ษาซ่ึงเปน็ ผู้ทำหน้าท่ใี ห้บรกิ าร หรอื ปฏบิ ัติงานเกี่ยวเนื่องกบั การจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และ ปฏบิ ัตงิ านอนื่ ในหน่วยงานการศกึ ษา “หนว่ ยงานการศึกษา” หมายความว่า (1) สถานศึกษา (2) สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา (3) สำนกั งานการศกึ ษานอกโรงเรียน (4) แหลง่ การเรยี นรตู้ ามประกาศของสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา (5) หน่วยงานตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการหรือตามประกาศกระทรวง หรอื หน่วยงานที่ คณะกรรมการข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากำหนด “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ศนู ยก์ ารศึกษา นอกระบบและตาม อธั ยาศยั ศนู ยก์ ารเรยี น วทิ ยาลัย วิทยาลัยชมุ ชน สถาบัน หรอื สถานศึกษาที่เรียกชือ่ อยา่ ง อื่นของรัฐท่ีมีอำนาจหน้าทหี่ รือมี วตั ถุประสงค์ในการจัดการศกึ ษาตามกฎหมายว่าด้วยการศกึ ษาแห่งชาตแิ ละ ตามประกาศกระทรวง คณะกรรมการที่กำกบั ดแู ล *คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาคณะหน่ึง เรียกว่า “คณะกรรมการ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา” เรยี กโดยยอ่ วา่ “ก.ค.ศ.” - อำนาจและหน้าที่ (1) เสนอแนะและใหค้ ำปรึกษาแกค่ ณะรัฐมนตรเี กยี่ วกบั นโยบายการผลิตและการบรหิ ารงานบุคคล ของ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ (2) กำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดเกณฑอ์ ัตรากำลังของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา รวมทง้ั ให้ความเหน็ ชอบจำนวนและอัตราตำแหน่งของหนว่ ยงานการศึกษา (3) เสนอแนะและใหค้ ำปรกึ ษาแก่คณะรัฐมนตรีในกรณีท่คี า่ ครองชพี เปลีย่ นแปลงไปมาก หรือการจดั สวสั ดกิ ารหรอื ประโยชน์เก้ือกลู สำหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษายังไม่เหมาะสม เพ่อื ให้ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาในอันทจี่ ะปรับปรุงเงนิ เดือน เงินวิทยฐานะ เงนิ ประจำตำแหนง่ เงิน เพ่ิมค่าครองชพี สวสั ดิการ หรือประโยชน์เกื้อกลู สำหรับขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ให้เหมาะสม (4) ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ขอ้ บังคบั หลกั เกณฑ์วิธกี าร และเงื่อนไขการบรหิ ารงานบุคคลของ ข้าราชการ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา กฎ ก.ค.ศ. เมื่อไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะรัฐมนตรีและ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้ว ใหใ้ ช้บงั คบั ได้
(5) พิจารณาวนิ ิจฉัยตคี วามปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึนเนื่องจากการใช้บงั คบั พระราชบัญญัตนิ ี้ เมื่อ ก.ค.ศ. มมี ติ เป็น ประการใดแลว้ ใหห้ น่วยงานการศกึ ษาปฏบิ ตั ิตามน้ัน (6) พฒั นาหลักเกณฑ์วธิ กิี าร และมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล รวมท้งั การพทิ ักษ์ระบบคณุ ธรรม ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (7) กำหนดวิธีการและเง่ือนไขการจา้ งเพ่ือบรรจแุ ละแต่งตั้งบคุ คลเพ่ือปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีในตำแหนง่ ครแู ละ บุคลากรทางการศึกษาในหนว่ ยงานการศกึ ษา รวมท้ังกำหนดอัตราเงนิ เดือนหรือคา่ ตอบแทน (8) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนา การเสรมิ สรา้ งขวญั กำลงั ใจ และการยกย่องเชดิ ชเู กียรติข้าราชการ ครูและ บุคลากรทางการศึกษา 9) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจดั สวัสดิการและสิทธปิ ระโยชน์เกอ้ื กูลอ่นื แกข่ ้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา (10) พจิ ารณาตงั้ อ.ก.ค.ศ.เขตพืน้ ท่ีการศึกษาและคณะอนุกรรมการอน่ื เพ่ือปฏบิ ตั หิ น้าท่ีตามท่ี ก.ค.ศ. มอบหมาย (11) ส่งเสริม สนบั สนนุ ประสานงาน ให้คำปรึกษา แนะนำและชีแ้ จงด้านการบรหิ ารงานบุคคลแก่ หน่วยงาน การศึกษา (12) กำหนดมาตรฐาน พิจารณา และให้คำแนะนำเกยี่ วกับการดำเนนิ การทางวินยั การออกจาก ราชการ การ อทุ ธรณ์และการรอ้ งทุกขต์ ามทีก่ ำหนดไว้ในพระราชบัญญตั นิ ้ี (13) กำกับ ดแู ล ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและ บคุ ลากร ทางการศึกษาเพื่อรักษาความเปน็ ธรรมและมาตรฐานดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล ตรวจสอบและ ปฏบิ ัติการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ในการนี้ให้มีอำนาจเรยี กเอกสารและหลักฐานจากหน่วยงานการศึกษา ให้ ผูแ้ ทนของหนว่ ยงานการศึกษา ข้าราชการ หรือบุคคลใด มาชแี้ จงข้อเท็จจรงิ และให้มอี ำนาจออก ระเบยี บ ขอ้ บังคับ รวมทั้งใหส้ ว่ นราชการ หนว่ ยงานการศึกษา ขา้ ราชการหรอื บุคคลใดรายงานเกี่ยวกบั การบรหิ ารงาน บคุ คลของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่อยู่ในอำนาจหน้าท่ีไปยัง ก.ค.ศ. (14) ในกรณีทป่ี รากฏวา่ สว่ นราชการ หนว่ ยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา คณะอนุกรรมการ หรือผมู้ หี น้าทปี่ ฏิบตั ิตามพระราชบญั ญัติน้ี ไมป่ ฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญัตนิ ี้หรอื ปฏบิ ตั กิ าร โดยไม่ถูกต้อง และไมเ่ หมาะสม หรือปฏบิ ตั กิ ารโดยขัดหรือแยง้ กบั กฎหมาย กฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้อบงั คบั หลกั เกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ให้ ก.ค.ศ. มอี ำนาจยับยัง้ การปฏิบตั ิการดังกล่าวไว้เปน็ การ ช่วั คราว เมอื่ ก.ค.ศ. มีมติเปน็ ประการใดแล้ว ให้ส่วนราชการหนว่ ยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ท่ี การศึกษา คณะอนุกรรมการหรือผมู้ ีหนา้ ท่ีปฏิบัติตามพระราชบญั ญตั ินปี้ ฏบิ ตั ิไปตามนน้ั (15) พิจารณารบั รองคุณวุฒิของผไู้ ด้รับปรญิ ญา ประกาศนียบตั รวิชาชีพ หรอื คณุ วฒุ อิ ย่างอ่ืนเพ่ือ ประโยชน์ ในการบรรจแุ ละแต่งตั้งเปน็ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และการกำหนดอตั ราเงินเดือน หรือ คา่ ตอบแทนท่ีควรไดร้ บั (16) กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในเร่ืองการปฏิบัติการตา่ ง ๆ ตามทก่ี ำหนดในพระราชบัญญตั ินี้ (17) พจิ ารณาจดั ระบบทะเบียนประวตั ิและแกไ้ ขทะเบยี นประวตั ิเก่ียวกับวัน เดอื น ปเี กิด และควบคุม การ เกษียณอายุองข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (18) ปฏิบัติหน้าที่อน่ื ตามที่บญั ญัตไิ ว้ใน พระราชบญั ญตั ินี้ หรือตามกฎหมายอ่ืน
ตำแหน่งวิทยฐานะ - ตำแหนง่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามี 3 ประเภท คอื (1) ตำแหน่งซึง่ มหี นา้ ทเ่ี ปน็ ผู้สอนในหนว่ ยงานการศึกษา - ครูผชู้ ่วย - ครู - อาจารย์ เรียกรวมๆ วา่ “คณาจารย์” - ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ - รองศาสตราจารย์ และใหม้ ใี นหน่วยงานการศึกษาทีส่ อนระดบั ปริญญา - ศาสตราจารย์ (2) ตำแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษาและผู้บริหารการศึกษา - รองผู้อำนวยการสถานศึกษา - ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา - รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา - ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา - ตำแหน่งที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด (3) ตำแหนง่ บคุ ลากรทางการศึกษาอน่ื -ศกึ ษานเิ ทศก์ - ตำแหน่งทเ่ี รียกชอื่ อย่างอืน่ ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ให้ตำแหน่งขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาดงั ต่อไปนี้ เป็นตำแหนง่ ทีม่ วี ิทยฐานะ ได้แก่ - ตำแหนง่ ครู มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้ o ครชู ำนาญการ o ครูชำนาญการพเิ ศษ o ครเู ชย่ี วชาญ o ครเู ชย่ี วชาญพเิ ศษ - ผู้บริหารสถานศึกษา มีวทิ ยฐานะ ดงั ต่อไปน้ี o รองผู้อำนวยการชำนาญการ o รองผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ o รองผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ o ผู้อำนวยการชำนาญการ o ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ o ผู้อำนวยการเช่ียวชาญ o ผู้อำนวยการเชีย่ วชาญพิเศษ - ตำแหนง่ ผู้บริหารการศึกษา มีวทิ ยฐานะ ดังต่อไปนี้ o รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาชำนาญการพเิ ศษ o รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเช่ยี วชาญ o ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาเชี่ยวชาญ o ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาเชยี่ วชาญพิเศษ
-ตำแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ มวี ทิ ยฐานะ ดงั ต่อไปน้ี o ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการ o ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ o ศกึ ษานิเทศก์เช่ียวชาญ o ศกึ ษานิเทศก์เชีย่ วชาญพิเศษ -ตำแหน่งท่ีเรียกชอ่ื อยา่ งอนื่ ตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนดให้มวี ทิ ยฐานะ วนิ ัยและการรกั ษาวนิ ัย วนิ ัย (1) ตอ้ งสนบั สนุนการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ ตาม รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยดว้ ยความบรสิ ุทธิใ์ จและมหี นา้ ท่วี างรากฐานให้เกิดระบอบการ ปกครองเช่นว่าน้ัน (2) ต้องปฏิบตั ิหน้าท่ีราชการด้วยความซือ่ สตั ย์สุจรติ เสมอภาค และเทยี่ งธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพยี ร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชนข์ องทางราชการ และต้องปฏบิ ตั ิตนตาม มาตรฐานและ จรรยาบรรณวิชาชีพอยา่ ง เคร่งครดั (3) ต้องปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีราชการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหนว่ ยงาน การศึกษา มติ คณะรฐั มนตรี หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถอื ประโยชน์สูงสดุ ของผูเ้ รียน และไม่ให้ เกิดความเสียหายแก่ทาง ราชการ (4) ตอ้ งปฏิบัตติ ามคำส่ังของผูบ้ งั คับบญั ชาซึง่ สั่งในหน้าท่ีราชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบียบ ของทางราชการ โดยไมข่ ดั ขืนหรอื หลีกเลยี่ ง (5) ตอ้ งตรงต่อเวลา อทุ ิศเวลาของตนใหแ้ ก่ทางราชการและผูเ้ รียน จะละทงิ้ หรือทอดทงิ้ หนา้ ท่ี ราชการโดยไมม่ ีเหตุผลอันสมควรมิได้ (6) ต้องประพฤติเปน็ แบบอย่างท่ีดแี กผ่ เู้ รยี น ชมุ ชน สังคม มีความสุภาพเรยี บรอ้ ย รกั ษาความ สามัคคี ชว่ ยเหลือเกอื้ กูล ต่อผเู้ รียนและระหว่างขา้ ราชการด้วยกนั หรือผู้รว่ มปฏิบตั ิราชการ ต้อนรับ ให้ ความสะดวก ให้ความเปน็ ธรรมแก่ ผเู้ รยี นและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ (7) ต้องไม่กลน่ั แกลง้ กล่าวหาหรอื ร้องเรยี นผู้อน่ื โดยปราศจากความเปน็ จรงิ (8) ตอ้ งไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อ่ืนกระทำการหาประโยชน์อันอาจทำใหเ้ ส่ือมเสยี ความเทยี่ งธรรม หรือเสอื่ มเสีย เกียรตศิ กั ดิ์ในตำแหน่งหนา้ ทร่ี าชการของตน (9) ตอ้ งไม่คดั ลอกหรอื ลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อน่ื โดยมชิ อบ (10) ต้องไมเ่ ป็นกรรมการผจู้ ัดการ หรอื ผจู้ ัดการ หรือดำรงตำแหน่งอนื่ ใดท่มี ีลักษณะงานคลา้ ยคลงึ กัน น้นั ในหา้ ง หุ้นสว่ นหรอื บรษิ ทั (11) ต้องวางตนเปน็ กลางทางการเมืองในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ (12) ต้องรกั ษาชือ่ เสยี งของตนและรกั ษาเกยี รติศกั ด์ิของตำแหน่งหนา้ ทร่ี าชการของตนมิใหเ้ ส่อื มเสยี สิ่งท่ีถือวา่ ผิดวินยั รา้ ยแรง (1) การปฏิบัตหิ รือละเวน้ การปฏบิ ัติหน้าทร่ี าชการโดยมชิ อบ เพ่ือให้ตนเองหรือผู้อ่นื ไดร้ บั ประโยชน์ที่ มคิ วรได้
(2) การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีราชการโดยจงใจไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผนของทางราชการและ หน่วยงาน การศกึ ษา มตคิ ณะรฐั มนตรีหรือนโยบายของรฐั บาล ประมาทเลนิ เล่อ หรอื ขาดการเอา ใจใสร่ ะมดั ระวงั รักษา ประโยชน์ของทางราชการ (3) การขดั คำส่ังหรอื หลีกเล่ยี งไม่ปฏิบตั ติ ามคำสัง่ ของผ้บู ังคบั บัญชา ซึ่งสั่งในหนา้ ที่ราชการโดยชอบ ดว้ ยกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ อันเป็นเหตใุ หเ้ สยี หายแก่ราชการอยา่ งรา้ ยแรง (4) ละท้งิ หน้าท่ีหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร เป็นเหตุให้เสียหายแกร่ าชการ อยา่ งร้ายแรง หรือ การละทงิ้ หน้าท่ีราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกวา่ 15 วนั (5) การกล่นั แกล้ง ดหู มิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือขม่ เหงผู้เรยี น หรือประชาชนผมู้ าตดิ ต่อราชการ อยา่ งร้ายแรง (6) กระทำโดยมคี วามมุ่งหมายจะให้เป็นการซ้ือขาย หรือให้ไดร้ ับแตง่ ตง้ั ใหด้ ำรงตำแหนง่ หรือ วทิ ยฐานะใดโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย (7) คดั ลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้โดยมิชอบ (8) เขา้ ไปเก่ยี วขอ้ งกบั การดำเนนิ การใด ๆ อันมีลกั ษณะเป็นการทุจริตโดยการซ้ือสทิ ธหิ รือขายเสียง ในการเลอื กตงั้ สมาชิกรัฐสภา สมาชกิ สภาท้องถ่นิ ผู้บริหารทอ้ งถ่ิน หรือการเลือกต้ังอน่ื (9) การกระทำความผิดอาญาจนไดร้ บั โทษจำคุก หรอื โทษที่หนกั กว่าจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้จำคุก หรือให้ รับโทษที่หนักกวา่ จำคุก เวน้ แตเ่ ปน็ โทษสำหรบั ความผดิ ที่ไดก้ ระทำโดย ประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (10) เสพยาเสพตดิ หรือสนับสนนุ ใหผ้ ู้อ่นื เสพยาเสพตดิ เล่นการพนันเปน็ อาจิณ หรือกระท าการล่วง ละเมิดทางเพศต่อ ผู้เรียนหรือนกั ศึกษา **โทษทางวินยั (1) ภาคทัณฑ์ 2) ตดั เงนิ เดือน (3) ลดเงนิ เดือน (4) ปลดออก (5) ไล่ออก **โทษปลดออกมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนผู้น้นั ลาออกจากราชการ**
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: