Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พันธุ์ปลาแม่น้ำโขง ปลามีเกล็ด

พันธุ์ปลาแม่น้ำโขง ปลามีเกล็ด

Published by aquarium2550fish, 2020-05-27 23:45:44

Description: พันธุ์ปลาแม่น้ำโขง ปลามีเกล็ด

Search

Read the Text Version

หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ปลามีเกล็ด (Scaly fish) แหล่งเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม

คานา ปลามีเกล็ดที่อาศัยอยู่ในแม่น้าโขงนั้น มีมากมายหลากหลายชนิดทั้งนิยม น้ามาเป็นอาหาร น้ามาล้ียงเพื่อความสวยงามและศิริมงคล แม่น้าโขงมี ความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาหารท่ีส้าคัญที่สุดแห่งหน่ึงของโลก รองจาก ลุ่มน้าอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ มีพันธุ์ปลาท่ีส้ารวจพบมากกว่าพันชนิด และยังมี การค้นพบสัตว์นา้ ชนิดใหม่เพ่มิ ขนึ้ ตลอดเวลา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม จึงได้จัดท้าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เล่มน้ีเพื่อรวบรวมข้อมูลพันธ์ุปลาท่ีมีเกล็ดในแม่น้าโขง ให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปผู้ท่ีสนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้ถึงชีววิทยาและความส้าคัญของพันธ์ุปลา ในแมน่ ้าโขง เพื่อเปน็ ตวั อย่างและเปน็ ข้อมูลส้าหรับการศกึ ษาตอ่ ไป ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษานครพนม ก

สารบัญ เรื่อง หนา้ คำนำ ก สำรบัญ ข ปลำตองลำย 1 ปลำสะตอื 2 ปลำกรำย 3 ปลำฉลำด 4 ปลำตะโกก 5 ปลำตะเพียนขำว 6 ปลำตะเพียนทอง 7 ปลำปำกเปี่ยน 8 ปลำไน 9 ปลำแก้มชำ 10 ปลำนวลจนั ทร์นำจืด 11 ปลำชะโด 12 ปลำกระโห้ 13 ปลำยส่ี กไทย 14 ปลำกระแห 15 ปลำหวำ้ หน้ำนอ 16 ปลำกำดำ 17 ปลำบู่ 18 ปลำเสือตอลำยใหญ่ 19 ปลำสร้อยขำว 20 คณะผู้จดั ทำ ค เอกสำรอ้ำงองิ งข

ปลาตองลาย • ชื่อภาษาไทย : ปลาตองลาย • ช่ือสามัญภาษาองั กฤษ : Royal knifefish , Indochina featherback • ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Chitala blanci (D’Aubenton, 1965) • ช่อื ทอ้ งถนิ่ : ปลาตองเสือ • ถนิ่ อาศัย : พบในแมน่ ้าโขงเป็นแหลง่ น้าแหล่งเดยี ว • ลักษณะท่ัวไป : เป็นปลาที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ล้าตัวด้านข้างแบนมาก เกล็ดละเอียด ครีบหลังและครีบหูมีขนาดไล่เล่ียกัน ครีบท้องขนาดเล็กมาก ครีบก้นยาว เชื่อมติดกับครีบหาง ปลาตองลายจะใช้ครีบก้นในการเคลื่อนไหว กล้ามเน้ือบริเวณน้ีจึงมีขนาดใหญ่หนามีเน้ือมาก ชาวบ้านเรียกว่า \"เชิงปลา\" ล้าตัวสีขาวเงิน มีแถบสีด้าพาดเฉียงจากส่วนบนของล้าตัวเลยไปถึงครีบหาง และครีบก้น บริเวณหน้าล้าตัวเป็นจุดสีด้า ขนาดปานกลางกระจายอยู่ ประปรายตามบรเิ วณขา้ งลา้ ตวั • อาหาร : กงุ้ ปลา และสัตวน์ ้าขนาดเล็ก • ขนาด : ความยาวประมาณ 30-60 เซนติเมตร พบขนาดใหญท่ ่สี ุดมีขนาด 100 เซนติเมตร • สถานภาพ : ใกลส้ ญู พันธ์ุ 1 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครพนม 

ปลาสะตือ • ชือ่ ภาษาไทย : ปลาสะตือ • ชอ่ื สามญั ภาษาองั กฤษ : Giant featherback • ช่ือวิทยาศาสตร์ : Chitala lopis • ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ : ปลาสะตือ • ถิ่นอาศยั : พบในแม่นา้ โขง แมน่ ้าตาปี พบน้อยทแ่ี มน่ ้าเจ้าพระยา • ลักษณะท่ัวไป : มีรูปร่างคล้ายปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ท่ัวไป แต่มีท้ายทอยเว้าลึก ล้าตัวมีเกล็ดละเอียดกว่า โคนครีบอกมีแต้มคล้า และข้าง ลา้ ตวั มีจุดประสีคล้าเล็ก ๆ อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) • อาหาร : กงุ้ ปลา และสตั ว์น้าขนาดเล็ก • ขนาด : ความยาวประมาณ 30-60 เซนตเิ มตร พบขนาดใหญ่ทีส่ ดุ มขี นาด 100 เซนตเิ มตร • สถานภาพ : ใกลส้ ูญพนั ธุ์ 2 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

• ชอ่ื ภาษาไทย : ปลากราย ปลากราย • ชอ่ื สามัญ : Spotted knifefish,Clown featherback (FAO) • ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Chitala ornata • ช่ือท้องถ่ิน : \"ปลาหางแพน\" ในภาษากลาง \"ปลาตอง\" ในภาษาอีสาน \"ปลาตองดาว\" ในภาษาเหนอื • ถ่ินอาศยั : พบในแหลง่ นา้ ท้งั แหล่งน้านง่ิ และแม่น้าทั่วประเทศไทย • ลักษณะท่ัวไป : มีปากกว้างมาก มุมปากอยู่เลยขอบหลังลูกตา ในตัวเต็มวัย ส่วนหน้าผากจะหักโค้ง ส่วนหลังโก่งสูง ในปลาวัยอ่อนมีสีเป็นลายเสือ คล้ายปลาสลาด แต่จะเปล่ียนเป็นสีเทาเงิน และมีจุดกลมใหญ่สีด้าขอบขาว ที่ฐานครีบก้นตั้งแต่ 3-20 ดวง มักอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีกิ่งไม้ใต้น้าหรือพืชน้า ค่อนข้างหนาแน่น อยู่รวมกันเปน็ ฝงู เล็ก • ขนาด : โดยเฉลี่ย 60 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุดที่พบคือ 1 เมตร น้าหนักได้ถึง 15 กิโลกรมั • อาหาร : ปลาและสตั วน์ ้าขนาดเลก็ • สถานภาพ : ใกลส้ ญู พันธุ์ 3 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม 

• ชอื่ ภาษาไทย : ปลาฉลาด ปลาฉลาด • ชอ่ื สามญั : GREY FEATHER BACK • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Notopterus notopterus • ช่ือทอ้ งถน่ิ : ตองแหนบ ,ฉลาด หรอื ตองนา • ถ่ินอาศัย : พบในแม่น้าและแหล่งน้าน่ิงท่ัวประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ ท่ีภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะสุมาตราและชวาหรือ บอร์เนียว • ลักษณะทั่วไป : เป็นปลาน้าจดื ซ่ึงมีรูปรา่ งเหมือนปลากรายแต่มีขนาดเล็กกว่า ลักษณะแตกต่างที่เด่นชัด คือ ปลาสลาดไม่มีจุดสีด้าเหนือครีบก้นเหมือนอย่าง ปลากราย ปลาสลาดมีล้าตัวเป็นสีขาวเงินปนเทา ปากกว้างไม่เกินขอบหลัง ของลูกตา ครีบหลังและครีบอกมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ครีบกน้ และครบี หางเชอ่ื มตดิ กันเปน็ แผ่นเดยี วกัน • ขนาด : ขนาดโตเตม็ ท่ปี ระมาณ 20-30 เซนตเิ มตร • อาหาร : กุ้ง ปลา สตั วน์ ้าขนาดเลก็ • สถานภาพ : เป็นสัตว์นา้ เศรษฐกจิ 4 ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครพนม 

• ชื่อภาษาไทย : ปลาตะโกก ปลาตะโกก • ชื่อสามัญ : SOLDIER RIVER BARB • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cyclocheilichthys enoplos • ชอื่ ท้องถิน่ : ปลาโจก, ปลาไสต้ ัน • ถ่ินอาศัย : พบในลุ่มแม่น้าใหญ่ในภาคกลางและภาคอีสาน เช่น แม่น้า เจ้าพระยา, แม่น้าแม่กลอง, แม่น้าท่าจีน, แม่น้าโขงและสาขา รวมทั้งแหล่งน้า ขนาดใหญ่เชน่ บึงบอระเพด็ • ลักษณะท่ัวไป : ปลาตะโกกมีรูปร่างเพรียวยาว หัวเล็ก หางคอด มีหนวด 2 คู่ อยู่ริมฝีปาก เกลด็ มขี นาดใหญ่สเี งิน ครีบหลังยกสูง ครีบหางเว้าลึก เป็นปลาที่มี ความปราดเปรียวว่องไวมากมีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่ในแหล่งน้าเชี่ยว และขุ่นข้น • ขนาด : ขนาดโตเตม็ ทป่ี ระมาณ 60 เซนตเิ มตร • อาหาร : สัตว์หน้าดนิ เชน่ หอย, ปู • สถานภาพ : เป็นปลาเศรษฐกิจ 5 ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม 

ปลาตะเพยี นขาว • ช่อื ภาษาไทย : ปลาตะเพยี นขาว • ชอ่ื สามญั : Jawa barb, Common silver barb • ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Barbonymus gonionotus ( Bieeker, 1850 ) • ช่ือท้องถนิ่ : ปลาปาก • ถนิ่ อาศยั : พบได้ทุกภาคทัว่ ประเทศ • ลักษณะท่ัวไป : มีล้าตัวแบนข้าง ขอบหลังโค้งยกสูงขึ้น หัวเล็ก ปากเล็ก ริม ฝปี ากบาง จะงอยปากแหลม มหี นวดเส้นเลก็ ๆ 2 คู่ มเี กล็ดขนาดใหญ่ ล้าตัวมี สเี งิน บรเิ วณสว่ นหลังมสี คี ล้า สว่ นทอ้ งมสี ีขาว • ขนาด : มคี วามยาวประมาณ 8-36 เซนตเิ มตร • อาหาร : เป็นปลาท่กี ินพชื เปน็ อาหาร เช่น เมล็ดพืชตระกูลหญ้าโดยเฉพาะข้าว สาหรา่ ย ตะไครน่ า้ แพลงกต์ อนพชื • สถานภาพ : พบได้ทว่ั ไป 6 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

ปลาตะเพยี นทอง • ชื่อภาษาไทย : ปลาตะเพยี นทอง • ชือ่ สามญั : Red–tailed, Tinfoil Barb • ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Barboneymus altus (Gunther,1868) • ชอื่ ทอ้ งถ่ิน : ตะเพยี นหางแดง ปลาเลียนไฟ • ถิ่นอาศัย : แหล่งที่พบตะเพียนทองมีอยู่ท่ัวไปในน่านน้าจืด และบางที เขา้ ไปอาศัยอยใู่ นลา้ คลอง หนองและบงึ ต่าง ๆ มีชุกชมุ มากในภาคกลาง • ลักษณะทั่วไป : ลักษณะของตะเพียนทอง รูปร่างป้อมส้ัน ล้าตัวแบบข้าง ส่วนหลังยกสูง หัวค่อนข้างเล็ก ตาโต มีหนวด 2 คู่ท่ีริมฝีปาก ปากเล็ก เกล็ด เล็กมีสีเงินวาวเหลือบเหลืองทอง ครีบหลังมีสีส้มมีแต้มสีด้าชัดท่ีด้านบนสุด ครีบอ่ืนๆ มีสีส้มสดยกเว้นขอบบนของครีบอกและขอบล่างของครีบหางท่ีมี แถบสีดา้ ยาว • ขนาด : มคี วามยาวประมาณ 8-30 เซนติเมตร • อาหาร : เปน็ ปลากนิ พืชเป็นอาหาร • สถานภาพ : พบไดท้ ั่วไป 7 ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม 

ปลาปากเปีย่ น • ช่ือภาษาไทย : ปลาปากเป่ียน • ชอื่ สามัญ : sharp-mouth barb • ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Scaphognathops theunensis Kottelat, 1998 • ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ : ปลาตาดา้ หรอื ปลาเปี่ยน • ถิน่ อาศัย : เปน็ ปลาท่ีพบเฉพาะในแมน่ ้าโขงต้งั แตจ่ ังหวัดหนองคายลงมา • ลักษณะทั่วไป : มีรูปร่างล้าตัวกว้างและแบนข้างมาก ส่วนหัวมีขนาดเล็ก จะงอยปากแหลม ริมฝีปากล่างมนกลมและมีขอบแข็ง ไม่มีหนวด เกล็ดใหญ่ ครีบหลงั สีคล้า ปลายขอบของก้านครบี อนั แรกเปน็ หยกั แขง็ ถัดจากส่วนนี้ไปจะ มลี ักษณะเรยี วแหลม ครีบหางเวา้ ลึก ครบี อกและครบี ทอ้ งเลก็ ตวั มีสีเงินอมเทา มีแต้มประสีคล้าบนเกล็ด ขอบครีบหางสีแดงเร่ือ ด้านหลังสีจาง ปลาในช่วง วัยรนุ่ จะมีจุดสีด้าทีบ่ ริเวณโคนครีบหาง • ขนาด : มีขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร ใหญส่ ดุ ที่พบคอื 25 เซนตเิ มตร • อาหาร : กินพชื น้าและแมลง • สถานภาพ : เปน็ ปลาเศรษฐกิจ และเลยี้ งเปน็ ปลาสวยงาม 8 ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

ปลาไน • ชอื่ ภาษาไทย : ปลาไน • ชือ่ สามญั : common carp • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cyprinus carpio • ชื่อท้องถ่นิ : หลีฮ้อื , หลโี กว • ถิ่นอาศัย : ถ่ินก้าเนิดอยู่ในประเทศจีน ในประเทศไทยถูกน้าเข้าโดยชาวจีน ท่ีเดินทางมาทางเรือ ในปี พ.ศ. 2455 เพ่ือเป็นอาหาร และได้ถูกเลี้ยงคร้ังแรก ในพ้ืนท่ีแถบภาคกลาง แหล่งท่ีพบปลาไนอยู่ในแม่น้า หนอง บึงหรือแหล่งน้า ขนาดใหญ่ • ลักษณะทั่วไป : เป็นปลาท่ีมีรูปร่างป้อม แบนข้างเล็กน้อย ส่วนหัวลาด ปากมี ขนาดเล็ก มีหนวดส้ัน 2 คู่ ครีบหลังค่อนข้างยาว ครีบหางเป็นเว้าแฉกลึก สีล้าตัวมีสีน้าตาลคล้าอมทองหรือน้าตาลอ่อน ท้องสีจาง บางตัวอาจมีสีสัน ปลาตัวผู้ในฤดูผสมพันธ์ุจะมีตุ่มสิวขึ้นบริเวณใบหน้า ถ้าเอามือลูบที่แก้มหรือ เกล็ดตามตัวจะรู้สึกสากมือ ส่วนของตัวเมียจะมีลักษณะลื่นกว่า การผสมพันธุ์ และวางไขไ่ ดท้ กุ ฤดูโดยวางติดกับพชื น้า • ขนาด : มีความยาวประมาณ 20-75 เซนตเิ มตร โตเตม็ ทหี่ นกั ถงึ 60 กโิ ลกรมั • อาหาร : กนิ พชื เป็นอาหาร • สถานภาพ : พบไดท้ ่วั ไป 9 ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม 

ปลาแก้มชา • ชอื่ ภาษาไทย : ปลาแกม้ ช้า • ช่อื สามญั : Red cheer barb • ช่ือวิทยาศาสตร์ : Systomus rubripinnis • ช่ือทอ้ งถน่ิ : ขาวสมอมกุ , ปกส้ม, ปก, หางแดง • ถน่ิ อาศัย : พบตามแม่นา้ ลา้ คลอง หนองบึง • ลักษณะทั่วไป : ล้าตัวแบบข้าง หัวเล็ก ตาโต ป้อมส้ัน แก้มจะมีแต้มสีส้ม โคนครีบหางมีจุดสีด้า ครีบสีแดงเรื่อๆ ส้มหรือแดงสด ครีบหางเว้าลึก และมีแถบสีคล้าท่ีขอบทั้ง 2 แฉก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ครีบหลัง ครีบก้น ครบี ท้องสีแดง • ขนาด : โตเตม็ ทย่ี าวประมาณ 25 เซนติเมตร • อาหาร : สาหร่าย แพลงกต์ อน ซากพชื ซากสตั วท์ ี่เนา่ เป่อื ย • สถานภาพ : พบชกุ ชมุ 10 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครพนม 

ปลานวลจันทรน์ าจืด • ชื่อภาษาไทย : ปลานวลจนั ทรน์ า้ จืด • ชื่อสามญั : Smallscale mud carp • ช่อื วิทยาศาสตร์ : Cirrhinus microlepis • ชอื่ ทอ้ งถิ่น : นวลจันทร์มชี ือ่ เปน็ ภาษาอสี านว่า พอน และ พรวน ในภาษา เขมร และจัดเปน็ ปลาประจ้าจังหวดั สรุ นิ ทร์ • ถิ่นอาศัย : เป็นปลาที่หายาก ปัจจุบันเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้วจาก แม่น้าเจ้าพระยา และยงั พบได้บ้างท่แี ม่น้าโขงและแมน่ ้าแม่กลอง • ลักษณะทั่วไป : มีรูปร่างล้าตัวเรียวยาวทรงกระบอก หัวโต ปากและตาเล็ก เกล็ดเล็ก ปลาในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาจะมีหัวและล้าตัวสีเงินอมเหลืองทอง ส่วนปลา ในลุ่มแม่น้าโขงจะเป็นสีชมพู ครีบหลังยกสูง ครีบหางเว้าลึก ครบี กน้ เล็ก • ขนาด : มีขนาดประมาณ 46 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 69 เซนติเมตร น้าหนัก 5 กโิ ลกรัม • อาหาร : อนิ ทรยี ์สาร สตั วห์ นา้ ดนิ ขนาดเลก็ แพลงก์ตอน และแมลงต่างๆ • สถานภาพ : ใกลจ้ ะสญู พนั ธ์ุ 11 ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม 

• ชื่อภาษาไทย : ปลาชะโด ปลาชะโด • ชือ่ สามญั : Great snakehead, Great snakeheadfish • ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Channa micropeltes (Cuvier, 1831) • ชื่อท้องถิ่น : ปลาชะโดจึงมชี ื่อเรยี กต่างออกไปตามวัย เมื่อยงั เป็นลูกปลาจะถูก เรยี กว่าชะโด หรอื อ้ายป๊อก เมอ่ื โตเต็มที่แล้วจะถกู เรียกวา่ แมลงภู่ ตามสขี อง ล้าตวั • ถนิ่ อาศัย : พบทวั่ ไปตามแมน่ ้า ล้าคลอง หนองบงึ และล่มุ น้าโขง • ลักษณะทั่วไป : รูปร่างคล้ายปลาช่อน แต่ส่วนหัวเล็กและล้าตัวใหญ่หนากว่า เกล็ดเล็กละเอียด ครีบใหญ่ ปากกว้างมีเข้ียวใหญ่ ล้าตัวมีสีเขียวมะกอกหรือ น้าตาลอ่อนอมเหลือง ด้านท้องสีเหลืองอ่อน มีแถบ สีคล้า 2 แถบ พาด ตามยาวที่ด้านข้างล้าตัว ครีบหลังสีคล้ามีลายเส้นสีด้า ครีบหางสีส้มอมน้าตาล เข้มมีลายสีด้าหลายแถบ ในปลาขนาดใหญ่กว่านั้นตัวมีสีคล้าอมน้าเงินหรือ เขียวเหลือบคล้ายปีกแมลงภู่ ในปลาลูกครอกมีสีส้มสดมีแถบด้า 2 แถบ ตามแนวยาวลา้ ตัว • ขนาด : พบทั่วไป 50–60 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 1 เมตร น้าหนัก 20 กโิ ลกรมั • อาหาร : กินปลาขนาดเล็ก • สถานภาพ : เปน็ ปลาเศรษฐกจิ และยงั นยิ มเลย้ี งเป็นปลาสวยงาม 12 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

• ชอ่ื ภาษาไทย : ปลากระโห้ ปลากระโห้ • ชือ่ สามญั : Siamese giant carp, Giant barb • ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Catlocarpio siamensis • ช่ือทอ้ งถิ่น : กะมนั หวั มัน • ถิ่นอาศัย : ปลากระโห้เคยชุกชุมในลุ่มแม่น้าแม่กลอง แม่น้าเจ้าพระยาจนถึง บึงบอระเพ็ด ในปัจจุบันมีปริมาณน้อยลงมาก แต่ก็ยังมีปรากฏให้พบเห็นอยู่ บา้ งในล้านา้ โขง • ลักษณะทั่วไป : เป็นปลาน้าจืดชนิดมีเกล็ดท่ีมีขนาดใหญ่สุดในโลกชนิดหนึ่ง มี รูปร่างท่ัวไปคล้ายคลึงกับพวกปลาตะเพียน ล้าตัวค่อนข้างป้อมแบน หัวโต ความยาวของหัวจะประมาณหน่ึงในสามของล้าตัว นัยน์ตาโตอยู่ใกล้ปลาย จะงอยปาก ไม่มีหนวด ปากกว้าง ปลากระโห้โดยท่ัวไป ล้าตัวมีสีเทาปนด้า สีของเกลด็ ด้านหลงั จะเขม้ กว่าด้านข้างและด้านทอ้ ง ครีบทุกครบี มีสีแดงปนสม้ • ขนาด : เคยมีผจู้ ับได้ในแมน่ ้าเจ้าพระยาเมอ่ื ปี พ.ศ. 2466 มีขนาดยาวถึง 3 เมตรน้าหนกั ถึง 150 กโิ ลกรัม โดยท่ัวไปจะมขี นาดประมาณ 1-2 เมตร • อาหาร : แพลงก์ตอนพชื และพนั ธุ์ไม้นา้ • สถานภาพ : ใกลจ้ ะสูญพนั ธ์ุ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม  13

• ชื่อภาษาไทย : ปลายสี่ กไทย ปลาย่สี กไทย • ชอ่ื สามญั : Seven-striped barb, Julian's golden carp • ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Probarbus jullieni Sauvage, 1880 • ชอื่ ทอ้ งถ่ิน : เอิน , เอินตาแดง , ย่สี กทอง , อสี ก, กะสก , ปลาเสือ • ถ่ินอาศัย : พบตามแหล่งน้าใหญ่ของภาคกลาง ภาคเหนือและอีสาน เช่น แมน่ ้าโขง, แมน่ ้านา่ น, แม่นา้ เจ้าพระยา, แม่น้าทา่ จีน, แม่นา้ แม่กลอง • ลักษณะทั่วไป : เป็นปลาน้าจืดขนาดใหญ่ หัวค่อนข้างโต มีหนวดส้ัน 1 คู่ อยู่มุมปากบน ปากเล็กยืดหดได้ อยู่คล้อยลงมาใต้ส่วนหัว สีของล้าตัวเหลือง มีแถบสีด้า 7 แถบ พาดไปตามความยาวของ ล้าตัว แถบสีด้าเหล่านี้จะพาด อยรู่ ะหวา่ งรอยต่อของเกลด็ ตาสแี ดง ครีบทกุ ครบี สชี มพู • ขนาด : ขนาดใหญ่ท่ีสดุ เท่าท่ีพบมคี วามยาว 1 เมตร และมีนา้ หนกั ถึง 40 กิโลกรมั • อาหาร : กินได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น หอย ปู พรรณไม้น้า ตะไคร่น้า และตัวออ่ น แมลงน้าท่อี ยู่บริเวณพืน้ ดนิ • สถานภาพ : ใกล้สูญพันธ์ุ 14 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม 

ปลากระแห • ช่ือภาษาไทย : ปลากระแห • ชือ่ สามัญ : Schwanenfeld ’s tinfoil barb • ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Barbonymus schwanenfeldii • ชื่อทอ้ งถิ่น : กระแหทอง ตะเพียนหางแดง เลยี นไฟ ล้าปา • ถ่ินอาศัย : พบแพร่กระจายอยู่ในแม่น้าโขง ล้าคลอง บึง ทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย • ลักษณะท่ัวไป : เป็นปลาน้าจืดที่มีรูปร่างป้อมส้ัน ล้าตัวแบนข้าง หัวมีขนาด เล็ก จะงอยปากส้ันทู่ นัยน์ตาเล็ก ปากเล็กและอยู่ปลายสุด หนวดเล็กและส้ันมี 2 คู่ เกล็ดมีขนาดใหญ่ ครีบหางใหญ่ ปลายเป็นแฉกลึก กระโดงหลังสูงและ กว้างมีก้านครีบเดี่ยวที่แข็งและขอบหยักเป็นฟันเล่ือยอยู่อันหนึ่ง สีพื้นของ ล้าตัวเป็นสีขาวเงินหรือสีเหลืองปนส้ม ด้านหลังสีเทาปนเขียว ขอบนัยน์ตาด้า เป็นสีเหลือง แก้มเหลืองปนแดง กระโดงหลังสีแดง และมีแถบด้าท่ีปลาย กระโดง ขอบบนและลา่ งของครีบหางมแี ถบสดี า้ ข้างละแถบ • ขนาด : โตเต็มท่ีประมาณ 15-35 เซนติเมตร • อาหาร : กินพชื พันธ์ไุ มน้ ้า ตวั ออ่ นแมลงน้า ซากสัตวแ์ ละพชื ท่ีเน่าเปอ่ื ย • สถานภาพ : พบไดท้ วั่ ไป 15 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

• ช่ือภาษาไทย : ปลาหวา้ หน้านอ ปลาหว้าหนา้ นอ • ชื่อสามญั : - • ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Bangana behri (Fowler, 1937) • ช่ือท้องถนิ่ : ในเขตจังหวัดกาญจนบุรเี รยี กปลาชนดิ นี้ว่า \"ปลางา\" และภาษา อสี านเรียกวา่ \"หวา้ ซวง\" • ถิ่นอาศัย : อาศัยอยู่ตามแม่น้าสายใหญ่ ๆ ในประเทศ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา, แม่น้าโขง, แม่นา้ สาละวนิ • ลักษณะทั่วไป : ล้าตัวแบนข้าง หัวโต ปากกว้างอยู่ในระดับเดียวกันกับท้อง ตามีขนาดเล็ก มีหนวด 2 คู่ ขอบปากบนเรียบและเป็นร่อง จะงอยปากทู่ ตัวผู้ โตเต็มวัยจะมีโหนกเห็นชัดเจน และมีตุ่มประบริเวณปากถึงหลังตา ครีบหลัง ใหญ่ไม่มีก้านครีบแข็ง ล้าตัวและครีบสีน้าตาลอ่อนอมเทา ท้องสีเหลืองทอง ครบี อก ครบี ทอ้ ง และครีบกน้ ยาว ครีบหางใหญ่ • ขนาด : โตเต็มท่ี 60 เซนตเิ มตร • อาหาร : ตะใครน่ ้า อินทรีย์สารหนา้ ดนิ • สถานภาพ : ใกล้สูญพันธ์ุ 16 ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครพนม 

ปลากาดา • ชือ่ ภาษาไทย : ปลากาดา้ • ชือ่ สามญั : Black sharkminnow • ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Labeo chrysophekadion • ชื่อท้องถ่นิ : เพีย้ , อตี ู๋ หรือ อกี ่้า • ถ่ินอาศยั : พบในแม่น้าขนาดใหญ่และแหล่งน้านง่ิ ตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศ ยกเวน้ ภาคใต้ • ลกั ษณะท่วั ไป : ลา้ ตัวป้อมและแบบขา้ งเลก็ น้อย หัวเล็ก รอบปากมีต่ิงชายครุย มีหนวดยาว 2 คู่ เกล็ดเล็ก ล้าตัวสีคล้าอมน้าเงิน เกล็ดแต้มสีแดง ท้องสีจาง ครีบสคี ล้าอมนา้ เงินหรอื สีดา้ ครบี หลังมีขนาดใหญ่ และไมม่ กี า้ นครบี แขง็ • ขนาด : โตเต็มท่ียาวประมาณ 90 เซนติเมตร • อาหาร : ตะใครน่ ้า สาหรา่ ย และอินทรยี ส์ าร • สถานภาพ : นิยมเลี้ยงเปน็ ปลาสวยงาม ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม  17

ปลาบู่ • ชอื่ ภาษาไทย : ปลาบู่ • ชื่อสามัญ : Sleepy goby, Marbled sleeper • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxyeleotris marmorata • ชื่อท้องถ่ิน : บูท่ ราย บจู่ าก บ่ทู อง บู่เอื้อย บ่สู งิ โต • ถนิ่ อาศัย : กระจายอยู่ในแมน่ า้ ล้าคลอง บึง ทว่ั ทุกภาคของประเทศไทย • ลักษณะทั่วไป : ล้าตัวค่อนข้างกลม ส่วนหางค่อนข้างแบน ปากกว้างเฉียงขึ้น ข้างบนเล็กน้อย นัยน์ตาเล็กโปนกลมตั้งอยู่ค่อนไปทางบริเวณส่วนหัว ถัดริม ปากเล็กนอ้ ยมรี จู มูกคู่หนา้ เป็นหลอดยื่นขึ้นมาติดกับร่องเหนือริมปาก ครีบหลัง มีสองอัน ครีบหางกลมมน เคลื่อนไหวช้าในระดับกลางน้าแต่จะปราดเปรียว เมื่ออยู่บนพน้ื ดิน และสามารถหยุดการเคล่ือนไหวได้อย่างกะทันหนั ตามปกติ แล้วในตอนกลางวัน ปลาบู่จะทรงตัวนิ่งไม่เคล่ือนไหว ท้าให้บางท่านเข้าใจว่า ปลาหลับ โดยปกติปลาบู่ทรายจะฝงั ตัวอยู่ในพนื้ โคลนหรือพ้นื ทราย • ขนาด : มีขนาดล้าตวั ประมาณ 30 เซนติเมตร ใหญท่ ี่สดุ 60 เซนตเิ มตร • อาหาร : ปลา กุง้ และแมลง • สถานภาพ : เปน็ สัตว์น้าเศรษฐกิจ 18 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม 

• ชอื่ ภาษาไทย : ปลาเสอื ตอลายใหญ่ ปลาเสอื ตอลายใหญ่ • ช่อื สามัญ : Siamese tiger fish • ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Datnioides pulcher • ชื่อทอ้ งถนิ่ : ภาษาอีสานเรยี กปลาลาด • ถิน่ อาศยั : บริเวณเขตภาคกลางในแม่นา้ เจา้ พระยา แม่น้านา่ น แม่น้าปา่ สัก บึงบอระเพ็ด และแมน่ า้ น้าโขง • ลักษณะท่ัวไป : ล้าตัวแบนข้าง หัวใหญ่ หลังยกสูงมาก ปากยาวสามารถยืดได้ ครีบก้นเล็กมีก้านครีบแข็ง 3 ช้ิน ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นก้าน ครีบแข็งมีเง่ียง 13 ช้ิน ตอนหลังเป็นครีบอ่อน พื้นล้าตัวสีเหลืองน้าตาล จนถงึ สสี ้มอมด้า มแี ถบสดี ้าคาดขวางล้าตัวในแนวเฉียงรวมท้ังส้ินประมาณ 5-6 แถบ หรือ 7 แถบ ส่วนหัวมีลักษณะลาดเอียงมาก เกล็ดเป็นแบบสาก มี ลักษณะนสิ ยั อยู่เป็นฝูงเลก็ ๆ • ขนาด : พบขนาดใหญส่ ดุ ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร น้าหนัก 7 กโิ ลกรมั • อาหาร : แมลงน้า ปลาขนาดเล็ก และกุ้ง • สถานภาพ : ใกล้สญู พนั ธ์ุ 19 ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

ปลาสร้อยขาว • ช่อื ภาษาไทย : ปลาสร้อยขาว • ชอื่ สามญั : Siamese mud carp, Julian’s mud carp • ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Henicorhynchus siamensis (Sauvage, 1881) • ชอ่ื ท้องถ่นิ : สรอ้ ยหวั กลม ในภาษาอีสาน, หรือ ปลากระบอก ในภาษาเหนอื • ถ่ินอาศัย : พบแพร่กระจายท่ัวไป หนอง บึง และแม่น้าขนาดใหญ่ เช่น แม่น้าโขง • ลักษณะทั่วไป : มีลักษณะล้าตัวเพรียวยาว หัวโตและกลมมน ปากเล็กอยู่ เกือบจะสุดจะงอยปาก ก่ึงกลางของริมฝีปากมีปุ่มกระดูกยื่นออกมา ไม่มีหนวด เกล็ดมีขนาดใหญ่ ล้าตวั สีเงนิ อมเทา เหนอื ครีบอกมจี ดุ สคี ล้า ครบี หลังเล็ก ครีบ หางเวา้ ลกึ และมีจดุ ประสีคล้า โคนครบี หางมีจดุ สีจาง • ขนาด : มขี นาดโตเตม็ ทีป่ ระมาณ 15-20 เซนตเิ มตร • อาหาร : แพลงกต์ อนพืช • สถานภาพ : พบไดท้ ั่วไป และนิยมเลี้ยงเปน็ ปลาสวยงาม 20 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครพนม 

ทีป่ รกึ ษา คณะผ้จู ดั ทา นายพรศักด์ิ ธรรมวานชิ ผอู้ ้านวยการศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษานครพนม คณะกรรมการดาเนินงาน นายสนธยา ทิพย์โพธส์ิ งิ ห์ ครผู ู้ชว่ ย นางสาวนภา พมิ จันทร์ นักวิชาการศกึ ษา นายบรุ ทศั จนั ทรงั ษี นักวชิ าการศึกษา นางสาวจิรนันท์ ตนั๋ เต๋ นกั วิชาการศึกษา นายสถิตพร มลู พงค์ นักวิชาการศึกษา นายสหภาพ เขยี วมาก นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศกึ ษา นางสาวฑิตาพร ฝา่ ยอินทร์ นักวชิ าการวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา นายสรุ ยิ ะ ภารไสว นักวิชาการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา นางสาวสุชาดา ดวงสา นกั วิชาการวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา ผเู้ รียบเรยี ง/ออกแบบรปู เลม่ นักวิชาการศกึ ษา นายพิทกั พงษ์ อนิ ทร์ตา นักวิชาการศกึ ษา นางสาวเอมกิ า พิลาสขุ ผู้ชว่ ยนักวิชาการศึกษา นางสาวนา้ ฝน จนั เกษร ค ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครพนม 

เอกสารอา้ งองิ ชวลิต วทิ ยานนท์. ๒๕๔๗. คูม่ ือปลานาจดื . สารคดี, กรุงเทพฯ. ๒๓๒ หนา้ ชวลติ วิทยานนท์ จรลั ธาตา กรรณสูต และจารุจินต์ นภีตะภัฏ.๒๕๔๐. ความหลาก ชนิดของปลานาจดื ในประเทศไทย. ส้านกั งานนโยบายและแผนสิง่ แวดล้อม, กรุงเทพฯ.๑๐๒ หน้า. ชวลิต วิทยานนท์ ดร., ปลาน้าจดื ไทย (กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. 2547) หน้า 12-30 สภุ าพร สุกสเี หลอื ง รศ., มีนวิทยา (กรงุ เทพมหานคร, พ.ศ. 2550 Kottalat, M. 2001. Fishes of Laos. WHT Publication (Pte) Ltd.Sri Lanka.198p. Nelson. J. S. 2006. Fishes of the World. 4\" Ed. John Wiley & Sons, Inc. Canada. Rianboth, W. J. 1996. FAO Species Identification. Field Guide for Fishery Purposes, Fishes of The Combodian Mekong. Food and Agriculture Organization of the United Nations.Rome. 293p. Smith. H. m. 1945. The Fresh-Water Fishes of Siam, or Thailand. United Stated Government Printing Office. Washington. 622p. Vidthayanon. Chavalit. 2008. Field Guide to Fishas of the Mekang Delta. Mekong River Commission. Vientiane, 288p. Mokong River Commission (MRC, Field guide to Fishes of the Mekong Dalta May 2008. จากhttp://th.wikipedia.org/wiki ง ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม 

ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษานครพนม 355 หมู่ 6 ตาบลหนองญาติ อาเมอื ง จงั หวดั นครพนม 48000 โทรศพั ท์ 042-530780 โทรสาร 042-530781 https://www.nkpsci.ac.th/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook