Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 กรด เบส

หน่วยที่ 1 กรด เบส

Published by Kitsanapong0090, 2020-08-29 00:00:29

Description: หน่วยที่ 1 กรด เบส นักเรียนสามารถคำนวณค่าความเป็นกรด เบสได้

Search

Read the Text Version

วิชา เคมี 4 (เพ่ิมเติม) หน่วยท่ี 1 กรด-เบส (เพ่ิมเติม) ACID - BASE ครกู ฤษณะพงษ์ บวั ประเสรฐิ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนเทศบาล ๑ กิตตขิ จร

บทท่ี 5 ของแขง็ ของเหลว แกส๊ 1. พจิ ารณาข้อมูลและกราฟ จดุ หลอมเหลว (๐C) จดุ เดือด (๐C) สาร -39 357 -100.8 -34 A B ถา้ TR เปน็ อณุ หภูมิหอ้ ง ขอ้ ใดถูกต้อง สถานะที่อณุ หภูมิห้อง กราฟของ สาร A สาร B AB 1. X Y ของเหลว แกส๊ 2. Y X แก๊ส ของเหลว 3. X Y แกส๊ ของเหลว 4. Y X ของเหลว แก๊ส 2. จากข้อมูลตอ่ ไปน้ี สาร จุดหลอมเหลว (๐C) จุดเดือด (๐C) ความหนาแนน่ X 97.5 889 0.97 Y 63.4 757 0.860 A 5.5 80.1 0.879 B -95 110.6 0.866 สาร X และ Y ไมท่ ำปฏกิ ริ ยิ ากบั A หรือ B ใสส่ าร X หรอื Y ประมาณ 1กรัม ลงในสาร A หรอื B ประมาณ 100 กรัม ข้อสรุปใดผดิ 1. สาร X จมอยูใ่ นสาร A หรือ B 2. สาร Y ลอยอยใู่ นสาร A หรือ B 3. สาร X อยใู่ นสภาพของแข็ง เมอ่ื ตม้ สาร A หรือ B ทมี่ ี X อยู่ 4. สาร Y อยู่ในสภาพของเหลว เมอ่ื ต้มสาร A หรอื B ทมี่ ี Y อยู่

3. ทอี่ ณุ หภูมิและความดันปกติ มธี าตใุ ดที่อยใู่ นสถานะของเหลว 1. ลิเทียม, โบรมีน 2. ฟลอู อรีน, อาร์กอน 3. เบรลิ เลียม, โบรอน 4. โบรมนี , ปรอท 4. ถา้ ใช้จดุ หลอมเหลวและจุดเดือดของสารเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาสถานะของสาร อยากทราบวา่ สถานะของสารที่อุณหภมู ิ 20 ๐C (โดยใช้อุณหภูมภิ ายใต้ความดนั เดยี วกัน) ตามข้อใดถกู ต้อง 1. สารทีม่ ีจดุ หลอมเหลว และจุดเดือดสงู กวา่ 20 ๐C จะมสี ถานะเปน็ ของแขง็ 2. สารทมี่ จี ดุ หลอมเหลว และจดุ เดือดตำ่ กวา่ 20 ๐C จะมสี ถานะเป็นของเหลว 3. สารท่มี จี ุดหลอมเหลวตำ่ กวา่ 20 ๐C แต่มจี ดุ เดือดสูงกว่า 20 ๐C จะมสี ถานะเปน็ แก๊ส 4. สารทม่ี จี ดุ หลอมเหลวสูงกวา่ 20 ๐C จะมีสถานะเป็นของเหลวหรอื แก๊สก็ได้ 5. พจิ ารณาจากขอ้ มูลในตารางต่อไปนี้ ภายใต้ความดนั เดยี วกนั สาร อณุ หภูมิหอ้ ง (๐C) จดุ หลอมเหลว (๐C) จุดเดือด (๐C) A 25 15 80 B 30 40 120 C 35 5 40 D 15 30 สถานะของสาร A, B, C และ D ตามข้อใดถูกต้อง 1. สาร A มสี ถานะเป็นของแข็ง 2. สาร B มีสถานะเป็นของเหลว 3. สาร C มีสถานเปน็ แกส๊ 4. สาร D มสี ถานะเป็นของแข็ง 6. จากขอ้ มลู ต่อไปนี้ สารในข้อใดมสี ถานะเปน็ ของเหลว ทอ่ี ุณหภมู ิ 50 ๐C ความดัน 1 บรรยากาศ สาร จดุ หลอมเหลว (๐C) จุดเดือด (๐C) A -39 357 B 660 2,300 C -100 -34 D0 100 E 115 444 1. A, C 2. A, D 3. B, E 4. B, D 7. ตารางแสดงสมบัตบิ างประการของสาร 5 ชนิด สาร จุดหลอมเหลว (๐C) จดุ เดอื ด (๐C) สมบตั ิอ่ืนๆ A -231 -156 โมเลกุลขนาดเลก็ ไมม่ ีขั้ว B -220 -183 โมเลกลุ ขนาดเลก็ ไมม่ ีขวั้ C0 100 โมเลกลุ มขี ้วั D -35 345 นำไฟฟ้าไดเ้ ม่ือเปน็ ของเหลว E 92 350 นำไฟฟา้ ได้

จากข้อมลู ในตาราง ขอ้ สรปุ ใดถกู ต้อง 1. สาร A และ D มีสถานะเป็นของแขง็ ที่อณุ หภูมหิ ้อง 2. ทอ่ี ณุ หภมู ิ 100 ๐C สาร D และ E จะมสี ถานะเปน็ ของเหลว 3. สาร A และ B เมือ่ มปี รมิ าตร 1 dm3 ท่ี STP จะมมี วลเทา่ กัน 4. ทีอ่ ณุ หภมู ิ 80 ๐C สาร B จะมสี ถานะเปน็ ของเหลวส่วนสาร ๐C จะเป็นของแขง็ 8. สาร สมบตั ขิ องสาร A จุดหลอมเหลว 98 ๐C และจดุ เดือด 885 ๐C B ขณะที่อุณหภูมิ และมวลคงท่ี ปรมิ าตรจะเพ่ิมขึ้นเม่ือความดันลดลง C แพรก่ ระจายได้เรว็ หรอื ชา้ ขึน้ อยูก่ บั มวลโมเลกลุ D ระเหยงา่ ย มีความดันไอสงู สาร A, B, C, D มสี ถานะอยา่ งไรตามลำดับ 1. ของแขง็ , ของเหลว, แก๊ส, แก๊ส 2. ของเหลว, แก๊ส, แกส๊ , ของแข็ง 3. แกส๊ , แก๊ส, ของเหลว, ของแขง็ 4. ของแขง็ , แกส๊ , แกส๊ , ของเหลว 9. กำหนดใหส้ าร A B C และ D มีสมบตั ดิ ังตาราง สาร จดุ หลอมเหลว (๐C) จดุ เดอื ด (๐C) A -39 357 B 98 885 C -7 58 D 115 444 ถ้านำสารทง้ั 4 มาผสมไว้ในภาชนะเดยี วกนั โดยไม่ทำปฏิกิริยาทอ่ี ุณภมู ิ 100 ๐C สารผสม จะมีไดท้ ี่ สถานะและเม่ือลดอุณหภมู ทิ ่ี 25 ๐C สารใดบา้ งที่มสี ถานะเปลี่ยนไปจากสถานะที่ 100 ๐C 1. 3 สถานะ, A และ D 2. 2 สถานะ, 4 และ D 3. 3 สถานะ, B และ C 4. 2 สถานะ, B และ C 10. ทอี่ ณุ หภมู ิ 25 ๐C สาร ก. ข. และ ค. อยู่ในสภาพแกส๊ ของเหลว และของแขง็ ตามลำดับ จุดหลอมเหลว และจุดเดือดของสารทัง้ สามในขอ้ ใดเปน็ ไปได้ จุดหลอมเหลว (๐C) จุดเดอื ด (๐C) กขค กขค 1. -91 -8.8 32 98 -42 330 2. -188 32 -91 -42 330 98

3. -188 -91 32 -42 98 330 4. 32 -91 -188 330 98 -42 11. เมื่อนำของแข็งไปหลอมเหลว พลงั งานจะถูกดดู เข้าไปเพอ่ื อะไร 1. ลดพลงั งานจลน์ของระบบ 2. ทำใหป้ รมิ าตรของของแข็งเพ่มิ ข้นึ 3. ทำใหโ้ มเลกุลมีพลงั งานจลน์สูงกวา่ แรงดึงดดู ระหวา่ งกัน 4. ทำให้มลี กั ษณะเปน็ ปฏกิ ิรยิ าดูดความรอ้ น 12. โดยท่วั ไปความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอของสารใดสารหนง่ึ จะสูงกว่าความรอ้ นแฝงของการ หลอมเหลวของสารน้ัน ท้ังนี้เน่อื งจากเหตุผลในขอ้ ใด 1. เม่ือสารเปน็ ไอจะมีอุณหภูมิสงู กวา่ เมอ่ื เป็นของเหลวมาก แต่สารที่เปน็ ของเหลวจะมีอณุ หภมู ิ สงู กวา่ เม่อื เปน็ ของแข็งไม่มาก 2. เมื่อสารเปน็ ไอแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกลุ มีน้อยกวา่ เมื่อเปน็ ของเหลวมาก แตเ่ ม่ือสารเปน็ ของเหลวจะมีแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างโมเลกลุ นอ้ ยกวา่ ของแข็งไม่มาก 3. เมอ่ื สารเป็นไอจะมีช่วงของอุณหภูมทิ ีก่ วา้ งกว่าช่วงของอุณหภมู ิของสารทีเ่ ป็นของเหลวมาก แต่ เมอ่ื สารเป็นของเหลวจะมีชว่ งอุณหภูมสิ ้นั กว่าช่วงของอุณหภมู ขิ องสารทเ่ี ปน็ ของแข็งมาก 4. เมอ่ื สารเป็นไอจะมีขนาดใหญ่กวา่ เมอ่ื สารเป็นของเหลวมาก แต่สารท่ีเปน็ ของเหลวจะมีขนาด ใหญ่กว่า ของแข็งไมม่ าก 13. กำมะถันรอมบิกและมอนอคลินกิ ต่างก็มีสตู รโมเลกลุ S8 แตแ่ ตกตา่ งกนั เพราะเหตุใด 1. รูปผลึกต่างกัน 2. จดุ หลอมเหลวต่างกัน 3. ความหนาแนน่ ตา่ งกนั 4. การจัดเรยี งโมเลกลุ ตา่ งกัน 14. กำมะถนั รอมบกิ กับกำมะถนั มอนอคลนิ กิ มรี ูปรา่ งทแ่ี ตกต่างกันเนื่องจากสาเหตใุ ด 1. จำนวนอะตอบในโมเลกลุ ต่างกัน 2. จำนวนโมเลกลุ ตา่ งกนั 3. การจัดเรยี งอะตอมต่างกัน 4. การจดั เรยี งโมเลกุลต่างกัน 15. เมอ่ื เผากำมะถนั ใหห้ ลอมเหลวจนกระทงั่ เป็นไอนั้น ขณะทีเ่ ป็นของเหลวน้ัน ในตอนแรกจะใสเผา ตอ่ ไปจะ หนดื และกลบั ใสอีกครัง้ หนึ่ง ขอ้ ใดอธบิ ายการเปล่ียนแปลงได้ถูกต้อง 1. การเปลีย่ นแปลงระยะที่ 1 และ 2 กำมะถันมีโครงสรา้ งท่ีเหมือนกัน 2. ขณะทเ่ี กดิ การเปลย่ี นแปลงระยะที่ 1 โมเลกุลของกำมะถันเป็นวงบดิ เหมือนตอนที่กำมะถันแข็ง 3. ขณะเกิดการเปลย่ี นแปลงระยะที่ 2 โมเลกลุ กำมะถันประกอบด้วยอะตอมมากกวา่ 8 อะตอม

4. ขณะทเ่ี กดิ การเปลยี่ นแปลงระยะที่ 3 โมเลกลุ ของกำมะถันประกอบด้วยกำมะถนั น้อยกวา่ 8 อะตอม 16. เม่ือให้ความร้อนแก่กำมะถันผง สง่ิ ทส่ี งั เกตได้คือข้อใด 1. กำมะถันจะหลอมเหลวจนหมด ความหนืดน้อยลง ๆ จนถงึ จดุ เดือด 2. กำมะถันจะหลอมเหลวจนหมด ความหนดื จะเพิม่ ขนึ้ แล้วจะลดลงอกี จนถึงจดุ เดือด 3. กำมะถันระเหดิ เป็นไอโดยตรง 4. กำมะถนั จบั กนั เปน็ ก้อนแล้วจึงหลอมเหลว ข้นั สุดท้ายจงึ เดือด 17. ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ข้นึ ในขอ้ 16. เปน็ การเปลยี่ นแปลงทางโครงสรา้ งอย่างไร 1. เกดิ การเปลีย่ นรปู ผลึกของกำมะถัน 2. วงโมเลกลุ ของกำมะถันขาดแตกเป็นอะตอม 3. วงโมเลกุลขาดแล้วตอ่ เปน็ สายยาว แล้วขาดอกี 4. วงโมเลกลุ ขาดแลว้ ต่อเปน็ วงแบบใหม่ 18. ข้อใดไมใ่ ช่คําอธบิ ายท่ีเกี่ยวกบั การหนดื ของกำมะถัน เมือ่ เผากำมะถันผงจนกลายเป็นกำมะถันหนืด 1. แรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกุลของกำมะถันมีค่าลดลง 2. พลังงานจลน์ของโมเลกุลของกำมะถันมคี ่าลดลง 3. มีการชนกนั ระหวา่ งโมเลกุลของกำมะถันมากขึ้น 4. มีการเช่ือมกนั เป็นสายยาวและพนั กนั ระหว่างโมเลกลุ ที่แตกออกเน่ืองจากการชนกนั 19. ขอ้ ใดผดิ 1. เพชรไม่นำไฟฟ้า แตแ่ กรไฟตน์ ำไฟฟา้ ได้ 2. ตามกฎของชาร์ล แกส๊ จะมีปริมาตรเป็น 0 ถา้ ลดอณุ หภมู ิถึง 0 เคลวนิ 3. กำมะถันรอมบกิ และกำมะถนั มอนอคลินิก มีสตู รโมเลกุล S เหมือนกัน 4. ของเหลวท่มี ีความดนั ไอสงู จะมจี ุดเดือดปกติสงู กวา่ ของเหลวท่มี คี วามดนั ไอต่ำ 20. กำมะถัน (S) มรี ปู ผลึกได้ 2 รูป คือ 1. รอมบิกและมอนอคลินิก 2. คิวบคิ และรอมบกิ 3. มอนอคลนิ กิ และไตรคลินกิ 4. ไตรคลินิกและคิวบิก 21. ในข้นั ตอนการเตรียมผลึกกำมะถันจาก ผงกำมะถัน, โทลูอนี และนำ้ ร้อนท่ีมีอุณหภมู ปิ ระมาณ 75๐C ผล การทดลองข้อใดถูกต้อง 1. ผลึกกำมะถนั รูปเหลย่ี ม (รอมบิก) จะอยตู่ วั ท่ีอณุ หภมู สิ ูงกว่า 96 ๐C 2. ผลกึ กำมะถันรูปเข็ม (มอนอคลินกิ ) จะอยตู่ ัวท่ีอุณหภูมสิ ูงกว่า 96 ๐C 3. ถ้าทำใหก้ ำมะถันตกผลึกอย่างรวดเร็วจะได้ผลึกรูปเหลยี่ ม (มอนอคลินิก)

