Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ต่อมหมวกไต ต่อมไทมัส

ต่อมหมวกไต ต่อมไทมัส

Description: ต่อมหมวกไต ต่อมไทมัส

Search

Read the Text Version

ต่อมหมวกไตและ ต่อมไทมัส

ต่อมหมวกไต ( Adrenal gland ) ต่อมหมวกไตตัง้ อยู่ท่ีด้านบนของไตทง้ั สองข้าง จึงเรียกว่าตอ่ มหมวกไต แต่ละตอ่ มประกอบด้วยเน้อื เยอ่ื 2 ช้ันคอื 1. ตอ่ มหมวกไตด้านนอกหรอื อะดรีนลั คอรเ์ ทกซ์ ( adrenal cortex ) ประกอบด้วยเนอ้ื เยื่อที่แตกต่าง 3 ชนิด 2. ตอ่ มหมวกไตด้านในหรืออะดรนี ลั เมดลั ลา ( adrenal medulla ) ซง่ึ ท้งั สองสว่ นจะผลิตฮอรโ์ มนพวกสารสเตอรอยด์ทีท่ าหน้าทีต่ า่ งกนั การสร้างฮอรโ์ มนจากตอ่ มหมวกไตสว่ นนอกต้องอาศัยฮอรโ์ มน ACTH จากต่อมใต้สมองสว่ นหน้ามากระตุ้น ตอ่ มหมวกไตมีความสาคัญอยา่ งยิ่ง ถา้ ร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไมส่ ามารถมชี วี ติ อยไู่ ด้ ฮอร์โมนในกลุม่ นจ้ี ะ ควบคุมเมแทบอลิซึมของ คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั และโปรตีน รกั ษาระดับน้าในร่างกายและชว่ ยให้รา่ งกายต่อสกู้ ับ ความเครียดตอ่ เหตุการณ์ต่างๆท้งั ในชีวติ ประจาวันและยามฉุกเฉิน



**ทอ่ งไว้ขนึ ใจ : ตอ่ มหมวกไตชันนอก มี 3S = Sugar Salt Sex** กลโู คคอร์ตคิ อยด์ มนิ เนอราโลคอร์ตคิ อยด์ ฮอร์โมนเพศ ( glucocorticoids ) (mineralocorticoid) ( sex hormone )

1. ฮอร์โมนกลโู คคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids ) ฮอรโ์ มนท่ีสาคญั ในกลุ่มน้ีได้แก่ คอร์ตซิ อล (cortisol) เป็นฮอรโ์ มนทจี่ าเปน็ (essential hormone) ท่มี ีความสาคญั ต่อชีวติ ถา้ ขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ตคิ อยดซ์ ง่ึ เปน็ ฮอรโ์ มน จาเป็นจะมผี ลอยา่ งมากตอ่ เซลลข์ องร่างกาย อวยั วะเปา้ หมาย : เซลล์ตับ หน้าท่ี : เพ่มิ ระดบั น้าตาลในกระแสเลอื ด โดยกระตนุ้ เซลลต์ บั ใหเ้ ปลยี่ นกรดไขมนั และกรดอะมโิ นบางตัวเป็นกลูโคส เกบ็ สะสมไว้ในรปู ของไกลโคเจน แล้วจะเปลย่ี นจากไกลโคเจนให้เปน็ กลโู คสเพ่อื ปลอ่ ยเข้าสู่กระแสเลือดเม่อื ต้องการเพม่ิ ระดบั นา้ ตาลในกระแสเลอื ดซ่งึ เป็นขบวนการทส่ี าคัญ

ความผดิ ปกติ : ถา้ มฮี อรโ์ มนกลุม่ นี้มากเกนิ ไปจะทา้ ให้เกิด โรคคูชชงิ ( Cushing’s syndrome) พบในผู้ป่วยทมี่ ีเนอ้ื งอกของตอ่ มหมวกไตส่วนนอกหรือได้รบั การรักษาดว้ ยยาหรอื ฮอรโ์ มนท่ีมีคอร์ติโคสเตรอยดเ์ ป็น ส่วนผสมเพื่อปอ้ งกันอาการแพ้ อักเสบติดตอ่ กันเปน็ ระยะเวลานาน เกิดข้นึ ได้ทั้งชายและหญงิ โดยมีความผิดปกติ เก่ยี วกับ - เมแทบอลซิ มึ ของคาร์โบไฮเดรต ไขมนั และโปรตนี ทาใหร้ ะดับน้าตาลในกระแสเลือดสูงข้ึน - กลา้ มเนื้ออ่อนแรงเน่อื งจากมีการสลายโปรตีนและไขมนั ตามบริเวณแขนขา อ้วน มไี ขมนั สะสมแกนกลาง ลาตัว ใบหน้ากลมคลา้ ยดวงจนั ทร์ หน้าท้องแตกลาย บริเวณตน้ คอมหี นอกยน่ื ออกมา โรคคูชชิง ( Cushing’s syndrome)

2. ฮอรโ์ มนมินเนอราโลคอร์ตคิ อยด์ (mineralocorticoid) ฮอรโ์ มนทสี่ าคัญในกลุ่มนี้ไดแ้ ก่ แอลโดสเตอโรน(aldosterone) ทาหนา้ ทีใ่ นการควบคมุ ความสมดุลของนา้ และแร่ ธาตใุ นรา่ งกาย อวยั วะเป้าหมาย : ไต ( ทอ่ หน่วยไต ) หนา้ ที่ : ช่วยในการทางานของไต - ในการดูดน้าและNa+ กลบั เข้าสู่ทอ่ หนว่ ยไต - ขบั K+ ออกจากท่อหน่วยไต - ควบคุมความสมดุลของฟอสเฟต ความผิดปกติ : ถา้ ขาด แอลโดสเตอโรน aldosteroneจะท้าให้ร่างกายสญู เสียนา้ และโซเดยี มไปพร้อมกบั ปสั สาวะ สง่ ผลให้เลอื ดในร่างกายลดลงจนอาจทาใหผ้ ปู้ ว่ ยตายเพราะความดนั เลือดตา่

3. ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) - ในวัยผู้ใหญ่ เมอ่ื หลง่ั ฮอรโ์ มนนอี้ อกมามากจะไม่พบความผดิ ปกติ แตใ่ นวยั เดก็ ถา้ เปน็ ผู้ชาย จะทาใหเ้ ปน็ หนมุ่ เร็ว กวา่ กาหนด -ส่วนในเพศหญงิ เนอ่ื งจากตอ่ มหมวกไต สว่ นนอกน้ีผลิตแอนโดรเจน (androgen) ถา้ มีการผลิตฮอรโ์ มนนม้ี ากซ่งึ อาจ เกดิ จากมีเนอ้ื งอกทีต่ ่อมหมวกไต จะทาให้เกิดลกั ษณะของเพศชายได้ คอื มีพฤติกรรมคลา้ ยผูช้ าย มีการสร้างโปรตีนที่ทาใหแ้ ขนขาใหญ่ มีหนวดเครา เสียงห้าว ไม่มีประจาเดือน มีขนขนึ้ ตามตวั และใบหน้า ถา้ ต่อมหมวกไตด้านนอก ถูกทา้ ลายจะไมส่ ามารถสร้างฮอร์โมน ทาใหเ้ ปน็ โรคแอดดิสนั ( Addison’s disease ) ผทู้ ่ีเป็นโรคนี้รา่ งกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่ สามารถรกั ษาสมดลุ ของแร่ธาตุได้ ซ่ึงจะทาให้ผปู้ ่วยเสยี ชีวิตได้

ต่อมหมวกไตช้นั นอก สรา้ งฮอร์โมนได้ทั้งหมด 3 ชนดิ ได้แก่ 1. กลโู คคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids ) →Sugar → เพิ่มระดับนา้ ตาลในเลือด → มากเกนิ ไป โรคคูชชิง ( Cushing’s syndrome) 2. มนิ เนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) → Salt → ควบคมุ ของน้าและแรธ่ าตุในรา่ งกาย → ถา้ ขาด รา่ งกายสญู เสยี น้าและโซเดียมไปพรอ้ มกับปสั สาวะ 3. ฮอรโ์ มนเพศ (sex hormone) → Sex → สร้างฮอรโ์ มนเพศ → ต่อมถกู ท้าลายเกดิ โรคแอดดสิ ัน ( Addison’s disease )



ตอ่ มหมวกไตดา้ นใน หรือ อะดรนี ลั เมดลั ลา ( adrenal medulla ) : ต่อมหมวกไตส่วนในเป็น ทั้งต่อมไรท้ อ่ และเปน็ สว่ นของประสาทซมิ พาเทติก จะทางานเมื่อเผชิญหนา้ กับ ภาวะเครียด ตน่ื เต้น ตกใจ กลวั หนีภัย เมอ่ื เจบ็ ปวดและออกกาลงั กาย สร้างฮอรโ์ มน 2 ชนิด คอื อะดรีนาลนี และ นอร์อะดรีนาลีน

1.ฮอรโ์ มนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) หรือ อะดรนี าลิน (adrenalin hormone ) แหลง่ ทส่ี รา้ ง : ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรนี ลั เมดัลลา ( adrenal medulla ) อวยั วะเป้าหมาย : ตบั , หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ,หวั ใจ ตอ่ มไทมัส (Thymus gland) หนา้ ที่ : -เปล่ยี นไกลโคเจนในตับใหเ้ ป็นกลโู คสเขา้ สู่กระแสเลอื ดทามรี ะดับกลโู คสเพม่ิ ขึ้นในกระแสเลือดการเผาผลาญ อาหารเพม่ิ มากขน้ึ ทาให้ร่างกายมีพลังมากขึ้น -กระตุ้นให้หวั ใจบบี ตัวแรงและเร็วขึน ทาใหเ้ ลอื ดลาเลยี งออกซเิ จนและกลโู คสไปให้เซลลร์ า่ งกายได้มากขน้ึ -หลอดเลอื ดแดงขนาดเล็กทีบ่ รเิ วณอวัยวะภายในต่างๆขยายตวั -หลอดเลอื ดแดงขนาดเล็กทบ่ี ริเวณผิวหนังและช่องท้องหดตัว

2.ฮอร์โมนนอรเ์ อพเิ นฟรนิ ( norepinephrine hormone ) หรือ นอรอ์ ะดรีนาลนิ (noradrenalin hormone ) แหล่งทสี่ ร้าง : ตอ่ มหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla ) อวัยวะเปา้ หมาย : ตับ , หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ,หัวใจ ตอ่ มไทมสั (Thymus gland) หน้าท่ี : -เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับใหเ้ ป็นกลโู คสเข้าสกู่ ระแสเลือดทามรี ะดับกลโู คสเพิม่ ขน้ึ ในกระแส เลอื ดการเผาผลาญอาหารเพ่ิมมากขึน้ ทาใหร้ า่ งกายมีพลงั มากขึ้น -กระตุน้ ให้หวั ใจบีบตวั แรงและเรว็ ขนึ ทาใหเ้ ลือดลาเลียงออกซเิ จนและกลโู คสไปให้เซลล์ ร่างกายได้มากขน้ึ -หลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ ทบี่ รเิ วณอวยั วะภายในต่างๆหดหรือบบี ตวั

อะดรนี าลีน (adrenaline) →มีผลต่อการทางานของอวยั วะและระบบตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมากมายไดแ้ ก่ ทาใหร้ า่ งกายตน่ื ตวั หวั ใจเตน้ แรง และเร็วข้นึ ความดนั เลือดสูง หลอดลมขยาย มา่ นตาขยาย ระดบั นา้ ตาลในเลือดเพ่ิมมากขนึ้ เสน้ เลอื ดอาร์เทอร่ที ี่ ไปหลอ่ เลยี งทีส่ มอง หวั ใจ ปอด และกลา้ มเนอื ขยาย เปน็ ต้น นอร์อะดรนี าลีน (noradrenaline) →เปน็ สารเดยี วกับสารสอ่ื ประสาทที่หลั่งจากปลายประสาทท่ีซมิ พาเทติก ผลของฮอร์โมนชนดิ นีคล้าย กบั อะดรนี าลีน ยกเวน้ ผลทีม่ ีตอ่ เสน้ เลอื ด เม่อื ร่างกายเผชญิ กับภาวะตา่ ง ๆ เชน่ เมือ่ เผชยหนา้ กับสัตว์ร้าย หรือศตั รู ต่ืนเตน้ ตกใจ ฯลฯ ไฮโพทาลามัสจะส่ง กระแสประสาทซิมพาเทตกิ มากระตุ้นอะดรีนัลเมดลั ลา ให้หลัง่ ฮอรโ์ มนอะดรีนาลีน และนอรอ์ ะดรนี าลนี ฮอรโ์ มน ทัง้ สองจะทาให้รา่ งกายพร้อมท่ีจะสู้และตอบสนองต่อภาาวะเครียดตา่ ง ๆ



มลี กั ษณะเป็นพู 2 พู บริเวณทรวงอกรอบเสน้ เลอื ดใหญข่ องหวั ใจ และเจรญิ เตม็ ท่ตี ้งั แต่เปน็ ทารกอยู่ในครรภ์และมี ขนาดใหญม่ ากเมื่อยังมีอายุนอ้ ย แต่เม่ืออายุมากขึ้นขนาดของต่อมไทมัสจะเล็กลงและฝ่อไปในท่สี ดุ ตอ่ มไทมสั ทา้ หนา้ ท่สี ร้างฮอรโ์ มน thymosin ซ่งึ มหี นา้ ทใ่ี นการกระต้นุ ใหเ้ น้ือเยอ่ื ต่อมไทมสั เอง ซ่งึ เปน็ อวัยวะน้าเหลืองสร้าง T –lymphocyte หรือ T – cell ซึง่ เปน็ เซลลท์ ี่สาคัญในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยทาลายเซลล์แปลกปลอมที่ เกดิ ขน้ึ และกระตุน้ การทางานของ B – cell ให้สร้างแอนติบอดขี นึ้ มาต่อตา้ นสง่ิ แปลกปลอมหรอื เช้อื โรคใหห้ มด ฤทธิไ์ ป

ฮอรโ์ มนทส่ี ร้าง : ไทโมซนิ ( thymosin ) อวยั วะเปา้ หมาย : เนือ้ เยอ่ื ตอ่ มไทมัส หนา้ ที่ : กระตุ้นใหเ้ นื้อเย่ือตอ่ มไทมัสเอง ซึ่งเปน็ อวัยวะน้าเหลอื งสรา้ ง T – lymphocyte หรอื T – cell ซึ่งเปน็ เซลลท์ ่ี สาคัญในระบบภมู ิคมุ้ กันของร่างกาย **ควบคุมการสรา้ งภมู ิค้มุ กนั ในร่างกาย**

จดั ทา้ โดย นายบุณยกร พนั ธุวนชิ เลขท่ี 12 นางสาวภทั รานษิ ฐ์ คณุ รัตน์ เลขท่ี 23 นางสาวเขมกิ า ชาญโพธ์ิ เลขท่ี 24 นางสาวปริณดา พิศวง เลขที่ 26 นางสาวรินรดา รักษ์กจิ การ เลขท่ี 28 นางสาวรินรดา รัตนไชย เลขท่ี 29 เสนอ ครูสกุ ฤตา โสมล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook