Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดบันทึก ประวิติศาสตร์ชาติไทย ม.ปลาย

สมุดบันทึก ประวิติศาสตร์ชาติไทย ม.ปลาย

Description: สมุดบันทึก ประวิติศาสตร์ชาติไทย ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

1 สมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู ประกอบชุดวิชา ประวัติศาสตรชาติไทย รหัสรายวิชา สค32034 รายวชิ าเลือกบงั คบั ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

2 คาํ นํา สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู ชดุ วชิ าประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย รหัสรายวิชา สค32034 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน สมุดบันทึกสาํ หรับทาํ กิจกรรมที่กําหนดไวในชุดวิชา เพ่ือใหผเู รยี น ไดท ดสอบความรู ความเขาใจ และฝกทักษะประสบการณท่ีจําเปนในวชิ าประวัติศาสตรชาติไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กิจกรรมท่ีกาํ หนดจะชวยสงเสริมใหผูเรียน มีประสิทธิภาพในการเรียนรูเพ่ิมขึ้นใน แตล ะเรอ่ื ง ดงั น้ี 1. คําชี้แจงการใชสมุดบันทึกกิจกรรมการเรยี นรู 2. แบบทดสอบกอนเรยี น 3. กิจกรรมทา ยเรือ่ งหนวยการเรียนรทู ่ี 1 ความภูมใิ จในความเปน ไทย 4. กิจกรรมทา ยเร่ืองหนว ยการเรียนรทู ี่ 2 การประยกุ ตใชวิธีการทางประวตั ิศาสตร 5. กิจกรรมทายเรือ่ งหนว ยการเรยี นรทู ่ี 3 พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั รยิ ไ ทย สมัยรตั นโกสนิ ทร 6. กิจกรรมทายเร่อื งหนว ยการเรยี นรูที่ 4 การเปลี่ยนแปลงของชาตไิ ทย สมัยรัตนโกสินทร 7. กจิ กรรมทา ยเรื่องหนวยการเรียนรทู ี่ 5 มรดกไทยสมัยรตั นโกสินทร 8. แบบทดสอบหลงั เรยี น สํานักงาน กศน. หวังวาเมื่อผูเรียนไดศึกษาจากชุดวิชาประวัติศาสตรชาติไทย พรอ มทําแบบทดสอบ ปฏิบัติ และทํากิจกรรม ตามคําแนะนําอยางสมบูรณครบถวนแลว ผูเรียน จะประสบความสาํ เร็จในการศกึ ษาได สํานักงาน กศน. พฤษภาคม 2561

3 คาํ ช้ีแจงการใชส มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูน้ี ใชควบคูกับชุดวิชา ประวัติศาสตรชาติไทย รหสั รายวชิ า สค32034 รายวิชาเลือกบงั คบั ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ใหผูเรียนทาํ แบบทดสอบ กอ นเรยี นของชุดวชิ าตามทกี่ ําหนด เพอ่ื ใหผเู รยี นทราบความรูพ้ืนฐาน และตรวจคําตอบจากเฉลย แบบทดสอบกอนเรียนทายเลม หลงั จากน้นั ผูเ รยี นศกึ ษาเนื้อหาในชดุ วิชาในแตล ะหนวยการเรียนรู และใหทํากิจกรรมทายเร่ืองของแตละหนวยการเรียนรูในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนรู ผูเรียน สามารถตรวจคําตอบจากเฉลยทายเลม หากผูเรียนทาํ กิจกรรมไมถูกตองใหกลับไปทบทวนเน้ือหา สาระในเรื่องนัน้ ใหเ ขา ใจ แลวทํากจิ กรรมการเรยี นรซู ํา้ อกี คร้งั จนถูกตอง และเมอ่ื ทาํ กจิ กรรมการเรยี นรู ครบทกุ หนวยการเรียนรแู ลว ใหท าํ แบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคําตอบจากเฉลยทา ยเลม ในการทํากจิ กรรมการเรียนรนู ้ี ผเู รยี นตอ งทํากจิ กรรมดว ยตนเองใหค รบถว นทุกกิจกรรม เพ่ือใหการเรยี นรขู องผเู รียนมปี ระสทิ ธิภาพประสิทธผิ ล บรรลุตวั ชวี้ ัดของชุดวชิ าน้ี

4 สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 7 คาํ ชแี้ จงการใชสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู 7 สารบญั 11 แบบทดสอบกอ นเรียน หนวยการเรียนรทู ี่ 1 ความภมู ใิ จในความเปน ไทย กจิ กรรมทายเร่อื งท่ี 1 สถาบนั หลักของชาติ กจิ กรรมทา ยเร่ืองที่ 2 บทสรปุ สถาบนั พระมหากษตั รยิ เ ปน ศูนยรวมใจของคนในชาติ หนว ยการเรยี นรูที่ 2 การประยกุ ตใ ชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร 13 กิจกรรมทา ยเร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนข องวิธกี าร 13 ทางประวตั ศิ าสตร 14 กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 2 วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร หนว ยการเรยี นรูที่ 3 พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั รยิ ไ ทยสมัยรตั นโกสินทร 17 กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริยไ ทยสมยั รัตนโกสนิ ทร 17 กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 2 คณุ ประโยชนข องบคุ คลสาํ คัญ 18 หนว ยการเรยี นรูที่ 4 มรดกไทยสมยั รตั นโกสินทร 21 กิจกรรมทายเร่อื งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คญั ของมรดกไทย 21 กจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 2 มรดกไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร หนว ยการเรยี นรูที่ 5 การเปลีย่ นแปลงของชาตไิ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทร 25 กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 1 เหตกุ ารณสาํ คญั ทางประวตั ิศาสตรท ่มี ีผลตอการพัฒนาชาติไทย 25 กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 2 ตวั อยา งการวิเคราะหแ ละอภปิ รายเหตุการณส ําคัญ ทางประวตั ศิ าสตรท ี่มผี ลตอการพัฒนาชาติไทย 34 แบบทดสอบหลังเรียน 35 เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น 41 เฉลย/แนวคาํ ตอบกจิ กรรมทา ยเร่ือง 42 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 60 คณะผจู ัดทํา 61

1 แบบทดสอบกอ นเรยี น ใหผ เู รยี นทําเครื่องหมาย X หนาขอ ท่ถี กู ตอ งทส่ี ุดเพยี งขอ เดยี ว 1. พระพุทธเจาทรงบรรลุรูปฌานไดตรัสรูเปน สัมมาสัมพทุ ธเจา ดวยพระองคเ อง ในขณะท่ีพระองค มพี ระชนมก่ีพรรษา ก. 35 พรรษา ข. 36 พรรษา ค. 37 พรรษา ง. 38 พรรษา 2. ประเทศใดทไ่ี มไ ดอยูในดนิ แดนที่เรียกวา “สวุ รรณภูม”ิ ก. ศรลี ังกา ข. กัมพูชา ค. จีน ง. มาเลเซยี 3. พระเมสสิยาห (Messiah) คาํ วา “เมสสยิ าห” เปนคาํ ท่ีมาจากภาษาอะไร ก. บาลี ข. เขมร ค. กรกี ง. ฮีบรู 4. พระเจา ไดประทานบัญญตั ิใหแ กโมเสส เพื่อใหช าวยวิ นาํ ไปยดึ ถอื ปฏบิ ตั จิ าํ นวนกป่ี ระการ ก. 6 ประการ ข. 8 ประการ ค. 10 ประการ ง. 12 ประการ 5. ขอ ใดคือหนงั สือท่สี มเด็จพระเจาตากสนิ ทรงพระราชนพิ นธหนงั สือทางพทุ ธศาสนาท่วี าดว ย วธิ ีทํากรรมฐาน ก. ลกั ษณะบุญ ข. ตะวนั สองหลา ค. พทุ ธธรรม ง. ศีล 5

2 6. คาํ วา “พระคริสต” เปน คาํ ท่มี าจากภาษาใด ก. ศรลี ังกา ข. กรีก ค. ฮีบรู ง. บาลี 7. ขน้ั ตอนทางประวัตศิ าสตรมกี ข่ี น้ั ตอน อะไรบา ง ก. 3 ขนั้ ตอน การกาํ หนดหวั เร่ือง การรวบรวมหลักฐาน การตคี วามหลักฐาน ข. 4 ขั้นตอน การกําหนดหวั เรื่อง การรวบรวมหลกั ฐาน การประเมินคุณคาของหลักฐาน การเรยี บเรียงหรือการนําเสนอ ค. 5 ขั้นตอน การกําหนดหัวเรอื่ ง การรวบรวมหลกั ฐาน การประเมนิ คุณคา ของหลักฐาน การวเิ คราะหข อมลู การเรียบเรียงหรือการนาํ เสนอ ง. 6 ขน้ั ตอน การกาํ หนดหวั เรอื่ ง การรวบรวมหลกั ฐาน การตคี วามหลกั ฐาน การวเิ คราะหข อ มลู การเรียบเรียงหรือการนาํ เสนอ การประเมนิ คณุ คา ของหลักฐาน 8. ข้ันตอนสดุ ทา ยของวิธีการทางประวตั ศิ าสตรค ือขอใด ก. การตคี วามหลกั ฐาน ข. การวเิ คราะหขอมลู ค. การประเมนิ คุณคาของหลักฐาน ง. การเรยี บเรยี งหรือการนําเสนอขนั้ ตอน 9. ขอใดกลาวไมถ กู ตอ ง ก. หลักฐานท่เี ปนวตั ถุ คอื หลักฐานทมี่ นษุ ยแตล ะยุคแตล ะสมัยไดส รา งขึน้ ข. หลกั ฐานชน้ั ตน คอื หลกั ฐานท่เี กดิ ขนึ้ ในสมยั นนั้ จรงิ ๆ โดยบนั ทกึ เกี่ยวกบั เหตกุ ารณโ ดยตรง ค. หลกั ฐานท่ีเปนลายลกั ษณอกั ษร คือ หลักฐานที่เปนตัวหนังสอื โดยมนุษยไดทิ้งรองรอยขีดเขียน เปนตวั หนังสือประเภทตาง ๆ ง. หลกั ฐานชัน้ รอง คือ หลักฐานที่มีการบันทึกของผูที่เกี่ยวกับเหตุการณโดยตรงเปนหลักฐาน ทสี่ าํ คัญ และนา เชื่อถอื มากท่ีสดุ 10. ตํานานไทยแบงไดกี่ลกั ษณะ ก. 3 ลกั ษณะ ข. 4 ลกั ษณะ ค. 5 ลกั ษณะ ง. 6 ลกั ษณะ

3 11. ปอ มพระจลุ จอมเกลา สรา งขน้ึ ในปพทุ ธศักราชใด ก. 2424 ข. 2442 ค. 2427 ง. 2472 12. หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรทีม่ ลี ักษณะเปน บันทกึ เรือ่ งราวเกยี่ วกับพระมหากษัตริยแ ละราชวงศ เรียกวาอะไร ก. จารึก ข. พงศาวดาร ค. เอกสารทางราชการ ง. บนั ทกึ ของชาวตา งชาติ 13. พระมหากษัตริยพ ระองคใดทรงเชยี่ วชาญงานดา นวรรณกรรม และบทละคร ท่ที ําใหยุคสมยั น้นั ถอื วาเปนยคุ ทองของวรรณคดี ก. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ข. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลานภาลัย ค. พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจา อยหู ัว ง. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูห วั 14. พระมหากษตั รยิ พระองคใ ดท่ีไดร บั การยกยอ งเปน “พระบดิ าแหงวทิ ยาศาสตรไ ทย” ก. พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลาเจา อยหู วั ข. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูหัว ค. พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู วั ง. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยูห วั 15. โรงพยาบาลแหง แรก โปรดเกลาฯ ใหกอ ตงั้ ขึ้นในรชั สมยั ใด ก. รชั กาลที่ 2 ข. รชั กาลที่ 3 ค. รัชกาลท่ี 4 ง. รัชกาลที่ 5

4 16. “เราจะครองแผน ดินโดยธรรม เพอื่ ประโยชนสขุ แหง มหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการแกประชาชนชาวไทย เปน ของพระมหากษตั ริยในขอ ใด ก. พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยหู วั ข. พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร ค. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) ง. สมเดจ็ พระเจาอยหู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู 17. รชั สมัยใดทมี่ ีการเปล่ียนธงชาติไทยซงึ่ มรี ูปชา งเดมิ ใหเ ปน “ธงไตรรงค” ก. รชั กาลที่ 4 ข. รชั กาลท่ี 5 ค. รชั กาลท่ี 6 ง. รชั กาลท่ี 7 18. บคุ คลในขอ ใดไดร บั การยกยอ งเปน บดิ าทางโบราณคดแี ละประวตั ศิ าสตรไทย ก. สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ ข. ศาสตราจารยพ ระยาอนุมานราชธน ราชบัณฑติ ค. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ง. สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ 19. รัชกาลใดมิไดจ ดั เปน ยุคทองของการกวแี ละวรรณคดี ก. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา นภาลยั ข. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั ค. พระเจาอยหู วั บรมโกศ ง. พระนารายณม หาราช 20. วรรณกรรมสมยั รตั นโกสนิ ทรท่ไี ดร ับความนยิ มมากคือประเภทใด ก. บทละครรํา ข. บทละครเตน ค. บทละครความเศราโศก ง. บทละครพดู และบทละครรอง 21. สถาปต ยกรรมในสมัยรัตนโกสนิ ทรค ือขอ ใด ก. เจดียท รงดอกบัวตมู ข. วดั พุทไธสวรรย ค. พระราชวังดสุ ติ ง. วัดราชบรู ณะ

5 22. ขอใดคอื การอนรุ กั ษม รดกไทยทดี่ ที ่ีสดุ ก. เรียนรูภมู ปิ ญ ญาจากคนรนุ เกา ข. สงเสริมการซือ้ สนิ คา ทีเ่ กดิ จากภมู ิปญ ญาไทย ค. ยกยอ งผอู นรุ ักษว ฒั นธรรมไทยและภมู ิปญญาไทย ง. ใชพืชสมุนไพรเปน สว นประกอบหลักในการประกอบอาหาร 23. การแผขยายอทิ ธิพลของชาวตา งชาติในยคุ รัตนโกสนิ ทร ประเพณี และความเช่ือใด มีทม่ี าจาก ประเทศอนิ เดีย ก. ประเพณีปอยสางลอง ข. ประเพณสี งกรานต ค. การนับถือเจา ง. ระบาํ รองเง็ง 24. งานดา นจติ รกรรมทส่ี รา งภาพใหเหมือนจรงิ ไดน ําวทิ ยากรมาจากชาตใิ ด ก. โปรตุเกส ข. ตะวันตก ค. สเปน ง. ยุโรป 25. การกําหนดลกั ษณะสาํ คญั ในการสถาปนาอาณาจกั รไทยมีปจจัยในขอ ใด ก. ความเขมแขง็ ของพระมหากษตั ริยแ ละประชาชน ข. ความเจริญกา วหนาทางประเพณแี ละวฒั นธรรม ค. สภาพทางภมู ศิ าสตร ง. ลักษณะทางเศรษฐกิจ การเงนิ การคลงั 26. ในชวงรชั กาลที่ 4 - 5 มีการปฏริ ูปบานเมอื งของไทยใหเปน อารยแบบชาตติ ะวนั ตก เกดิ จากสาเหตุใด ก. สาเหตจุ ากลงนามในการทําสนธิสัญญาเบาวรงิ่ ข. สาเหตจุ ากชาวตา งชาติเขามาตดิ ตอ คา ขายและตองการแผข ยายอาํ นาจ ค. สาเหตจุ ากประเทศไทยดอ ยการพฒั นา ดอยความเจรญิ ไมท นั สมยั ง. สาเหตจุ ากพระราชอาํ นาจของพระมหากษตั รยิ ไ มม น่ั คง

6 27. ความแตกตา งระหวา งสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรในพระราชบัญญตั ิธรรมนูญการปกครอง แผน ดนิ สยามชว่ั คราว พ.ศ. 2475 กับรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475 ขอ ใดทถ่ี ูกตอ งทีส่ ดุ ก. ที่มาของสมาชิกสภาผแู ทนราษฎร ข. จาํ นวนสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรในแตล ะประเภท ค. รูปแบบของการเลือกตั้ง ง. หวั หนาฝา ยนติ ิบญั ญตั ิ และฝา ยบรหิ าร 28. หลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ประเทศไทยจดั การปกครองคลายกับ ประเทศอังกฤษ คือสาเหตุในขอ ใด ก. ระบบขนุ นางของประเทศองั กฤษกับประเทศไทยมลี ักษณะใกลเคยี งกนั ข. รัฐบาลประเทศอังกฤษมเี อกภาพและเสถียรภาพสงู ค. มีสถาบนั พระมหากษตั ริยเชนเดยี วกนั ง. กลมุ ผูนาํ ในการเปล่ยี นแปลงการปกครองสาํ เร็จการศกึ ษามาจากประเทศองั กฤษ 29. ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั รชั กาลท่ี 7 ทรงใชน โยบายขอ ใด ในการแกปญหาเศรษฐกจิ ตกต่าํ ก. การสงเสรมิ ใหใชส นิ คา ไทย ข. การปลดขา ราชการออก ค. การขอกเู งนิ ตางประเทศ ง. การลดคาเงนิ ของไทย 30. ประเทศไทยขอใหแ กไ ขสนธสิ ญั ญาเบาวร ง่ิ หลงั จากเกิดสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ในขอ ใด ก. เขตแดน ข. คนในบังคับตา งชาติ ค. สิทธสิ ภาพนอกอาณาเขต ง. สินคา ตองหา มบางชนดิ เชน เกลือ และขาว

7 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ความภูมใิ จในความเปน ไทย กิจกรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 1 สถาบนั หลกั ของชาติ คาํ ช้ีแจง ใหผ ูเรียนสรุปความหมาย และความสาํ คัญของชาติ มาพอสังเขป เรื่องที่ 1.1 ชาติ กจิ กรรมท่ี 1) ชาตคิ อื อะไร กิจกรรมที่ 2) ชาตสิ าํ คัญอยา งไร

8 กิจกรรมท่ี 3) อธิบายความเปน มาของชนชาตไิ ทย คาํ ชีแ้ จง ใหผเู รยี นอธิบายความเปนมาของชนชาติไทยอยา งนอย 1 เร่ือง กจิ กรรมท่ี 4) อธิบายพระปรีชาสามารถของพระมหากษตั รยิ ไ ทยกบั การรวมชาติ คาํ ชแ้ี จง ใหผ เู รยี นยกตวั อยา งพระปรชี าสามารถของพระมหากษตั รยิ ไทยกบั การรวมชาตมิ า 2 ตัวอยา ง พรอมเขียนเหตผุ ลวา เพราะเหตุใดจงึ เลอื กพระปรชี าสามารถนนั้

9 เรอื่ งที่ 1.2 ศาสนา คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเรยี นเขียนอธิบายความสาํ คัญของสถาบันศาสนา อยางนอย 2 ตัวอยาง เรอื่ งท่ี 1.3 พระมหากษตั ริย คาํ ชีแ้ จง ใหผ ูเรียนตอบคําถามในประเดน็ ตอไปนี้ 1. ผเู รยี นจะสอนลกู หลาน ใหต ระหนกั ถงึ ความสําคัญของ “พระมหากษัตริย” ไดอยางไร จงอธิบาย

10 2. พระมหากษตั รยิ ข องไทยทุกพระองคตง้ั แตอ ดตี จนถงึ ปจจบุ นั ทรงเปน ศนู ยรวมแหง จติ ใจ ของคนไทยทกุ คนอยางไร จงอธิบาย 3. ใหผเู รยี นเขยี นเรยี งความ “พระมหากษตั รยิ ใ นดวงใจของขา พเจา ” มาจํานวน 20 บรรทดั

11 กิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 2 บทสรปุ สถาบนั พระมหากษัตริยเปน ศูนยร วมใจของคนในชาติ คาํ ชี้แจง ใหผ ูเรยี นอา นเรือ่ งทีก่ าํ หนดให และตอบคาํ ถามในประเด็นที่กาํ หนดให 1. “เม่ืออานเรอ่ื งที่กาํ หนดใหขา งลา งแลว ทา นคิดอยางไร” “เราตอ งรักและภูมิใจในประเทศของเรา แผน ดินเกิดของเรา และความเปนคนไทยของเรา ถาเราไมร ักประเทศของเรา คดิ อะไรก็เปนลบไปหมด ตางชาติเขาจะคิดอยางไร ไมม ีประเทศไหน ในโลก ทไ่ี ปไหนแลว มีความเออ้ื เฟอ เผ่ือแผ ไปขอขาวใครเขากนิ ไปขอที่พกั เขาไดเ หมือนเมืองไทย อกี แลว”

12 2. เม่อื อานเน้อื เพลง “เพลงรกั เมอื งไทย” ที่กาํ หนดใหขา งลา งแลว ทานรสู กึ อยา งไร” เพลงรักเมืองไทย (เพลงปลุกใจ) เราชาวไทยเกิดเปน ไทยตายเพอื่ ไทย เราชาวไทยเกดิ เปน ไทยตายเพ่อื ไทย ไมเคยออ นนอมเราไมย อมแพใคร ไมเ คยออ นนอ มเราไมย อมแพใคร ศัตรูใจกลา มาแตท ศิ ใด ถา ขม เหงไทย คงจะไดเห็นดี เราชาวไทยเกดิ เปน ไทยตายเพ่ือไทย เราชาวไทยเกิดเปน ไทยตายเพ่อื ไทย เรารักเพ่ือนบาน เราไมร านรกุ ใคร เรารักเพอื่ นบา น เราไมร านรกุ ใคร แตร กั ษาสทิ ธิ์ อิสระของไทย ใครทําซาํ้ ใจ ไทยจะไมถอยเลย เราชาวไทยเกดิ เปนไทยตายเพอื่ ไทย เราชาวไทยเกิดเปนไทยตายเพ่ือไทย ถาถูกขมเหงเราไมเ กรงผใู ด ถาถกู ขม เหงเราไมเ กรงผูใด ดังงูตวั นิดมพี ษิ เหลอื ใจ เรารกั เมืองไทย ยง่ิ ชีพเราเอย

13 หนวยการเรยี นรทู ี่ 2 การประยุกตใชว ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร กจิ กรรมทา ยเร่ืองที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนของวิธีการทางประวตั ศิ าสตร กจิ กรรมที่ 1.1 จงอธิบายความหมายของวิธีการทางประวัตศิ าสตร กิจกรรมที่ 1.2 จงอธบิ ายความสําคัญของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร

14 กจิ กรรมที่ 1.3 จงอธิบายประโยชนของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร กจิ กรรมทายเร่ืองที่ 2 วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร กิจกรรมท่ี 2.1 จงสรุปวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร ทัง้ 5 ขน้ั ตอน มาพอสังเขป

15 กิจกรรมที่ 2.2 ตัวอยา งการใชวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม าใชใ นการศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไทย คาํ ชแ้ี จง จากการศกึ ษา กรณศี กึ ษาเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ปอมพระจลุ จอมเกลา จังหวดั สมทุ รปราการ ดวยวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรใ หผ เู รียนสรุปสาระสาํ คญั การนาํ วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร มาใชใ นการศึกษาประวตั ศิ าสตรไ ทยโดยสงั เขป

16 กิจกรรมที่ 2.3 การใชว ิธีการทางประวตั ศิ าสตรใ นการศกึ ษาเร่อื งราวทางประวตั ศิ าสตรท สี่ นใจ คําชีแ้ จง ใหศ กึ ษาประวตั ศิ าสตรข องชุมชนหรอื พนื้ บาน/ทองถิ่น หรือสถานที่สําคัญ/บุคคลสําคัญ หรอื เหตกุ ารณ/เรือ่ งราวท่ีสาํ คัญ ตามความสนใจ จาํ นวน 1 เร่อื ง โดยใชข ัน้ ตอนและวธิ กี าร ทางประวัตศิ าสตร แลว บนั ทึกลงในแบบดานลาง

17 หนวยการเรยี นรูท่ี 3 พระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ ไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร กิจกรรมทายเร่ืองที่ 1 พระราชกรณยี กิจของพระมหากษัตรยิ ไ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทร กิจกรรมท่ี 1.1 ใหผ เู รียนอธบิ ายพระราชกรณียกิจทสี่ ําคัญ ๆ ของพระมหากษัตรยิ ไทย สมยั รตั นโกสนิ ทรด ังนี้ 1. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) 2. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว (รชั กาลที่ 5) 3. พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9)

18 กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 2 คุณประโยชนของบคุ คลสาํ คัญ คาํ ชแี้ จง 1.1 ใหผูเ รยี นอธบิ ายความสัมพนั ธของบคุ คลกับคณุ ประโยชนท ่ีมตี อ ประเทศชาติ บุคคลสาํ คญั คณุ ประโยชนท มี่ ตี อ ประเทศชาติ ทา วสุรนารี สมเดจ็ เจาพระยา บรมมหาศรสี รุ ิยวงศ (ชวง บนุ นาค) สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ

19 คาํ ชแ้ี จง 1.2 ใหผ ูเ รยี นวเิ คราะหวรี กรรม/คณุ ประโยชนข องบุคคลสาํ คญั ท่ีมปี ระโยชนต อ การ พัฒนาชาติไทย 1. ทาวสุรนารี

20 2. สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ

21 หนวยการเรียนรูที่ 4 มรดกไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร กิจกรรมทายเรือ่ งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คัญของมรดกไทย กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรยี นอธิบายความหมายและความสาํ คญั ของมรดกไทย 1.1 จงใหค วามหมายของคําวา “มรดกไทย” 1.2 มรดกไทยมคี วามสาํ คญั อยางไร

22 กิจกรรมที่ 2 วเิ คราะหอทิ ธพิ ลของมรดกไทยตอการพัฒนาประเทศในดา นตา ง ๆ ดงั นี้ 2.1 ดา นสถาปตยกรรม 2.2 ดานประตมิ ากรรม 2.3 ดา นจติ รกรรม

23 2.4 ดานวรรณกรรม 2.5 ดา นดนตรีและนาฏศลิ ป 2.6 ดานประเพณแี ละความเช่อื

24 กิจกรรมที่ 3 ยกตวั อยางมรดกไทยในสมยั กรงุ รตั นโกสินทร คําช้แี จง ใหผูเรียนยกตวั อยา งมรดกไทยของกรงุ รัตนโกสินทร

25 หนว ยการเรียนรูท ี่ 5 การเปล่ยี นแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร กิจกรรมทายเร่ืองท่ี 1 เหตกุ ารณส าํ คัญทางประวตั ศิ าสตรทีม่ ผี ลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย กจิ กรรมท่ี 1 จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. จงอธบิ ายถึงปจจยั ทค่ี วรพิจารณาเปนส่ิงแรกในการสถาปนาแตล ะอาณาจกั ร 2. จงอธบิ ายความหมายของแตละปจ จัยตอไปนี้ ตามความเขาใจของทานท่ไี ดเรยี นรูมา 2.1 ปจ จัยทางดานภมู ศิ าสตร 2.2 ปจจยั ทางดานการเมือง

26 3. แมน ํา้ หลกั ทส่ี ําคญั ในสมัยกรุงศรีอยุธยาหมายถงึ แมนาํ้ สายใดบาง 4. จงบอกจดุ เดน ของปจ จยั ในการพิจารณาสถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร

27 กิจกรรมท่ี 2 สนธสิ ัญญาเบาวริ่ง คําช้ีแจง จงทําเคร่ืองหมาย หนาขอความท่ีถูกตอง และทําเคร่ืองหมาย หนาขอความ ที่ไมถกู ตอ ง 1. สนธสิ ัญญาเบาวร ง่ิ เกิดขน้ึ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหวั รัชกาลที่ 4 2. สนธิสญั ญาเบาวร่งิ เปนสนธิสญั ญาระหวา งประเทศสยามกบั เซอรจอหน เบาวร ง่ิ 3. เซอรจอหน เบาวร ่ิง เปน ชาวอังกฤษ 4. สนธิสญั ญาเบาวร ่ิงอนญุ าตใหชาวตา งประเทศสามารถถือครองทีด่ นิ ไดทุกที่ ภายในประเทศสยามหากมีความตองการ 5. ฝน เปนสินคา ที่ตอ งเสยี ภาษขี าเขาและตอ งขายใหก ับเจา ภาษเี ทาน้นั 6. กงสุลที่เกิดตามสนธิสญั ญาเบาวร ง่ิ มีหนาทีใ่ นการพจิ ารณาคดคี วามชาวองั กฤษ และรว มพจิ ารณาในคดีความทีช่ าวอังกฤษมีคดีความกบั ชาวไทย 7. ขาว เกลอื และปลา เปนสนิ คา ตอ งหา ม หามสงออกนอกประเทศ 8. ผลของการทาํ สนธสิ ัญญาเบาวร ิง่ ใหสทิ ธิเสรีภาพในการถอื ครองท่ีดินแกร าษฎรไทย และชาวตา งประเทศ 9. การขายสินคาท่ีมีคา เชน ไมฝาง ไมกฤษณา งาชาง เปนตน รัฐบาลใหสิทธิ์ราษฎร ซื้อขายไดอยางอสิ ระ เปน ผลมาจากการทาํ สนธิสัญญาเบาวร ิง่ 10. จังกอบ ภาษปี า ภาษปี ากเรอื เปน ภาษีสงออก

28 กจิ กรรมท่ี 3 การปฏิรปู การปกครองในสมัยรชั กาลที่ 5 คาํ ชีแ้ จง ใหเลอื กคําตอบทีถ่ ูกตอ งท่ีสุดเพียงคําตอบเดยี ว 1. ขอใดหมายถึง การลา อาณานคิ ม ก. ความตองการแสดงอํานาจและแสนยานภุ าพ ข. ความตอ งการดนิ แดนเพอ่ื รองรบั การขยายตัวของประชากร ค. ความตองการหาศูนยก ลางแลกเปลยี่ นสินคาเพ่อื ทาํ การคา ขาย ง. ถูกทุกขอ 2. การปฏริ ูปการปกครองเพ่ือไมใหป ระเทศตะวันตกขยายอํานาจเขา มาในประเทศไทยตรงแนวคิด ในขอใด ก. พฒั นาบานเมืองใหเทา เทยี มกับอารยประเทศ ข. ทรงปฏริ ูปการปกครอง โดยการรวมอาํ นาจเขาสูสวนกลาง การพฒั นากฎหมายให เปนสากล และการริเริ่มส่ิงใหมเ ขามา เชน การโทรเลข การไปรษณยี  เปนตน ค. ทรงใหอํานาจขนุ นางผใู หญ และเจานายมบี ทบาทไดด แู ลผลประโยชนต า ง ๆ ของประเทศชาติ ง. แบง การปกครองเปนแบบจตสุ ดมภ 3. รชั กาลที่ 5 ทรงตราพระราชบัญญัติลกั ษณะการปกครองทองท่ขี ึน้ ขอใดถกู ทสี่ ดุ ก. ทรงจัดสรรอํานาจหนาทีแ่ ละความรบั ผิดชอบเปน สดั สว น ข. ทรงแตง ตงั้ สภาทปี่ รึกษาราชการแผน ดิน และสภาทีป่ รึกษาในพระองค ชวยดูแล และทดั ทานอํานาจของพระองค ค. ทรงตงั้ สมหุ เทศาภิบาลคอยดแู ลตา งพระเนตรพระกรรณ และปกครองแบบ มณฑล เมอื ง อําเภอ ตาํ บล ง. ทรงตง้ั สุขาภิบาลเมืองและสุขาภบิ าลตําบลใน พ.ศ. 2451 4. ขอใดเปน เหตุการณส ําคัญทเี่ กดิ ข้นึ ในสมัยรชั กาลที่ 5 ก. เลิกทาส ยกเลิกจตุสดมภ สงคนไทยไปศึกษาตา งประเทศ ข. เลกิ ทาส ยกเลกิ มณฑลเทศาภิบาล เกดิ กบฏคณะ ร.ศ. 130 ค. เลกิ ทาส กําเนิดไปรษณยี โ ทรเลข กําเนิดลกู เสือ ง. เลิกทาส กาํ เนดิ ไปรษณยี โ ทรเลข ยกเลิกระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย

29 5. ขอ ใดเปน ระบบทส่ี ะทอ นใหเหน็ วา กําลงั คนเปน ทรัพยากรสําคัญในดินแดนไทยสมัยโบราณ ก. ระบบอุปถมั ภ ข. ระบบไพร ค. ระบบศกั ดินา ง. ระบบขนุ นาง 6. เงือ่ นไขในขอ ใดคือความสมั พนั ธระหวางไพรก บั มูลนายในสังคมไทยสมยั โบราณ ก. ระบบกฎหมาย ข. วัฒนธรรมและกฎหมาย ค. ความจงรกั ภักดี ง. คา นยิ มและประเพณี 7. ขอใดไมไ ดเ ปน เหตุการณที่เกิดข้นึ ในสมยั รัชกาลที่ 5 ก. การจัดตง้ั กระทรวง ทบวง กรม ข. การปรับปรงุ กองทพั ใหมีความทันสมยั ค. การปฏิรูปการศกึ ษา ง. มีการประกาศใชป ระมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย 8. วธิ กี ารในขอ ใดที่รชั กาลท่ี 5 ทรงใชเพ่ือใหป ระเทศชาติรอดพนจากลทั ธจิ ักรวรรดนิ ิยม ก. การปฏิรูปการปกครองสว นภูมิภาคโดยเนนการรวมศูนยอํานาจ ข. การทาํ นบุ าํ รงุ กองทพั และอาวธุ ยทุ โธปกรณใ หทนั สมยั ค. การเจริญสัมพนั ธไมตรีระหวางประเทศ ง. การทรงเปน จอมทพั ในการทําสงครามขับไลอรริ าชศตั รู 9. ชวงเวลาใดท่ีประเทศไทยเผชิญปญ หาเศรษฐกิจอยางรุนแรงเปน คร้งั แรก ก. หลังสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ข. หลังสงครามโลกครง้ั ที่ 2 ค. หลังวกิ ฤตการณ ร.ศ.112 ง. หลงั การลงนามในสนธิสัญญาเบาวร ่งิ

30 10. การจัดตง้ั มณฑลเทศาภิบาลและสุขาภบิ าลในสมยั รชั กาลท่ี 5 สอดคลองกับหลกั การบรหิ าร ราชการแผนดนิ แบบใด ก. การแบงอาํ นาจ ข. การคานอาํ นาจ ค. การกระจายอาํ นาจ ง. การรวมศูนยอํานาจ กิจกรรมท่ี 4 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. กอ นการเปลย่ี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ประเทศไทยใชระบอบการปกครองแบบใด 2. หวั หนาคณะราษฎรท่ีทําการเปลย่ี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 คือใคร 3. นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือใคร 4. การเปลยี่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 ตรงกับรชั กาลใด

31 5. คณะราษฎรมีจํานวนก่ีคนประกอบดว ยใครบา ง 6. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 7 ทรงพระราชทานรัฐธรรมนญู ฉบับแรกใหแ ก ปวงชนชาวไทยเม่อื ใด 7. แผนการศกึ ษาแหงชาติ เริม่ ใชเม่ือใด และ แบง ออกเปนกป่ี ระเภทอะไรบา ง 8. ประเทศใดท่ีไทยใชเปนตน แบบในการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

32 9. หลกั 6 ประการของคณะราษฎร มอี ะไรบาง 10. พระราชบญั ญตั ธิ รรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามชว่ั คราวทเ่ี ตรยี มขนึ้ ทลู เกลาถวาย พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั รัชกาลท่ี 7 ทรงลงพระปรมาภิไธย มีกฉี่ บับ อะไรบา ง

33 กิจกรรมที่ 5 ความเปน ชาตไิ ทยในสมัย จอมพล ป. พิบลู สงคราม คําชี้แจง จงทําเคร่ืองหมาย หนาขอความท่ีถูกตอง และทําเคร่ืองหมาย หนาขอความ ท่ีไมถ กู ตอ ง 1. ชือ่ “แปลก” เนอ่ื งจากเมอ่ื แรกเกิดบดิ ามารดาเห็นวา หูท้งั สองขางอยูต ่าํ กวานยั นต า ผิดไปจากบุคคลอ่นื 2. จอมพล ป. พิบูลสงครามเกดิ ในสมยั รชั กาลท่ี 4 3. คาํ ขวญั ที่วา “ไทยทํา ไทยใช ไทยเจรญิ ” เกดิ ขน้ึ ในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม 4. รฐั นิยม เปนการทาํ ตามความเหน็ ของคนสว นใหญ 5. นโยบายรัฐนิยม เกิดขึน้ ในชว ง พ.ศ. 2480 มีทัง้ หมด 12 ฉบับ 6. รัฐนิยม ฉบับที่ 5 วา ดวยเรื่องใหชาวไทยใชเครื่องอุปโภคบรโิ ภคท่ที าํ ในประเทศไทย 7. รัฐนยิ ม ฉบบั ที่ 9 วาดวยเรื่องวัฒนธรรมการแตง กาย 8. ชาวไทยผูประกอบการพาณชิ ย งานอาชพี ควรปรบั ปรุงใหมมี าตรฐานและคุณภาพดียิ่งข้ึน พรอ มทงั้ ดําเนนิ กิจการดว ยความซอ่ื สตั ย เปน ทีป่ รากฏในรัฐนยิ ม ฉบับที่ 5 9. คนไทยมีทํานองและเนื้อรองเพลงชาตแิ ละเคารพธงชาติ ปรากฏในรัฐนยิ ม ฉบับที่ 6 10. การกาํ หนดใหค นไทยรจู ักหนาที่พลเมืองท่ดี ี และการเปนพลเมอื งทีด่ ขี องไทย ปรากฏในรฐั นยิ ม ฉบบั ท่ี 6

34 กจิ กรรมทา ยเร่อื งที่ 2 ตวั อยา งการวิเคราะหแ ละอภปิ รายเหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตร ทม่ี ผี ลตอ การพัฒนาชาตไิ ทย คาํ ชแ้ี จง ใหว ิเคราะหพ รอมอธิบายเหตกุ ารณต อไปนวี้ าสงผลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย 1. พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยูห ัวทรงปฏริ ูปการศึกษา

35 แบบทดสอบหลังเรยี น ใหผเู รยี นทาํ เคร่ืองหมาย X หนา ขอท่ถี กู ตอ งทสี่ ุดเพยี งขอ เดียว 1. พระเจา ไดป ระทานบญั ญตั ิใหแ กโมเสส เพ่อื ใหช าวยวิ นําไปยดึ ถือปฏิบตั จิ าํ นวนก่ปี ระการ ก. 6 ประการ ข. 8 ประการ ค. 10 ประการ ง. 12 ประการ 2. ประเทศใดทไ่ี มไ ดอ ยใู นดินแดนที่เรยี กวา “สวุ รรณภูม”ิ ก. ศรลี ังกา ข. กมั พชู า ค. จีน ง. มาเลเซีย 3. พระเมสสิยาห (Messiah) คาํ วา “เมสสิยาห” เปน คําท่มี าจากภาษาอะไร ก. บาลี ข. เขมร ค. กรกี ง. ฮบี รู 4. พระพทุ ธเจา ทรงบรรลรุ ูปฌานไดต รสั รูเปน สัมมาสมั พุทธเจา ดวยพระองคเ องในขณะทพ่ี ระองค มีพระชนมก ่ีพรรษา ก. 35 พรรษา ข. 36 พรรษา ค. 37 พรรษา ง. 38 พรรษา 5. ขอ ใดคอื หนงั สอื ทส่ี มเดจ็ พระเจาตากสนิ ทรงพระราชนพิ นธหนังสือทางพทุ ธศาสนาทีว่ า ดว ย วิธที ํากรรมฐาน ก. ลกั ษณะบุญ ข. ตะวนั สอ งหลา ค. พุทธธรรม ง. ศีล 5

36 6. ขั้นตอนสดุ ทา ยของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรค ือขอใด ก. การตีความหลกั ฐาน ข. การวิเคราะหข อ มูล ค. การประเมนิ คณุ คาของหลักฐาน ง. การเรียบเรียงหรือการนาํ เสนอขนั้ ตอน 7. ข้นั ตอนทางประวตั ศิ าสตรม กี ขี่ ้ันตอน อะไรบา ง ก. 3 ขั้นตอน การกาํ หนดหัวเร่ือง การรวบรวมหลกั ฐาน การตคี วามหลักฐาน ข. 4 ขั้นตอน การกาํ หนดหัวเรอื่ ง การรวบรวมหลักฐาน การประเมินคุณคา ของหลกั ฐาน การเรยี บเรยี งหรอื การนาํ เสนอ ค. 5 ขน้ั ตอน การกาํ หนดหวั เรอ่ื ง การรวบรวมหลักฐาน การประเมนิ คณุ คา ของหลักฐาน การวเิ คราะหข อมูล การเรยี บเรยี งหรือการนําเสนอ ง. 6 ขนั้ ตอน การกาํ หนดหัวเรอื่ ง การรวบรวมหลกั ฐาน การตคี วามหลักฐาน การวิเคราะหข อ มลู การเรียบเรยี งหรอื การนําเสนอ การประเมินคณุ คา ของหลักฐาน 8. คาํ วา “พระคริสต” เปนคาํ ทม่ี าจากภาษาใด ก. ศรลี ังกา ข. กรีก ค. ฮบี รู ง. บาลี 9. ปอมพระจลุ จอมเกลา สรางขนึ้ ในปพุทธศักราชใด ก. 2424 ข. 2442 ค. 2427 ง. 2472 10. หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรทม่ี ลี กั ษณะเปนบนั ทกึ เรื่องราวเก่ียวกบั พระมหากษตั ริยและราชวงศ เรียกวา อะไร ก. จารกึ ข. พงศาวดาร ค. เอกสารทางราชการ ง. บนั ทกึ ของชาวตา งชาติ

37 11. ขอ ใดกลาวไมถ ูกตอง ก. หลกั ฐานท่เี ปนวตั ถุ คอื หลักฐานทม่ี นษุ ยแตละยคุ แตล ะสมัยไดส รา งขนึ้ ข. หลกั ฐานชน้ั ตน คือ หลกั ฐานท่เี กดิ ขน้ึ ในสมยั นน้ั จรงิ ๆ โดยบนั ทึกเกย่ี วกบั เหตุการณโดยตรง ค. หลักฐานท่เี ปน ลายลกั ษณอ ักษร คอื หลกั ฐานทเี่ ปน ตวั หนงั สอื โดยมนุษยไดทงิ้ รอ งรอยขดี เขยี น เปน ตัวหนังสอื ประเภทตา ง ๆ ง. หลกั ฐานชั้นรอง คือ หลกั ฐานทม่ี ีการบนั ทกึ ของผูทเ่ี กีย่ วกับเหตุการณโดยตรงเปนหลกั ฐานท่ี สาํ คัญ และนา เชอื่ ถือมากทีส่ ุด 12. ตาํ นานไทยแบงไดก ่ีลกั ษณะ ก. 3 ลกั ษณะ ข. 4 ลกั ษณะ ค. 5 ลกั ษณะ ง. 6 ลักษณะ 13. พระมหากษตั ริยพระองคใดทรงเช่ียวชาญงานดา นวรรณกรรม และบทละคร ท่ีทาํ ใหยคุ สมยั นน้ั ถอื วาเปนยุคทองของวรรณคดี ก. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ข. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั ค. พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจาอยหู วั ง. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู ัว 14. โรงพยาบาลแหงแรก โปรดเกลา ฯ ใหก อตั้งขึน้ ในรัชสมยั ใด ก. รชั กาลท่ี 2 ข. รชั กาลท่ี 3 ค. รชั กาลท่ี 4 ง. รชั กาลที่ 5 15. พระมหากษตั รยิ พ ระองคใดทไี่ ดร ับการยกยองเปน “พระบดิ าแหงวทิ ยาศาสตรไทย” ก. พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจา อยูหัว ข. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู ัว ค. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูห วั ง. พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั

38 16. “เราจะครองแผน ดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชนสขุ แหง มหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการ แกประชาชนชาวไทย เปน ของพระมหากษตั รยิ ในขอใด ก. พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยูหัว ข. พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอัฐมรามาธบิ ดินทร ค. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ง. สมเด็จพระเจาอยูหวั มหาวชริ าลงกรณบดินทรเทพยวรางกรู 17. สถาปตยกรรมในสมัยรัตนโกสินทร คือขอ ใด ก. เจดียท รงดอกบัวตมู ข. วดั พทุ ไธสวรรย ค. พระราชวงั ดสุ ิต ง. วัดราชบรู ณะ 18. บคุ คลในขอ ใดไดร บั การยกยอ งเปน บดิ าทางโบราณคดีและประวตั ศิ าสตรไ ทย ก. สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ข. ศาสตราจารยพ ระยาอนุมานราชธนราชบณั ฑติ ค. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ง. สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว โรปการ 19. รัชกาลใดมิไดจ ดั เปน ยุคทองของการกวีและวรรณคดี ก. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั ข. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู ัว ค. พระเจาอยหู วั บรมโกศ ง. พระนารายณมหาราช 20. วรรณกรรมสมยั รตั นโกสนิ ทรทีไ่ ดร บั ความนยิ มมากคือประเภทใด ก. บทละครรํา ข. บทละครเตน ค. บทละครความเศราโศก ง. บทละครพดู และบทละครรอง 21. รชั สมัยใดทมี่ กี ารเปล่ยี นธงชาตไิ ทยซึ่งมรี ูปชางเดมิ ใหเ ปน “ธงไตรรงค” ก. รชั กาลท่ี 4 ข. รชั กาลท่ี 5 ค. รชั กาลท่ี 6 ง. รชั กาลท่ี 7

39 22. ขอใดคอื การอนรุ ักษมรดกไทยท่ีดีท่ีสดุ ก. เรียนรูภูมิปญญาจากคนรุน เกา ข. สงเสริมการซ้ือสินคา ท่ีเกิดจากภมู ปิ ญ ญาไทย ค. ยกยองผอู นรุ ักษว ฒั นธรรมไทยและภมู ิปญญาไทย ง. ใชพ ืชสมนุ ไพรเปนสวนประกอบหลักในการประกอบอาหาร 23. การกาํ หนดลักษณะสําคัญในการสถาปนาอาณาจกั รไทยมีปจ จยั ในขอ ใด ก. ความเขม แขง็ ของพระมหากษตั รยิ และประชาชน ข. ความเจริญกาวหนาทางประเพณแี ละวัฒนธรรม ค. สภาพทางภูมศิ าสตร ง. ลักษณะทางเศรษฐกจิ การเงนิ การคลงั 24. งานดา นจติ รกรรมทสี่ รา งภาพใหเ หมือนจรงิ ไดน ําวทิ ยากรมาจากชาติใด ก. โปรตุเกส ข. ตะวนั ตก ค. สเปน ง. ยุโรป 25. การแผขยายอทิ ธิพลของชาวตา งชาตใิ นยุครัตนโกสินทรป ระเพณี และความเชื่อใด มีท่มี าจาก ประเทศอินเดีย ก. ประเพณีปอยสา งลอง ข. ประเพณีสงกรานต ค. การนับถือเจา ง. ระบาํ รองเง็ง 26. ในชวงรัชกาลที่ 4 - 5 มกี ารปฏริ ูปบานเมืองของไทยใหเ ปนอารยแบบชาติตะวันตก เกิดจากสาเหตุใด ก. สาเหตจุ ากลงนามในการทําสนธิสัญญาเบาวริ่ง ข. สาเหตจุ ากชาวตา งชาตเิ ขามาตดิ ตอ คาขายและตองการแผข ยายอํานาจ ค. สาเหตจุ ากประเทศไทยดอ ยการพฒั นา ดอยความเจรญิ ไมทันสมยั ง. สาเหตจุ ากพระราชอาํ นาจของพระมหากษตั ริยไมม่นั คง

40 27. หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ประเทศไทยจดั การปกครองคลา ยกบั ประเทศอังกฤษ คอื สาเหตใุ นขอ ใด ก. ระบบขนุ นางของประเทศองั กฤษกับประเทศไทยมลี กั ษณะใกลเคียงกนั ข. รฐั บาลประเทศองั กฤษมเี อกภาพและเสถยี รภาพสูง ค. มีสถาบนั พระมหากษตั รยิ เ ชน เดยี วกัน ง. กลุมผนู าํ ในการเปล่ียนแปลงการปกครองสาํ เรจ็ การศกึ ษามาจากประเทศอังกฤษ 28. ความแตกตา งระหวา งสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรในพระราชบญั ญตั ิธรรมนญู การปกครอง แผนดนิ สยามชวั่ คราว พ.ศ. 2475 กับรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ขอ ใดที่ถูกตองท่ีสดุ ก. ท่มี าของสมาชิกสภาผแู ทนราษฎร ข. จาํ นวนสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรในแตล ะประเภท ค. รปู แบบของการเลอื กตัง้ ง. หวั หนาฝายนิติบญั ญัติ และฝายบริหาร 29. ประเทศไทยขอใหแ กไขสนธสิ ัญญาเบาวร งิ่ หลงั จากเกิดสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ในขอ ใด ก. เขตแดน ข. คนในบงั คบั ตา งชาติ ค. สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต ง. สินคา ตองหา มบางชนดิ เชน เกลือ และขา ว 30. ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยูห ัว รชั กาลท่ี 7 ทรงใชน โยบายขอ ใด ในการแกปญ หาเศรษฐกจิ ตกตาํ่ ก. การสง เสรมิ ใหใ ชส นิ คา ไทย ข. การปลดขา ราชการออก ค. การขอกเู งนิ ตา งประเทศ ง. การลดคา เงินของไทย

41 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 1. ก 16. ค 2. ค 17. ค 3. ง 18. ก 4. ค 19. ค 5. ก 20. ง 6. ข 21. ค 7. ค 22. ค 8. ง 23. ข 9. ง 24. ข 10. ก 25. ค 11. ค 26. ข 12. ข 27. ก 13. ข 28. ง 14. ข 29. ข 15. ง 30. ค

42 เฉลย/แนวคําตอบ กิจกรรมทา ยเร่อื ง หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 ความภูมใิ จในความเปน ไทย กจิ กรรมทายเรื่องที่ 1 สถาบนั หลกั ของชาติ คาํ ช้ีแจง ใหผ ูเรยี นสรปุ ความหมาย และความสาํ คัญของชาติ มาพอสงั เขป เร่ืองที่ 1.1 ชาติ กจิ กรรมที่ 1) ชาตคิ อื อะไร แนวคําตอบ ชาติ หมายถึง แผน ดินท่ีมีประชาชนยดึ ครอง มีอาณาเขต มีการปกครองท่ีเปนระบบ เปนสัดสวนชัดเจน มีผูนําหรือรัฐบาลท่ีใชอํานาจหรือมีอํานาจอธิปไตยที่นํามาใชในการปกครอง ประชาชน กจิ กรรมที่ 2) ชาติสําคญั อยา งไร แนวคําตอบ ความสําคัญของชาติ คือ เปนสิ่งท่ีสรางแรงยึดเหน่ียวท่ีนําสมาชิกในสังคมมารวมตัวกันผาน โครงสรางทางสังคม ซ่ึงทําใหผูค นตระหนักถงึ ความรูสึกรวม เชน ธงชาติ ภาษาไทย หรือเพลงชาติไทย ลว นเปนสิ่งทมี่ ผี ลจากการมีสถาบนั ชาติทั้งสิ้น กจิ กรรมที่ 3) อธิบายความเปน มาของชนชาตไิ ทย คําชี้แจง ใหผเู รียนอธบิ ายความเปนมาของชนชาตไิ ทยอยา งนอ ย 1 เร่ือง แนวคําตอบ ขอมูลของศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร ถ่ินเดิมของคนไทยนาจะอยูบริเวณ มณฑลกวางสี ทางใตของจนี เนื่องจากในเขตดงั กลา วเปน พืน้ ทกี่ ลุมชนท่ีมีความหลากหลายท้ังทาง วฒั นธรรมและประเพณี กิจกรรมที่ 4) อธบิ ายพระปรชี าสามารถของพระมหากษตั รยิ ไ ทยกบั การรวมชาติ คาํ ช้แี จง ใหผ เู รยี นยกตัวอยางพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไทยกับการรวมชาติมา 2 ตวั อยา ง พรอ มเขียนเหตผุ ลวา เพราะเหตุใดจึงเลอื กพระปรชี าสามารถนน้ั แนวคาํ ตอบ 1. การสถาปนาอาณาจกั รรตั นโกสนิ ทรข องรชั กาลที่ 1 เพราะ เปนการสรางความม่ันคงใหบานเมือง และสรางความรูสึกรวมของผูคนดวยการฟนฟู วัฒนธรรมและพระศาสนาในสมัยอยุธยา การตั้งราชธานีคือกรุงเทพมหานครทําใหผูคนรูสึก ปลอดภยั และมที ีพ่ ง่ึ และคลายความหวาดกลัวภัยจากสงครามที่เกดิ ข้ึนมาตง้ั แตกอนกรุงศรีอยุธยา แตก ใน ป พ.ศ. 2310

43 2. วิกฤตการณ ร.ศ. 112 ในสมยั รัชกาลที่ 5 เพราะ เปนการทําใหสยามรอดพนจากการตกเปนเมืองขึ้นของชาติตะวันตกอยางแทจริง ตาม แนวความคดิ เสียสว นนอ ย เพื่อรักษาสวนใหญ หรือ การเสียสวนท่ีมีความสําคัญนอยกวาเพื่อเก็บ สวนที่มีความสําคัญมากกวาไว แมวาดินแดนจะมีนอยลง แตความรูสึกหวงแหนแผนดินและ ความรูสึกวา ถูกรังแกในฐานะประชาชนชาวสยามก็ไดเ กดิ ข้นึ ในชว งน้ี เรื่องที่ 1.2 ศาสนา คาํ ชี้แจง ใหผ ูเ รยี นเขยี นอธบิ ายความสาํ คญั ของสถาบนั ศาสนาอยา งนอ ย 2 ตวั อยา ง แนวคําตอบ 1. สถาบันศาสนา เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจท่ีสามารถทําใหผูนับถือศาสนานั้น ๆ ตระหนกั ถึงคุณงามความดีละเวนการทาํ ความชว่ั 2. สถาบนั ศาสนา ทําใหประเทศชาติมีความมั่นคง เพราะ ถารัฐบาลคือสิ่งท่ีทําใหประเทศ มั่นคงทางวัตถุหรือทางโลก สถาบันศาสนาก็ทําใหประเทศมีความม่ันคงทางธรรม คือ การทําให ผูค นหวงแหนความเปน ชาติ และการสรา งจิตสาํ นึกการมสี วนรวม ตั้งมั่นในความดี เรอ่ื งท่ี 1.3 พระมหากษัตริย คาํ ชี้แจง ใหผูเรียนตอบคาํ ถามในประเดน็ ตอไปน้ี 1. ผเู รยี นจะสอนลูกหลาน ใหตระหนักถึงความสําคัญของ “พระมหากษัตริย” ไดอยางไร จงอธิบาย แนวคําตอบ พระมหากษัตริย หมายถึง พระเจาแผนดิน ผูเปนพระประมุขของประเทศ มีหนาท่ี ปกครองประชาชนพลเมืองในประเทศนัน้ ใหอยดู ีมีสขุ ตามกฎหมาย ตามครรลองคลองธรรม จารีต ประเพณี วัฒนธรรมของชาติน้ัน ๆ เชน ประเทศไทยมีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงเปน พระประมุข ทรงปกครองแผนดินโดยธรรม เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม ตามหลัก ทศพิธราชธรรม ผูท่ีรักพระมหากษัตริย จะเปนผูมีความภาคภูมิใจท่ีไดเกิดมาใตรมพระบรม โพธิสมภาร มีความเปน อยอู ยา งรมเยน็ เปน สขุ มคี วามรูรักสามัคคกี ลมเกลียว รวมน้ําใจไทยทั้งชาติ ใหเปน นํา้ หนงึ่ ใจเดยี ว ประพฤติตนเปนคนดีถวายเปนพระราชกุศล และถวายความจงรักภักดีแด พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ฯ

44 2. พระมหากษัตรยิ ของไทยทกุ พระองคต ้งั แตอดีตจนถงึ ปจ จบุ ันทรงเปน ศูนยรวมแหงจิตใจ ของคนไทยทกุ คนอยา งไร จงอธบิ าย แนวคําตอบ การที่พระมหากษัตริยทรงเปนศูนยรวมแหงจิตใจของคนไทยทุกคนน้ัน ตาม ประวัติศาสตรชาติไทยพระมหากษัตริย ทําหนาท่ีปกครองประเทศดวยความเปนธรรม ปกปอง คุมครองราชอาณาจกั รจากการรกุ รานของอนารยชน ทาํ ใหป ระชาชนดาํ รงชวี ิตอยอู ยางรม เย็นเปนสุข มเี สรภี าพในการทํามาหากิน ใชชีวิตตามวิถีเครือญาติ ผูกพันกับการทําเกษตร และมีศาสนาเปน เคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจ ประชาชนจึงมีความผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริยอยางลึกซ้ึง ม่ันคง มคี วามสามคั คีกลมเกลยี วกันเกิดความเปน ปก แผน และ เปนพลงั สาํ คัญย่งิ

45 หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 การประยกุ ตใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร กจิ กรรมทา ยเรอื่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร กิจกรรมที่ 1.1 จงอธิบายความหมายของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร แนวคําตอบ วิธีการทางประวัติศาสตร หมายถึง วิธีการ หรือ ข้ันตอนตาง ๆ ที่ใชในการศึกษา คนควา วิจัยเก่ียวกบั เร่ืองราวทางประวัติศาสตร โดยเฉพาะอาศัยจากหลักฐานที่เปนลายลักษณ อักษรเปน สาํ คญั ประกอบกับหลกั ฐานอ่ืน ๆ เชน ภาพถาย แถบบนั ทึกเสียง วีดิทัศน หลักฐานทาง โบราณคดี เปนตน ท้ังนี้เพื่อใหสามารถฟนอดีตหรือจําลองอดีตข้ึนมาใหม ไดอยางถูกตอง ตรงประเดน็ และทราบเรอื่ งราวไดอยา งใกลเ คยี งกบั ความจริงท่ีสุด กิจกรรมที่ 1.2 จงอธบิ ายความสําคัญของวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร แนวคําตอบ วิธีการทางประวัติศาสตรมีความสําคัญ คือ ทําใหเรื่องราว กิจกรรม เหตุการณ ทเ่ี กิดขึ้นในประวตั ศิ าสตรม ีความนา เช่ือถอื มคี วามถูกตองเปนจริง หรือใกลเคียงกับความเปนจริง มากที่สุด เพราะไดมีการศึกษาอยางเปนระบบ มีขั้นตอน มีความระมัดระวังรอบคอบ โดยผูไ ดรบั การฝกฝนในระเบียบวธิ กี ารทางประวัติศาสตรม าแลว สาํ หรบั การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรน นั้ มีปญหาที่สําคัญประการหน่ึง คือ อดีตที่มีการฟนหรือ จําลองขึ้นมาใหมนั้น มีความถูกตอง สมบูรณ และเชื่อถือไดเพียงใด รวมทั้งหลักฐานท่ีเปนลาย ลกั ษณอักษรและไมเปน ลายลักษณอักษรท่นี ํามาใชเปนขอมูลนั้น มีความสมบูรณมากนอยแคไหน เพราะเหตุการณทางประวตั ิศาสตรมอี ยมู ากมายเกนิ กวา ทีจ่ ะศึกษาหรอื จดจาํ ไดห มด แตห ลกั ฐานท่ี ใชเปนขอมูล อาจมีเพียงบางสวน ดังน้ัน วิธีการทางประวัติศาสตรจึงมีความสําคัญเพื่อใชเปน แนวทางสําหรับผูศึกษาประวัติศาสตรหรือผูฝกฝนทางประวัติศาสตรจะไดนําไปใชดวยความ รอบคอบ ระมัดระวัง ไมลําเอยี ง และเพื่อใหเ กดิ ความนา เช่อื ถือ