4. ถา้ ปล่อยให้สารละลายกำมะถันเย็นลงชา้ ๆ จนมีอณุ หภูมิเท่าอุณหภูมหิ ้องจะได้ผลกึ รูปเข็ม (รอมบิก) 22. ข้อความตอ่ ไปนี้ข้อความใดไมถ่ ูกต้อง 1. เราสามารถทำให้กำมะถันมีลักษณะทยี่ ืดหย่นุ ได้ 2. ทีอ่ ุณหภูมิ 40 ๐C กำมะถันจะอยู่ในรูปของกำมะถนั รอมบิก 3. ทอ่ี ุณหภมู ิ 120 ๐C กำมะถนั จะอยู่ในรปู ของกำมะถันโมโนคลินกิ 4. กำมะถันไม่ว่าจะอยูใ่ นอัญรูปใด โมเลกลุ ของมันจะประกอบไปดว้ ยกำมะถนั 8 อะตอมต่อกัน เปน็ วงมีสูตรโมเลกลุ เปน็ S8 23. สาร A มีจดุ หลอมเหลว 1560 ๐C นำไฟฟา้ ไดด้ ีเม่ือเปน็ ของเหลว แตเ่ ป็นฉนวนเม่ือเปน็ ของแข็ง และ ละลายในนำ้ ได้ดี ดงั น้นั สาร A เป็น 1. ผลึกไอออนิก 2. ผลกึ โลหะ 3. ผลึกโมเลกุล 4. ผลกึ โคเวเลนต์ 24. พจิ ารณาปฏิกิริยาต่อไปน้ี ก. กำมะถันตกผลึกเปน็ รูปเข็ม ข. กรด H2SO4 ละลายน้ำ ค. น้ำกลายเปน็ ไอ ง. HCI ทำปฏิกริ ิยากบั NaOH ปฏิกริ ยิ าในข้อใดเป็นปฏกิ ิรยิ าคายความร้อน 1. ข. และ ง. 2. ก. ข. และ ง. 3. ข. ค. และ ง. 4. ก. ข. ค. และ ง. 25.  (rhombic) sulphur is stable below 95.6 ๐C and  (monoclinic) sulphur above 95.6 ๐C. This statement implies that A  and  sulphur exhibit dynamic allotropy. B  and  sulphur are monotropes. C  and  sulphur are enantiotropes. D the vapour pressure of  sulphur is always greater than that of  sulphur. E 95.6 ๐C is the critical temperature. 26. Compared with rhombic sulphur, monoclinic sulphur has a lower A melting point. B boiling point.

C solubility in carbon disulphide. D reactivity. E stability at room temperature. 27. “ฟุลเลอรีน” เป็นรปู หน่ึงของคาร์บอนที่พึง่ ร้จู ักกันเม่ือไม่นานน้ี แตม่ กี ารศกึ ษาอยา่ งกวา้ งขวาง จากข้อมูลบางสว่ นของฟลุ เลอรีนและธาตุอ่ืน ๆ ในตาราง ข้อสรปุ เก่ียวกบั สมบัติของฟุลเลอรีน ข้อใดผิด ธาตใุ นรปู ต่างๆ จำนวนอะตอม จุดหลอมเหลว/จุดเดอื ด สภาพนำไฟฟ้า การละลาย ในโมเลกุล (°C) แกรไฟต์ มาก (  ) 3652/4827 นำ ไมล่ ะลาย ฟุลเลอรีน 60 ? ?? ฟอสฟอรสั ขาว 4 ไม่นำ ละลายในตัวทำ 44/280 ฟอสฟอรสั ดาํ มาก (  ) ละลายอินทร์ กำมะถนั รอมบิก 8 610/___ นำ ไม่ละลาย 113/445 ไมน่ ำ ละลายใน CS2 1. จุดหลอมเหลวอยรู่ ะหวา่ ง 113 กับ 610 °C 2. นำไฟฟ้าได้ 3. ละลายได้ในตวั ทำละลายอินทรยี ์ 4. ทำปฏิกิรยิ ากบั O2 ได้สารประกอบเชน่ เดยี วกับที่แกรไฟตท์ ำ 28. ไส้ดินสอดําและเพชรเป็น 1. อันยรปู (หรอื รูป) ของธาตุคารบ์ อน 2. ไอโซโทปของธาตุคารบ์ อน 3. ธาตุต่างชนดิ กนั 4. สารประกอบต่างชนดิ กันของธาตุคาร์บอน 29. ความแตกต่างของส่งิ ใดท่ีมผี ลใหก้ ำมะถันมรี ปู ผลึกสองแบบ 1. จำนวนมวลอะตอม 2. พลงั งานจลน์ 3. การจัดเรียงโมเลกลุ 4. จำนวนมวลโมเลกุล

30. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. เมือ่ นำกำมะถนั รอมบิก และมอนอคลนิ กิ มาให้ความรอ้ นจนกลายเป็นไอ ไอทง้ั สองมีสมบตั ิ ทางกายภาพเหมือนกัน ข. ของเหลวชนดิ เดียวกนั ในภาชนะปดิ ขนาดตา่ งกันทอ่ี ุณหภมู ิเดยี วกันเมอ่ื เขา้ สสู่ มดลุ จะมีค่า ความดนั ไอตา่ งกนั ค. เม่ือให้ความร้อนแก่สารละลายเอทานอลในน้ำจนสารละลายเร่ิมเดอื ด ความดันไอของ เอธานอลหรอื ความดันไอของนำ้ เทา่ กบั ความดนั บรรยากาศ ง. เมอื่ ให้ความร้อนแก่ของเหลวจนเดือดเป็นฟองความดนั ไอในฟองจะมีคา่ เทา่ กบั ความดัน บรรยากาศ ขอ้ ความที่ถูกต้องคือข้อใด 1. ก. 2. ก. และ ข. 3. ค. และ ง. 4. ก. ข. และ ค. 31. ข้อความใดไมถ่ ูกต้อง 1. แรงยึดเหน่ยี วระหว่างชั้นในแกรไฟตแ์ ขง็ แรงน้อยกวา่ แรงระหว่างคารบ์ อนอะตอมในช้ันเดียวกนั 2. แกรไฟตน์ ำไฟฟ้าได้ดีทุกทิศทาง 3. SiC จะมีจุดเดือดสูงกวา่ กำมะถัน เน่ืองจาก SiC เป็นโมเลกลุ ที่เปน็ โครงผลึกรา่ งตาขา่ ย 4. เพชรไม่นำไฟฟา้ เพราะเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนถูกใชไ้ ปในการสรา้ งพันธะหมด 32. ขอ้ ความใดต่อไปนี้ผดิ 1. ภายใต้สภาวะแวดลอ้ มทต่ี ่างกนั ธาตุบางชนดิ จะมรี ปู ผลึกทแี่ ตกตา่ งกนั 2. ธาตทุ อ่ี ยู่ในคาบเดยี วกันในตารางธาตจุ ะมสี มบัติคลา้ ยคลึงกัน 3. กฎ ทฤษฎี และสมมตฐิ านเกดิ จากพ้ืนฐานทต่ี า่ งกนั 4. โครงสรา้ งโมเลกุลมผี ลตอ่ สมบัติของธาตแุ ละสารประกอบ 33. การเปลยี่ นสถานะของของแขง็ เป็นของเหลวหรือไอ พลังงานจะถูกใช้เพอื่ ก. ทำลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวเคลียสกบั อเิ ล็กตรอนในอะตอม ข. ทำใหค้ วามหนาแน่นของของแข็งเพ่ิมข้นึ ค. ทำใหค้ วามไม่เปน็ ระเบียบของผลกึ ลดลง ง. ทำใหอ้ นภุ าคส่ันและมีพลงั งานสูงกว่าแรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนุภาค ข้อใดถูกต้อง

1. ก. ข. และ ค. 2. ค. และ ง. 3. ง. เท่านั้น 4. ก. ข. ค. และ ง. 34. ขอ้ ใดถูกต้องทส่ี ดุ เก่ียวกบั สมบัตขิ องของแข็งและการจดั เรียงอนุภาคของของแข็ง 1. เนยชนิดหนึง่ มีชว่ งการหลอมเหลวระหวา่ ง 50-70 ๐C สรุปว่าเนยเปน็ ของแขง็ อสณั ฐาน 2. ฟอสฟอรสั ดําและฟอสฟอรัสแดง มสี มบตั ติ า่ งกนั เพราะมีการจัดเรยี งอิเล็กตรอนตา่ งกัน 3. ผลกึ ไอออนิกทกุ ชนดิ มีการจัดเรยี งตัวของอนุภาคเหมือนกัน และจะนำไฟฟ้าเม่ือละลายน้ำ 4. ถ่านกัมมนั ต์และฟุลเลอรีน (C60) เป็นสารประกอบตา่ งชนดิ กนั ของธาตุคารบ์ อน 35. ขอ้ ใดถูกต้อง 1. ถ้าออสเมยี มเตตระออกไซด์ (OsO4) เปน็ ผลึกทไี่ ม่แขง็ หลอมเหลวได้ท่ี 40 ๐C ของเหลวไมน่ ำ้ ไฟฟ้า แสดงว่า OsO4) เปน็ ผลกึ ประเภทผลึกโมเลกลุ 2. ถา้ โบรอนในไตรด์ (BN3 ) หลอมเหลวท่อี ุณหภมู ิประมาณ 3000 ๐C ภายใต้ความดันสูง แสดงว่า BN3 เปน็ ผลกึ ประเภทผลกึ โมเลกลุ 3. กำมะถนั มอนอคลินิก จัดเป็นผลึกประเภทผลึกอโลหะ 4. ถูกทุกข้อ 36. การท่กี ำมะถันตกผลึกได้มากกว่า 1 แบบ ขนึ้ อยู่กับปจั จยั ใดต่อไปนี้ ก. อณุ หภูมทิ เี่ ผาก่อนทำใหเ้ ย็น ข. การจัดเรียงตวั ของอะตอมขณะเยน็ ลง ค. รูปแบบของผลึกของของแขง็ ทว่ั ไป 1. ก. และ ข. เทา่ นน้ั 2. ข. และ ค. เท่านนั้ 3. ก. และ ค. เทา่ นน้ั 4. ก. ข. และ ค. 37. กระบวนการเปลย่ี นสถานะในข้อใดต่างจากกระบวนการอ่นื ในแง่ของการดดู และคายความรอ้ น 1. การควบแนน่ 2. การหลอมเหลว 3. การตกผลกึ 4. การแชแ่ ขง็ 38. เม่อื ให้ความร้อนดว้ ยอตั ราคงที่กบั สารบริสทุ ธิ์ G ที่เป็นของแขง็ จำนวน 1 โมเลกุล พบการเปลย่ี นแปลง อณุ หภูมิของสาร G ดังกราฟ

ขอ้ ความใดถูก 1. จุดหลอมเหลวของสาร G มคี า่ เทา่ กบั b c 2. จากจดุ E ถงึ จุด F สาร G จะอยูใ่ นสถานะทเ่ี ปน็ แก๊ส 3. จากจุด A ถงึ จุด B โมเลกลุ ของสาร G มพี ลงั งานจลนเ์ ฉล่ียคงที่ 4. จากจดุ B ถงึ จุด C เป็นความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอของสาร G 39. เม่ือจ่มุ หลอดคะปลิ ลารปี ลายเปดิ ทงั้ สองข้างลงในน้ำและปรอทซึง่ อยู่ในบีกเกอร์ จงพิจารณาขอ้ ความ ตอ่ ไปนี้ ก. ระดบั ปรอทในหลอดคะปลิ ลารีจะโคง้ นนู สว่ นของนำ้ จะเว้าลง ข. ระดบั ปรอทในหลอดคะปิลลารีจะต่ำกว่าระดบั ปรอทในบีกเกอร์ ส่วนระดับน้ำในหลอด คะปลิ ลารีจะสงู กวา่ ระดับน้ำในบีกเกอร์ ค. โมเลกลุ ของปรอทจะตดิ กับผนังดา้ นในของหลอดแก้วซึ่งเป็น SiO ทำให้แรงยดึ ตดิ มีมากกวา่ แรงเชอ่ื มแน่น ง. แรงดงึ ดูดระหว่างอะตอมของปรอทมีมากกว่าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกลุ ของนำ้ เพราะว่าน้ำมี พันธะไฮโดรเจนเกดิ ขึน้ ระหวา่ งโมเลกลุ ขอ้ ใดถูกต้อง 1. ก. ข. และ ค. 2. ค. และ ง. 3. ก. ข. และ ง. 4. ถูกทุกข้อ 40. ภาชนะบรรจปุ รอท มีหลอดแก้วปลายปดิ ความสงู เท่ากันสองหลอดควำ่ อยู่ในภาชนะ ถ้าฉีดนำ้ บริสทุ ธ์ิ

(H2O) และเอทานอลบรสิ ทุ ธ์ิ (EtOH) ดว้ ยปรมิ าตรท่ีเทา่ กนั ผ่านเขา้ ไปในหลอดแกว้ แตล่ ะหลอด ดังรูป เมอ่ื เวลา ผ่านไปท่ีอุณหภูมิหอ้ ง ผลการทดลองท่ีคาดว่าจะสงั เกตได้ตรงตามข้อใด กำหนดให้ ความตึงผวิ ของนำ้ และเอทา นอลเท่ากบั 0.0720 และ 0.0220 N/m ตามลำดบั 1. ระดบั ปรอทในหลอดแกว้ ทั้งสองหลอดเท่ากัน 2. ระดับปรอทในหลอดแกว้ ด้านทบี่ รรจุน้ำสูงกว่าด้านทบ่ี รรจุเอทานอล 3. ระดับปรอทในหลอดแกว้ ด้านทบ่ี รรจุนำ้ ต่ำกวา่ ดา้ นท่บี รรจุเอทานอล 4. ยงั สรปุ ไมไ่ ด้ ตอ้ งทราบแรงเช่ือมแน่น (cohesive force) และแรงยดึ ติด (adhesive force) ของนำ้ ปรอท เอทานอล และแก้ว 41. ครูสอนวา่ ยน้ำแนะนำนกั ว่ายน้ำที่นำ้ เขา้ หวู ่า ถา้ ต้องการให้นำ้ ในหไู หลออกมา ใหห้ ยอดหู ด้วย แอลกอฮอล์ 1 หยด (70% เอทานอล) จงอธิบายวา่ เพราะเหตใุ ดนำ้ ในหจู ึงไหลออกมาได้สะดวก 42. ปจั จยั ใดต่อไปนีม้ ผี ลต่อความดนั ไอของของเหลว ก. แรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งโมเลกลุ ของของเหลว ข. ปริมาณของของเหลวซ่ึงมีสมดลุ ระหว่างของเหลวและไอ ค. อุณหภูมขิ องของเหลว 1. ก. เทา่ น้ัน 2. ก. และ ข. เท่านนั้ 3. ก. และ ค. เท่าน้ัน 4. ก. ข. และ ค. 43. ท่อี ณุ หภมู แิ ละความดนั เดียวกนั ถา้ ของเหลว ก. มีความดันไอต่ำกวา่ ของเหลว ข. ข้อใดสรุปถูกตอ้ ง 1. ของเหลว ก. ระเหยได้ง่ายกว่าของเหลว ข. 2. ของเหลว ก. มจี ุดเดือดสงู กวา่ ของเหลว ข. 3. ของเหลว ก. มมี วลโมเลกลุ น้อยกว่าของเหลว ข. 4. ของเหลว ก. มแี รงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกุลน้อยกว่าของเหลว ข. 44. ขอ้ ความใดกล่าวผิด 1. เอธานอลมีจุดเดือดตำ่ กวา่ เฮกเซน ดังนนั้ เอธานอลจะมีความดนั ไอสูงกวา่ เฮกเซน 2. แกส๊ CH บรรจอุ ยู่ในขวดใบหนึ่ง เมือ่ ลดอุณหภมู ลิ งครงึ่ หน่งึ ความดันของแกส๊ CH

จะเพิ่มขึ้นหน่งึ เท่า 3. แกส๊ CH จะมีความดนั ลดลงหน่ึงเทา่ เมือ่ อุณหภมู ลิ ดลงคร่ึงหนงึ่ 4. เอธานอลมีจุดเดือดสงู กวา่ เฮกเซน ดังนั้นเอธานอลจะมีความดันไอตำ่ กว่าเฮกเซน คาํ ชี้แจง ข้อมูลต่อไปน้ีใช้ประกอบการตอบคาํ ถามข้อ 45-46. ตารางแสดงจุดเดือดและมวลโมเลกุลของสาร สาร มวลโมเลกุล จดุ เดอื ด (๐C) นำ้ 18.0 100.0 เอทิลแอลกอฮอล์ 46.0 78.5 คลอโรฟอร์ม 119.5 61.3 เอทลิ อเี ทอร์ 74.0 34.6 45. ท่ีอุณหภูมิ 25 ๐C ของเหลวชนดิ ใดมีความดนั ไอสงู ที่สุด 1. น้ำ 2. เอทิลแอลกอฮอล์ 3. คลอโรฟอรม์ 4. เอทลิ อีเทอร์ 46. ของเหลวใดมีคา่ ความร้อนแฝงของการเกิดไอสงู ท่ีสดุ 1. นำ้ 2. เอทิลแอลกอฮอล์ 3. คลอโรฟอร์ม 4. เอทลิ อเี ทอร์ 47. ถ้าเทเอทานอลลงบนฝา่ มือเราจะรู้สกึ เปน็ เน่ืองจากของเหลวระเหยได้งา่ ย และในขณะท่ขี องเหลวระเหย พลงั งานจลนเ์ ฉล่ยี ของของเหลวที่เหลอื 1. ลดลง ของเหลวใหพ้ ลังงานแก่สิ่งแวดลอ้ ม 2. เพ่มิ ข้นึ ของเหลวดดู พลงั งานจากส่ิงแวดลอ้ ม 3. เพม่ิ ขึ้น ของเหลวให้พลังงานแกส่ ิ่งแวดลอ้ ม 4. ลดลง ของเหลวดดู พลังงานจากสิ่งแวดล้อม 48. ของเหลว ก. ข. ค. และ ง. มีความดนั ไอเป็น 0.75 , 0.53 , 011 และ 0.01 บรรยากาศ ตามลำดับที่ อุณหภูมิหอ้ งถ้าให้อตั ราการระเหยของของเหลว ก. ข. ค. และ ง. เป็น 10 , 8 , 6 และ 2 ลูกบาศก์ เซนติเมตรต่อชัว่ โมง ตามลำดับ เมอื่ นำของเหลว 2 ชนิด ๆ ละ 10 cm มาผสมกนั ของเหลวผสมคู่ใดจะ ระเหยไดเ้ ร็วทส่ี ุด 1. ของเหลว ก. กบั ค. 2. ของเหลว ก. กับ ง. 3. ของเหลว ข. กบั ค. 4. ของเหลว ค. กบั ง.

49. ของเหลวใดมีค่าความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอสูงสดุ และเมื่อเปลีย่ นสถานะเป็นแกส๊ สารใดจะมี อตั ราการแพรส่ ูงสุดในสภาวะเดียวกนั ของเหลว มวลโมเลกลุ จุดเดอื ด (๐C) A 78.1 80.1 B 142.6 197.5 C 168.4 222.0 D 215.5 174.0 ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอสงู สุด อตั ราการแพรส่ งู สุด 1. A A 2. C B 3. D C 4. C A 50. ก. ข. ค. และ ง. เป็นของเหลวทมี่ ีสมบัติดงั ตาราง ของเหลว จุดเดือด (๐C) การนำไฟฟ้า การละลายนำ้ ปฏกิ ิรยิ าโซเดยี ม ก 100 ✓ ✓ ✓ ข 78 ✓ ✓ ค 80    ง 56  ✓   การเรยี งลำดับความดนั ไอของของเหลวทัง้ ส่ี ในข้อใดถูกต้อง 1. ก. > ค. > ข. > ง. 2. ก. > ข. > ง. > ค. 3. ก. > ข. > ค. > ง. 4. ก. > ง. > ข. > ค. 51. พิจารณาตารางแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งอณุ หภมู ิกับความดันไอของของเหลวบางชนิด อุณหภูมิ ความดนั ไอของของเหลว (atm) (๐C) ABCD ก 0.1965 0.593 0.464 0.103 ข 0.3075 0.818 0.713 0.155 ค 0.4672 1.109 1.070 0.230 ง 0.6918 1.476 1.562 0.333 จากข้อมลู ตามตารางของเหลวชนดิ ใดที่จดุ เดือดปกตติ ำ่ กว่า 80 ๐C

1. A เทา่ นัน้ 2. B เท่าน้นั 3. A และ D 4. B และ C 52. ความดันไอของของเหลวขนึ้ อยู่กับปัจจัยใดต่อไปน้ี ก. ปรมิ าตรของไอ ข. อณุ หภมู ิ ค. ปริมาณของเหลว ง. พน้ื ท่หี น้าตัดของของเหลว 1. ก. และ ข. เท่านั้น 2. ข. เท่านั้น 3. ข. และ ค. เทา่ นัน้ 4. ค. และ ง. เท่านนั้ 53. จงจัดลำดบั แรงดึงดูดระหวา่ งโมเลกุลของสารต่อไปน้ี โดยกำหนดคา่ ความดันไอ ณ อุณหภมู ิ 20 °C ดังน้ี (1 Pa = 10-5 atm.) เบนซนี , C6H6 1.06  104 Pa กรดอะซีติก, HC2H3O2 0.16  104 Pa อะซิโตน, C3H6O 2.46  104 Pa ไดเอทธิล อเี ทอร์, C4H10O 5.89  104 Pa นำ้ , H20 0.23  104 Pa 54. A, B และ C เป็นของเหลวต่างชนิดกนั A มีแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งโมเลกลุ มากกวา่ B สว่ น C มี จดุ เดือดตำ่ กวา่ A แตส่ ูงกวา่ D จงเรียงลำดบั ความดันไอของของเหลวจากมากไปหาน้อย 1. A, B, C 2. C, B, A 3. A, C, B 4. B, C, A 55.

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความดันไอกบั อุณหภมู ิ จากกราฟแสดงความสมั พันธ์ระหว่างความดนั ไอของของเหลวกับอณุ หภูมขิ องของเหลว A, B, C และ D ขอ้ ใดถกู ต้อง ก. แรงยดึ เหน่ียวของ B > D ข. จุดเดอื ดของ C > B ค. แรงยึดเหนย่ี วของ C > A ง. จุดเดือดของ A > D 1. ก. และ ข. 2. ก. และ ง. 3. ข. และ ค. 4. ค. และ ง. 56. ขอ้ ความใดถูกต้องเก่ียวกับของเหลว A, B และ C ซ่ึงมีจดุ เดอื ดปกตทิ ี่ 46 ๐C , 78 ๐C และ 92 ๐C ตามลำดับ 1. ท่ีอุณหภูมิห้อง สาร A จะมีความดนั ไอตำ่ กวา่ สาร C 2. แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งโมเลกลุ ของสารจะเป็นดงั นี้ A B > C 3. ในภาชนะเปิดซงึ่ อยู่ทีร่ ะดับน้ำทะเล เราจะทำให้ของเหลว B มีอณุ หภมู ิสูงกวา่ 78 ๐C ไมไ่ ด้ 4. ในภาชนะปิดซ่ึงอยู่ทร่ี ะดบั น้ำทะเล เราจะทำให้ของเหลว A มีความดนั ไอสงู กว่า 760 มม. ปรอทไม่ได้ 57. กำหนดให้ A B C และ D เป็นของเหลวที่มสี มบัติดังนี้ ของเหลว จดุ เดือด (๐C) การนำไฟฟ้า การละลายนำ้ A 100 นำ ละลาย นำ ละลาย B 76 ไมน่ ำ ไม่ละลาย ไมน่ ำ ไมล่ ะลาย C 61 D 110 ขอ้ ความใดถูกต้อง 1. มวลโมเลกุล D > A > B > C 2. ที่ 25 ๐C ความดันไอของของเหลว C > D > B > A 3. เมอ่ื อุณหภมู ิสูงข้นึ เปน็ สองเทา่ อัตราการระเหยของของเหลวทั้งสีจ่ ะเพ่มิ ขึ้นเปน็ สองเท่า 4. เม่อื ความดันบรรยากาศเพ่ิมข้ึน จดุ เดอื ดของของเหลวท้ังสี่จะเพิ่มข้นึ ด้วย 58. ข้อความตอ่ ไปน้ีข้อใดผดิ

1. ถ้ามภี าชนะปดิ ซ่ึงมขี องเหลวและไอของของเหลวนนั้ อย่ใู นภาวะสมดุล แล้วเรารบกวนสมดลุ โดยการลดปรมิ าตร จะพบวา่ โมเลกุลในสถานะไอจะควบแนน่ เป็นของเหลวมากข้ึน และทำให้ ที่สมดลุ “ใหมม่ ีความดนั ไอน้อยกวา่ ที่สมดลุ เดมิ 2. ที่ความดนั 1 บรรยากาศ นำ้ แขง็ แห้งจะไม่กลายเป็นของเหลว แต่จะกลายเป็นแกส๊ เลย 3. ท่คี วามดนั สงู ของเหลวจะมีจดุ เดือดสงู และท่คี วามดันตำ่ ของเหลวจะมจี ดุ เดอื ดต่ำ 4. กำมะถันรอมบกิ สามารถเปลี่ยนเป็นกำมะถนั มอนอคลินกิ ได้เม่ืออุณหภูมสิ ูงข้นึ 59. จากกราฟแสดงความสมั พันธ์ระหว่างความดันไอกบั อุณหภูมติ ่อไปนี้ ข้อใดสรุปถูกต้อง 1. ของเหลว A มีจดุ เดือดตำ่ กว่าของเหลว B และ C ตามลำดบั 2. ของเหลว C มีความดันไอสูงสดุ แสดงว่ามแี รงยดึ เหนย่ี วระหว่างโมเลกุลสูงที่สดุ 3. ท่ีอุณหภมู ิคงท่ี เมื่อลดความดันของสิง่ แวดลอ้ มลงเรื่อย ๆ ของเหลว A จะเริ่มเดือดก่อน 4. เม่อื ความดันคงท่ี และลดอุณหภมู ิลงเรอ่ื ย ๆ จะพบวา่ แก๊ส C ควบแน่นเป็นของเหลวเปน็ ลำดับ สุดทา้ ย 60. อัตราการระเหยของของเหลวแปรผกผนั กับค่าใด 1. แรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกุล 2. ความดันอากาศเหนือของเหลว 3. จุดเดือดของของเหลว 4. ท้งั ขอ้ 1. , 2. และ 3. 61. ท่ีความดนั 750.0 torr สาร X เดือดท่ี 80.0 ๐C ทคี่ วามดัน 700.0 torr สาร X จะเดือดท่ีอุณหภูมิ กี่องศา เซลเซียส 1. 56.5 2. 74.7 3. 85.7 4. 105.2 62. ขอ้ ใดถกู ต้องเกีย่ วกับอัตราการระเหยของของเหลวเม่ือมกี ารเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ เกิดข้นึ ถ้าปรมิ าตร ของ ของเหลวไม่เปลี่ยนแปลง อตั ราการระเหยของของเหลว เพมิ่ อุณหภูมิ เพม่ิ พน้ื ทีผ่ ิวท่ีสมั ผสั กบั อากาศ แรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกุลเพม่ิ ขนึ้ 1. เพ่มิ ข้นึ คงที่ เพมิ่ ขน้ึ 2. ลดลง เพม่ิ ขน้ึ ลดลง

3. คงที่ คงท่ี คงท่ี 4. เพิ่มข้ึน เพ่มิ ข้นึ ลดลง 63. จากกราฟแสดงความสมั พนั ธข์ องความดนั ไอของของเหลว A B และ C กับอุณหภมู ิ ดังรปู ข้อใดถูก 1. ของเหลวผสม A B และ C จะมีจดุ เดือดปกติทค่ี รง่ึ หน่งึ ของ T และ T 2. ท่ีความดนั บรรยากาศเทา่ กับ 1.5 atm ของเหลว A และ B มีจุดเดอื ดเทา่ กนั 3. ทคี่ วามดนั บรรยากาศสงู กว่า 1 aim ของเหลว A มจี ุดเดอื ดตำ่ ที่สุด 4. ทีค่ วามดันบรรยากาศตำ่ กวา่ 1 atm ของเหลวผสม C กบั B จะมจี ุดเดือดต่ำกว่าจดุ เดือดของ สาร A ทค่ี วามดันเดียวกนั 64. ถา้ แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุลของของเหลว A มคี ่ามากกว่าแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลของ ของเหลว B สมบัติข้อใดต่อไปนีท้ ขี่ องเหลว A มคี า่ น้อยกวา่ ของเหลว B 1. จุดเดอื ดปกติ 2. อณุ หภมู ทิ ีท่ ำให้ของเหลวมีความดนั เทา่ กับ 100 mmHg 3. ความรอ้ นของการกลายเป็นไอ 4. ความดันไอท่อี ุณหภูมิห้อง 65. ความดนั ไอของของเหลว A, B และ C เปลี่ยนแปลงตามอุณหภมู ิดังกราฟ A, B และ C อาจเป็นสารใด ตามลำดบั , CH3 -O- CH3 1. CH3 -CH2-CH2-CH2-OH , CH3 -CH2-OH

2. CH3 -CH2-OH , CH3 -CH2-CH2-CH2-OH, CH3 -O- CH3 3. CH3 -O- CH3 , CH3 -CH2-CH2-CH2-OH, CH3 -CH2-OH 4. CH3 -O- CH3 , CH3 -CH2-OH , CH3 -CH2-CH2-CH2-OH 66. สาร P Q R และ S มีมวลโมเลกลุ และจดุ เดือดตามทีก่ ำหนดให้ สาร มวลโมเลกลุ จดุ เดอื ด ๐C P P 110.0 Q Q 78.5 R R 20.0 S s 61.3 ขอ้ สรุปใดถูกต้องมากทส่ี ดุ 1. สารท้งั 4 ชนดิ เป็นของเหลวทอ่ี ุณหภูมิห้อง 2. p > q > s >r 3. P มีความดนั ไอสูงท่ีสุด และมีความร้อนแฝงของการเกดิ ไอมากทสี่ ดุ 4. แรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกลุ P> Q > S > R 67. ข้อใดถูก 1. ต้มน้ำจืดและน้ำทะเลคู่กัน ในขณะทน่ี ำ้ ท้ังสองเดือดความดันไอของนำ้ ท้งั สองมีค่าเท่ากัน 2. ตม้ นำ้ จืดและน้ำทะเลคูก่ นั ในขณะที่น้ำทั้งสองเดือดอุณหภูมขิ องนำ้ ท้งั สองมีคา่ เทา่ กัน 3. ถา้ ใหค้ วามร้อนดว้ ยอัตราทเ่ี ท่ากัน น้ำทะเลจะเดือดก่อนน้ำจืด 4. ในการต้มน้ำ ถา้ ใหค้ วามร้อนในอตั ราที่เทา่ กนั ปดิ ฝาภาชนะท่ีใชต้ ้มให้สนทิ น้ำจะเดือดในเวลา เท่ากันกับเมื่อเปดิ ฝาภาชนะเน่ืองจากจุดเดือดเทา่ กัน 68. ความดันไอของของเหลวในภาชนะจะมีการเปล่ยี นแปลงอย่างไร เมือ่ เพ่ิมปริมาตรของเหลวเปน็ สองเท่า ที่ อุณหภูมิคงที่ 1. เพมิ่ ข้ึน 2. ลดลง 3. คงเดมิ 4. อาจเพม่ิ ข้นึ หรือลดลงขึน้ กับชนดิ ของของเหลว 69. ทดลองตม้ ของเหลว A แบบ (ก) และ (ข) โดยท่ีการทดลอง (ก) เป็นการต้มแบบเปิดฝา ส่วนแบบ (ข) เปน็ แบบปิดฝา ดังรปู

ข้อความใดต่อไปนี้ถกู 1. จดุ เดือดของของเหลว A จากการทดลอง (ก) สงู กว่าการทดลอง (ข) 2. จุดเดือดปกติของของเหลว A ในการทดลอง (ก) เทา่ กับการทดลอง (ข) 3. เม่ือใหค้ วามร้อนเท่ากัน ของเหลว A ในการทดลอง (ก) จะเดือดก่อนการทดลอง (ข) 4. ขณะท่ีของเหลว A เดอื ด ความดันไอของของเหลว A จากการทดลอง (ก) มีค่าสูงกว่าการ ทดลอง (ข) 70. จากข้อมลู ของเหลว ความดันไอ (atm) A 0.30 B 0.40 C 0.50 D 0.60 ข้อสรุปใดถกู ต้อง 1. A มจี ุดเดอื ดตำ่ สดุ 2. D มอี ตั ราการระเหยสงู สดุ 3. D มแี รงดงึ ดูดระหว่างโมเลกลุ สูงสดุ 4. B มีจุดเดือดสูงกวา่ C และ C มีแรงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลมากกว่า B 71. จากข้อความต่อไปนี้ ก. แกส๊ ทมี่ ีมวลโมเลกุลสงู จะแพรไ่ ด้ช้ากวา่ แกส๊ ท่ีมมี วลโมเลกลุ ตำ่ ข. ที่ STP แกส๊ ทุกชนดิ ท่มี ีปริมาตรเท่ากนั จะมจี ำนวนโมเลกุลเท่ากนั ค. อณุ หภมู ิที่ของเหลวมีความดนั ไอเท่ากบั ความดนั ของบรรยากาศ เรียกวา่ จุดเดือดปกติ ง. สารทีม่ ีการจัดเรยี งโมเลกุลตา่ งกัน จะทำใหม้ รี ูปร่างและสมบัติบางประการแตกต่างกัน

จ. การเพิ่มขึน้ ของจุดเดอื ดและการลดลงของจดุ เยือกแข็ง เป็นสมบตั ิที่ขน้ึ กับชนิดของตัวถูกละลายแตไ่ ม่ ขึน้ กับปริมาณของตัวถูกละลาย ข้อใดผดิ ท้ังคู่ 1. ค. และ จ. 2. ค. และ ง. 3. ข. และ จ. 4. ก. และ ข. 72. พจิ ารณาของเหลว A และ B ท่ีอุณหภมู ิท่ีกำหนดให้ ถ้าความดันไอของ B สูงกว่าของ A ขอ้ สรุป ทผี่ ดิ คือ 1. จดุ เดือดปกติของ A สูงกว่าของ B 2. A มแี รงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกลุ น้อยกว่าของ B 3. A มคี วามรอ้ นของการกลายเปน็ ไอสูงกว่า 4. A มอี ณุ หภมู วิ ิกฤตสูงกว่าของ B 73. จากข้อความต่อไปนี้ ก. ถ้าตม้ น้ำในห้องที่เปดิ เคร่ืองปรบั อากาศไวใ้ ห้มีอุณหภูมอิ ยู่ที่ 25 C นำ้ จะเดือดที่อณุ หภมู ิเดยี วกัน กบั เม่ือต้มนำ้ ในห้องธรรมดาที่มอี ุณหภูมิหอ้ งเทา่ กับ 35 C ข. ถ้าต้มเน้ือในเมืองบาดาลใต้ทอ้ งทะเลลึกจะเป่ือยเรว็ กว่าเนอ้ื ท่ตี ้มในเมืองท่ีอยู่ชายทะเล ค. ถ้าตม้ ไขใ่ นหม้อท่ีลดความดัน ไข่อาจจะไม่สุกกไ็ ด้ ง. ความดันไอน้ำ ในบรรยากาศของห้องจะมีคา่ ไมค่ งท่ขี ้ึนอยูก่ ับอุณหภูมิของห้องขณะน้ัน ๆ ข้อความใด ถกู ต้อง 1. ถกู ทกุ ขอ้ 2. ข. ค. และ ง. 3. ก. และ ง. 4. ง. เท่านน้ั 74. จดุ เดอื ดของ HO , HCI , H so และ HNO เท่ากบั 100 C, -84 c , 330 C และ 86 C ตามลำดับ สารใดมีความดนั ไอตำ่ ทสี่ ดุ 1. H2SO4 2. HNO3 3. HCI 4. H2O 75. ขณะท่ีของเหลวเดอื ดจะมี 1. ความดนั ไอคงท่ีและเทา่ กับความดันที่กดบนผิวของของเหลว 2. อุณหภูมคิ งท่ีแตค่ วามดันเพิ่มขน้ึ เรื่อยๆ 3. ความดนั ไอเพิ่มขึน้ เร่ือยๆ 4. อณุ หภมู ิสูงขึน้ เรื่อยๆ 76. ของเหลว A มีจดุ เดือด 60๐C ของเหลว B มีจุดเดือด 120 ๐C จากขอ้ มลู แสดงวา่ 1. ที่อณุ หภมู เิ ดยี วกัน ความดันไอของ A จะต่ำกว่าความดนั ไอของ B 2. แรงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งโมเลกลุ ของ A จะน้อยกว่าแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกลุ ของ B 3. เมือ่ A 1 โมล กลายเปน็ ไอ จะดดู ความร้อนมากกวา่ เม่ือ B 1 โมล กลายเปน็ ไอ

4. เม่ือผสม A กบั B จะได้ของเหลวที่มจี ุดเดอื ดตำ่ กวา่ 60๐C 77. พจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้ ก. สารท่ีมคี วามดันไอเทา่ กนั จะเดอื ดท่ีอณุ หภมู ิเดียวกนั เสมอ ข. เราสามารถทำให้สารทีม่ ีความดันไอต่างกัน เดือดท่ีอณุ หภมู เิ ดยี วกันได้ ค. จุดเดอื ดคือจุดที่เกิดสภาวะสมดลุ ระหวา่ งสารทเ่ี ป็นของเหลวกับไอของสารนั้น ง. ของเหลว A ประกอบไปด้วยของเหลวที่บรสิ ุทธ์ิ B ผสมกับของเหลวท่ีบริสุทธ์ิ C เม่ือของเหลว A เดอื ด อุณหภูมิจะคงท่ี ข้อความใดถูกต้อง 1. ข. เทา่ นั้น 2. ก. และ ข. 3. ก. , ค. และ ง. 4. ก. , ข. , ค. และ ง. 78. จากกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างความดันไอกบั อุณหภูมขิ องสาร A, B และ C ข้อใดสรุปถูกต้อง 1. แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งสาร A สูงกว่า B และ C ตามลำดับ 2. สาร A มีจุดเดอื ดสูงกว่า B และมีความดนั ตำ่ กว่า C 3. สาร B มีจดุ เดอื ดสูงกว่า C และมคี วามดนั ไอตำ่ กวา่ C 4. สาร C มจี ุดเดือดสงู กว่า A และมีความดนั ไอตำ่ กว่า B 79 . กำหนดคา่ ความดนั ไอของของเหลว A และ B ท่อี ุณหภมู ิ 30 ๐C และ 80 ๐C ดังน้ี อุณหภมู ิ (๐C) ความดนั ไอ (atm) ของเหลว A ของเหลว B 30 0.2 0.3 80 0.4 0.7 ขอ้ สรปุ ใดถกู ก. ของเหลว B เดือดทอี่ ุณหภมู ติ ่ำกว่าของเหลว A ข. ความรอ้ นแฝงของการกลายเปน็ ไอของของเหลว B < ของเหลว A ค. แรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกุลของ B < แรงดึงดูดระหวา่ งโมเลกุลของ A ง. มวลโมเลกลุ ของ B < มวลโมเลกุลของ A 1. ก. และ ข. เทา่ นนั้ 2. ก. ข. และ ค. เทา่ น้ัน

3. ก. ข. และ ง. เท่าน้นั 4. ก. ข. ค. และ ง. 80. ของเหลวบริสุทธ์ิ A มีจุดเดือดต่ำกวา่ ของเหลวบริสุทธ์ิ B เม่อื นำของเหลวท้ังสองมาผสมกนั ใน อัตราสว่ นหนงึ่ ปรากฏว่า ของเหลวผสมมีจุดเดอื ดคงท่ีท่ีตำ่ กว่าทั้งของ A และ B ลักษณะกราฟความ ดันของ A, B และ A+B ในข้อใดเปน็ ไปได้ 1. 2. 3. 4. 81. ของเหลว ความดันไอ (atm) จดุ เดอื ด (๐C) xad ybe zcf การเปรยี บเทียบสมบัตสิ ารในข้อใดถกู ต้อง 1. ถา้ a b > c ดงั นัน้ d < e <f 2. ถา้ 2 > b »c ดงั นน้ั d >e > f 3. ถา้ a < b < c ดงั นั้น d < e <f 4. ถ้า a < b > C ดังน้ัน d < e > f 82. กำหนดตารางแสดงอุณหภมู ิ ณ ความดนั ไอตา่ ง ๆ ของสาร ก ข และ ค เปน็ ดังนี้ สาร 1 mmHg อณุ หภมู ิ (๐C) 760 mmHg 40 mmHg ก - 31.3 x 78.4

ข a 34.1 c ค -2.3 19.0 d ขอ้ ใดถกู ต้อง 1. a < 34.1 < c และ X > 19.0 2. -31.3 < < < 78.4 และ c > d 3. 78.4 < c < d และ c > 34.1 4. -31.3 < a < -2.3 และ d > -2.3 83. ความดนั ไอของของเหลว A, B, C เปลย่ี นแปลงตามอุณหภูมิ ดงั กราฟ ข้อใดถูกต้อง 1. ของเหลว A มจี ดุ เดือดปกตติ ่ำกวา่ ของเหลว B และ C 2. ของเหลวทั้งสามชนิดมจี ดุ เดือดปกตสิ งู กวา่ T แตต่ ่ำกว่า T 3. ที่ความดันบรรยากาศสงู กว่า 1 บรรยากาศ ของเหลว B จะมจี ุดเดอื ดต่ำกว่าของเหลว A และ C 4. ท่คี วามดนั บรรยากาศตำ่ กวา่ 1 บรรยากาศ ของเหลวผสม A กับ C จะเรมิ่ เดือดที่อุณหภูมิตำ่ กวา่ จดุ เดอื ด (ที่ความดนั เดยี วกัน) ของของเหลว B เสมอ 84. แผนภาพตอ่ ไปนีแ้ สดงการทดลองเพื่อศึกษาความดนั ไอของของเหลว A, B และ C พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้ ก. ของเหลว B มีความดนั ไอสูงท่สี ดุ ข. ของเหลว A มีจดุ เดือดตำ่ ที่สดุ ค. ของเหลว C มีแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุลนอ้ ยกวา่ ของเหลว B

ง. ของเหลว A ระเหยยากกว่าของเหลว C ข้อใดสอดคล้องกับผลการทดลอง 1. ข. และ ค. เท่านน้ั 2. ค. และ ง. เทา่ นัน้ 3. ก. ข. และ ค. 4. ข. ค. และ ง. 85. พิจารณากราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างความดันไอกบั อุณหภูมขิ องของเหลว A และ B ตอ่ ไปน้ี ข้อใดผดิ 1. ความดันไอของของเหลว A และ B เพ่ิมขนึ้ ตามอุณหภูมิ 2. ของเหลว B มีความดันไอสูงกวา่ ของเหลว A ที่อุณหภูมิ 80 C 3. ของเหลว A มจี ุดเดือดปกตสิ ูงกว่าของเหลว B 4. ของเหลว A มจี ดุ เดือดปกติใกลเ้ คยี งกับ 90 C 86. ในการทดลองหาความดันไอของของเหลว A, B และ C 3 ชนิด ไดผ้ ลดงั รูป ขอ้ สรุปใดถูกต้อง

1. สาร A มีแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งโมเลกลุ มากท่ีสุด 2. สาร B มจี ดุ เดือดตำ่ สดุ 3. สาร C มจี ดุ เดือดสูงกว่าสาร A แตต่ ่ำกว่าสาร B 4. สาร B มีความดันไอสูงกวา่ A แตต่ ำ่ กว่า C 87. สมดลุ ไดนามิกของนำ้ เกิดขึ้นเมอื่ ใด 1. เมอ่ื ความดันไอของนำ้ เทา่ กบั ความดนั ของบรรยากาศ 2. เมือ่ อตั ราการเกดิ ไอเทา่ กับอัตราการควบแน่น 3. เม่ือจำนวนโมเลกุลของน้ำเท่ากบั จำนวนโมเลกุลของไอน้ำ 4. พลังงานจลน์ของนำ้ เทา่ กับพลังงานจลน์ของไอนำ้ 88. ภาวะสมดลุ ไดนามิกในการกลายเปน็ ไอของนำ้ หมายถงึ 1. อตั ราการระเหยกลายเปน็ ไอเทา่ กบั อัตราการควบแน่นกลบั เปน็ ของเหลว 2. ความดนั ไอเหนอื ของเหลว และอตั ราการระเหยเป็นไอมีค่าคงท่ี 3. จำนวนโมเลกุลที่อยใู่ นภาวะไอมคี ่าคงท่ี 4. ถกู หมดทุกข้อ 89. ความดันไอขน้ึ กับ 1. ชนิดของของเหลว 2. อุณหภูมขิ องของเหลว 3. จำนวนโมเลกลุ ของของเหลว 4. ถูกท้ังข้อ 1, 2 90. เพราะเหตุใดหม้ออัดความดนั จงึ สามารถต้มเนอ้ื ให้เปื่อยไดเ้ รว็ กว่าหม้อธรรมดา 1. ความรอ้ นไม่สูญเสียออกไปกบั ไอน้ำเนื่องจากหมอ้ อัดความดนั ปดิ สนทิ 2. ความดนั เหนอื ของเหลวในหมอ้ อัดความดันสูงกว่าของเหลวในหมอ้ ธรรมดา 3. ของเหลวในหม้ออัดความดันเดอื ดท่ีอุณหภูมิสูงกว่าของเหลวในหม้อธรรมดา 4. ของเหลวในหม้ออัดความดันเดือดที่ความดันและอุณหภมู ิคงทต่ี ลอดเวลา 91. ในการสอนวิทยาศาสตร์ท่วั โมงหนง่ึ ครูได้สาธิตโดยใช้ปม้ั ดูดอากาศออกจากหลอดทดลองที่สวมกนั อยู่ 2 ช้นั หลอดขนั้ ในมีน้ำบรรจุอยู่ เมือ่ ดูดอากาศออกสกั พกั ปรากฏว่าเรมิ่ มเี กล็ดน้ำแข็งเกดิ ขึ้น กระบวน การใด ใช้อธบิ ายผลการทดลองนีไ้ ด้

1. การแพร่ 2. การระเหย 3. การตกผลกึ 4. สมดุลไดนามิก 92. ใสข่ องเหลว A ในภาชนะที่มีพนื้ ท่หี นา้ ตดั เป็น 1 เท่าของท่ใี ส่ของเหลว B แลว้ ปดิ ฝาดงั ภาพ ขอ้ ใด กล่าวถูก 1. ของเหลว B มคี วามดันไอมากกวา่ ของเหลว A 3 เทา่ ณ อุณหภมู เิ ดยี วกัน 2. ถา้ ของเหลว A และ B เป็นของเหลวชนดิ เดียวกัน ความดันไอของของเหลวทง้ั สองมคี ่าเท่ากนั ณ อณุ หภมู ิเดียวกัน 3. ถ้าแรงดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกุลของของเหลว A มากกวา่ ของเหลว B ความดันไอของของเหลว A จะมากกว่า ณ อุณหภมู ิเดียวกนั 4. ถ้าเปิดฝาภาชนะทงั้ สอง ความดันไอของของเหลวทั้งสองจะเท่ากัน ณ อุณหภูมิเดยี วกนั 93. แกส๊ ท่ีใชท้ ำความเยน็ ในตู้เย็น จะตอ้ งเป็นแก๊สที่ระเหยง่ายและไอควบแนน่ เป็นของเหลวได้งา่ ย ปัจจุบนั นยิ มใช้ “แกส๊ ฟรอี อน” อยากทราบวา่ แก๊สฟรอี อนมีสูตรเคมวี า่ อะไร 1. CH2Cl2 2. CF2Cl2 3. CH3CI 4. CHCI3 94. จากการทดสอบโดยการวัดความดนั ในหม้ออดั ความดนั A, B, C และ D ไดผ้ ลดงั นี้ หม้ออัดความดันใบไหนมีประสทิ ธิภาพดที ่ีสุด 3. C 4. D 1. A 2. B

95. ความตงึ ผิวของของเหลวคอื ข้อใด 1. แรงทกี่ ระทำต่อหน่วยความยาวของผวิ หน้า 2. แรงที่กระทำต่อหน่วยพน้ื ท่ีของผวิ หนา้ 3. พลังงานท่กี ระทำตอ่ หน่วยความยาวของผวิ หนา้ 4. ความดนั ทกี่ ระทำต่อหนว่ ยพน้ื ทข่ี องผวิ หนา้ 96. เข็มท่ีเล็กมากสามารถลอยบนนำ้ สะอาดเพราะเหตุใด 1. ความตึงผวิ ของน้ำ-อากาศเอาชนะน้ำหนักของเข็มได้ 2. ความตึงผวิ โลหะ-อากาศมีค่ามากกวา่ นำ้ หนักของนำ้ ทถ่ี ูกแทนท่ี 3. ความตงึ ผวิ นำ้ -อากาศมคี ่าเทา่ กับความตึงผวิ ของนำ้ -โลหะ 4. ความตงึ ผวิ ของนำ้ -โลหะมีค่ามากกวา่ น้ำหนักของเขม็ 97. ความตึงผวิ มีหน่วยอย่างไร 1. Nm-1 2. Jm 3. Nm-2 4. Jm 98. หนว่ ย Nm ซึ่งใช้สาํ หรบั ความตึงผิวมีคา่ เทยี บเทา่ กบั ข้อใด 1. J 2. Jm 3. Jm-1 4. Jm-2 99. ความตงึ ผวิ ของหยดของเหลวทตี่ กจากหลอดรเู ล็กขนาด 4 mm ถา้ เปรียบเทยี บกับหยดของเหลวที่ตก จากหลอดรเู ลก็ ขนาด 2 mm เป็นอย่างไร 1. คร่งึ หน่ึงของความใหญ่ 2. สองเท่าของความใหญ่ 3. ไมเ่ ปล่ียนแปลง 4. สีเ่ ท่าของความใหญ่ 100. แก้วมกั ถูกล้างโดยใช้น้ำหลงั จากใช้แลว้ ถ้าหยดนำ้ ตดิ กับผวิ แกว้ แสดงวา่ แก้วเป็นอย่างไร 1. สะอาด เพราะหยดนำ้ เปียกแก้วทีส่ ะอาด 2. สะอาด เพราะนำ้ ไม่เปยี กแก้วทส่ี ะอาด 3. ไม่สะอาด เพราะน้ำเปียกแก้วทีส่ ะอาด 4. ไมส่ ะอาดเพราะน้ำไม่เปยี กแก้วที่สะอาด 101. ผวิ หน้าเบนซีนมลี กั ษณะเว้าลง (  ) ในหลอดแกว้ ท่ีสะอาด ในขณะที่ปรอทมผี ิวหน้าโค้งข้นึ (  ) ขอ้ ความใดต่อไปนี้ท่ีถูกต้อง 1. เบนซีนมีความตึงผวิ มากกว่าปรอท และเบนซีนจะเปียกปรอท 2. เบนซินมคี วามตงึ ผิวนอ้ ยกวา่ ปรอท และเบนซนี จะเปียกปรอท

3. เบนซีนมีความตงึ ผิวมากกว่าปรอท และเบนซนี จะไมเ่ ปยี กปรอท 4. เบนซีนมีความตึงผิวนอ้ ยกว่าปรอท และเบนซีนจะไม่เปียกปรอท 102. ถ้าของเหลวมีผวิ หน้าลักษณะเวา้ ลง (  ) ในหลอดรเู ล็ก แรงยึดติดระหว่างของเหลวและแกว้ เปน็ อย่างไร 1. มากกวา่ ความตึงผวิ ของของเหลว 2. มากกวา่ แรงเชื่อมแน่นภายในของเหลว 3. น้อยกว่าแรงเช่อื มแนน่ ภายในของเหลว 4. นอ้ ยกว่าแรงตึงผวิ ของของเหลว 103. ถา้ ของเหลวชนิดหนง่ึ ไม่เปยี กแกว้ ลักษณะของของเหลวในแกว้ รเู ล็กเปน็ ดังรปู ใด 1. 2. 3. 4. ข้อมูลตอ่ ไปนใี้ ช้ตอบคําถามข้อ 104-106 แผนภาพตอ่ ไปนแี้ สดงมุมของดา้ นขา้ งของหยดของเหลวบนผวิ ทเ่ี คลอื บข้ผี ้ึง

104. ถ้าหยดของเหลวในรปู III คือน้ำบรสิ ุทธิ์ หยดสารละลายของสารซักฟอกจะเป็นรูปใด 1. I 2. II 3. III 4. IV 105. หยดของเหลวทม่ี มี ุมสัมผสั กวา้ งท่สี ุดเมอ่ื วดั ผ่านอากาศคอื รูปใด 1. I 2. II 3. III 4. IV 106. ความตึงผิวของหยดของเหลวจะเพิ่มขน้ึ ตามลำดับดังรูปใด 1. II, II, I, IV 2. II, I, II, IV 3. IV, III, I, I 4. IV, I, II, II ใช้รปู ต่อไปน้ตี อบคาํ ถามขอ้ 107-108 107. ต่อไปนข้ี ้อใดสรปุ ได้ถูกต้อง 1. จดุ เดือดของสาร A B >C 2. มคี วามเปน็ ไปไดท้ ีส่ าร A, B และ C คือ CH4 , C2H6 และ C3H8, ตามลำดบั 3. ทสี่ ภาวะเดียวกันลำดับความงา่ ยของการกลัน่ ตวั คือ A B และ C ตามลำดบั 4. การละลายในน้ำของสารมีลำดับดงั นี้ A < B < C 108. ขอ้ ใดเป็นไปไม่ได้ 1. A, B และ C คอื He, Ne และ Ar ตามลำดับ 2. พลงั งานจลน์เฉลีย่ ของแก๊ส A > B > C ทำใหแ้ กส๊ A แพร่ได้เร็วท่ีสุด 3. ถ้าแก๊สท้ังสามมปี ริมาตรเทา่ กันจะมีจำนวนโมเลกลุ เทา่ กันเสมอ 4. ถา้ ของเหลวทั้ง 3 ชนิดมจี ำนวนโมเลกลุ เรมิ่ ต้นเท่ากัน ในภาชนะปิดแยกกนั แลว้ ตงั้ ทงิ้ ไวจ้ นถึงภาวะ สมดุล จะไดจ้ ำนวนโมเลกุลของแกส๊ A > B > C 109. เราใชฟ้ รีออนบรรจุในตเู้ ยน็ มาก่อน แต่ในปัจจบุ นั พบวา่ สารตัวนท้ี ำลายโอโซนในบรรยากาศเราจึง ต้องหาสารชนิดใหมเ่ พ่ือใช้แทนที่ฟรีออน ข้อใดไมใ่ ช่สมบตั ิของสารตวั ใหม่ทต่ี ้องการ 1. มีความดันไอต่ำ

2. มจี ุดเดอื ดต่ำ 3. โมเลกุลมีข้ัวตำ่ 4. อัตราการดดู ความรอ้ นในการเปลย่ี นสถานะสูง มแี ก๊สในกระบอกสูบจำนวนหน่ึงในกระบอกสบู ท่จี ุด A ท่ี 15 ๐C 110. เมื่อให้ความร้อนกบั แกส๊ สมมติว่าลูกสบู สามารถเคลือ่ นที่ได้อยา่ งอสิ ระ ความดนั ของแก๊สจะเป็น อย่างไร 1. เพ่มิ ขึน้ 2. ลดลง 3. เทา่ เดมิ 4. เปลี่ยนแปลงในลกั ษณะท่ีไมส่ ามารถทำนายได้ 111. โดยใช้อปุ กรณเ์ ดียวกนั ที่อุณหภมู ิคงที่ 15 ๐C ลูกสูบถูกผลกั ไปอยทู่ ่ีตำแหน่ง 6 ปริมาตรจึงลดลงเหลอื คร่ึงหน่งึ จำนวนโมเลกลุ เฉล่ียทเ่ี ขา้ ชนผนังของภาชนะต่อหนึ่งหนว่ ยพื้นที่ต่อหน่ึงหนว่ ยเวลาจะเปน็ อยา่ งไร 1. เพ่ิม 2 เทา่ 2. ลดลงครงึ่ หนึ่ง 3. ยังคงเดมิ 4. เปลย่ี นแปลงในลักษณะท่ีไมส่ ามารถทำนายได้ 112. ขอ้ ความใดถกู ต้องทีส่ ดุ 1. แกส๊ จรงิ จะมีพฤติกรรมใกล้เคียงกบั แก๊สสมบูรณ์ท่ีอุณหภมู ิตำ่ และความดันสงู 2. ที่อณุ หภมู ิและความดนั คงทคี่ ่าหนงึ่ แก๊สทุกชนดิ จะมีพลังงานจลน์เฉลย่ี เท่ากนั 3. การละลายของแกส๊ จะเพิ่มขึน้ เม่ืออณุ หภูมิเพม่ิ ขน้ึ 4. ที่ความดันสงู ของเหลวจะมีจดุ เดอื ดสงู และท่ีความดันต่ำจะมีจดุ เดือดต่ำ 113. แกส๊ ใดต่อไปน้ีมคี ุณสมบัติสอดคลอ้ งกบั ทฤษฎจี ลน์ของแกส๊ มากทส่ี ดุ 1. ออกซเิ จน 2. คลอรีน 3. อาร์กอน 4. ไนโตรเจน

114. ข้อใดถกู ตอ้ งเก่ยี วกับสมบัติของแก๊สตามทฤษฎจี ลน์ 1. โมเลกลุ ของแกส๊ สมบูรณ์มีขนาดเล็กมากจนถือไดว้ ่ามีมวลเป็นศนู ย์ 2. แกส๊ ท่วั ไปจะมีสมบัติใกลเ้ คยี งกับแก๊สสมบูรณม์ ากทสี่ ดุ ถา้ อยใู่ นสภาวะความดนั สงู และ อุณหภูมติ ่ำ 3. ทีอ่ ุณหภูมิเดยี วกนั แก๊ส A และแกส๊ B จะมีพลงั งานจลนเ์ ฉลีย่ เทา่ กนั เสมอ 4. หากลดอณุ หภมู ิของแกส๊ จาก 100 ๐C เป็น 50 ๐C โดยที่ปรมิ าตรคงที่ ความดันของแกส๊ จะเพิ่ม ข้ึนเป็น 2 เทา่ 115. ทฤษฎีจลน์ของโมเลกุลแก๊สเป็นดังนี้ ก. โมเลกลุ แกส๊ เคลือ่ นท่เี ป็นเส้นตรงด้วยความเรว็ สงู เกดิ การชนกนั หลายครั้งในหน่งึ วนิ าที ข. โมเลกุลแก๊สเปลี่ยนทศิ ทางเม่ือชนกบั โมเลกลุ อ่นื หรอื กับผนงั ภาชนะ ค. พลังงานจลนเ์ ฉล่ียของโมเลกุลแกส๊ เป็นปฏภิ าคโดยตรงกบั อุณหภมู ิสมั บรู ณ์ ง. แก๊สบรรจเุ ตม็ ภาชนะเสมอ ปรมิ าตรของแกส๊ จงึ หมายถงึ ผลรวมของปริมาตรของโมเลกุลแก๊ส ข้อที่ถกู ต้องคือ 1. ข้อ ก. 2. ข้อ ก. และ ข. 3. ขอ้ ก. , ข. และ ค. 4. ขอ้ ก. ข. ค. และ ง. 116. เรือ่ งทฤษฎีจลน์ของแก๊สขอ้ ใดไม่ถูกต้อง 1. โมเลกุลของแก๊สจะไม่มีแรงยึดเหนย่ี วระหว่างกัน 2. ทีอ่ ณุ หภมู ิเดียวกันแก๊สจะมีพลังงานจลน์เฉล่ยี เทา่ กนั 3. แก๊สฮเี ลยี มเปน็ แก๊สที่มีพฤตกิ รรมใกลเ้ คยี งกบั แก๊สอุดมคติ 4. สมบตั ขิ องแก๊สจริงจะใกลเ้ คยี งกบั แกส๊ อดุ มคตไิ ด้ ถ้าเพ่ิมความดันและลดอณุ หภูมิ 117. สมมติฐานในข้อใดไม่ใชส่ มมตฐิ านของนักวิทยาศาสตร์ในการต้งั ทฤษฎีจลนข์ องแก๊ส 1. โมเลกุลของแก๊สมีมวลแตไ่ ม่มีปริมาตร 2. โมเลกุลของแกส๊ เคลื่อนท่ีอย่างอิสระในแนวเสน้ ตรง ดว้ ยทศิ ทางที่ไม่แน่นอน แต่มีความเร็วคงท่ี ตลอดเวลา 3. โมเลกลุ ของแกส๊ อยหู่ ่างกันมากจนไม่มีแรงกระทำตอ่ กัน 4. พลงั งานของโมเลกลุ ของแก๊สจะไม่เปลีย่ นแปลงเม่ือมีการชนกนั หรือชนฝาผนงั 118. แก๊สจรงิ อาจมสี มบตั ใิ กล้เคียงกับแกส๊ อุดมคติได้เมื่ออยู่ในสภาวะใด 1. อุณหภูมคิ งที่ 2. อุณหภูมิตำ่ ความดนั สงู 3. อุณหภูมิสงู ความดันต่ำ

4. อัตราเร็วเฉลีย่ ของการเคลื่อนท่ขี องโมเลกุลคงที่ 119. ข้อใดไม่ถกู ตอ้ งตามทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ 1. เมอื่ โมเลกุลชนกันหรอื ชนผนังภาชนะอาจมีการถ่ายเทพลังงาน แตจ่ ะไมม่ ีการสูญเสียพลังงาน รวมแต่อยา่ งไร 2. ประกอบดว้ ยโมเลกลุ ทีม่ ขี นาดเลก็ มาก อย่หู ่างกนั และไม่มแี รงยึดเหนยี่ วระหว่างกนั 3. แตล่ ะโมเลกุลเคลือ่ นท่ีเป็นเส้นตรงอยู่ตรงตลอดเวลา ดว้ ยอัตราเร็วคงท่ีและเทา่ กนั จนกระท่ัง ชนกนั เองหรือชนผนงั ภาชนะที่บรรจุ จงึ จะเปลี่ยนทศิ ทางและอาจเปลย่ี นอัตราเร็วดว้ ย 4. ทอ่ี ุณหภูมเิ ดียวกนั แกส๊ ทุกชนิดจะมีพลงั งานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน 120. ความดันของแก๊สเกิดจากข้อใด 1. โมเลกลุ ของแกส๊ ชนกนั เอง 2. โมเลกุลแกส๊ ชนผนงั ภาชนะ 3. โมเลกลุ ของแกส๊ ชนกันเอง และชนผนังภาชนะ 4. โมเลกุลของแกส๊ รวมกนั เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ 121. แก๊ส X มคี วามดนั Px ที่อณุ หภมู ิ Tx ส่วนแกส๊ y มีความดัน Py ทีอ่ ุณหภูมิ Ty พลงั งานจลนเ์ ฉลีย่ ของโมเลกุลของแกส๊ ทั้งสองมีคา่ เท่ากนั ถา้ Vx และ Vy เปน็ ปรมิ าตรของแก๊สคู่น้ี อัตราสว่ น Tx เป็นเทา่ ใด Ty 1. 1 2. 1 2 3. 2 4. ขนึ้ อยู่กับ Vx Vy 122. ภาชนะบรรจุแกส๊ ต่อกันถงึ กนั ดงั ในรูป

เมื่อเปิดลนิ้ A และ B ที่สมดลุ ใหม่จะมีการเปลยี่ นแปลงอย่างไร 1. ความดันเพิ่มข้ึน อุณหภูมิเพ่ิมข้ึน 2. ความดันลดลง อุณหภูมิเพ่ิมขึน้ 3. ความดนั ลดลง อณุ หภูมิลดลง 4. ความดนั เพิม่ ขน้ึ อุณหภมู ิลดลง 123. ภาชนะ 2 ใบ มีแก๊สบรรจุอยู่ ถ้าทำใหภ้ าชนะใบที่ 1 มีอุณหภมู สิ งู กวา่ ใบท่ี 2 ผลจากการทดลองพบ ว่าความเร็วเฉลีย่ ของโมเลกุลของแกส๊ ในภาชนะทั้งสองเทา่ กัน จะสรุปผลการทดลองนีอ้ ยา่ งไร 1. โมเลกุลของแกส๊ ในภาชนะใบที่ 2 มพี ลังงานจลนเ์ ฉล่ยี สงู กว่าโมเลกลุ ของแกส๊ ในภาชนะใบท่ี 1 2. โมเลกุลของแกส๊ ในภาชนะใบที่ 1 มีมวลรวมกันมากกว่าโมเลกุลของแก๊สในภาชนะใบท่ี 2 3. พลังงานจลนเ์ ฉล่ียของโมเลกุลของแกส๊ ในภาชนะทั้ง 2 ใบเทา่ กนั 4. ผลการทดลองไม่ถกู ต้อง เพราะทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ กลา่ ววา่ ความเรว็ เฉล่ยี ของแก๊สที่อุณหภูมิ ต่างกันจะต้องไมเ่ ทา่ กัน 124. มวลอะตอมของแก๊ส A เปน็ 2 เท่าของอะตอมของแก๊ส B ทีอ่ ณุ หภูมเิ ดียวกัน ขอ้ ความทถ่ี ูกตอ้ งคือ ขอ้ ใด 1. ผลรวมของพลังงานจลนแ์ ละพลังงานศกั ย์ของแกส๊ ท้ังสองเท่ากนั 2. ความเรว็ เฉล่ียของแกส๊ ท้งั สองเทา่ กัน 3. ความเรว็ เฉลี่ยของแก๊ส A เปน็ ครึง่ หนงึ่ ของแกส๊ B 4. พลังงานจลน์เฉลีย่ ของแกส๊ ท้งั สองเท่ากัน 125. ขอ้ ความใดถูกต้อง ถ้าลดปริมาตรของภาชนะท่บี รรจุแก๊ส โดยให้อุณหภมู ิคงท่ี 1. อะตอมของแก๊สจะชนผนงั ภาชนะดว้ ยแรงเทา่ เดมิ แต่ในอตั ราความถี่เพ่ิมขน้ึ 2. อะตอมของแกส๊ จะชนผนังภาชนะแรงขน้ึ กวา่ เดิม แต่ในอตั ราความถ่ีคงเดมิ 3. อะตอมของแก๊สจะชนผนงั ภาชนะแรงกว่าเดมิ แตใ่ นอัตราความถล่ี ดลง 4. อะตอมของแกส๊ จะชนผนงั ภาชนะเบากว่าเดมิ แต่ในอตั ราความถเ่ี พ่ิมขนึ้ 126. แก๊ส C2H2 และ C2H6 ท่ีหนกั เทา่ กัน นำไปบรรจใุ นขวดท่มี ปี ริมาตรและอุณหภูมิเท่ากนั จะพบว่า 1. ความดันในขวดท่ีบรรจุ C2H6 มีมากกวา่ ความดนั ในขวดท่บี รรจุ C2H2 2. แกส๊ ทง้ั สองจะมจี ำนวนโมเลกุลเทา่ กนั 3. แก๊สทัง้ สองมคี วามดันเทา่ กัน

4. ความดนั ในขวดทบ่ี รรจุ C2H2 มีมากกว่าความดนั ในขวดท่ีบรรจุ C2H6 127. ภาชนะ 2 ใบ ซ่ึงมปี รมิ าตรเท่ากนั บรรจุแกส๊ ต่างชนดิ กัน มีความดนั เดียวกัน ข้อความต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง 1. ภาชนะท้งั 2 ใบ จะต้องมีอุณหภมู เิ ทา่ กัน 2. ภาชนะทัง้ 2 ใบ จะต้องมแี ก๊สท่มี ีมวลเท่ากนั 3. ถา้ ภาชนะท้ัง 2 ใบ มีจำนวนโมเลกุลเทา่ กัน ภาชนะทั้ง 2 ใบ จะต้องมอี ุณหภมู เิ ท่ากนั 4. ถา้ ภาชนะทั้ง 2 ใบ มแี ก๊สที่มมี วลเทา่ กนั ภาชนะทง้ั 2 ใบ จะตอ้ งมีอุณหภูมเิ ทา่ กนั 128. ถ้าบรรจุแกส๊ ออกซิเจนและแก๊สไนโตรเจนมวลเทา่ กัน ลงในภาชนะ 2 ใบ ทม่ี ีปรมิ าตรเทา่ กัน และ อณุ หภูมิ เดียวกนั ขอ้ สรุปใดถูกตอ้ ง 1. ภายในภาชนะทั้งสองมจี ำนวนโมเลกุลของแกส๊ เทา่ กัน 2. แก๊สไนโตรเจนพลังงานจลน์เฉลีย่ มากกว่าแก๊สออกซิเจน 3. ความดันในภาชนะทบ่ี รรจุแก๊สไนโตรเจนจะมคี ่ามากกวา่ ความดันในภาชนะท่ีบรรจุแกส๊ ออกซเิ จน 4. โมเลกลุ ของแก๊สออกซิเจนเคล่ือนทไี่ ดเ้ ร็วกวา่ โมเลกลุ ของแกส๊ ไนโตรเจน 129. บรรจุแกส๊ ออกซิเจนและแก๊สไฮโดรเจนซึง่ มีมวลเทา่ กันในขวดทีม่ ีขนาดเท่ากัน ที่อุณหภูมิเดยี วกัน ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง (0 = 16, H = 1) 1. พลังงานจลนเ์ ฉลี่ยของแกส๊ ในขวดท่บี รรจอุ อกซเิ จนมากกวา่ ขวดท่บี รรจไุ ฮโดรเจน 2. ความดนั ของแกส๊ ในขวดทีบ่ รรจอุ อกซิเจนน้อยกว่าในขวดที่บรรจไุ ฮโดรเจน 3. จำนวนโมเลกุลของแก๊สในขวดทบี่ รรจุออกซิเจนมากกวา่ ในขวดทบ่ี รรจุไฮโดรเจน 4. ความเร็วเฉล่ียของแกส๊ ในขวดท่ีบรรจอุ อกซเิ จนมากกว่าในขวดทีบ่ รรจไุ ฮโดรเจน 130. มวลอะตอมของแกส๊ A เป็น 2 เทา่ ของมวลอะตอมของแกส๊ B ท่ีอุณหภมู เิ ดยี วกนั ข้อความท่ีถกู ต้อง คอื ข้อใด 1. ผลรวมของพลังงานจลน์และพลงั งานศักยข์ องแก๊สทั้งสองเท่ากนั 2. ความเรว็ เฉล่ียของแกส๊ ท้ังสองเท่ากัน 3. ความเร็วเฉล่ยี ของแกส๊ A เป็นคร่ึงหนงึ่ ของแก๊ส B 4. พลังงานจลน์เฉลย่ี ของแก๊สท้ังสองเทา่ กนั 131. พิจารณาข้อความเกยี่ วกับแก๊สดังต่อไปน้ี ก. แก๊สมปี รมิ าตรไม่แนน่ อนขึ้นกับปริมาตรภาชนะท่ีบรรจุ เพราะโมเลกลุ แก๊สไม่มแี รง ยดึ เหนยี่ วต่อกนั จึงเคล่ือนท่ีไปทั่วภาชนะไดอ้ ย่างอสิ ระ ข. โมเลกลุ แกส๊ เคลื่อนทีช่ นกันเอง จงึ ทำใหเ้ กดิ ความดนั ของแก๊สขึน้ ค. ทอี่ ณุ หภมู ิเดียวกนั แก๊สทกุ ชนิดจะเคลื่อนทีด่ ้วยอตั ราเร็วเฉล่ียเท่ากันและแปรผันโดยตรงกับ อณุ หภูมิเคลวิน

ง. เมือ่ เพม่ิ อุณหภมู ใิ ห้กับแกส๊ จำนวนหน่ึง พลังงานจลน์เฉลยี่ ของโมเลกุลแกส๊ จะเพิ่มข้นึ จงึ ชน กันเอง และชนผนงั ภาชนะถข่ี ้ึน ขอ้ ท่ีถูกคือ 1. ก. , ค. 2. ข. , ง. 3. ข. ค. 4. ก. , ง. 132. พจิ ารณารูปภาพแสดงกระบอกสบู ซ่งึ ภายในบรรจแุ ก๊สออกซเิ จน โดยก้านกระบอกสบู เคลื่อนที่ไดอ้ ย่างอิสระ เมือ่ กดก้านกระบอกสูบจากตําแหน่ง A ไปที่ตําแหนง่ B โดยใหอ้ ุณหภูมิคงที่ โมเลกุลของแกส๊ ออกซิเจนใน กระบอกสบู จะมีสมบัตเิ ปลย่ี นไปตามข้อ 1. เคลือ่ นทเ่ี รว็ ข้ึน 2. ชนผนงั แรงขึน้ 3. ชนผนงั ดว้ ยความถส่ี งู ขน้ึ 4. พลังงานจลนเ์ ฉลีย่ เพ่ิมขนึ้ 133. นำแก๊สออกซเิ จนและแกส๊ มเี ทนจำนวนโมเลกุลเทา่ กัน ใสใ่ นภาชนะ มีขนาดแตกต่างกันท่ีอณุ หภูมิเดียวกัน แกส๊ ในภาชนะใดจะมีคา่ พลงั งานจลน์เฉลี่ยมากทีส่ ดุ 1 ลติ ร 2 ลิตร 3 ลติ ร ภาชนะ ก ภาชนะ ข ภาชนะ ค 1. ภาชนะ ก 2. ภาชนะ ข 3. ภาชนะ ค 4. เท่ากันทุกภาชนะ 134. ตามพฤติกรรมของ Ideal gas ข้อใดกลา่ วถูก 1. ถา้ อุณหภมู ิของแกส๊ เพิม่ จาก 20 ๐C เป็น 40 ๐C ที่ความดันคงท่ี ปริมาตรของแกส๊ จะเพ่ิมข้ึน 50% 2. เมอื่ ปรมิ าตรของ CO2 และ CH4 เทา่ กันที่อุณหภูมิ และความดนั เดยี วกนั แก๊สทงั้ สองจะมี จำนวนอะตอมรวมเท่ากนั

3. ในภาชนะท่ีมแี ก๊สออกซิเจน และไนโตรเจนอยู่ดว้ ยกนั โดยเฉล่ยี แก๊สออกซิเจนจะเคลอ่ื นที่ เรว็ กว่าแก๊สไนโตรเจน 4. ตามกฎของชาร์ล ปริมาตรของแกส๊ จะเท่ากบั ศูนย์ที่ -273 ๐C 135. ในทส่ี ูง 1650 เมตรจากระดบั นำ้ ทะเล จะมีความดนั อากาศกี่ mmHg 1. 76 2. 150 3. 610 4. 760 5. 890 136. ขอ้ ใดท่ถี ูกต้องเกี่ยวกับทฤษฎีจลน์ของแกส๊ ก. โมเลกลุ ของแกส๊ มปี ริมาตรน้อยมากเม่ือเทยี บกับปรมิ าตรของภาชนะ ส่วนใหญข่ องแก๊สจึง เปน็ ทว่ี ่าง ข. ทอ่ี ณุ หภูมิเดยี วกัน แกส๊ ทุกชนดิ จะมีพลงั งานจลนข์ องโมเลกุลเทา่ กัน ค. โมเลกลุ ของแกส๊ อยู่ห่างกันมากจนไม่มีแรงดงึ ดูดหรือแรงผลกั ต่อกนั ง. โมเลกุลของแก๊สมีการเคลื่อนที่เปน็ เส้นตรง เม่ือเกดิ การชนกันเองแต่ละโมเลกุลจะมีพลงั งาน จลน์ผดิ ไปจากเดิม แต่พลังงานรวมยังคงเทา่ เดิม 1. ก. , ข. และ ค. 2. ก. , ค. และ ง. 3. ก. และ ง. เท่านั้น 4. ก. และ ค. เทา่ นนั้ 137. มวลอะตอมของแกส๊ A เป็น 4 เทา่ ของมวลอะตอมของแกส๊ B ที่อณุ หภูมิเดยี วกัน ข้อความที่ถูกต้อง คอื ขอ้ ใด 1. แก๊ส B เคลอื่ นทีไ่ ด้เร็วเป็น 4 เทา่ ของแก๊ส A 2. พลังงานจลนเ์ ฉล่ียของแก๊ส A มีค่าเทา่ กบั พลงั งานจลนเ์ ฉล่ียของแก๊ส B 3. แก๊ส A และแกส๊ B เคลื่อนทดี่ ้วยความเร็วเท่ากัน 4. แก๊ส A เคลือ่ นทไี่ ด้เรว็ เป็น 2 เทา่ ของแกส๊ B 138. ขวด A และ B ขนาดเท่ากันบรรจแุ ก๊สไฮโดรเจนและคลอรนี ที่มีมวลเทา่ กนั ตามลำดบั โดยแกส๊ ทง้ั สองมี อุณหภูมเิ ทา่ กนั ข้อสรุปใดผดิ (ขวดปิดได้สนิทไมร่ ั่วไหล) 1. แต่ละขวดจะมจี ำนวนโมเลกลุ ของแก๊สเทา่ กัน 2. พลังงานจลนเ์ ฉลยี่ ของแกส๊ แต่ละชนิดจะเทา่ กัน 3. ความดนั ของไฮโดรเจนในขวด A จะมากกว่าของคลอรนี ในขวด B 4. ความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลในขวด A จะมากกวา่ ของโมเลกุลในขวด B 139. แกส๊ 2 ชนิดคือ NO และ N O มีมวลรวมกนั เทา่ กบั 1.60 กรมั และมีจำนวนโมเลกุลเทา่ กนั บรรจุ อยู่ใน ภาชนะใบเดยี วกัน ข้อความใดต่อไปน้ีถกู ต้อง 1. แก๊สทง้ั สองมีความดันเทา่ กันที่ 25 C 2. แกส๊ NO2 มีความดันมากกวา่ แก๊ส N2O4 ทีอ่ ณุ หภมู คิ งท่ี 3. แกส๊ N2O4 มคี วามดนั มากกวา่ แกส๊ NO2 ท่อี ุณหภมู คิ งท่ี

4. แก๊สท้ังสองมีความเร็วเทา่ กนั ท่ี 25 ๐C 140. จากข้อมลู ที่กำหนดใหด้ ังนี้ พลังงานจลน์เฉลี่ยท่ี 25๐C แกส๊ O3 , 0.5 โมล แก๊ส N2 , 0.5 โมล แก๊ส He , 0.5 โมล อตั ราเรว็ เฉล่ียที่ 25๐C a b c จำนวนอะตอม d e f มวล p q r x y z ข้อสรปุ ใดถูกต้อง 1. a > b > c 2. x > y > z 3. p = q = r 4. d = e = f 141. แก๊ส CH3F , CH4 , CH2O , CO2 และ SO2 มคี วามหนาแนน่ เท่ากนั ที่อุณหภมู เิ ดยี วกัน แก๊สชนดิ ใดมี พฤติกรรมท่ใี กล้เคยี งแกส๊ อดุ มคติมากทสี่ ุด เพราะเหตใุ ด 142. จากรูปความดันของแก๊สในหลอดมีคา่ เท่าใดในหนว่ ย mmHg เม่ือความดนั บรรยากาศเท่ากับ 695 mmHg (กำหนดให้ปรอทมคี วามหนาแน่นเทา่ กบั 13.6 g/cm3) 143. วัดความดันของยางรถยนต์ได้ 20 ปอนด์ หมายความวา่ 1. มีมวลของอากาศในยางรถยนต์ 20 ปอนด์ 2. ความดันของอากาศในยางรถยนต์ คือ 20 ปอนด์/ตารางนิว้ 3. ความดนั ของอากาศในยางรถยนต์สงู กว่าความดนั ของบรรยากาศอยู่ 20 ปอนด์/ตารางน้วิ 4. ความดนั ของอากาศในยางรถยนต์ต่ำกว่าความดันบรรยากาศอยู่ 20 ปอนด/์ ตารางน้วิ 144. บอลลูนสำรวจสภาพอากาศจะมีปรมิ าตรเพม่ิ ขน้ึ ในขณะทีล่ อยตวั สงู ขนึ้ ในแงท่ ฤษฎจี ลนข์ องแก๊สการ ขยายตัวของบอลลูนเกิดเนื่องจากสาเหตุใด 1. การลดลงของพลงั งานจลนเ์ ฉลยี่ ของอนภุ าคตา่ ง ๆ ในบรรยากาศ 2. การเพิ่มขนึ้ ของอัตราการชนกันของอนุภาคต่อผนังภายในของบอลลูน

3. การลดลงของอัตราการชนกนั ของอนภุ าคในบรรยากาศต่อผนงั ด้านนอกของบอลลนู 4. การเพิ่มขึน้ ของพลังงานจลนเ์ ฉล่ียของอนภุ าคภายในบอลลูน 145. กราฟใดแสดงความสมั พันธ์ที่ไม่ถูกต้องของความดนั และปรมิ าตรของแกส็ สมบูรณ์แบบทอ่ี ุณหภมู คิ งที่ 1. 2. 3. 4. 146. จากการวัดปรมิ าตรของแก๊สท่ีความดนั ต่าง ๆ โดยให้อณุ หภูมคิ งที่ตลอดเวลากราฟในรปู ขอ้ ใดผิด 1. 2. 3. 4. 147. ภาชนะ ก มขี นาด 2 dm3 บรรจุแก๊สสมบูรณไ์ วโ้ ดยมีความดนั 0.8 atm ภาชนะ ข มีขนาด 3 dm3 บรรจุแก๊สสมบูรณ์ไว้โดยมคี วามดัน 0.2 atm ภาชนะท้ังสองมอี ุณหภูมิเทา่ กัน ถ้านำแกส๊ ท้งั หมดใน ภาชนะ ข ใส่ในภาชนะ ก ความดนั ของแก๊สรวมในภาชนะ ก จะเปน็ กี้ atm 148. สบู ลมของรถจกั รยานอนั หนง่ึ มีสว่ นอัดของกระบอกสูบยาว 75.0 cm เม่ือลูกสบู อยรู่ ะดับบนสดุ อากาศ ภายในมคี วามดนั 1 atm ต้องอัดลกู สบู ลงไปเปน็ ระยะทางกี่ cm จากตําแหน่งบนสุด จงึ จะทำให้ ความดันของอากาศภายในเท่ากับ 5 atm สมมติว่าอุณหภูมิของอากาศภายในคงท่ี 149. ที่อุณหภมู ิ 50 องศาเซลเซยี ส แก๊สแอมโมเนียมีความดัน 4.8 atm ถ้าปริมาตรของแกส๊ แอมโมเนียลดลง

1 ของปริมาตรเดิม โดยอุณหภมู ิคงท่ี ความดันของแกส๊ แอมโมเนยี จะมีค่าเทา่ ใด 5 1. 5.3 atm 2. 6.0 atm 3. 6.3 atm 4. 6.7 atm 150. ขวด A มปี รมิ าตร 5 dm3 บรรจแุ กส๊ NO ความดนั 1 บรรยากาศที่ 27๐C และขวด B มีปรมิ าตร 3 dm3 บรรจแุ ก๊ส O2 ความดัน 1 บรรยากาศท่ี 27๐C เม่ือเปิดให้ขวดทัง้ สองต่อกันและปล่อยใหแ้ ก๊สทง้ั สองเตม็ ขวด ทง้ั สองใบแล้ว จงคำนวณความดนั รวมหนว่ ยบรรยากาศ โดยไม่คิดปริมาตรของท่อต่อขวดและ ใหค้ ิดว่าอุณหภูมิ คงท่ี 1. 11 2. 5 3. 1 4. 13 6 8 8 151. ถา้ ถา่ ยเทแก๊สจากถังเกบ็ A ขนาด 80 dm3 ความดัน 50 atm สู่ถังสญู ญากาศ B ขนาดจุ 20 dm3 จนกระท่ัง ถงั B มคี วามดัน 28 atm ความดนั ของแกส๊ ทีเ่ หลอื ในถัง A จะมคี า่ กี่บรรยากาศที่ อุณหภมู เิ ดมิ 1. 7.0 2. 9.3 3. 22.0 4. 43.0 152. ถงั ขนาด 5 ลิตรบรรจุแก๊ส 0 ความดนั 9 บรรยากาศกับถังอีกใบหน่ึงขนาด 10 ลติ รบรรจุแกส๊ N มี ความดัน 6 บรรยากาศ เมอื่ นําถงั แกส๊ ทั้งสองมาชดิ กนั และตอ่ เขา้ ด้วยกนั แกส๊ ในถงั ทั้งสองจะมีการ แพรเ่ ขา้ ส่สู มดลุ โดยมอี ณุ หภมู ิคงท่ี จงคาํ นวณหาความดันรวมของแกส๊ ผสม 1. 5 บรรยากาศ 2. 6 บรรยากาศ 3. 7 บรรยากาศ 4. 8 บรรยากาศ 153.ทอ่ี ุณหภมู ิ 20 ๐C แกส๊ ปรมิ าตร 300 cm3 มคี วามดัน 1.024 x 105 Pa แกส๊ จะถูกทําให้ขยายตวั ในภาชนะ ใบทีส่ องทอี่ ุณหภูมิเดิมจนมีปรมิ าตรเป็น 450 cm3 ความดันแก๊สตอนน้ีมคี า่ เทา่ ไร 1. 300  1.024  105 Pa 2. 450  1.024  105 Pa 450 300 3. 150  1.024  105 Pa 4. 300 Pa 300 450  1.024  105 154. ฟองอากาศท่ลี อยขึน้ มาสผู่ ิวหนา้ ของมหาสมทุ รจากพน้ื ทอ่ี ยู่ต่ำลงไป 30 เมตร ถา้ ความดันทผี่ ิวหนา้ ของมหาสมทุ รเปน็ 1 บรรยากาศ และความดันของอากาศในฟองอากาศลดลง 1 บรรยากาศทุกๆ ความ สูงทเี่ พิ่มข้นึ 10 เมตร อัตราส่วนโดยประมาณของปรมิ าตรฟองอากาศท่ีพนื้ ของมหาสมทุ ร : ปริมาตร ฟองอากาศที่ผวิ หน้ามหาสมุทร 1. 1 : 3 2. 1 : 4 3. 3: 1 4. 4 : 1 155.ที่อณุ หภูมิ 20 ๐C แก๊ส X2 มปี ริมาตร 2.08 dm3 ถา้ ความดันเพ่มิ ขึ้นเป็น 2 เทา่ โดยอุณหภมู ิและมวลคงที่

แก๊สน้จี ะมีปริมาตรเท่าใด 1. 14.19 dm3 2. 28.39 dm3 3. 2.08 dm3 4. 1.04 dm3 156. ณ อณุ หภูมิคงท่บี รรจุแก๊ส O2 10 cm3 ไวใ้ นกระบอกฉดี ยาพลาสตกิ ปลายปดิ ถ้ากดหลอดฉีดยาเพ่ือให้ แกส๊ มีปรมิ าตรเหลือเพียง 5 cm3 จะมผี ลอยา่ งไร 1. แกส๊ O2 จะมีความเขม้ ข้นลดลงจากเดิม 2. จำนวนโมเลกุลของแกส๊ O2 ยังคงเท่าเดมิ 3. ความดนั ของแกส๊ O2 ลดลงจากเดิม 4. ความดันของแกส๊ O2 ยงั คงเท่าเดมิ 157. ลกั ษณะของกราฟข้างบนจะแทนไดด้ ้วยข้อมลู ในข้อใดตอ่ ไปนี้ 1. P 0 1 10 100  V  22.4 2.24 0.224 0 2. P 0 1 2 3 4 V 0 22.4 44.8 67.2 89.6 3. P 0 1 2 3 4 V 22.4 32.4 42.4 52.4 62.4 4. P 0 1 10 100  V 0 0.224 2.24 22.4  158. ตำรวจพลร่มคนหนง่ึ ต้องการโดดร่มจากลกู บอลลนู จงึ นำบอลลูนลกู หนง่ึ มาบรรจแุ กส๊ ฮีเลียม ปรมิ าตร 1 dm3 ความดนั 1 atm อณุ หภูมิ 30 ๐C ถ้าตำรวจพลร่มคนน้นั ตอ้ งการทำใหป้ รมิ าตรของแกส๊ ฮเี ลยี มนี้ เพม่ิ เป็นสองเท่าของปริมาตรเดิมทอ่ี ุณหภมู เิ ดิม จะต้องทำอย่างไร 1. จะตอ้ งลดความดนั ลงใหเ้ หลือ 0.6 บรรยากาศ 2. จะต้องลดความดนั ลงใหเ้ หลือ 0.5 บรรยากาศ 3. จะตอ้ งลดความดันลงใหเ้ หลือ 0.4 บรรยากาศ 4. จะต้องลดความดนั ลงให้เหลอื 0.3 บรรยากาศ 159. แกส๊ หงุ ต้มบรรจุในถัง 20 ลิตร ความดัน 40 atm ท่ีอณุ หภูมิ 25 ๐C เม่ือใช้ไปความดันของแก๊สในถงั ลดลงเหลอื 20 atm ท่อี ณุ หภูมเิ ดียวกนั แก๊สหงุ ต้มถูกใช้ไปเทา่ ใด 1. 10.0 โมเลกลุ 2. 35.7 โมเลกุล 3. 0.90 โมเลกลุ 4. 17.8 โมเลกลุ

160.รถยนตใ์ ช้แก๊สคันหน่ึงมถี งั บรรจแุ กส๊ ปรมิ าตร 30 ลติ ร วดั ความดนั ได้ 150 บรรยากาศ หลังใชแ้ กส๊ ไปแลว้ วัด ความดนั ได้ 120 บรรยากาศ อณุ หภูมิคงทแี่ สดงว่ารถยนต์คันน้ใี ช้แก๊สไปกล่ี ติ รทคี่ วามดนั 1 บรรยากาศ 1. 7.5 ลติ ร 2. 900 ลิตร 3. 3600 ลิตร 4. 4500 ลติ ร 161. แกส๊ หงุ ต้มบรรจุอยู่ในถังขนาด 40 ลติ ร วัดความดนั ได้ 90 บรรยากาศ เมื่อใชไ้ ปสักระยะวดั ความดัน ภายในถงั ได้ 60 บรรยากาศ ปริมาณของแก๊สหงุ ต้มใชไ้ ปกี่ลติ ร 1. 1,200 ลติ ร 2. 2,400 ลิตร 3. 3,600 ลิตร 4. 4,800 ลติ ร 162. ลูกโปง่ ใบหนง่ึ ท่ีความดัน 760 มลิ ลเิ มตรปรอท มีปริมาตรเป็น 4 ของปริมาตรสูงสดุ ลูกโป่งใบน้จี ะ แตก เม่อื ลอยขึ้นไปทคี่ วามสงู เทา่ ใด (กำหนดอณุ หภมู มิ ีการเปล่ียนแปลงนอ้ ยมาก และความดนั บรรยากาศ ลดลง 10 มลิ ลเิ มตรปรอท ทุกความสงู ทีเ่ พ่ิมขนึ้ 100 เมตร) 1. 608 เมตร 2. 760 เมตร 3. 950 เมตร 4. 1,520 เมตร 163. แกส๊ A ในถังใบหนง่ึ บรรจุ 3 dm วัดความดันได้ 5 atm แก๊ส B ในถงั อกี ใบหนง่ึ จุ 1 dm วัดความดนั ได้ 2 atm ท่ีอุณหภูมิเดียวกนั ถ้าต่อท่อใหแ้ ก๊สผสมกันโดยอุณหภมู ิไม่เปล่ียนแปลง (ไม่คดิ – ปริมาตรของ ท่อ) ความดันรวมของแก๊สหลังผสมเป็นกี่ atm 1. 4.15 2. 4.25 3. 4.50 4. 4.75 164. ภาชนะสองใบต่อเช่ือมด้วยท่อเล็ก ๆ ทมี่ ีวาวสเ์ ปิดปดิ อยตู่ รงกลางท่อ โดยภาชนะใบทีห่ นึง่ มปี ริมาตร 2 dm3 บรรจแุ กส๊ วัดความดันได้ 2 บรรยากาศ ส่วนภาชนะใบทส่ี องมีปริมาตร 6 dm3 เปน็ สญุ ญากาศ เมอ่ื เปิดวาวส์ปล่อยให้แกส๊ ในภาชนะที่ 1 แพร่ไปยงั ภาชนะใบทีส่ องอย่างสมบรู ณ์ อยาก ทราบวา่ หลัง การแพร่จะวัดความดันในภาชนะท่ี 2 ได้บรรยากาศ (ในการทดลองน้ีกำหนดให้อุณหภูมิ คงที)่ 1. 0.75 บรรยากาศ 2. 0.33 บรรยากาศ 3. 0.50 บรรยากาศ 4. 0.66 บรรยากาศ 165. กราฟในข้อใดไมเ่ ปน็ ไปตามกฎของบอยล์ 1. 2. 3. 4.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook