Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลงานเชิงประจักษ์และ PLC

ผลงานเชิงประจักษ์และ PLC

Published by Kitsanapong0090, 2020-10-27 18:27:43

Description: ผลงานเชิงประจักษ์และ PLC

Search

Read the Text Version

ทตี่ ดิ ตอ่ ชอื่ -นามสกลุ และประวตั โิ ดยยอ่ หมายเลขโทรศพั ท:์ 061-7962891 ครูกฤษณะพงษ์ บัวประเสริฐ ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เว็บไซต:์ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรียนเทศบาล ๑ กติ ติขจร เทศบาลเมอื งตาก สอนในรายวิชาเคมี เพ่ิมเติม ในระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปัจจุบันสอน มธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6 ผลงานเชิงประจักษต์ ลอดระยะเวลาท่ีบรรจุแตง่ ต้ัง 1 กนั ยายน 2553 จนถงึ ปจั จุบนั ผลงานเชิงประจักษ์ พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2554 1. เป็นทีป่ รกึ ษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภทประยุกต์ จานวน 2 เรอื่ ง 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ หมนุ เหว่ยี งละลายสาร ( Stirrer ) 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ ไฟจา๋ ..ลมมาแล้ว (Renewable Energy) ณ คณะวทิ ยาศาสตร์ ในงานสัปดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 18 สงิ หาคม 2554 ได้รบั ทนุ สนบั สนุนโครงงานละ 800 บาท 2. เปน็ ทป่ี รกึ ษาในโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โครงงานวทิ ยาศาสตร์ หมุนเหวีย่ งละลายสาร(Stirrer) ได้รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับที่ 1 ไดร้ บั เกยี รติบตั รพรอ้ ม เงนิ สนบั สนุนโครงงานจานวน 1,000 บาท 1. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ไฟจ๋า..ลมมาแล้ว (Renewable Energy) 1.3 เปน็ ที่ปรกึ ษาในโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอน ปลาย โครงงานวิทยาศาสตร์ หมนุ เหวยี่ งละลายสาร (Stirrer) องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดเชียงราย งานมหกรรมการจัด การศกึ ษาท้องถิน่ ครัง้ ที่ 9 ประจาปี 2553 วนั ที่ 11 - 13 มกราคม 2554 ไดร้ างวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 1 ได้รับโลร่ างวลั และเกยี รตบิ ตั ร ผลงานเชงิ ประจักษ์ พ.ศ. 2555 ด้านคุณธรรม ไดร้ บั รางวลั “ หนง่ึ แสนครูดี ” จากคุรสุ ภา ในงานวนั ครู 16 มกราคม 2555 ไดร้ ับเข็มเชดิ ชูเกยี รติ

จากคุรุสภาพร้อมเกยี รตบิ ัตร ดา้ นวิชาการ ๑. เป็นท่ีปรกึ ษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทประยุกต์ จานวน 1 เร่อื งโครงงานวทิ ยาศาสตร์ อุปกรณ์ไทเทรต รางวลั ที่ไดร้ บั รางวลั ชมเชย สปั ดาห์วทิ ยาศาสตร์ ของบรษิ ัท แกมมาโก้ ณ ศนู ยเ์ ซียร์รังสิต เงินรางวัล 1,000 บาท พ.ศ. 2555 ๒. เปน็ ทีป่ รกึ ษาในโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โครงงานวิทยาศาสตร์ เครื่องให้ความรอ้ นและหมุนเหวีย่ งสารละลาย (Hotplate and Stirrer) รางวัลทไ่ี ด้รับ รางวัลรอง รองชนะเลศิ อันดบั ที่ 1 มหกรรม การศึกษาท้องถิน่ ภาคเหนอื ครง้ั ที่ 10 ณ จังหวัดเชียงราย เปน็ ตวั แทนภาคเหนือเขา้ แข่งขนั ระดับประเทศ ท่ีอมิ แพ็คเมืองทองธานี ผลงานเชงิ ประจักษ์ พ.ศ. 2556 ด้านคุณธรรม ได้รบั คัดเลือกให้เข้ารับโลป่ ระกาศเกียรติคุณ “ เชิดชูคนดี ผ้มู ี คณุ ธรรมจรยิ ธรรมดีเด่น ” ประจาปี 2556 ณ สโมสรทหารบก กรงุ เทพมหานคร ในวนั ที่ 6 ตลุ าคม 2556 ดา้ นวิชาการ 1. เป็นครูที่ปรกึ ษาโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอน ปลายประเภทประยุกต์ จานวน 2 เรอ่ื ง การเพิ่มประภาพเครอื่ งเขย่าสารและ เครอ่ื งให้ความรอ้ น รางวัลที่ได้รับ รางวลั รอง ชนะเลิศ สปั ดาห์วิทยาศาสตร์ คณะ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ลา้ นนา ตาก เงนิ รางวลั 1,200 บาท 2. เป็นที่ปรึกษาในโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอน ปลาย โครงงานวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ไทเทรต 1. รางวัลที่ไดร้ บั รางวลั รอง รองชนะเลิศ อันดบั ท่ี 1 สัปดาห์ วิทยาศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ตาก เงินรางวลั 1,000 บาท 2. รางวลั ท่ไี ดร้ ับ รางวลั รอง รองชนะเลิศ อนั ดับท่ี 1 มหกรรม การศกึ ษาท้องถิน่ ภาคเหนือครั้งท่ี 11 ณ จงั หวัดสุโขทัย เปน็ ตัวแทนภาคเหนือเข้าแข่งขันระดบั ประเทศ ทีอ่ ิมแพ็คเมืองทองธานี

3. รางวลั ที่ได้รบั ชมเชยระดับประเทศ มหกรรมการศึกษาท้องถ่นิ 2556 ณ ทีอ่ มิ แพ็คเมืองทองธานี ( ได้ลาดับท่ี 5 จาก 15 ทมี ที่คัดเข้า แข่งขนั จากตวั แทนในแตล่ ะภาค ) 4. รางวลั ทไี่ ด้รับ การคดั เลือกใหเ้ ข้าแข่งขันสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (มีโครงงานเข้ารว่ มแข่งขนั ทว่ั ภาคเหนือในประเภทประยุกต์ 43 ทมี ) ผลงานเชิงประจักษ์ พ.ศ.2557 ดา้ นวิชาการ ๑. เปน็ ครทู ีป่ รกึ ษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทประยุกต์ จานวน 1 เร่อื งมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 1 เร่ือง 1.1 เครื่องหมุนเหว่ยี งสารละลาย ( Centrifuge ) รางวลั ทไ่ี ด้รบั รางวลั รอง ชนะเลิศ สปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ล้านนา ตาก แตก่ รรมการขอให้ยกรางวัลให้กบั โรงเรียนทยี่ ังไมเ่ คย เขา้ ประกวดทใ่ี ด 1.2 เปน็ ครูท่ปี รกึ ษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทประยุกต์ จานวน 2เรื่อง การเพ่ิมประภาพเครื่องเขย่าสารและเครื่องให้ความรอ้ น รางวัลทไี่ ดร้ บั รางวัลรอง ชนะเลิศ สปั ดาห์วิทยาศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ลา้ นนา ตาก เงนิ รางวัล 1,200 บาท ๒. เปน็ ทป่ี รกึ ษาในโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เครื่องหมนุ เหวย่ี งสารละลาย (Centrifuge) 2.1 รางวลั ท่ไี ดร้ บั รางวัลรอง รองชนะเลิศ อนั ดับที่ 1 มหกรรม การศกึ ษาท้องถิน่ ภาคเหนือคร้ังท่ี 12 ณ จังหวดั เชยี งราย เปน็ ตัวแทนภาคเหนือเข้าแขง่ ขนั ระดับประเทศ ทีอ่ มิ แพ็คเมืองทองธานี 2.2 รางวลั ที่ไดร้ ับ ระดับประเทศ มหกรรมการศึกษาทอ้ งถ่ิน 2557 ณ ท่ีอมิ แพ็คเมืองทองธานี (ไดล้ าดบั ที่ 7 จาก 15 ทีมท่คี ัด เข้าแข่งขนั จากตวั แทนในแตล่ ะภาค) ผลงานเชิงประจักษ์ พ.ศ.2558 เปน็ ครูทป่ี รึกษา และซ้อมนกั เรยี นเขา้ ร่วมการแข่งขันโครงงาน วิทยาศาสตรร์ ะดบั

https://www.facebook.com/kitsana มัธยมศกึ ษาตอนปลาย และการประกวดส่งิ ประดิษฐท์ างวิทยาศาสตรแ์ ละ pong.buaprasert คณิตศาสตร์ โดยไดร้ ับรางวัลใน อเี มล: เชิงประจกั ษ์ดังต่อไปนี้ [email protected] 1. ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 1 การประกวดสิง่ ประดษิ ฐ์ ทางวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในงานสัปดาห์ วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ ไดร้ บั โล่รางวลั เกียรตบิ ตั ร และเงนิ รางวัลมลู ค่า 2,000 บาท 2. ได้รบั รางวัลชมเชย โครงงานวิทยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ณ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาตาก ในงานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ไดร้ บั เกยี รตบิ ัตร รางวลั ชมเชย 3. ไดร้ บั การจดั อันดับที่ 6 จาก 44 ทีม ทัว่ ประเทศ โครงงาน วทิ ยาศาสตรร์ ะดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ณ มหาวทิ ยาลัยราชมงคล ธัญญบรุ ี (มหาวิทยาลัยมืออาชพี ) ในงานสัปดาหว์ ิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ ไดร้ ับ รางวลั เกยี รติบัตร 4. เปน็ ตวั แทน เทศบาลเมอื งตากเข้ารว่ มการประกวด สือ่ นวัตกรรมการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ไม่ กาหนดช่วงชน้ั เขา้ แข่งขัน ในงานมหกรรมการจดั การศึกษาภาคเหนือ ครั้งท่ี 13 ณ จงั หวดั แพร่ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดแพร่เปน็ เจา้ ภาพในวันท่ี 16 - 18 กรกฏาคม 2558 โดยได้รับรางวลั รองชนะเลิศอันดับท่ี 1 เหรยี ญ ทอง ด้วยคะแนน 88 คะแนน( เปน็ ตัวแทนภาคเหนือเขา้ แขง่ ขนั ใน ระดับประเทศในวันที่ 16 ตุลาคม 2558 ต่อไป ) 5. เป็นครูผู้ดูแลห้องปฏิบัติการห้องเคมี 1 จัดสารเคมีวัสดุอปุ กรณ์ ที่ใช้ในการทดลอง ร่วมทั้งนาส่ือนวัตกรรมต่างๆ ท่ีประดิษฐ์เข้าร่วมการ แขง่ ขันโครงงานวิทยาศาสตร์ มัธยมศกึ ษาตอนปลายมาใช้และเผยแพร่ ข้ันตอนการประดิษฐก์ ารคดิ ค้นงานด้านการประดษิ ฐ์ประยุกต์เข้ากับการ จัดการเรยี นการสอนในรายวิชาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ตลอดระยะเวลา 5 ปี ไดเ้ ข้าร่วมการในงานมหกรรมการจดั การศึกษาท้องถ่นิ ภาคเหนอื และไดร้ บั รางวัลเปน็ ตัวแทนเข้าแขง่ ขนั ในระดบั ประเทศทกุ ปี ต่ังแต่ปี 2553 - 2558 ผลงานเชงิ ประจักษ์ พ.ศ.2559 เปน็ ครทู ี่ปรึกษา และซ้อมนักเรียนเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั โครงงาน วทิ ยาศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย และการประกวดสงิ่ ประดษิ ฐท์ าง วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ โดยได้รบั รางวัล ในเชิงประจกั ษด์ ังต่อไปน้ี 1. ได้รบั รางวัล ชนะเลศิ อันดบั ท่ี 1 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ณ วทิ ยาลัย นอร์ทเทิรน์ อ.เมอื ง จ.ตาก ในงาน สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ได้รบั เกยี รติบตั ร รางวลั ชมเชย

2. ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับท่ี 2 การประกวดสงิ่ ประดิษฐท์ าง วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ณ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ในงานสัปดาห์ วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ ไดร้ ับโล่รางวลั เกียรตบิ ตั ร และเงนิ รางวลั มลู คา่ 2,000 บาท ผลงานเชงิ ประจักษ์ พ.ศ.2560 -พ.ศ.2562 เปน็ ครูท่ปี รกึ ษา และซ้อมนักเรียนเขา้ ร่วมการแขง่ ขันโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทั้งประเภทโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ส่ิงประดิษฐ์ ทางวทิ ยาศาสตร์อกี จานวนหน่งึ ในหนว่ ยงานการจัดการศึกษาท้องถน่ิ และ การนอกหนว่ ยงาน เชน่ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร มหาวิทยาลยั ราชภัฎ กาแพงเพชร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนาตาก อื่นๆ การพัฒนาตนเองในระยะเวลา พ.ศ. ๒๕๖๒- พ.ศ.๒๕๖๓



















ร่องรอยการทาเอกสาร เอกสารการจัดการเรยี นรูแ้ บบ PLC ในวงรอบที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

เอกสารประกอบ หัวข้อเรอ่ื ง วงรอบที่ 2.1 การวเิ คราะหช์ ้ินงาน บันทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้วชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) รายงานการประชมุ สะท้อนคดิ หลังจากการสงั เกตการณ์สอนของการเปดิ ห้องเรยี น รอบที่ 1 โรงเรียนเทศบาล ๑ กติ ติขจร กองการศึกษา เทศบาลเมืองตาก เครอื ขา่ ย : โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ดอลมูลชยั รหัสเครือขา่ ย : 6331046 ชื่อโรงเรียน : โรงเรยี นเทศบาล ๑ กติ ติขจร สงั กดั : เทศบาลเมอื งตาก จงั หวดั ตาก ช่อื โครงการ : พัฒนาศกั ยภาพส่คู รูมืออาชีพแบบ PLC (Profession Learning Comumunity) “ชุมชนการเรนี นรู้ทางวชิ พี ” วัน เดือน ปี : 21 กรกฎาคม 2563 เวลาประชุม : 15.30 – 16.30 น. ชวั่ โมง PLC : 1 ชวั่ โมง จานวนสมาชิก : 3 คนวัน คร้ังที่ 1 เดอื น ปี : 21 กรกฎาคม 2563 ประเด็น : นักเรียนไม่รู้จักอนิ ดิเคเตอร์ และการนามาใช้ในชีวิตประจาวนั 2. การอภปิ ราบประเดน็ 2.1 ขอบข่าบของปัญหาท่พี บ นักเรยี นไม่รจู้ ักอนิ ดิเคเตอร์ และการนามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั 2.2 หลักฐานประจกั ษพ์ ยานของปัญหา แบบบนั ทึกผลการทากิจกรรมจากการทาวิจยั ภายในชั้นเรียน 2.3 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาจากหลกั ฐานในข้อท่ี 2 จากครูผ้สู อน ขาดการทดลองไม่มกี จิ กรรมทีทาใหผ้ ู้เรยี นสนใจท่จี ะเกิดการเรียนรู้ จากครอบครัว นกั เรียนมคี วามขาดแคลนสื่อท่ีจะมาใช้ในการร่วมกจิ กรรมและหาวสั ดุอุปกรณ์มาทาการทดลอง จากตัวนักเรียน ขาดความสนใจและกระตือร้นในการเรียน เนอื่ งจากไมท่ ราบว่าจะได้ใช้กับชวี ิตประจาวันอย่างไร

2.4 สรุปสาเหตุและท่ีมาของปัญหา สรุปสาเหตุสาคัญทส่ี ดุ คอื ตัวผูส้ อน 3. การอภปิ รายการดาเนินการ Administrator ครูต้องปรับเปล่ยี นรปู แบบการสอนให้ทันสมยั และกระตนุ้ ความสนใจ Model teacher ตอ้ งมีสื่อวีดโี อตัวอย่างการทดลอง/การใช้เคร่อื งมือทางวิทยาศาสตร์ Buddy 1 นกั เรยี นต้องมกี ารปรับพฤตกิ รรมการเรียน ตามข้อที่ 2 Buddy 1 การจดั การเรียนการสอนต้องอยู่ในรูป Active Learning Mentor ครูเป็นโค้ชและผ้แู นะนาอยา่ งใกลช้ ดิ Expert นกั เรยี นต้องมกี ารเรยี นรู้แบบรว่ มมือกนั ในการทางานแบบกลุ่มโดยแบ่งหนา้ ท่ี และวางแผนกาหนดปัญหา เพ่อื หาคาตอบของปัญหาให้ทันกับเวลาดาเนนิ การ ทดลอง 4. สรปุ ส่ิงที่ได้จากการอภกิ ราย นาผลการสังเกตของครตู น้ แบบมีการปรบั เปล่ยี นการสอนนักเรียน และหากิจกรรมเสริมแรงให้นกั เรียนสนใจและร่วม อภิปรายได้อยา่ งดเี ยี่ยม โดยครทู าหนา้ ที่โค้ชร่วมนานักเรียนสืบคน้ หาคาตอบโดยการใหน้ ักเรียนเปน็ ศูนย์กลางของกิจกรรมท่ี ปฏิบัติ ให้สอดคล้องตามแผนการจดั การเรยี นรใู้ นรู้แบบ Active Learning โดยอาศยั ปัญหาเปน็ ฐาน 5. ความรูแ้ ละการนามาใชใ้ นการทากิจกรรม 5.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ในร้แู บบ (Active Learning) 5.2 การเรยี นรู้โยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem base learning : PBL) 5.3 การสะท้อนความคดิ วิทยาศาสตรใ์ นชวี ิตประจาวัน โยงกับตวั ช้วี ดั ทางวิทยาศาสตร์ 5.4 ผลสมั ฤทธิจ์ ากการบันทึกผลการทากจิ กรรมระหว่างการจดั การเรยี นการสอน 6. การประชุมคร้งั ตอ่ ไป วนั ที่ 26 สงิ หาคม 2563 เวลา 12.00 – 14.00 น. หัวขอ้ PLC และการศึกษาบทเรยี น (Lesson study)



Name : นายกฤษณะพงษ์ บวั ประเสริฐ Nick Name : ครเู อก็ ซ์ เอกสารประกอบ หัวขอ้ เรอ่ื ง วงรอบที่ 2.2 ร่องรอยการทางานรว่ มกับทีมและผลการออกแบบบทเรียน บนั ทกึ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูว้ ชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นเทศบาล ๑ กติ ติขจร กองการศึกษา เทศบาลเมืองตาก Lower Secondary – Science – Lesson Plan Template โครงสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ วขิ า เคมี 4 (เพมิ่ เติม) Lesson Date: วันทส่ี อนบทเรียน ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๓ Lesson Title ช่ือบทเรียน: เรื่อง การทดสอบปรมิ าณวติ ามนิ ซใี นผลไม้ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๕/๑ 1. Unit Title ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ กรด-เบส เร่อื ง การไทเทรต กรด-เบส 2. Lessons within unit: (Unit Plan) (แผน) มาตรฐานท่ี : ว ๓.๑ สาระท่ี ๓ สารและสมบตั ขิ องสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสารกบั โครงสร้างแรงยดึ เหนยี่ ว ระหว่างอนภุ าค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสงิ่ ท่เี รียนรู้นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 3. Goal(s) of the lesson (Science Concepts and Practices – Refer to Standards where appropriate): วตั ถปุ ระสงค์การจัดการเรยี นรขู้ องบทเรียน (แนวคิดทางวิทยาศาสตรแ์ ละแนวปฏบิ ัติ – อา้ งถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ที่ ว ๓.๑ 3.1 นักเรียนสามารถตั้งวตั ถปุ ระสงค์ในการทาการทดลองได้อย่างถูกต้อง 3.2 นกั เรยี นสามารถทาการทดลองและเลือกใช้เคร่อื งมือได้อย่างถูกต้อง 3.3 นักเรยี นสามารถสรปุ ผลการทดลองของกลุ่มและวเิ คราะหอ์ อกมาโดยการอภิปรายหนา้ ชน้ั เรียนไดถ้ กู ต้อง 4. Key questions to be used to check for understanding (long-term, big idea questions, or “see below”): คาถามหลกั สาหรบั การตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียน (คาถามเพ่ือถามความเขา้ ใจระยะยาว คาถามเพ่ือถามแนวคิด ใหญ่ หรือ คาถามอื่น ๆ ท่รี ะบุในตาราง) 4.1 จากเนอื้ หา กรด-เบส นักเรยี นคดิ วา่ ในผลไมแ้ ต่ละชนิดมปี ริมาณวติ ามนิ ซีที่เท่ากนั หรอื แตกต่างกันอย่างไร ? 4.2 จากเน้ือหา กรด-เบส สารใดจะเปน็ อนิ ดิเคเตอร์ ทใ่ี ช้ในการทดสอบปริมาณวติ ามนิ ซใี นผลไม้ ? 4.3 จากเนื้อหา กรด-เบส นักเรยี นจะออกแบบการทดลองโดยใช้เคร่อื งมอื -อปุ กรณท์ างวิทยาศาสตรใ์ ดบ้างในการทา การทดลอง ? 4.4 มกี ารอภปิ รายเพ่อื หาขอ้ สรุปผลการทดลองของแต่ละกลุม่ เพื่อสรุปเปน็ แนวเดยี วกนั ทั้งห้อง

5. Nature of the student work (Identify level of cognitive demand); how are students doing the “intellectual work”? (Or, specific reference to plan below.): ลักษณะของงานทมี่ อบหมายใหน้ ักเรยี น (ระบุ ระดบั ของการรู้คดิ ); นักเรยี นทางานทที่ า้ ทายความคิดอย่างไร (หรืออา้ งถงึ ไว้ในตาราง) 5.1 นกั เรียนสามารถระบวุ ตั ถุประสงคข์ องการทาการทดลองได้ ระดับการรู้คิด การเข้าใจ ( Comprehension ) 5.2 นักเรียนสามารถออกแบบการทดลองเปรยี บเทยี บปริมาณวติ ามนิ ซีในผลไม้ ระดับการรู้คดิ การนาไปใช้ ( Application ) 5.3 นักเรยี นสามารถทาการทดลองตามทีไ่ ด้ออกแบบไว้ ระดบั การรู้คิด การนาไปใช้ ( Application ) 5.4 นกั เรียนสามารถรายงานผลและอภิปรายผลการทดลองได้ ระดับการรคู้ ิด ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ ( Analysis ) คดิ สรา้ งสรรค์ ( Creative ) 6. Materials needed (beyond those indicated in Teacher's Guide): สื่อและอปุ กรณ์ท่จี าเปน็ (นอกเหนือจากท่ี ระบุไวใ้ นคู่มือคร)ู 6.1 ตัวอย่าง วดี โี อการทาการทดลองการหาปริมาณวติ ามนิ ซีในผลไม้ 6.2 ใบงานกิจกรรม 6.3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ ท่เี กี่ยวกบั การทดลองการหาปริมาณวิตามินซีในผลไม้แบบตา่ ง ๆ 6.4 แบบประเมินการทากจิ กรรมกลมุ่





ภาพกจิ กรรม การดาเนนิ งานกิจกรรมท่ี 2.3 (การสอน) การเปิดชั้นเรยี น ครง้ั ท่ี 2 ครูกฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ โรงเรยี นเทศบาล ๑ กิตตขิ จร

ภาพกจิ กรรม การดาเนนิ งานกิจกรรมท่ี 2.3 (การสอน) การเปิดชั้นเรยี น ครง้ั ท่ี 2 ครกู ฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ โรงเรยี นเทศบาล ๑ กิตตขิ จร

ภาพกจิ กรรม การดาเนนิ งานกิจกรรมท่ี 2.3 (การสอน) การเปิดชั้นเรยี น ครง้ั ท่ี 2 ครกู ฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ โรงเรยี นเทศบาล ๑ กิตตขิ จร

ภาพกจิ กรรม การดาเนนิ งานกิจกรรมท่ี 2.3 (การสอน) การเปิดชั้นเรยี น ครง้ั ท่ี 2 ครกู ฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ โรงเรยี นเทศบาล ๑ กิตตขิ จร



ฤษณะพงษ์ บัวประเสริฐ โรงเรียนเทศบาล ๑ กติ ติขจรง Link วีดีโอ การดาเนนิ งานกิจกรรมท่ี 2.3 (การสอน) ภาคเรยี นท่ี 1/2563 การเปดิ ชั้นเรยี น ครั้งท่ี 2 ครูกฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ โรงเรียนเทศบาล ๑ กติ ติขจร วดี ีโอที่ 1 https://www.youtube.com/watch?v=IcfBIN-aeuo&feature=youtu.be วงรอบท่ี 1 ตอนที่ 1 การนาเขา้ ส่บู ทเรียน ครูกฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ วีดโี อที่ 2 https://www.youtube.com/watch?v=03wCW6o0fMw&feature=youtu.be วงรอบท่ี 2 ตอนท่ี 2 การสาธิตการไทเทรต ครกู ฤษณะพงษ์ บัวประเสริฐ วดี ีโอที่ 3 https://www.youtube.com/watch?v=wAKFrxMkMtE&feature=youtu.be วงรอบท่ี 3 ตอนที่ 3 การให้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ทาการไทเทรต ครกู ฤษณะพงษ์ บัวประเสริฐ วดี ีโอที่ 4 https://www.youtube.com/watch?v=JABCkq0lUbs&feature=youtu.be วงรอบที่ 4 ตอนท่ี 4 การสอดแทรก “การทดลองดอกไมเ้ ปลี่ยนสี ครกู ฤษณะพงษ์ บัวประเสรฐิ ”

ผ้รู ่วมสงั เกตการณส์ อน วงรอบท่ี 2 วนั เดอื น ปี สังเกตการณส์ อนวนั ที่ ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๓ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาป่ี ๕ โรงเรยี นเทศบาล ๑ กิตติขจร



ผลการดาเนินกจิ กรรมในครง้ั น้ี จากผลการประชุมปรบั แผนของ กลุ่ม PLC น้ีในวนั ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 –16.30 น. มีการนดั หมายสมาชิกครูกลมุ่ PLC ใหเ้ ข้ารว่ มประชุมในวนั ที่ 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 –16.30 น.เพอื่ เตรยี มความ พรอ้ มก่อนไปสงั เกตการณ์การสอนของครใู นวันที่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 เวลา 14.30 –15.30 น. ของครตู น้ แบบในการจดั การ เรยี นการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 รายวิชา เคมี 4 (เพิม่ เติม) รหัสวชิ า ว๓๒๒๒๔ เรื่อง การไทเทรต ในวันท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 เวลา 14.30 –15.30 ครูตน้ แบบได้นาเสนอ รูปแบบการสอนที่ได้ออกแบบไว้ จานวนนกั เรยี นทเ่ี ขา้ เรียน 19 คน (ถา่ ยภาพน่ิงประกอบการสอน 1 คน/อดั วีดีโอ 1 คน) ไปเรียนนักศึกษาวชิ าทหารจานวน 1 นาย รวมนกั เรยี น 20 คน ในการสอนได้แบ่งนกั เรยี นออกเปน็ 4 กลุ่ม เทา่ ๆ กนั กลุ่ม ละ 4 คน ในการประชุมครั้งน้ไี ด้แบ่งหน้าที่ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ในการสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างทค่ี รูต้นแบบกาลงั ดาเนนิ การสอน รายละเอียดดังแผนผังหอ้ งเรยี น หลงั จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครตู ้นแบบในการจัดการเรียนการสอนภายในคาบดงั กลา่ วโดยใช้กระบวนการ เรยี นการสอนตามที่ออกแบบไว้ (รายละเอยี ดแนบท้ายแผนการสอน) เสร็จส้ินแล้ว ครูสมาชิกกลมุ่ ไดร้ ่วมสะท้อนความคิดหลัง การสอน ในวนั ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 –16.30 น. และสมาชิกสนนทนาแต่ละท่านได้สนนทนาแลกเปล่ียนเรยี นรู้ กันอยา่ งกัลยาณมติ รซ่ึงสามารถสรุปเปน็ ข้อเสนอแนะที่ได้ในการจดั การเรยี นการสอนในครั้งนี้ ดังต่อไปนี้ ลาดบั ที่ ชอ่ื - นามสกุล สง่ิ ที่ช่วยพัฒนานกั เรียนได้ สงิ่ ทค่ี วรปรับปรุงใหด้ ีขน้ึ การแบ่งกลุม่ ให้มีการ 1 นางเบญจา เชียงทา กจิ กรรมกลมุ่ และการลงมือ คละความสามารถ ปฏบิ ตั ิด้วยตนเองจะสามารถ ของนักเรียน 2 นางภทั ริน แสนเมือง ใหน้ กั เรียนจดจา ในเน้ือหาวชิ า ไดเ้ ป็นอย่างดี เวลาในการเรียนการสอน ตอ้ งใช้เวลาให้มากกวา่ การนาความรูท้ ่ีได้จากผลการ น้ี เพิม่ เทคนิคใหมๆ่ ใน ทดลองมาสรุปร่วมกันกับครู การสร้างปฎสิ ัมพนั ธ์เชิง ต้นแบบจะชว่ ยให้นกั เรียนมี บวกใหช้ อบเรยี นวชิ าเคมี แนวทางในการคน้ หา วเิ คราะห์ ข้อมลู ท่ีเปน็ ประโยชน์ที่เก่ยี วกับ การอภิปรายผลอยา่ งมาก 3 นางวรัญญา มรี อด นกั เรยี นกล้าแสดงออกและความ การจัดวางอุปกรณใ์ ห้ คิดเห็นและให้การตอบรบั การ พรอ้ มใช้งานและสะดวก โต้ตอบอยา่ งมีลาดับขั้น ในการนามาใช้



ภาพกิจกรรมการประชุมการสะทอ้ นคดิ จากการสงั เกตการสอน วงรอบท่ี ๒ ผู้เช่ยี วชาญกลุ่มใหค้ าปรึกษาปัญหาที่เกิดและแนวทางการแกป้ ญั หาต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook