Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งาน คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัล สำหรับค

งาน คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัล สำหรับค

Published by วัชรพล เชิดศรี, 2023-06-18 07:42:12

Description: งาน คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัล สำหรับค

Search

Read the Text Version

คู่มือทักษะความฉลาด ทางดิจิทัล สำหรับครู 8 SKILL “DIGITAL INTELLIGENCE” IN THE TEACHING PROFESSION TO CITIZENSHIP 4.0 จัดทำโดย นายธนัฏฐ์ หลวงแจ่ม หมู่ 2 รหัส 657190220

คำนำ ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลุ่มความสามารถทางสังคม อารมณ์ และ การรับรู้ ที่จะทำให้คนคนหนึ่งสามารถเผชิญกับความท้าทาย ของชีวิตดิจิทัล และสามารถ ปรับตัวให้เข้ากับชีวิตดิจิทัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และค่านิยม ที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตในฐานะสมาชิกของโลก ออนไลน์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ทักษะการใช้สื่อและ การเข้า สังคมในโลกออนไลน์ นายธนัฏฐ์ หลวงแจ่ม ผู้จัดทำ ก

สารบัญ หน้า เรื่อง ก ข คำนำ 1 สารบัญ 2 8 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล 3 ทักษะที่ 1 การรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตัวเอง 4 ทักษะที่ 2 ทักษะการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี ทักษะที่ 3 ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเอง 5 6 ในโลกไซเบอร์ 7 ทักษะที่ 4 ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว ทักษะที่ 5 ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ 8 ทักษะที่ 6 ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งาน 9 10 มีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน 11 ทักษะที่ 7 ทักษะในการรับมือกับการกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ 12 ทักษะที่ 8 ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม บทสรุป บรรณานุกรม ประวัติผู้จัดทำ ข

8 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล ทักษะที่ 1 ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง (DIGITAL CITIZEN IDENTITY) ทักษะที่ 2 ทักษะการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (CRITICAL THINKING) ทักษะที่ 3 ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (CYBERSECURITY MANAGEMENT) ทักษะที่ 4 ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (DIGITAL ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว CITIZENSHIP) คืออะไร (PRIVACY MANAGEMENT) ความเป็นพลเมืองดิจิทัลคือ พลเมืองผู้ใช้งานสื่อ ทักษะที่ 5 ดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์ที่เข้าใจบรรทัดฐานของ ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ การปฏิบัติตัวให้เหมาะสมและมีความรับผิดชอบใน (SCREEN TIME MANAGEMENT) การใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสื่อสาร ใน ยุคดิจิทัลเป็นการสื่อสารที่ไร้พรมแดน สมาชิกของ ทักษะที่ 6 โลกออนไลน์คือ ทุกคนที่ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต บน ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งาน โลกใบนี้ ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์มีความหลากหลาย มีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ ทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม พลเมือง (DIGITAL FOOTPRINTS) ดิจิทัลจึงต้องเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ มี จริยธรรม เห็นอกเห็นใจและเคารพผู้อื่น มีส่วนร่วม ทักษะที่ 7 และมุ่งเน้นความเป็นธรรมในสังคม การเป็นพลเมือง ทักษะในการรับมือกับการกลั่นแกล้งบนโลก ในยุคดิจิทัลนั้น มีทักษะที่สำคัญ 8 ประการ ไซเบอร์ (CYBERBULLYING MANAGEMENT) ทักษะที่ 8 ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (DIGITAL EMPATHY) 1

1. ทักษะในการรักษา อัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง (DIGITAL CITIZEN IDENTITY) สามารถสร้างและบริหารจัดการ ตัวอย่าง อัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ได้อย่างดี สร้างสิ่งดีดีที่เป็นพลังบวกให้ผู้อื่น ทั้งในโลกออนไลน์และโลกความจริง แบ่งปันข่าวสารที่เป็นประโยชน์ อัตลักษณ์ที่ดี คือ การที่ผู้ใช้สื่อดิจิทัล แสดงความคิดเห็นทางโลกออนไลน์ สร้างภาพลักษณ์ในโลกออนไลน์ของ ในทางที่ดีและตนเองและผู้อื่น ตนเองในแง่บวก ทั้งความคิด ความ รู้สึกและการกระทำ โดยมีวิจารณญานใน การรับส่งข่าวสารและแสดงความคิดเห็น มีความเห็นอกเห็นใจผู้ร่วมใช้งานใน สังคมออนไลน์ และรู้จักรับผิดชอบต่อ การกระทำ ไม่กระทำการที่ผิดกฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การ ละเมิดลิขสิทธิ์ การกลั่นแกล้งหรือการใช้ วาจาที่สร้างความ เกลียดชังผู้อื่นทาง สื่อออนไลน์ 2

2. ทักษะการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (CRITICAL THINKING) สามารถในการวิเคราะห์แยกแยะ ตัวอย่าง ระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ มีการคัดกรองข่าวสารที่เห็นว่ามี ผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาเป็นประโยชน์ ความเท็จจริงก่อนจะแชร์ต่อให้ผู้อื่น และข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย ข้อมูล คิดอย่างรอบครอบก่อนนำไปเผย ติดต่อทางออนไลน์ที่น่าตั้งข้อ แพร่สู่โลกออนไลน์ เพื่อให้เกิด สงสัยและน่าเชื่อถือได้ เมื่อใช้ ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ที่เห็น อินเทอร์เน็ต จะรู้ว่าเนื้อหาอะไรเป็น สาระมีประโยชน์ รู้เท่าทันสื่อและ สารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และ ประเมิน ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการ หลอกลวงต่างๆ ในโลกไซเบอร์ เช่น ข่าวปลอม เว็บปลอม ภาพตัด ต่อ เป็นต้น 3

3. ทักษะในการรักษาความปลอดภัย ของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (CYBERSECURITY MANAGEMENT) สามารถป้องกันข้อมูลด้วยการ ตัวอย่าง สร้างระบบความปลอดภัยที่เข้ม ติดตั้งและตรวจสอบการป้องกัน แข็ง และป้องกันการโจรกรรม ไวรัส ข้อมูล หรือการโจมตีออนไลน์ได้ ระมัดระวังการใช้เครื่องสาธารณะใน มีทักษะในการรักษาความปลอดภัย การเข้าระบบต่างๆ ของตนเองในโลกออนไลน์ การ การลงชื่อเข้า-ออกระบบอีเมล ควร รักษา ความปลอดภัยของตนเอง ทำการออกจากระบบทุกครั้งหลังใช้ ในโลกไซเบอร์คือ การปกป้อง งานเสร็จสิ้น อุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูลที่จัดเก็บและ ข้อมูลส่วนตัว ไม่ให้เสียหาย สูญหาย หรือถูกโจรกรรมจากผู้ไม่ หวังดีในโลกไซเบอร์ การรักษา ความปลอดภัยทาง ดิจิทัลมีความ สำคัญดังนี้ 4

4. ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (PRIVACY MANAGEMENT) มีดุลพิ นิจในการบริหาร ตัวอย่าง จัดการข้อมูลส่วนตัว รู้จัก ควรตั้งรหัสผ่านที่คาดเดาได้ยาก ปกป้องข้อมูลความส่วนตัว และควรเปลี่ยนรหัสผ่านทุก ๆ 6 ในโลกออนไลน์โดยเฉพาะ เดือน การแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่ อ ไม่ควรอัพเดตสถานที่ หรือบอกล่าว ป้องกันความเป็นส่วนตัว บนโลกออนไลน์เป็นประจำ ทั้งของตนเองและผู้อื่น รู้เท่าทันภัยคุกคามทาง อินเทอร์เน็ต เช่น มัลแวร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์ และ กลลวงทางไซเบอร์ 5

5. ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (SCREEN TIME MANAGEMENT) สามารถในการบริหารเวลาที่ ตัวอย่าง ใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไป ตั้งเวลาการใช้งาน หรือจับเวลาตาม ถึงการควบคุมเพื่ อให้เกิด ความเหมาะสมขณะใช้งาน สมดุลระหว่าง โลกออนไลน์ ควรลุกขึ้น ยืน เดิน ทุก ๆ 1 ชั่วโมง และโลกภายนอก ตระหนัก ถึงอันตรายจากการใช้เวลา หน้าจอนานเกินไป การ ทำงาน หลายอย่างในเวลา เดียวกัน และผลเสียของการ เสพติดสื่อดิจิทัล 6

6. ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งาน มีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (DIGITAL FOOTPRINTS) สามารถเข้าใจธรรมชาติ ตัวอย่าง ของการใช้ชีวิตในโลก ไม่ควรเข้าสื่อออนไลน์ที่ไม่น่าเชื่อถือ ดิจิทัลว่าจะหลงเหลือ ระมัดระวังการเปิดลิ้งค์ดาวโหลดที่ ร่อยรอยข้อมูลทิ้งไว้ อาจจะที่ให้เกิดไวรัสติดตามมาได้ เสมอ รวมไปถึง เข้าใจ ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น เพื่ อการดูแลสิ่งเหล่านี้ อย่างมีความรับผิดชอบ 7

7. ทักษะในการรับมือกับการกลั่นแกล้งบน โลกไซเบอร์ (CYBERBULLYING MANAGEMENT) การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์คือ การ ตัวอย่าง ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือหรือช่อง อย่าตอบโต้กับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย ทางเพื่อก่อให้เกิดการคุกคาม ล่อลวง หรือบุคคลที่มีเจตนาไม่ดี และการกลั่นแกล้งบนโลกอินเทอร์เน็ต ป้องกันการคุกคามของผู้อื่น และสื่อสังคมออนไลน์ โดยกลุ่มเป้า เก็บหลักฐานบันทึกข้อความดำเนิน หมายมักจะเป็น กลุ่มเด็กจนถึงเด็กวัย คดีตามกฏหมาย รุ่น การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ คล้ายกันกับการกลั่นแกล้งในรูปแบบ อื่น หากแต่การกลั่นแกล้งประเภทนี้จะ กระทำผ่านสื่อออนไลน์หรือสื่อดิจิทัล เช่น การส่งข้อความทาง โทรศัพท์ ผู้ กลั่นแกล้งอาจจะเป็นเพื่อนร่วมชั้น คน รู้จักในสื่อสังคมออนไลน์ หรืออาจจะ เป็นคนแปลกหน้าก็ได้ เป็นต้น 8

8. ทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (DIGITAL EMPATHY) มีความเห็นอกเห็นใจ และ ตัวอย่าง สร้างความสัมพั นธ์ที่ดีกับผู้ ไม่ด่วนตัดสินคนอื่นจากสื่อออนไลน์ อื่นบนโลกออนไลน์ แม้จะ ควรรู้จักเขาให้มากกว่าสิ่งที่เห็น เป็นการสื่อสารที่ ไม่ได้เห็น ไม่ใส่ร้าย หรือแชร์ข้อความที่ทำให้ผู้ หน้ากัน มีปฏิสัมพันธ์อันดีต่อ อื่นเสียหาย คนรอบข้าง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพื่ อนทั้งในโลกออนไลน์และใน ชีวิตจริง ไม่ด่วนตัดสินผู้อื่น จากข้อมูลออนไลน์แต่เพี ยง อย่างเดียว และจะเป็นกระ บอกเสียงให้ผู้ที่ ต้องการ ความช่วยเหลือ 9

บทสรุป ทักษะความฉลาดทางดิจิทัลทั้ง 8 ทักษะ เป็นทักษะที่คนรุ่นใหม่และทุกๆคน ควรศึกษาให้ ดี เพราะปัจจุบันเราใช้ชีวิตผ่านโลกออนไลน์มากขึ้น ทั้งการแสดงตัวตนให้ผู้อื่นรับรู้ผ่านสื่อ ออนไลน์ การสื่อสารกับผู้อื่นผ่านโลกโซเชียล เป็นต้น ซึ่งทักษะทั้ง 8 ทักษะจะสามารถพัฒนา ตัวผู้ใช้ให้มีคุณภาพอย่างถูกต้อง สร้างให้ผู้ใช้สื่อดิจิทัลใช้งานได้มีคุณค่าและถูกหลักที่ควรใช้ งาน การเรียนการสอนในปัจจุบันในยุค 4.0 ที่ต้องมุ่งเน้นให้ตัวผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งการใช้สื่อดิจิทัลเป็นอีก 1 ทักษะที่มีความสำคัญมากต่อคนในยุคปัจุบัน คนสมัยใหม่ต้องมี ความฉลาดในการใช้สื่อดิจิทัล เพราะโลกของเราได้เข้าสู่ยุคของเทคโนโลยีอย่างเต็มตัวแล้ว อีกทั้งทักษะความฉลาดทางดิจิทัลทั้ง 8 ทักษะ หากครูผู้สอนสามารถนำมาใช้ได้ดี จะสามารถสร้างสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจและคุณภาพต่อตัวผู้เรียนได้มากขึ้น ทำให้เกิด ความน่าสนใจระหว่างเรียนได้ดีขึ้น สร้างบรรยากาศในชั้นเรียนให้มีความสนุกสนานมากขึ้น ซึ่ง เป็นสิ่งที่เหมาะมากๆในรูปแบบของการสอนในปัจจุบัน 10

บรรณานุกรม ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ Digital Intelligence) Website : www.childmedia.net, cclickthailand.com จัดพิมพ์และเผยแพร่ : มูลนิธิส่ง เสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.) 11

นำเสนอ ผศ.ดร.สุจิตตรา จันทร์ลอย วิชาการพั ฒนาความเป็นครู อาจารย์แจ็ค ป.บัณฑิต รุ่นที่ 24 หมู่ 2 ผศ.ดร.สุธิดา ปรีชานนท์ ประวัติผู้จัดทำ อาจารย์แอม การศึกษา ปริญญาตรี และ ปริญญาโท นายธนัฏฐ์ หลวงแจ่ม คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครูน้ำ วิทยาเขตกำแพงแสน 12 การทำงาน (โรงเรียนอบจ.ราชบุรี) ตำแหน่ง ผู้ช่วยครูสุขศึกษา และพลศึกษา หัวหน้าฝ่ายบุคคล หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุ ตบอล รุ่น 13-14 ปี ครูดูแลหอพั กนักกีฬา : NAM THANAT : 094-353-3544

8 SKILL “DIGITAL INTELLIGENCE QUOTIENT” --------------------------