Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Germany : Love at first drive Chapter 11

Germany : Love at first drive Chapter 11

Published by Ou' Bookshop, 2021-09-23 01:35:15

Description: Chapter 11 : Goodbye Munich

Search

Read the Text Version

Germany : Love at first drive Chapter 11 : Goodbye Munich หนูเล็ก

ตดั ใจลา.....มวิ นิค คนื สุดท้ายในมวิ นิคผ่านไปแล้ว เป็ นเร่อื งน่าเศร้าทม่ี วิ นคิ ต้อนรับพวกเราด้วยฟ้าฉ่าํ ฝน ตลอดระยะเวลาทมี่ าขอพาํ นัก วนั เวลาแห่งความเศรา้ ดเู หมือนยงั ปกคลมุ เอาไวไ้ มจ่ างหาย ไมเ่ ป็นไร หากมวิ นิคจะตอ้ นรบั พวกเราเช่นนี้ ไดแ้ ตห่ วงั วา่ วนั หน่ึงเมือ่ เรากลบั มาเยือนอีกครงั้ คงจะไดพ้ บกบั มวิ นคิ ในวนั ที่ฟา้ สดใส และเมื่อนนั้ คงเป็นวนั ท่ีมิวนิคสวยท่ีสดุ ในสายตาของหนเู ลก็ เป็นแน่ จดั การกบั มือ้ เชา้ และอาหารกลอ่ งสาํ หรบั การเดินทางวนั นี้ เม่ือจดั การกบั อาหารเชา้ เรียบรอ้ ย เรากถ็ ือโอกาสเช็คเอาทอ์ อกจากท่ีพกั ไปเลยในคราวเดยี ว เพราะตามแผนท่ีวางไวจ้ ดุ หมายปลายทางวนั นีจ้ ะอย่ทู ่ีเมอื งเรเกนสบวรก์ (Regensburg) ซ่ึงหนเู ลก็ ได้ จดั การจองที่พกั ไวแ้ ลว้ แตก่ อ่ นจะอาํ ลามิวนิค หนเู ลก็ จะพาพวกเราไปชมสถานที่ประสตู ขิ องกษัตรยิ น์ กั ฝันอยา่ งพระเจา้ ลดุ วกิ ที่ 2 กนั เสยี หน่อย ไหนๆ เราก็ตามรอยพระองคม์ าตลอดหลายวนั ท่ีผา่ นมา คง เป็นที่น่าเสยี ดายหากจะไมไ่ ปชมสถานท่ีสาํ คญั อีกแห่งหนง่ึ ในชีวประวตั ิของพระองค์ และก็คงขบั รถวนๆ ชมเมอื งกนั เลก็ นอ้ ย จะไดส้ าํ รวจบรรยากาศท่วั ๆ ไป ดงั นน้ั เม่อื นาํ ขา้ วของใสร่ ถกนั เป็นท่ีเรียบรอ้ ย หนู เลก็ กก็ ลบั มาประจาํ ตาํ แหนง่ พลขบั เชน่ เดิมหลงั จากวา่ งเวน้ เริงรา่ ไดพ้ กั ไปเกือบ 2 วนั

ประตเู มอื งอซิ ารต์ อร์ (Isator) หนเู ลก็ ขบั วนไปมาแบบไรแ้ ผน ไปๆ มาๆ หนเู ลก็ พาพวกเราไปเจอประตเู มืองอิซารต์ อร์ (Isator) ซงึ่ เป็นหน่งึ ในสามประตเู มอื งท่ีเหลืออย่หู ลงั จากเม่อื วานหนเู ลก็ พาไปชมคารล์ ตอรม์ าแลว้ หนง่ึ ประตู แต่ เดิมมิวนิคมปี ระตเู มอื งทง้ั หมด 5 ประตู แตป่ ัจจบุ นั เหลือแค่ 3 ประตู เหลือประตเู มืองอีกแห่ง คือ เซนด ลิงเงอรต์ อร์ (Sendlinger Tor) ที่ยงั ไมไ่ ดพ้ าไปชม อซิ ารต์ อรเ์ ป็นประตเู มอื งท่ีอย่ทู างทิศตะวนั ตกของมา เรียนพลาทซ์ ประตแู ละหอคอยหลกั นีส้ รา้ งสมยั ของพระเจา้ ลดุ วิกท่ี 1 เมื่อปี ค.ศ. 1337 เป็นทางเขา้ สู่ แม่น้าํ อิซาร์ แม่นา้ํ ท่ีไหลผ่านกลางเมือง ส่วนหอคอยที่อยู่อีกสองขา้ งสรา้ งขึน้ ในภายหลังช่วงตน้ ครสิ ตศ์ ตรวรรษที่ 15 มีการปรบั ปรุงบรู ณะในระหวา่ งปี ค.ศ.1833 – 1835 โดยฟรีดริช ฟอน แกรท์ เนอร์ (Freidrich Von Gärtner) จุดเด่นของประตูนี้คือ ภาพวาดเฟรสโกที่แสดงการมีชัยเหนือกองทัพ ออสเตรีย ณ เมอื งอมั พฟ์ ิ ง (Ampfing) ในปี ค.ศ.1322 ของพระเจา้ ลดุ วิกท่ี 4 ของบาวาเรยี วาดขนึ้ เมอื่ ปี ค.ศ.1835 โดยเบอรฮ์ ารด์ ฟอน นีเฮอร์ (Bernhard Von Nehar) ถูกทาํ ลายจนย่อยยับในสมัย สงครามโลกครงั้ ที่ 2 เหมอื นกนั ปัจจบุ นั ไดก้ ลายเป็นพิพิธภณั ฑแ์ สดงเรอื่ งราวของคารล์ ฟาเลนทิน (Karl Valetin) นกั แสดงตลกยอดนิยมของมวิ นิก ในขณะเดยี วกนั กไ็ ดจ้ ดั พืน้ ที่สว่ นหน่งึ ใชเ้ ป็นคาเฟ่ ดว้ ย เราแคผ่ า่ นมาเทา่ นนั้ ไมไ่ ดจ้ อดรถแวะ สว่ นหนง่ึ เป็นเพราะฝนยงั คงตกอยู่ ทาํ ใหไ้ มส่ ะดวกท่ีจะ ลงไปเดนิ เลน่ ก็เลยวง่ิ รถผา่ นเลยไปแลว้ ก็เริ่มให้ “นอ้ งจี” ทาํ งานอีกครง้ั เม่ือเราจะไปชมพระราชวงั นีม เฟนบรู ก์ (Nymphenburg) กนั เป็นขวญั ตาเสียหน่อย วนไปมาอีกเพียงช่วั ครูก่ ็ไปถึงบริเวณถนนนอท เบอรก์ า (Notburgastraße) จะเห็นป้ายบอกทางใหเ้ ลีย้ วเขา้ ส่ถู นนเลก็ ๆ ท่ีจะนาํ เราเขา้ ไปยงั บริเวณ พระราชวงั ซงึ่ จะโคง้ เขา้ ไปจนถึงบริเวณลานจอดรถ ซง่ึ วนั นีล้ านจอดคอ่ นขา้ งวา่ ง อาจเป็นเพราะเป็นวนั ฝนพราํ ก็เลยไม่มีนักท่องเท่ียวมาเท่าไหร่ เพราะเขาบอกวา่ ในวันที่แดดดีๆ ลานนีแ้ ทบจะจอดไมพ่ อ สมาชิกในรถไมม่ ีใครประสงคจ์ ะลงกนั เลย คณุ ปากบั คณุ สดุ เหมอื นยงั ง่วงๆ ไมค่ อ่ ยอยากตื่น สว่ นพี่ใหญ่ มีอาการเหมือนแพอ้ ากาศ เจอฝนพราํ อยา่ งนีก้ บั ตอ้ งเดนิ จากลานจอดไปอีกเลยขอตวั คอยในรถดว้ ยอีก คน ปลอ่ ยใหห้ นเู ลก็ พลขบั ลงไปเท่ยี วเลน่ คนเดยี ว พรอ้ มส่งั ความวา่ ถา่ ยรูปมาเยอะๆ นะจะไดด้ ู แหม.... ไมค่ อ่ ยกินแรงกนั เลย้ จดุ เดน่ แรกที่หนเู ลก็ สมั ผสั ไดข้ องพระราชวงั แห่งนีค้ งเป็นที่การขดุ คลองตลอดแนวตง้ั แต่ถนน ทางเขา้ และการสรา้ งทะเลสาบ นยั วา่ เพื่อเป็นทางระบายนา้ํ สาํ หรบั สวนขนาดใหญ่ จนทาํ ใหแ้ บ่งสวน

ปราสาทออกเป็นสองสว่ น ดา้ นหนา้ ท่ีเป็นสระนา้ํ ขนาดย่อมๆ ที่มีหงสแ์ หวกวา่ ยไปมาอยู่ 3 - 4 ตวั ทาํ ให้ เหน็ วา่ หงสเ์ ป็นสตั วค์ บู่ ญุ บารมกี ษัตริยข์ องบาวาเรียจริงๆ วา่ กนั วา่ ในฤดรู อ้ นนา้ํ ในสระนา้ํ จะเป็นท่ีอยู่ ของหงส์ แต่ในฤดหู นาวนา้ํ ในคลองและในสระนา้ํ ที่เห็นท้ังหมดนี้ จะกลายเป็นนา้ํ แข็งใหเ้ ป็นสถานท่ี เลน่ สเก็ตนา้ํ แขง็ ของชาวมวิ นิคและนกั ท่องเท่ียวกนั เพลนิ เลย เอ...อยา่ งนีห้ งสข์ าวเหล่านีจ้ ะไปใชช้ ีวิตท่ี ไหนในระหวา่ งเวลานน้ั กไ็ มร่ ู้สว่ นตรงกลางสระมีกองหินท่ีจรงิ ๆ แลว้ ในวนั ท่ีทอ้ งฟา้ สดใสเขาจะเปิดนา้ํ พุ พ่งุ สงู ออกมาจากกองหินนนั้ ดว้ ย ดา้ นหนา้ พระราชวงั นีมเฟนบรู ก์ ในปี ค.ศ.1662 เฮนเรียตตา้ อเดเลด ออฟ ซาวอย (Henrietta Adelaide of Savoy) พระชายา ของควั เฟื อสทห์ รอื อเี ลก็ เตอรเ์ ฟอรด์ ินานด์ มารอี า (Kurfürst Ferdinand Maria) ซ่งึ ครองราชยร์ ะหวา่ งปี ค.ศ.1651 – 1679) ประสตู ิพระโอรส ซ่ึงตอ่ มาคือ ควั เฟื อสท์ แมกซิมิเลียนท่ี 2 เอม็ มานเู อ็ล (Kurfürst Maximilian II Emanuel) หลงั จากรอคอยมานานนบั 10 ปี เพ่ือเป็นของขวญั แด่พระชายาจึงทรงสรา้ ง พระราชวังฤดูร้อนมอบให้ใน 2 ปี ถัดมา โดยประทานนามว่า พระราชวังนีมเฟนบูรก์ (Schloss Nymphenburg) ไดร้ บั การออกแบบจากอะโกสติโน แบรเ์ รลลิ (Agostino Barelli) สถาปนิกชาวอิตา เลียน เริม่ สรา้ งเม่ือปี ค.ศ.1664 ตวั อาคารหลกั สรา้ งเป็นแบบอิตาเลียนวิลลาแลว้ เสรจ็ เม่ือปี ค.ศ.1675 ในสไตลบ์ ารอค มบี นั ไดทางขนึ้ สองทาง สว่ นตรงกลางทาํ เป็นโครงสรา้ งโคง้ รองรบั ตวั อาคารไว้ ถือเป็น สว่ นท่ีเก่าแก่ท่ีสดุ ของพระราชวงั หากจาํ ไดเ้ จา้ อีเลก็ เตอรพ์ ระองคน์ ีไ้ ดส้ รา้ งโบสถธ์ ีอาทิเนอรเ์ คียเชอ (Theatinerkirche) โบสถส์ ีเหลืองอรา่ มฉลองที่พระชายาประสตู ิพระโอรสไปดว้ ยแลว้ แสดงใหเ้ ห็นว่า การก่อสรา้ งสิง่ ปลกู สรา้ งตา่ งๆ เพื่อเฉลิมฉลองวาระสาํ คญั และพิเศษตา่ งๆ ทาํ กนั มานานมากแลว้

ดา้ นหลงั พระราชวงั มสี วนปราสาทดว้ ย จากนนั้ กไ็ ดม้ ีการก่อสรา้ งเพ่ิมเตมิ และตกแตง่ ใหมอ่ กี หลายครง้ั โดยพระชายาถึงกบั คมุ การ กอ่ สรา้ งดว้ ยพระองคเ์ อง หรือแมแ้ ตอ่ งคพ์ ระโอรสแมกซิมเิ ลยี นเองก็สานตอ่ ภารกิจนีจ้ ากพระมารดาโดย ทาํ งานรว่ มกบั โจเซฟ เอฟเนอร์ (Joseph Effner) สถาปนิกที่มีชื่อเสยี งท่ีสดุ ในการก่อสรา้ งพระราชวงั และสวนในยโุ รป โดยทรงมบี ญั ชาใหส้ รา้ งอาคารทง้ั สองดา้ นเพ่ิมเติมในปี ค.ศ.1702 เช่ือมตอ่ กนั ดว้ ย แกลเลอร่ี จากวงั ฤดรู อ้ นเลก็ ๆ กลายเป็นวงั ขนาดใหญ่พนื้ ที่กวา้ งขวาง มีอาคารเพ่ิมเติมจากเดมิ จนราย ลอ้ มสวนดา้ นหนา้ ท่ีแตเ่ ดมิ มีเพยี งอาคารหลกั เพียงอาคารเดยี ว เกิดสวนรายรอบพืน้ ท่ีกวา่ 490 เอเคอร์ สวนขนาดใหญ่นีส้ รา้ งตง้ั แตป่ ี ค.ศ.1671 เป็นสวนแบบอิตาลี แตม่ าปรบั เปลีย่ นเป็นแบบบารอคเพื่อให้ เขา้ กบั ตวั พระราชวงั ในช่วงครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 บริเวณสวนทงั้ หมดมกี ารตกแตง่ ดว้ ยรูปสลกั หินออ่ นเป็น รูปเทพเจา้ ของกรกี เรยี งรายไวเ้ ป็นระยะๆ อย่างเป็นระเบียบ รูปสลกั เหลา่ นีเ้ รมิ่ หมองดว้ ยคราบตะไคร่ แตห่ ากไดม้ ีโอกาสพิจารณารูปสลกั ใกลๆ้ จะเห็นถึงฝีมือของศลิ ปิน เพราะสามารถแสดงกลา้ มเนือ้ แขน และขาที่เป็นมดั ๆ ราวกบั มีเลือด มเี นือ้ ความพลวิ้ ไหวของผา้ ท่ีพนั รา่ งกายท่ีราวกบั จะปลิวไดเ้ มอื่ ตอ้ งลม ดอกไมต้ น้ ไมท้ ่ีปลกู ไวแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การดแู ลและเอาใจใส่ เพราะทอดตวั เรยี งรายอย่อู ยา่ งเป็นระเบียบ งดงาม เหมอื นกบั วา่ พวกมนั ไมเ่ คยงอกกิ่งกา้ นหรอื แตกใบเพิ่มออกมาเลย ภาพมมุ ตา่ งๆ ของพระราชวงั นีมเฟนบรู ก์ ดรู ูปแบบของพระราชวงั การจดั สวน และการวางรูปสลกั ตา่ งๆ แสดงใหเ้ ห็นถึงการจดั วางใน ลกั ษณะสมมาตรไปทั้งหมดท้ังดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั การเขา้ ชมภายในจะตอ้ งเสียค่าเขา้ ชม และ

สามารถเดินไดแ้ บบอิสระไมม่ ไี กดน์ าํ ชม ถ่ายภาพภายในก็ได้ โดยมีขอ้ หา้ มแค่ว่า ในการถ่ายภาพหา้ ม ใชแ้ ฟลชเดด็ ขาด เพราะจะทาํ ใหส้ ขี องภาพวาดที่ประดบั อยใู่ นนน้ั เส่อื มคณุ ภาพเรว็ ขนึ้ นักท่องเท่ียวสว่ นใหญ่ท่ีมาเขา้ ชมพระราชวงั แห่งนี้ ส่วนหนึ่งก็เพราะท่ีน่ีมีหอ้ งท่ีเป็นสถานท่ี ประสตู ขิ องพระเจา้ ลดุ วิกท่ี 2 เจา้ ของปราสาทนอยชวานสไตน์ ซึ่งหอ้ งดงั กลา่ วเป็นหอ้ งนอนของพระ ราชินีแห่งบาวาเรยี ท่ีตกแตง่ ในรูปแบบเรียบง่าย แตย่ ังคงมีแท่นบรรทมเลก็ ๆ สาํ หรบั เด็ก ท่ีใชเ้ ม่ือครงั้ พระเจา้ ลดุ วิกท่ี 2 ประสตู ิตงั้ อยู่ แต่แมว้ า่ จะเป็นสถานที่ประสตู ิของกษัตริยน์ ักฝัน แต่ตามประวตั ิแลว้ พระเจา้ ลดุ วิกท่ี 2 ก็ไมไ่ ดผ้ กู พนั กบั พระราชวงั แหง่ นีเ้ สียเลย กลบั ไปผกู พันกับพระราชวงั แห่งอ่ืนๆ ที่อยู่ ไกลออกไปและที่พระองคท์ รงมีดาํ รสิ รา้ งขนึ้ สว่ นอีกหอ้ งหน่ึงก็คอื หอ้ งดา้ นทิศใตห้ รอื เชินไฮทส์ -กลั เลอรี่ (Schönheitsgalerie)หรอื รูจ้ กั กนั ในนาม แกลเลอรี่ ออฟ บิวตี้ (Gallery of Beauties) ของพระเจา้ ลดุ วิก ท่ี 1 หรอื พระอยั ยิกา (ป่ )ู ของพระเจา้ ลดุ วกิ ที่ 2 เนื่องจากหอ้ งนีจ้ ะแสดงภาพวาดสาวงามแห่งมิวนิค 36 นางฝีมือของโจเซฟ สตลี เลอร์ (Joseph Stieler) บรรจใุ นกรอบรูปสีทอง ซงึ่ หนง่ึ ในนน้ั เป็นนกั เตน้ ราํ ชาว ไอริชช่ือ โลลา มอนเทช (Lola Montez) ผมู้ ีความสมั พนั ธล์ ึกซึง้ กบั พระเจา้ ลดุ วิกที่ 1 และเป็นสาเหตทุ ี่ ทาํ ใหพ้ ระองคถ์ ึงกบั ตอ้ งสละราชบลั ลงั ก์ สว่ นหอ้ งอืน่ ๆ แมจ้ ะไมม่ ปี ระวตั ทิ ี่โดดเดน่ เช่นเดียวกบั สองหอ้ งนน้ั แต่ก็จะโดง่ ดงั ในแง่ของการ ตกแตง่ ท่ีงดงามอลงั การตามแบบของพระราชวงั อย่างหอ้ งโถงหิน (Stone Hall) หรือชไตนแ์ อรเ์ นอซาล (Steinerne Saal) เป็นหอ้ งแบบรอคโคโคท่ีสงู สามชั้น ผนังและเพดานตกแตง่ ดว้ ยภาพสตคั โคสีสนั สวยงาม ฝีมอื ศลิ ปินคนดงั อย่างโยฮนั แบบติสท์ ซิมเมอรม์ นั น์ (Johann Baptist Zimmermann) กบั ฟ รานซ์ ซิมเมอรม์ นั น์ (Franz Zimmermann) ภาพบนเพดานเป็นฉากในสวนตามจินตนาการ ส่วนการ ตกแตง่ ภายในเป็นฝีมอื ของฟรงั ซวั ส์ กวู ีลีส์ (François Cuvillés) ซึ่งไดช้ ่ือวา่ งดงามไม่แพท้ ่ีไหนเช่นกัน หลายหอ้ งยงั คงรูปแบบบารอคไว้ ในขณะท่ีอีกหลายหอ้ งก็มีการปรบั ปรุงใหมเ่ ป็นแบบรอคโคโคและนีโอ คลาสสคิ สวยไมส่ วยยงั ไงกค็ ดิ เอาแลว้ กนั วา่ ในปีๆ หน่ึงมีนักท่องเที่ยวยอมเสียเงินมาเขา้ ชมหอ้ งตา่ งๆ ภายในอาคารนีม้ ากกวา่ 3 แสนคนตอ่ ปี นอกจากตวั อาคารพระราชวงั หลกั แลว้ ยงั มพี ิพิธภณั ฑร์ ถมา้ (Marstallmuseum) บริเวณทิศใต้ ซ่งึ เช่ือมตอ่ กบั ตวั อาคารหลกั เลยจากประตทู ี่จะเดนิ ทะลไุ ปชมสวนเพียงนิดเดียว ท่ีน่ีจะจดั แสดงรถมา้ และรถเล่ือนแบบตา่ งๆ ท่ีกษัตริยแ์ ละขนุ นางเคยใชง้ าน มีหลายรูปแบบ และหากเปรยี บเทียบกนั แลว้ รถ มา้ ของพระเจา้ ลดุ วิกท่ี 2 จะงดงามอลงั การท่ีสดุ เพราะประดบั ตกแตง่ ดว้ ยสีทองทั้งคนั รวมทง้ั ลอ้ ดว้ ย พระเจา้ ลดุ วิกท่ี 2 ช่างมคี วามละเอียดออ่ นไหวไปเสียทกุ รายละเอียดเชียว หากเดินผา่ นประตทู ะลไุ ปทางดา้ นหลงั พระราชวงั จะเป็นพืน้ ท่ีของสวนขนาดใหญ่ที่ไม่แพ้ ดา้ นหนา้ สระนา้ํ ดา้ นหลงั ปราสาทเองกม็ ีขนาดใหญ่เช่นกนั และก็ไมไ่ ดเ้ ปิดนา้ํ พใุ หห้ นเู ลก็ เห็นเป็นขวญั ตา สวนนีแ้ ตเ่ ดิมจดั เป็นสวนสไตลอ์ ติ าเลียนขนาดไมใ่ หญ่นกั แตเ่ ม่ือครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 17 มีการปรบั ปรุง และขยายพืน้ ที่ออกเพิ่มเติมและออกแบบใหมโ่ ดยจดั เป็นแบบสวนฝร่งั เศสซงึ่ เป็นการจดั อยา่ งมีรูปแบบ

ชดั เจน เป็นทางการ ออกแบบโดยชารล์ คารบ์ อเน็ต (Charles Carbonet) ผเู้ คยทาํ งานร่วมกบั องั เดร เลอ โนรท์ ร์ (André Le Nôtre) ซ่ึงเป็นผอู้ อกแบบสวนของพระราชวงั แวรซ์ ายส์ สวนจะจดั ไวอ้ ย่างคอ่ นขา้ งเป็นระเบียบ โดยดา้ นในกจ็ ะจดั ทาํ เป็นคลองเพื่อการระบายนา้ํ ของ สวนไวเ้ ชน่ กนั จากพืน้ ที่ของสวนจะมอี าคารที่น่าสนใจอีก 2 แหง่ แห่งแรกคือ กระท่อมล่าสตั ว์ หรือ อะ มาเลียนบวรก์ (Amalienburg) สรา้ งระหวา่ งปี ค.ศ.1734 – 1739 โดย ฟรงั ซัวส์ กวู ีลีส์ (François Cuvillés) เป็นอาคารที่พระจักรพรรดิค์ ารล์ อลั เบรชท์ (Emperor Karl Albretch) สรา้ งใหร้ าชินีมารีอา อามาเลยี (Maria Amalia) ดา้ นในมคี วามสวยงามมากเพราะตกแตง่ แบบรอคโคโค และกระเบีอ้ งท่ีใช้ ภายในเป็นกระเบือ้ งเนือ้ ดหี ายากส่งั ตรงมาจากเนเธอรแ์ ลนดซ์ ง่ึ มีชื่อเรอื่ งกระเบือ้ ง ทาํ ใหส้ ถานท่ีนีท้ ี่แม้ จะเป็นเพียงกระทอ่ มลา่ สตั วก์ ด็ อู ลงั การเป็นพิเศษ โดยหอ้ งที่ไดร้ บั การกลา่ วขานวา่ งดงามมากคือ หอ้ งช ปีเกลซาล (Spiegelsaal) เป็นหอ้ งกระจกท่ีตกแต่งดว้ ยสีเงินท้ังหมด ส่วนห้องครัวก็จะมีจุดเด่นที่ กระเบือ้ งอย่างที่เลา่ ทาํ ใหห้ อ้ งนีจ้ ดั ไดว้ า่ เป็นผลงานรอคโคโคชนั้ เอกเลยทีเดยี ว เมื่อมองจากสวนปราสาท แมว้ า่ ปัจจบุ นั พระราชวงั นีมเฟนบรู กจ์ ะเปิดใหบ้ คุ คลท่วั ไปสามารถเขา้ ชมได้ แตใ่ นท่ีน่ีก็ยงั คงถอื เป็นสมบตั ิของตระกลู วิทเทลบาคสอ์ ยู่ หนเู ลก็ เดนิ ชมความงามแบบเรียบงา่ ยเฉพาะดา้ นนอก และส่วน ท่ีเป็นสวนเพียงลาํ พงั ทาํ ใหค้ วามคิดอดเตลิดไปไม่ไดว้ ่า สถานท่ีเหลา่ นีก้ ว่าจะงดงามถึงเพียงนี้ คงใช้ เงินจาํ นวนมหาศาล และเชน่ เดยี วกนั กค็ งผา่ นการใชแ้ รงงานที่มหาศาลเช่นกัน แสดงใหเ้ ห็นว่าอาํ นาจ และความย่ิงใหญ่ของกษัตริยใ์ นยคุ โบราณ มีอิทธิพลตอ่ วิถีชิวติ ของผคู้ นมากเพียงใด การจะแสดงออก ซึ่งพระราชอาํ นาจที่ครอบคลมุ แผข่ ยายออกไปท่วั สารทิศ จึงถกู ถ่ายทอดผา่ นทางสง่ิ ปลกู สรา้ งที่ปรากฏ ตอ่ สายตาในวนั สองวนั นี้ แมว้ ่าจะไม่ไดเ้ ขา้ ชมดา้ นใน แตห่ นูเล็กก็ใชเ้ วลาเดินชมความงามรอบๆ บริเวณนานพอควร สมาชิกทกุ คนคงรอการกลบั ไปแลว้ กระมงั แมจ้ ะอยากเดนิ เกบ็ รายละเอียดใหม้ ากกวา่ นี้ แตเ่ วลาสาํ หรบั ที่นี่คงหมดลงแลว้ และเวลาสาํ หรบั มิวนิคก็คงหมดลงเช่นกนั หนทางขา้ งหนา้ ยังอีกไกล ความงดงาม ของปลายทางและเสน่หบ์ นเสน้ ทางยงั รอคอยใหพ้ วกเราเดนิ ทางไปคน้ หาตอ่

ถา้ มเี วลาเหลือหนเู ลก็ เองก็อยากไปสถานที่เท่ียวนอกเมืองท่ีเขาวา่ ไมค่ วรพลาดทงั้ เรือ่ งกีฬาและ ศิลปะ ท่ีมวิ นิคยงั มีโอลิมเปียปารก์ (Olympia Park) ศนู ยก์ ีฬาขนาดใหญ่ท่ีใชใ้ นการจดั กีฬาโอลิมปิคฤดู รอ้ นเม่ือครง้ั มิวนิคเป็นเจา้ ภาพเมื่อปี ค.ศ.1972 ปัจจุบันชาวเมืองนิยมที่จะมาเดินเล่นและออกกาํ ลงั กายประเภทต่างๆ จดุ เด่นของที่น่ีก็คือ หอโทรคมนาคมความสงู ประมาณ 290 เมตร และสเตเดียมที่ สรา้ งแบบหลงั คาเตน็ ทม์ ีแทง่ สลิงเหลก็ ยึดแขวนแผน่ อะคริลิกโปรง่ แสง ลกั ษณะเหมือนใยแมงมมุ ขนาด ยกั ษท์ ่ีสามารถจคุ นดไู ดถ้ งึ 78,000 คน ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเยอรมนั กนุ เธอร์ เบหน์ ิสช์ (Günther Behnisch) สามารถขนึ้ ลฟิ ทไ์ ปชมววิ ไดบ้ นได้ อกี แหง่ คือสนามฟตุ บอลอลิอนั ซ์ อรีนา (Allianz Arena) ซ่ึงมีรูปรา่ งคลา้ ยๆ ยางรถยนต์ สรา้ ง ขนึ้ สาํ หรบั การแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลกเม่ือปี ค.ศ.2006 หลงั จากการแข่งขนั ไดก้ ลายเป็นสนามฟุตบอลของ ทีมฟุตบอลมิวนิค 2 ทีม ที่รูจ้ ักดีก็ตอ้ งบาเยิรน์ มิวนิค (FC Bayern München) กบั อีกทีมก็คือ 1860 มวิ นิค (TSV 1860 München) สนามแหง่ นีม้ ีจดุ เดน่ ตรงการเปิดไฟเป็นสญั ญาณบอกทีมท่ีลงแข่งในวนั นน้ั ยางรถยนตท์ ี่เราเหน็ ก็จะเปลีย่ นสไี ปตามท่ีเขาสง่ สญั ญาณ โดยวนั ท่ีบาเยิรน์ มิวนิคแขง่ จะเปิดไฟสี แดง วนั ที่ 1860 มิวนิค แขง่ จะเปิดไฟสฟี ้า แตถ่ า้ วนั ไหนทีมชาตลิ งแขง่ หรือทัง้ สองทีมมาพบกันก็จะเปิด ไฟสีขาว สว่ นศิลปะนนั้ มวิ นิคก็รุม่ รวยมากมาย มพี ิพิธภณั ฑศ์ ิลปะหลายแห่งท่ีหากมีเวลาก็ควรไปชม ซ่ึง กต็ อ้ งมเี วลาพอสมควร เพราะการไปชมศลิ ปะถา้ เป็นแบบก่งึ เดินกึ่งวิ่ง อรรถรสคงไมม่ ี อย่างนีไ้ ม่ไปและ อยเู่ ฉยๆ จะดีกวา่ เพราะจะทง้ั เหนื่อยและไมไ่ ดอ้ ะไรกลบั ออกมา การไม่ไดไ้ ปพิพิธภณั ฑศ์ ิลปะเป็นส่ิงที่ หนเู ลก็ เสียดายมาก ทาํ ใหค้ ดิ วา่ หากจะมามวิ นิคคงตอ้ งอยเู่ ป็นอาทิตยถ์ งึ จะเที่ยวไดห้ ลายแห่ง แตค่ งไม่ ถึงกับหมด ที่แรกก็ตอ้ งพิพิธภณั ฑศ์ ิลปะเดิม หรืออัลเทอะ พินาโกเตก (Alte Pinakothek) ถือเป็น พิพิธภณั ฑท์ ่ีเกา่ ท่ีสดุ แหง่ หน่ึงของโลก เกิดขนึ้ จากพระเจา้ ลดุ วิกที่ 1 ตอ้ งการใหม้ ีสิ่งก่อสรา้ งเพ่ือใชใ้ น การเกบ็ งานสะสมศลิ ปะของตระกลู วทิ เทลบาคสเ์ ม่ือปี ค.ศ.1826 เริ่มเปิดใชง้ านเม่ือปี ค.ศ.1836 การ ออกแบบในการกอ่ สรา้ งกเ็ พื่อจะใชใ้ นการแสดงผลงานชื่อ “การตดั สินครงั้ สดุ ทา้ ย” (Last Judgement) ของปีเตอร์ พอล รูเบนส์ (Peter Paul Rebens) ซ่ึงวาดเม่ือปี ค.ศ.1617 ซึ่งเป็นงานเขียนบนผา้ ใบผืน ใหญ่ที่สดุ ที่เคยเขยี นกนั มา สิ่งก่อสรา้ งนีถ้ ือเป็นสิ่งกอ่ สรา้ งสมยั ใหมแ่ ละเป็นแบบอยา่ งแก่หอศิลป์ ใหม่ๆ ที่กรุงโรม เซนตป์ ีเตอรส์ เบิรก์ บรสั เซลส์ และคาสเซิล ท่ีอลั เทอะ พินาโกเตก จะเป็นสถานท่ีที่รวมภาพวาดตง้ั แต่ ศตวรรษที่ 13 ถึงศตวรรษท่ี 18 กวา่ 800 ชิน้ โดยภาพเก่าๆ สว่ นใหญ่จะเนน้ เร่อื งศาสนา เพราะศลิ ปินทาํ งานรบั ใชศ้ าสนา นอกน้ันก็จะเป็น เรื่องราวเกี่ยวกบั เทพตา่ งๆ ของกรกี ตวั พิพิธภณั ฑไ์ ดร้ บั ความเสยี หายมากในระหวา่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 แตก่ ็ไดร้ บั การก่อสรา้ งใหม่และเปิดใหป้ ระชาชนเขา้ ชมไดอ้ ีกครง้ั ในปี ค.ศ.1950 แตก่ ็ใมไ่ ดต้ กแต่ง ภายในใหห้ รูหราดงั เดิม

ถดั ไปเป็นนอย พินาโกเตก (Neue Pinakothek) หรือพิพิธภณั ฑพ์ ินาโกเตกยุคใหม่ ตง้ั อย่ตู รง ขา้ มกบั อลั เทอะ พินาโกเตก ในภาษาเยอรมนั คาํ ว่า “Alt” แปลว่า เก่า ส่วน “Neu” แปลว่า ใหม่ ดงั นั้น ที่นี่จงึ เป็นภาคตอ่ ของอลั เทอะ พินาโกเตก จึงเป็นการรวบรวมภาพวาดและประติมากรรมยุโรปตงั้ แต่ ปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 18 – 19 ซึ่งว่ากนั ว่าเป็นยุคท่ีมีความเคลื่อนไหวทางศิลปะมากที่สดุ ยุคหนึ่ง ศิลปะยคุ นีจ้ ะเป็นแนวโรแมนติก (Romanticism) ภาพความจริง (Realism) ภาพจากความประทับใจ (Impressionism) รวมทงั้ การแสดงออกซง่ึ ความหมายหรือสญั ลกั ษณบ์ างอยา่ ง (Symbolism) ที่นอย พิ นาโกเตก นีเ้ ป็นสถานท่ีที่หนเู ลก็ อยากมาแวะมากท่ีสดุ เพราะที่น่ีจะมีภาพหนึ่งในชุดดอกทานตะวนั ทง้ั 6 ภาพของศิลปินชื่อดงั วินเซนต์ แวน โก๊ะ (Vincent Van Gogh) จดั แสดงไวด้ ว้ ย แตเ่ ดิมแวน โก๊ะ ตง้ั ใจ จะวาดภาพนีเ้ พื่อประดบั ฝาผนงั บา้ นสเี หลืองของตวั เอง จงึ วาดภาพใหม้ ีสีเหลืองเด่นและตดั กับสีเทอค วอยซ์ แตภ่ ายหลงั รูส้ กึ ประทบั ใจกบั ภาพท่ีสาํ เรจ็ ออกมามากจงึ ไดว้ าดเพิ่มเติมอีก 5 ภาพ เพ่ือจะไดแ้ ขวนไวใ้ นที่เดยี วกนั จะไดด้ งึ ดดู อารมณข์ องคนดไู ด้ อีกแห่งคือ พินาโกเตก เดียร์ โมเดอรเ์ นอร์ (Pinakothek der Moderne) ถือเป็นพิพิธภณั ฑ์ ศิลปะสมัยใหม่ที่ใหญ่ท่ีสดุ แห่งหน่ึงของโลก หรือศิลปะประเภทที่เรียกว่า คอนเทมโพรารีอาร์ต (Contemporary Art) เป็นศลิ ปะยคุ ปัจจบุ นั คือตง้ั แตค่ รสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 – 21 เปิดใหส้ าธารณะชนเขา้ ชมหลงั จากใชเ้ วลาก่อสรา้ งราวๆ 9 ปี ภายในไมเ่ พียงมีแตภ่ าพวาด ยงั มีรูปปั้นและผลงานในรูปแบบ มลั ติมีเดยี จดั แสดงดว้ ย หากจะแบง่ งา่ ยๆ กค็ ือ จะแบง่ ออกเป็น 3 สว่ น โดยส่วนใหญ่เป็นภาพวาด รอง ลงไปเป็นพวกโมเดลทางสถาปัตยกรรม และสดุ ทา้ ยคือส่วนของการออกแบบ งานท่ีโดดเดน่ เป็นของ ศลิ ปินช่ือกอ้ งท่ีคงพอคนุ้ ๆ หกู นั บา้ งอยา่ ง พาโบล ปิกสั โซ (Pablo Picasso) ใครอยากเห็นมาชมที่น่ีแลว้ จะไมผ่ ิดหวงั พิพิธภณั ฑ์ท่ีเหลือยังมีอีกหลายแห่งท่ีน่าสนใจ ไม่วา่ จะเป็นพิพิธภณั ฑ์แห่งชาติบาวาเรียน (Bayerisches Nationalmuseum) พิพิธภณั ฑป์ ระวตั ิศาสตรท์ างวฒั นธรรมและศิลปะที่ใหญ่ท่ีสดุ แห่ง หน่ึงของยโุ รป สรา้ งขึน้ ในปี ค.ศ.1894 – 1895 เป็นท่ีรวบรวมงานศิลปะท่ีสะสมไวข้ องตระกลู วิทเทล บาคส์ ซ่งึ พระเจา้ แมกซิมเิ ลยี นท่ี 2 ไดม้ อบใหไ้ วเ้ ป็นสมบตั ิของแผน่ ดินตงั้ แตป่ ี ค.ศ.1855 หรือพิพิธภณั ฑ์ เยอรมนั (Deutsches Museum) ไดช้ ่ือวา่ เป็นพิพิธภณั ฑท์ างเทคโนโลยีและวิทยาศาสตรท์ ี่ใหญ่ที่สดุ ใน โลกเพราะมผี ลงานท่ีเป็นโครงการวิจยั ดา้ นเทคโนโลยีและวิทยาศาสตรม์ ากกวา่ 28,000 โครงการ แบ่ง การแสดงออกเป็น 50 สาขาวิชา ในแตล่ ะปีจะมีนกั ท่องเที่ยวแวะมาเยี่ยมเยือนไม่นอ้ ยกว่า 1.5 ลา้ นคน ตอ่ ปี วา่ กนั วา่ อาจตอ้ งใชเ้ วลารว่ มอาทิตยก์ วา่ จะชมสว่ นตา่ งๆ ที่เขาใหช้ มไดห้ มด หรือพวกสนใจรถกต็ อ้ งไปที่น่ีเลย พิพิธภณั ฑเ์ บเอม็ เว (BMW Museum) ซึ่งสรา้ งขนึ้ ตง้ั แต่ตน้ ปี ค.ศ.1970 เจตนาจะสรา้ งขนึ้ เพื่อแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความกา้ วหนา้ ทางวศิ วกรรมของบริษัทผผู้ ลิต อีกเหตผุ ล หน่งึ กค็ อื การสรา้ งใหด้ ยู ิ่งใหญ่เทียบเคียงกบั เพื่อนบา้ นใกลเ้ คียงอย่างโอลิมเปียปารค์ (Olympiapark) คนรกั รถยี่หอ้ นีไ้ มค่ วรพลาด รถยนตย์ ี่หอ้ เบเอม็ เว หรือท่ีเรียกกนั ในบา้ นเราวา่ บีเอม็ ดบั บลิว มีถ่ินกาํ เนิด

มาจากแควน้ บาวาเรีย ชื่อเตม็ ๆ ในภาษาเยอรมันก็คือ Bauerische Motoren Werke หรือ Bavaria Motor Works น่นั เอง พิพิธภณั ฑน์ ีส้ รา้ งขนึ้ เมอื่ ปี ค.ศ.1972 อยใู่ กลก้ บั ตวั อาคารสาํ นกั งานท่ีเป็นรูปรา่ ง กระบอกสบู รถยนต์ สรา้ งขนึ้ ใกลเ้ คียงกนั กบั การเปิดมหกรรมแขง่ ขนั กีฬาโอลิมปิคท่ีมิวนิคเป็นเจา้ ภาพ จดั แสดงประวัติความเป็นมาของการดีไซนร์ ถ การผลิต การประกอบ ตลอดจนการผลิตเครื่องยนต์ สาํ หรบั เครือ่ งบิน และมอเตอรไ์ ซค์ จดั แสดงตง้ั แตอ่ ดตี ถงึ ปัจจบุ ัน ในช่วงปี ค.ศ.2004 – 2008 ทาํ ใหท้ ่ีนี่ ไม่ใช่พิพิธภณั ฑส์ าํ หรบั ขอ้ มูลทางเทคนิค หากแต่เป็นการสะทอ้ นให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่เกี่ยวขอ้ งกับ วฒั นธรรม สงั คม เศรษฐกิจ ผา่ นทางสิ่งท่ีจดั แสดง ที่น่ีไดม้ ีการปิดปรบั ปรุงและเปิดโฉมใหมอ่ วดสายตา ชาวโลกเมือ่ วนั ที่ 21 มิถนุ ายน 2008 นอกจากจะโดดเดน่ ที่โครงสรา้ งและรูปแบบของสถาปัตยกรรมการ ก่อสรา้ ง ที่เหมือนชามสลดั เรยี งสงู ตอ่ ๆ กนั ซึ่งออกแบบโดย คารล์ ชวานเซอร์ (Karl Schwanzer) ชาว ออสเตรยี แลว้ ส่งิ ท่ีจดั แสดงภายในกไ็ ดร้ บั ความสนใจจากนกั ท่องเท่ียวไมด่ อ้ ยไปกวา่ พิพิธภณั ฑอ์ ื่นๆ โล โกข้ องเบเอม็ เว ซึง่ มลี กั ษณะเป็นวงแหวนสีดาํ พรอ้ มตวั อกั ษรบีเอ็มดบั บลิวสีขาวลอ้ มรอบพืน้ ที่วงกลม ซ่ึงแบ่งออกเป็นสี่สว่ น เป็นสีขาวสองสว่ น และสฟี ้าสองสว่ น จาํ ลองมาจากลกั ษณะการหมนุ ของใบพัด เครอื่ งบิน เน่ืองจากกอ่ นจะมาผลติ รถยนตแ์ ละจกั รยานยนต์ ไดเ้ คยผลิตเครื่องบินมากอ่ น สว่ นสีฟ้าและ ขาวก็เป็นสสี ญั ลกั ณป์ ระจาํ แควน้ บาวาเรยี อนั เป็นที่ตง้ั ของบริษัทน่นั เอง และพิพิธภณั ฑอ์ กี แหง่ ที่ควรไปกค็ ือ ออคโตเบอรเ์ ฟสท์ มเู ซอมุ้ (Oktoberfest Museum) ซงึ่ เป็น พิพิธภณั ฑท์ ่ีจดั แสดงเรื่องราวเกี่ยวกบั การผลติ เบียรแ์ ตล่ ะชนิด เนื่องจากมิวนิคไดช้ ื่อว่าเป็นเมืองหลวง แหง่ การผลติ เบียร์ ตวั อาคารกม็ ีความโดดเดน่ เพราะสรา้ งมาตง้ั แตป่ ี ค.ศ.1327 สรา้ งดว้ ยอิฐโรมนั ขนาด ใหญ่ทงั้ หมด ลอ้ มรอบดว้ ยกาํ แพงหนา ตกแตง่ ดว้ ยภาพเขยี นสที ี่ไดร้ บั การอนรุ กั ษ์ไวเ้ ป็นอย่างดี ภายใน จดั แสดงนิทรรศการการผลติ เบียรต์ ง้ั แตส่ มยั อียิปตโ์ บราณ จนมาถึงการนาํ เบียรม์ าเผยแพร่ในยโุ รปจน วนั หน่ึงไดก้ ลายมาเป็นเครื่องด่ืมประจาํ ชาติของเยอรมนี โดยไดจ้ ัดแสดงขน้ั ตอนการผลิตเบียรข์ อง มิวนิค ซ่ึงมีหลากหลายรสชาติไม่เหมือนเมืองอื่นๆ สว่ นประวตั ิของเทศกาลออคโตเบอรเ์ ฟสทจ์ ะจัด แสดงไวท้ ่ีชน้ั 4 ซ่ึงไดแ้ สดงประวตั ไิ วว้ า่ เทศกาลนีเ้ กิดขนึ้ เนื่องจากเม่ือปี ค.ศ.1810 พระเจา้ แมกซิมิเลยี น ที่ 1 ไดจ้ ดั งานฉลองพิธีอภิเษกสมรสของพระโอรส ซ่ึงตอ่ มาก็คอื พระเจา้ ลดุ วกิ ที่ 1 ขนึ้ อย่างยิ่งใหญ่ โดย ประกาศใหม้ ีการหยดุ งานตดิ ตอ่ กนั ถึง 16 วนั และเรียกงานนีว้ ่า ออคโตเบอรเ์ ฟสท์ จากนนั้ เป็นตน้ มา ชาวบาวาเรยี ก็ถือปฏบิ ตั ใิ นการจดั งานเทศกาลนีม้ าจนปัจจบุ นั ดงั นน้ั ในช่วงปลายเดือนกนั ยายนถึงตน้ เดอื นตลุ าคมหรือประมาณ 2 สปั ดาห์ ทางมวิ นิคก็จะจดั เทศกาลรนื่ เริงนีเ้ พ่ือตอ้ นรบั นกั ท่องเที่ยวท่วั โลก โดยนาํ เบียรจ์ ากโรงกล่นั ในมิวนิคทงั้ หมด 7 แหง่ มาใหล้ ิม้ ชิมรส และด่ืมกนั อย่างตอ่ เน่ืองไปเชน่ นีจ้ นครบ 16 วนั ซึ่งในช่วงของเทศกาลนีม้ ิวนิคจะคราคร่าํ ไปดว้ ยนกั ด่ืมทง้ั ภายในประเทศและท่ีมาจากท่วั โลก และนกั ท่องเที่ยวท่ีอยากลิม้ รสเบียรแ์ ละงานรื่นเริงเฉลิมฉลองแบบนีส้ กั ครงั้ หนึ่งในชีวิต โรงแรมที่พัก ตา่ งๆ จะถกู จองจนเตม็ ในขณะเดยี วกนั ราคาก็จะถีบขนึ้ สงู จนนา่ ตกใจ ในงานซง่ึ นอกจะมีเบียรส์ ารพดั ชนิดจาํ หนา่ ยแลว้ ยงั มกี ารออกรา้ นขายอาหารนานาชนิด และมีการแสดงพืน้ เมืองผลดั เปล่ียนใหช้ ม คน

เยอรมนั จะสนกุ สนานกบั เทศกาลนีม้ ากเพราะถือวา่ เป็นงานฉลองการสิน้ สดุ ฤดรู อ้ น ตอ้ นรบั ฤดใู บไมร้ ว่ ง และฤดหู นาวที่กาํ ลงั จะเดนิ ทางมาถงึ ภายหลงั เทศกาลนี้ จริงๆ มิวนิคยงั มีสถานที่ใหไ้ ปอีกหลายแหง่ แตใ่ นเมื่อเวลาของเราหมดลง การเดินทางครง้ั ใหม่ ก็เริ่มตน้ ขึน้ อีกครัง้ การเดินทางวันนีค้ งใช้เวลาไม่มากนัก เพราะเป็นการแวะพักระหว่างทาง โดย ปลายทางของวนั นีอ้ ย่ทู ่ีเมอื งเรเกนสบ์ วรก์ (Regensburg) ซ่งึ หนเู ลก็ ไดจ้ ดั การจองที่พักเอาไวเ้ รียบรอ้ ย แลว้ เหมอื นเดิม เมอื่ ใหน้ อ้ งจีคน้ หาเสน้ ทาง คาํ นวณระยะทางและระยะเวลาแลว้ ปรากฏวา่ ระยะทาง จากมวิ นิคเพ่ือไปยงั เรเกนสบ์ วรก์ ระยะทางประมาณ 124 กิโลเมตร ใชเ้ วลาประมาณช่วั โมงครึ่ง ถือวา่ สบายๆ ไมเ่ รง่ รอ้ นเกินไปนัก หนูเล็กพาพวกเราออกจากมิวนิคโดยใชอ้ อโตบ้ าหน์ สาย A9 วิ่งไปเร่ือยๆ จนถึงป้ายบอกทางออกที่ 65 จะเป็นทางแยกขวาเขา้ สถู่ นนสาย A93 ซ่ึงจะมีป้ายช่ือเมืองเรเกนสบ์ วรก์ ใหเ้ ห็น จากนน้ั นอ้ งจีก็ใหข้ ับตรงไปเรื่อยๆ อีกรว่ ม 70 กิโลเมตร จึงใหใ้ ชท้ างออกท่ี 39 เพ่ือตัดเขา้ สู่ ถนนแฟรงเคน (Frankenstraße) หรอื สาย B8 วิง่ ไปเพียงแค่ 3 กิโลเมตรกเ็ ลีย้ วซา้ ยเขา้ ส่ถู นนนอรด์ เกา (Nordgaustraße) หรือ B15 จนกระท่ังถึงส่ีแยกใหญ่ น้องจีก็ให้เราเลีย้ วซ้ายไปยังถนนโดเนา (Donaustraße) เลีย้ วไปเพียงนิดเดยี วก็จะเหน็ วา่ อโบเทล โฮเตล็ (Abotel Hotel) ท่ีพกั ท่ีจองไวอ้ ย่ตู รง ซา้ ยมอื นีเ้ อง นี่คงเป็นครง้ั แรกกระมงั ที่หาท่ีพกั ไดง้ ่ายขนาดนี้ ปัญหาของการมาถึงท่ีพกั เร็วเป็นครง้ั แรกของ เราก็คอื เรายงั ไมส่ ามารถเช็คอินเขา้ ท่ีพกั ได้ ก็เขาแจง้ ไวแ้ ลว้ วา่ จะสามารถเช็คอินไดก้ ็ตอ้ งบ่ายสองโมง ไปแลว้ พี่ใหญ่จดั ไดว้ า่ ตาไวสดุ เพราะท่ีมมุ ทแยงกบั ที่พกั มอี าคารขนาดใหญ่ที่มองกันปราดเดียวก็เดา กนั ไดเ้ ลยวา่ มนั ตอ้ งเป็นหา้ งสรรพสินคา้ แน่นอน ซ่งึ ทาํ ใหพ้ วกเราคกึ คกั กนั ขนึ้ มาทนั ที หลายวนั ท่ีผา่ นมา เราเท่ียวกนั แตเ่ มืองเก่า โบสถ์ วิหาร พวกหา้ งสรรพสินคา้ ใหญ่ๆ ไม่มีใหเ้ ห็นเอาเลย เพราะเขาวางผงั เมอื งไวด้ ี พวกหา้ งใหญ่ๆ ลว้ นถกู กนั ออกไปอย่นู อกเมอื งทงั้ นน้ั บางทีก็นึกอยากเดินดขู า้ วของตามหา้ ง กนั บา้ ง กค็ งไดม้ โี อกาสกค็ รง้ั นีล้ ะ วา่ แลว้ ทกุ คนก็รีบขนึ้ รถ หนเู ลก็ เองก็รีบพาพ่ีดีท้ ะยานออกไปในทนั ที ไปเดนิ เลน่ สกั ช่วั โมง สองช่วั โมงเปิดหเู ปิดตากด็ ีเหมอื นกนั หนเู ลก็ เอาพี่ดีข้ นึ้ ไปจอดท่ีลานจอดรถดา้ นบน โดยไมล่ มื เกาะกระแสชาวเยอรมนั ในการจอดรถ หากใครเคยไปเยอรมนั อาจจะเคยเหน็ แตค่ นที่ไมเ่ คยไปหนเู ลก็ จะเลา่ ใหฟ้ ังวา่ หลายวนั ท่ีผา่ นมา พวก เราสงั เกตกนั วา่ ในการจอดรถของชาวเยอรมนั นิยมที่จะเอาหนา้ รถเขา้ ที่จอดเลย ซึ่งจะแตกต่างจากที่ เคยเหน็ ในเมืองไทยท่ีมกั จะนิยมถอยเขา้ ท่ีจอดเอาหนา้ รถออกพรอ้ มจะขบั ออกไดท้ นั ที เท่านนั้ ยังไม่พอ รถแทบทกุ คนั ที่เลยี้ วเขา้ จอด จะลอ้ บิดลอ้ เบีย้ วอย่างไร กจ็ ะไมค่ นื พวงมาลยั กลบั ใหล้ อ้ ตรง พวกเราเห็น กนั แลว้ พากนั ขาํ ๆ ทกุ ครง้ั คงเป็นเพราะไมช่ ินตา แลว้ มีความเหน็ กนั วา่ ถา้ อย่เู มืองไทยกค็ งจดั เป็นพวกไม่ คอ่ ยมีมารยาทในการจอด เพราะไมร่ ูจ้ ะรบี อะไรนกั หนาจึงไดไ้ มค่ นื พวงมาลยั ใหล้ อ้ กลบั มาตรงเสียก่อน จะจากไป แตค่ ราวนีต้ อ้ งขอยดึ หลกั “เขา้ เมืองตาหลิว่ ตอ้ งหลวิ่ ตาตาม” กบั เขาบา้ ง เห็นเขา้ หลายๆ วนั ก็เลยขอทาํ เลียนแบบเขาบา้ ง เพราะลองทาํ อย่คู รง้ั สองครง้ั กเ็ ห็นดีไปดว้ ย เพราะเวลาจอดกร็ วดเรว็ ดี ไม่

ตอ้ งใหใ้ ครคอยนาน ถอยเขา้ ออกอย่นู ่นั แลว้ แลว้ เวลาจะเอารถกลบั ออกไป ก็ถอยออกง่ายดี เพราะลอ้ มนั พรอ้ มถอยอย่แู ลว้ การจอดรถสไตลย์ โุ รป ตอ้ งลอ้ บิดเลก็ นอ้ ยเพื่อความปลอดภยั หา้ งสรรพสินคา้ ที่น่ีมีรา้ นใหญ่ๆ หลายรา้ น อย่างรา้ นที่ขนึ้ ช่ือว่าราคาแพงสดุ ยอดอย่างเคาฟ ฮอฟ กลั เลอเรยี (kaufhof galleria) ท่ีขายของสวยๆ หรูๆ มากมาย รูปแบบการจดั รา้ นอารมณป์ ระมาณ หา้ งเซน็ ทรลั บา้ นเรา หรอื รา้ นมึลเลอร์ (Müller) ท่ีขายพวกสินคา้ เครื่องสาํ อาง นา้ํ หอม และขนมต่างๆ มากมายท่ีทาํ เอาพวกเราเดินวนเวยี นอยใู่ นนีก้ นั นานพอดู นอกจากนีย้ งั มีรา้ นเรโน (Reno) ท่ีขายสินคา้ พวกกระเป๋ าและรองเทา้ และ เอ เซ็นเตอร์ (E Center) ที่ค่อนขา้ งถกู ใจเรามาก เพราะขายของแบบ ซปุ เปอรม์ ารเ์ ก็ตที่มขี องกินหลากหลาย มีผกั ผลไมม้ ากมาย ของสดของแหง้ ขนม นม เนย ละลานตา หนา้ ตานา่ กินทั้งนน้ั ถา้ จะใหน้ ึกภาพรูปแบบของการจดั รา้ นก็คงเหมือนกับที่กูรเ์ มท์ มารเ์ ก็ตของหา้ ง ใหญ่ๆ บา้ นเราน่นั ละ เลน่ เอาพวกเราใชเ้ วลาเกินกวา่ ที่ตงั้ ใจไวก้ วา่ จะออกจากหา้ งกลบั ไปยงั ที่พกั

อโบเทล โฮเตล็ จดั ไดว้ า่ เป็นท่ีพกั ที่คอ่ นขา้ งสะดวกสาํ หรบั ผมู้ ีรถเพราะอยู่ชิดติดถนนสายหลกั และมีที่จอดรถสะดวกสบายหายหว่ ง ไมต่ อ้ งปีนป่ ายไปหาหรอื เสียคา่ ท่ีจอด แตต่ วั ท่ีพกั อาจจะลาํ บากไป สกั หน่อยสาํ หรบั การแบกกระเป๋ าขนึ้ – ลง เพราะที่พกั อย่ทู ี่ชนั้ สองและไม่มีลิฟท์ แต่อย่างหอ้ งท่ีหนูเล็ก จองไปซ่ึงเป็นห้องสาํ หรับส่ีคน ที่นอนค่อนขา้ งสะดวกสบาย สะอาดสะอา้ น มีหอ้ งนา้ํ ในตัว และมี โทรทัศนเ์ คร่ืองเล็กๆ เพื่อความบันเทิง เขามีหอ้ งไวบ้ ริการจาํ นวนมากพอสมควร มีทง้ั สาํ หรบั สองคน สามคน ส่คี น มหี อ้ งอาหาร มนี อกชานใหอ้ อกไปตากอากาศเย็นๆ สาํ หรบั พวกตอ้ งการพืน้ ที่สบู บุหร่ี มี บรกิ ารอาหารเชา้ หากตอ้ งการ คณุ ลงุ ตวั กลมเจา้ ของดแู ลกิจการรว่ มกันกับภรรยา พูดจาสภุ าพ และ พรอ้ มท่ีจะช่วยเหลือทกุ อย่าง คณุ ลงุ แนะนาํ ใหเ้ ราไปเท่ียวตวั เมืองเก่าเพราะมีสิ่งสวยๆ งามๆ มากมาย ที่สาํ คญั ก็คือหากคณุ ลงุ ไมบ่ อกก็คงไมร่ ูห้ รอกวา่ เรเกนสบ์ วรก์ เป็นเมืองหน่ึงที่ไดร้ บั การจดทะเบียนให้ เป็นมรดกโลกเช่นกนั เพราะตวั เมอื งเกา่ ถือเป็นมรดกตกทอดมาจากยคุ กลางท่ียงั คงความสมบรู ณม์ าก น่นั ทาํ ใหพ้ วกเราคอ่ นขา้ งจะเสยี ใจตรงที่เราหาขอ้ มลู ของเมืองนีม้ านอ้ ยมาก เพราะคิดวา่ เราเพียงแคม่ า พาํ นกั ในฐานะเมืองทางผ่าน มารูเ้ อาตอนนีก้ ็คงแกไ้ ขอะไรไดย้ ากแลว้ แตก่ ็คงจะไมพ่ ลาดการไปชม มรดกความงามของเรเกนสบ์ วรก์ ในเชา้ วนั พรุง่

ทางขนึ้ สหู่ อ้ งพกั สว่ นตอ้ นรบั และเช็คอิน หอ้ งพกั ของเราทงั้ สใี่ นคนื นี้ สว่ นของที่น่งั รบั ประทานอาหารทงั้ indoor และ outdoor

ดงั นนั้ คนื นีห้ นเู ลก็ จึงถอื โอกาสท่ีพวกเราไมเ่ หน่ือยมากนกั ในการเดนิ ทางในวนั นี้ ใชเ้ วลาในการ คน้ หาขอ้ มลู ของเรเกนสบ์ วรก์ เพ่ิมขนึ้ จากหนงั สือท่องเท่ียวตา่ งๆ เท่าท่ีพอหาได้ ทาํ ใหไ้ ดค้ วามรูเ้ พ่ิมเติม เกี่ยวกบั เรเกนสบ์ วรก์ มากขนึ้ ซ่งึ ก็คงจะชว่ ยใหเ้ ราสามารถทาํ ความรูจ้ ักกบั ท่ีนี่ไดง้ ่ายและรวดเร็วขนึ้ ใน วนั พรุง่ นี้ เรเกนสบ์ วรก์ (Regensburg) เป็นเมืองท่ีมแี มน่ า้ํ โดเนา (Donau) หรอื แมน่ า้ํ ดานบู และแมน่ า้ํ เร เกน (Regen) ไหลผา่ น เมอื งนีม้ ีประวตั ิวา่ พวกเซลตกิ (Celtic) มาตง้ั รกรากอาศยั อย่ทู ี่พืน้ ที่ใกลเ้ คียงตวั เมืองปัจจบุ ันตงั้ แต่สมยั ยุคหิน (Stone Age) หรือกว่า 2,000 ปีมาแลว้ จากนัน้ พวกโรมนั ก็เขา้ มายึด ครองและตง้ั ที่ม่นั ทางทหารในช่ือวา่ คาสตรา เรจินา (Castra Regina) ซง่ึ ก็คือป้อมปราการบนแมน่ า้ํ เรเกนน่นั เอง (Fortress by the river Regen) ถือเป็นฐานที่ม่นั ท่ีสาํ คญั ทางดา้ นเหนือของแม่นา้ํ โดเนา จากนน้ั เรเกนสบ์ วรก์ ก็ไดค้ อ่ ยๆ กลายเป็นศนู ยก์ ลางทางคริสตศ์ าสนามาตงั้ แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 6 หรือ ตงั้ แตย่ คุ กลาง การพฒั นาการทางสงั คมและเศรษฐกิจเป็นไปอย่างรวดเร็ว อาจเป็นเพราะเป็นเมืองที่มี แมน่ า้ํ โดเนาไหลผ่าน จึงกลายเป็นศนู ยก์ ลางทางการคา้ อย่างรวดเรว็ กว่าเมืองอื่นที่ตงั้ อย่หู ่างออกไป ในช่วงสงครามโลกครง้ั ที่ 2 นบั เป็นโชคดที ่ีเรเกนสบ์ วรก์ ไดร้ บั ความเสียหายเพียงเล็กนอ้ ย สิ่งปลกู สรา้ ง ตา่ งๆ จงึ คอ่ นขา้ งยงั คงความสมบรู ณอ์ ยมู่ าก มีเพียงสว่ นนอ้ ยท่ีไดร้ บั ความเสียหายและยงั คงหลงเหลือ รอ่ งรอยเหลา่ นนั้ ไวใ้ หเ้ ห็น สถานท่ีท่ีถกู ทาํ ลายเสียหายมากท่ีสดุ ก็คือโบสถโ์ รมาเนสกท์ ี่ชื่อ โอเบอรม์ นึ สเตอร์ (Obermünster) ซ่ึงถูกเครื่องบินทิง้ ระเบิดทาํ ลายลงในเดือนมีนาคม ค.ศ.1945 และไม่มีการ บรู ณะขนึ้ ใหม่ หลงั สงครามเศรษฐกิจของเรเกนสบ์ วรก์ มีการพัฒนาไปอย่างชา้ ๆ น่นั เป็นเพราะสิ่งปลกู สรา้ งเก่าๆ ไม่ไดถ้ กู ทาํ ลายลง ดงั น้ัน จึงไม่มีความจาํ เป็นเร่งด่วนที่จะตอ้ งทาํ การบูรณะใหฟ้ ื้นกลบั สู่ สภาพเดมิ เชน่ เดียวกบั เมืองอ่นื ๆ และในขณะเดยี วกนั ก็เพราะความสมบรู ณท์ ี่ยงั คงอยู่ เรเกนสบ์ วรก์ จึง กลายเป็นอกี เมืองหน่ึงของเยอรมนีที่ไดร้ บั การจดทะเบียนใหเ้ ป็นมรดกโลก สิ่งปลกู สรา้ งที่เขาบอกว่าไม่ควรพลาดสาํ หรบั การเที่ยวชม อนั ดบั แรกก็ตอ้ งโดม ซังค์ ปีเตอร์ (Dom St.Peter) ซ่ึงเป็นมหาวิหาร (Cathedral) ศิลปะโกธิค เร่ิมก่อสรา้ งเมื่อปี ค.ศ.1275 จากนนั้ ก็ คอ่ ยๆ กอ่ สรา้ งและตกแตง่ ภายในมาเร่ือยๆ มาแลว้ เสรจ็ ใหส้ ามารถใชง้ านไดก้ ็ประมาณปี ค.ศ.1520 ขณะเดียวกันก็มีการก่อสรา้ งเพ่ิมเติมในสว่ นตา่ งๆ ต่อมาเร่ือยๆ จนกระท่ังในระหวา่ งปี ค.ศ.1828 – 1841 พระเจา้ ลดุ วกิ ที่ 1 ไดม้ ีการบรู ณะเป็นศลิ ปะนีโอโกธิค สว่ นท่ีเป็นหอคอยความสงู 105 เมตร พระ เจา้ ลดุ วิกที่ 1 ไดใ้ หส้ รา้ งเพิ่มเติมเม่ือปี ค.ศ.1859 และมาแลว้ เสรจ็ เม่ือปี ค.ศ.1869 หากจะนับดแู ลว้ กวา่ ที่มหาวิหารแห่งนี้จะแลว้ เสร็จใชเ้ วลาเกือบๆ 600 ปี สถานที่แห่งนีน้ อกจากจะเป็นศูนยร์ วมทาง จิตใจของชาวเมอื งแลว้ ยงั เป็นแลนดม์ ารก์ สาํ คญั ของเมืองอีกดว้ ย ภายในเตม็ ไปดว้ ยผลงานทางศิลปะ มากมาย อกี ทง้ั ดา้ นในยงั มีกระจกสที ่ีเป็นผลงานมาจากคริสตศ์ ตวรรษที่ 13 – 14 อีกแห่งก็คือสะพานหิน (Steinerne Brücke) สะพานขา้ มแม่นา้ํ โดเนา ใชเ้ วลาสรา้ งระหว่างปี ค.ศ.1135 – 1146 เป็นตวั อยา่ งของสะพานจากยคุ กลางที่ยงั คงมีใหพ้ บเห็น และสดุ ทา้ ยก็คือคลงั เก็บ

เกลือ (Salzstadel) ซ่งึ สรา้ งขนึ้ ในปี ค.ศ.1616 ทาํ ใหเ้ ป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรอ์ ย่างหน่ึงเกี่ยวกับ เสน้ ทางขนสง่ เกลอื ของยคุ กลางท่ีมาเกี่ยวพนั กบั เมอื งนี้ เม่ืออา่ นขอ้ มลู ของเรเกนสบ์ วรก์ จบลง เราทาํ สญั ญาใจกันไวแ้ ลว้ ว่า เราจะไมพ่ ลาดที่จะไปชม ความเป็นมรดกโลกของเรเกนสบ์ วรก์ เป็นแน่ ดงั นั้น ทุกคนจึงพากนั แยกยา้ ยเขา้ นอนโดยเร็ว เพื่อที่วนั พรุง่ นี้ เราจะไดไ้ ปชม “มรดกโลก” แหง่ นีก้ นั แบบเตม็ ๆ สองตา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook