Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาหาร01

Description: อาหาร01

Search

Read the Text Version

องค์ความรดู้ ้านอาหารและโภชนาการส�ำหรับทกุ ช่วงวัย บรรณานุกรม เรวดี จงสุวฒั น.์ โภชนาการเพื่อป้องกนั และรกั ษาอ้วนและอว้ นลงพุง. ใน: อ้วนและอว้ นลงพุง.วรรณี นิธิยานันท,์ บรรณาธกิ าร. สุขุมวิทมีเดีย มาร์เก็ตตงิ้ , กรงุ เทพมหานคร 2554; หนา้ 128. ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แหง่ ประเทศไทย. คิดเอง ทำ� ได้ ห่างไกลโรค. ส�ำนักพิมพ์หมอชาวบา้ น 2555. กรกต วรี เธยี ร อินทร์เอื้อ. โภชนบำ� บดั .ใน: การใหค้ วามรเู้ พ่อื จดั การโรคเบาหวานดว้ ยตนเอง. สมเกียรติ โพธสิ ัตย์, วรรณี นธิ ิยานนั ท,์ อมั พา สุทธจิ ำ� รญู , ยพุ ิน เบ็ญจสุรตั น์วงศ์, บรรณาธกิ าร. ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จำ� กัด 2553. สมาคมโรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทย, สมาคมตอ่ มไร้ทอ่ แห่งประเทศไทย, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาต.ิ แนวทางเวชปฏิบัตสิ �ำหรบั โรคเบาหวาน 2554. ศรีสมัย วิบูลยานนท์, วรรณี นิธิยานันท์. อาหารส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน.ใน: โรคเบาหวาน. สุทิน ศรีอัษฎาพร, วรรณี นธิ ยิ านันท์, บรรณาธิการ. เรอื นแก้วการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร 2548; หน้า107. สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติการ ออกก�ำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดนั โลหิตสงู .แพทย์หญิงเนตมิ า คนู ีย,์ บรรณาธิการ. นนทบุรี 2555. 150

ดัชนศี ัพท์ Barker’s Hypothesis สมมติฐานของบาร์เกอร ์ 10 Blood pressure ความดันโลหิต 133, 137-138 Body Mass Index (BMI) ดชั นีมวลกาย 12 Breast milk นมแม่ 23-28 Caffeine คาเฟอีน 16 Calcium แคลเซียม 40 Calorie value of food พลังงานของอาหาร 134, 136 Carbohydrate คาร์โบไฮเดรท 135-136, 140 Cardiovascular disease โรคหัวใจ 127 Cholesterol คลอเรสเทอรอล 111-115 Chronic kidney disease CKD โรคไตเรือ้ รงั 97-103 Complementary food อาหารตามวัย 23-28 Dietary Reference Intake (DRI) ปรมิ าณสารอาหารอา้ งอิงทคี่ วรไดร้ ับประจ�ำวนั 10 Dietary supplements ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหาร 75 Docosahexaenoic acid, DHA กรดไขมันด-ี เอช-เอ 15, 40 Elderly ผู้สูงอายุ 83-86 Energy พลงั งาน 23-25 Eicosapentaenic acid, EPA กรดไขมนั อ-ี พ-ี เอ Exercise การออกกำ� ลังกาย 91 Fat ไขมัน 23, 28-29, 113-114, 123-124, 135-145 Fermented food อาหารหมกั ดอง 16 Fish oil นำ้� มันปลา 19 Folate โฟเลต 9-10, 14 Food อาหาร 86, 111-112, 123-126 Fruits ผลไม้ 9, 12, 15, 23, 26-28, 30 Functional drinks เครื่องดืม่ เพือ่ สุขภาพ 76 Growth การเจรญิ เตบิ โต 38 Growth hormone ฮอร์โมนเร่งการเจรญิ เติบโต 45, 52 Haem ฮมี 57 HDL Cholesterol เอช ดี แอล คอเลสเตอรอล 138 Health สขุ ภาพ 89-91 151

Herbal liquor ยาดองเหลา้ 20 Hyperlipidemia โรคไขมนั ในเลอื ดสูง 111-112 Hypertension ความดันโลหติ สูง 123-125 Infant ทารก 23-26 Iodine ไอโอดนี 9, 11 Iron ธาตุเหลก็ 37, 41 LDL Cholesterol แอล ดี แอล คอเลสเตอรอล 138 Milk formula นมผสม 25, 33 Non-nutritive sweetener น�้ำตาลเทียม 141 Nutrition โภชนาการ 88, 112, 126 Nutritious snack อาหารวา่ งทม่ี คี ุณคา่ ทางโภชนาการ 41-42 Obese child เดก็ อ้วน 34, 38-39 Oil น้�ำมนั 113 Omega 3 โอเมกา้ 3 15, 19 Patient ผู้ปว่ ย 112, 123 Protein โปรตนี 23-25, 28-29, 135, 140 Ready-to-eat food อาหารพร้อมรบั ประทาน 76 Reproductive age วยั เจรญิ พันธ ์ุ 67-68, 70 School children เด็กวัยเรยี น 37 Slow progression ชะลอการเสอ่ื มของโรคไต 97, 100 Sodium โซเดียม 123, 125-126 Stroke อมั พาต 123-124 Tea and coffee ชา-กาแฟ 14, 16, 19 Teenage pregnancy การต้ังครรภใ์ นวยั รนุ่ 58, 68 Trans fat ไขมนั ทรานส ์ 142 Triferidine tablet ยาเม็ดเสริมธาตเุ หลก็ 11 Vegetables ผกั 23, 26-28, 30 Vegetarian มงั สวิรัติ 19, 51, 57 Waist circumference รอบเอว 138 Weight น้�ำหนกั ตัว 134-135 Weight and height น้ำ� หนักและสว่ นสูง 45 Weight control การควบคมุ น�ำ้ หนัก 73 Weight reduction ลดน�้ำหนัก 72, 133, 135-136 Working age วยั ท�ำงาน 67-68 Zinc สงั กะส ี 9, 10, 13 152

ภาคผนวก 153



องค์ความรดู้ า้ นอาหารและโภชนาการสำ� หรับทกุ ชว่ งวยั วิธีการใชก้ ราฟเพอื่ ประเมินภาวะโภชนาการทารกและเดก็ 1. ก่อนการใช้เคร่ืองชั่งน้�ำหนัก ให้ตรวจสอบเครื่องชั่งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยก่อนการชั่งน�้ำหนัก เข็มหรือเลขบนหน้าปัทม์เครื่องควรอยู่ตรงกับเลข 0 ควรเลือกใช้เคร่ืองชั่งท่ีอ่านได้ละเอียดถึง 100 กรัมหรือ 0.1 กโิ ลกรมั เสือ้ ผ้าทเ่ี ด็กสวมใสข่ ณะทีช่ ัง่ ควรเปน็ เส้ือผา้ เบาๆ ยืนเท้าเปลา่ บนเคร่อื งชงั่ ในทารกหรือเด็กทย่ี ังยนื ดว้ ยตนเองไมไ่ ด้ ใหใ้ ชเ้ ครอื่ งชงั่ ทเี่ ปน็ ลกั ษณะที่ใหท้ ารกนอนบนเครอ่ื งชง่ั ได้ หรอื อาจใหผ้ ปู้ กครองอมุ้ และชง่ั นำ้� หนกั พรอ้ มกนั จากนนั้ ใหช้ ่ังนำ้� หนักผ้ปู กครองผเู้ ดยี วและนำ� ค่าทัง้ สองคร้งั ท่อี า่ นได้หักลบกัน ก็จะไดเ้ ป็นค่าน้ำ� หนักของ ทารก ในการติดตามผลครงั้ ต่อไป ควรใชเ้ ครือ่ งชงั่ เดมิ 2. การวดั สว่ นสงู ในเดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 2 ปี จะใชไ้ มว้ ดั ความยาวตวั ในทา่ นอน โดยใหเ้ ดก็ นอนในทา่ เหยยี ดตรง บนไม้วัด ศีรษะชิดไม้วัดด้านหนึ่งและอยู่น่ิง ท�ำการเลื่อนไม้วัดส่วนที่อยู่ปลายเท้าให้ชิดกับส้นเท้าเด็กในลักษณะ ต้ังฉาก อ่านความยาวตัวละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร ในเด็กท่ีอายุ 2 ปีขึ้นไป สามารถวัดส่วนสูงโดยใช้ไม้วัด (stadiometer) ที่ตดิ ผนัง โดยใหเ้ ดก็ ยนื ตรงบนพนื้ ราบ เท้าชิดกัน ไหล่และก้นชดิ ผนัง เลอื่ นไม้วัดขนึ้ -ลงใหส้ มั ผัส พอดีกบั ศรี ษะ อา่ นคา่ ส่วนสูงใหล้ ะเอียดถึง 0.1 เซนตเิ มตร 3. นำ� คา่ อายุ(หนว่ ยเปน็ เดอื นหรอื ป)ี มาจดุ ลงในกราฟตามแกนแนวนอน และคา่ นำ้� หนกั (หนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั ) หรือส่วนสูง (หน่วยเป็นเซนติเมตร) ของเด็กจุดลงกราฟตามแกนแนวต้ัง ลากเส้นจากต�ำแหน่งท่ีจุดเครื่องหมาย ตามแนวแกนท้งั สองนัน้ มาตัดกนั ก็จะทราบได้ว่าทารกหรอื เด็กน้นั มีภาวะโภชนาการเป็นอยา่ งไร 4. ในส่วนที่เป็นกราฟที่แสดงค่าน�้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงน้ัน แกนแนวนอนจะเป็นค่าความยาวตัวหรือ ส่วนสูง ส่วนแกนต้ังจะเป็นค่าน้�ำหนักตัว เมื่อท�ำการจุดเคร่ืองหมายในทั้งสองแกนและลากเส้นตามแนวแกน มาตดั กนั กจ็ ะทำ� ใหท้ ราบว่า เด็กคนนนั้ มรี ูปรา่ งปกติ ผอม ท้วมหรอื อว้ น 155

องคค์ วามรู้ด้านอาหารและโภชนาการส�ำหรบั ทกุ ชว่ งวยั กราฟแสดงคา่ น�้ำหนักตามเกณฑ์อายุ แบง่ การเจริญเตบิ โตเปน็ 5 ระดบั คอื น้ำ� หนกั น้อยกว่าเกณฑ์ หมายถงึ ขาดสารอาหาร น้�ำหนักค่อนข้างน้อย หมายถึง เส่ียงต่อการขาด สารอาหาร นำ้� หนกั ตามเกณฑอ์ ายุ หมายถงึ การเจรญิ เติบโต ท่ีดี ควรดูแลเด็กมีน้�ำหนักตัวอยู่ในระดับนี้อย่าง สม�่ำเสมอ น�้ำหนักค่อนข้างมาก หมายถึง เสี่ยงต่อน้�ำหนัก มากเกินเกณฑ์ ควรดูแลให้เด็กได้รับอาหารครบ 5 หมู่ในปรมิ าณพอเหมาะ น�้ำหนักมากเกินเกณฑ์ หมายถึง เป็นค่าน�้ำหนัก ท่ีจะต้องตรวจสอบเพ่ิมเติมด้วยค่า น�้ำหนัก ตามเกณฑส์ ว่ นสงู วา่ เปน็ เด็กอ้วนหรอื ไม่ กราฟแสดงคา่ สว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ แบง่ การเจริญเตบิ โตเปน็ 5 ระดบั คือ 1. เต้ีย หมายถึง ขาดสารอาหารเร้ือรัง ได้รับ สารอาหารไม่พอเป็นเวลานานหรือ ป่วยบ่อย ทำ� ใหส้ ว่ นสงู ไมเ่ พมิ่ หรอื เพม่ิ นอ้ ย ควรไดร้ บั การดแู ล โดยดว่ น 2. ค่อนข้างเต้ีย หมายถึง เส่ียงต่อการขาด สารอาหารเรอื้ รงั เปน็ การเตอื นใหด้ แู ลดา้ นโภชนาการ เด็กเพมิ่ ขน้ึ 3. ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ หมายถึง เด็กได้รับ สารอาหารเพยี งพอและมกี ารเจรญิ เตบิ โตดี 4. ค่อนข้างสูง หมายถึง การเจริญเติบโตดีมาก ควรดูแลเด็กให้มคี ่าส่วนสงู ตามอายุ ในระดับน้ี 5. สูงกว่าเกณฑ์อายุ หมายถึง การเจริญเติบโต ดี ม า ก ค ว ร ดู แ ล เ ด็ ก ใ ห ้ มี ค ่ า ส ่ ว น สู ง ต า ม อ า ย ุ ในระดับนี้ 156

องค์ความร้ดู า้ นอาหารและโภชนาการสำ� หรบั ทกุ ช่วงวยั กราฟแสดงค่าน้ำ� หนกั ตามเกณฑ์สว่ นสงู แบ่งการเจรญิ เตบิ โตเป็น 6 ระดับ คอื ผอม หมายถงึ ภาวะขาดสารอาหาร ระยะสน้ั คอ่ นขา้ งผอม หมายถงึ เสยี่ งตอ่ การขาดสารอาหาร เปน็ ระดบั ทเี่ ตอื นใหผ้ ปู้ กครอง ดูแล และให้อาหาร เดก็ ครบ 5 หมู่ อย่างเพยี งพอ สมส่วน หมายถึง เด็กมีน้�ำหนักตัว ที่เหมาะสม กับส่วนสูงและควรดูแลเด็กมีน้�ำหนักตัวอยู่ ใน ระดับนี้อย่างสม่�ำเสมอ ท้วม หมายถึง ภาวะท่ีเร่ิมมีน�้ำหนักตัวเกิน เปน็ ระดบั เตอื นใหร้ ะวงั ไม่ใหเ้ ดก็ กนิ อาหารมากเกนิ ซ่งึ เสี่ยงตอ่ โรคอ้วน เรม่ิ อว้ น หมายถงึ ภาวะนำ้� หนกั ตวั มากเกนิ ท่ีเพิม่ ข้ึน หากไม่ควบคุม จะมีโอกาสเป็นวัยรุ่นและผู้ใหญ ่ ทอี่ ้วนในอนาคต อ้วน หมายถึง ภาวะอ้วนที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น หากไม่ควบคุมน้�ำหนักตัว เด็กจะมีโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดนั โลหติ สงู และโรคแทรกซ้อน อ่นื ๆ ตามมา 157

องค์ความรดู้ า้ นอาหารและโภชนาการสำ� หรับทกุ ชว่ งวยั เกณฑ์อ้างองิ คา่ น�ำ้ หนกั และส่วนสงู ปกติของเดก็ ไทยอายุ แรกเกิดถงึ อายุ 6 ปี อายุ เด็กชาย สว่ นสูง น�้ำหนกั เดก็ หญงิ น้�ำหนกั (เซนตเิ มตร) (กโิ ลกรมั ) สว่ นสูง แรกเกิด (กโิ ลกรมั ) (เซนติเมตร) 3 เดอื น 2.8-3.9 47.6-53.1 2.7-3.7 46.8-52.9 6 เดอื น 1 ปี 4.8-6.4 55.7-61.9 4.4-6.0 54.4-61.8 1 ปี 3 เดือน 1 ปี 6 เดอื น 6.3-8.4 62.4-69.2 5.8-7.9 60.9-69.1 1 ปี 9 เดือน 2 ปี 8.3-11.0 71.5-79.7 7.7-10.5 68.8-78.9 2 ปี 3 เดือน 2 ปี 6 เดือน 8.9-12.0 74.6-83.6 8.3-11.3 71.9-82.5 2 ปี 9 เดือน 3 ปี 9.4-12.9 77.2-86.9 8.8-12.1 75.0-85.3 3 ปี 3 เดอื น 3 ปี 6 เดอื น 9.9-13.8 79.6-90.5 9.3-12.9 78.1-88.0 3 ปี 9 เดือน 4 ปี 10.5-14.4 82.5-91.5 9.7-13.7 80.0-89.9 4 ปี 3 เดอื น 4 ปี 6 เดอื น 10.9-15.1 84.3-94.0 10.1-14.4 82.2-92.3 4 ปี 9 เดือน 5 ปี 11.4-15.8 86.0-96.4 10.6-15.1 84.2-94.6 5 ปี 3 เดอื น 5 ปี 6 เดือน 11.8-16.6 87.7-98.7 11.1-15.9 86.2-97.0 5 ปี 9 เดือน 6 ปี 12.1-17.2 89.4-100.8 11.5-16.5 88.1-99.2 12.5-18.0 91.1-102.7 11.9-17.3 89.9-101.3 12.8-18.6 92.7-104.6 12.3-17.9 91.6-103.3 13.2-19.3 94.3-106.4 12.7-18.6 93.3-105.1 13.6-19.9 95.9-108.2 13.0-19.2 95.0-106.9 13.9-20.6 97.5-109.9 13.3-19.8 96.5-108.6 14.2-21.2 99.0-111.7 13.7-20.3 98.0-110.4 14.7-21.9 100.6-113.4 14.0-21.0 99.5-112.1 15.0-22.6 102.0-115.1 14.4-21.7 101.1-113.9 15.4-23.3 103.5-116.7 14.9-22.5 102.7-115.7 15.8-24.0 104.9-118.2 15.3-23.3 104.3-117.4 16.2-24.6 106.3-119.8 15.7-24.0 105.8-119.2 16.6-25.4 107.7-121.3 16.1-24.7 107.4-120.8 แหล่งท่ีมา: คมู่ ือแนวทางการใชเ้ กณฑอ์ ้างอิง น�ำ้ หนัก ส่วนสูง เพือ่ ประเมนิ ภาวะการเจรญิ เติบโตของเดก็ ไทย กรมอนามัย พ.ศ. 2543 158

องคค์ วามรูด้ ้านอาหารและโภชนาการส�ำหรบั ทุกช่วงวยั ในปี 2558 กรมอนามยั มนี โยบายปรบั เปลย่ี นการใชเ้ กณฑอ์ า้ งองิ การเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทยปี พ.ศ.2546 ในกลุ่มเด็กแรกเกิด - 5 ปี มาใช้มาตรฐานการเจริญเติบโตขององค์การอนามัยโลก (WHO Child Growth Standard) ปี ค.ศ.2006 เน่ืองจากกลมุ่ ตวั อย่างในการจดั ท�ำ WHO Child Growth Standard 2006 คัดเลือกเด็ก กินนมแมอ่ ยา่ งเดียว 6 เดอื น และใหอ้ าหารตามวยั ตามคำ� แนะนำ� ของ WHO โดยเก็บข้อมลู ต่อเน่อื งจนถึงอายุ 5 ปี ใน6 ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ และกำ� ลงั พฒั นาทเ่ี ปน็ ตวั แทนในแตล่ ะทวปี ไดแ้ ก่ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า บราซลิ นอรเ์ วย์ กานา โอมาน และอินเดีย ข้อมลู น้�ำหนักและส่วนสูงเหล่าน้ี จึงใช้เป็นมาตรฐานสากลซ่งึ สะทอ้ นถึงการเจริญเตบิ โต ที่แท้จริงของเด็กได้ นอกจากน้ี ค่าน�้ำหนักส่วนสูงของเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กไทยปี พ.ศ.2546 กบั WHO Child Growth Standard 2006 ในกลุม่ เด็กแรกเกดิ - 5 ปี มคี า่ ใกลเ้ คยี งกนั ยกเว้นในช่วงแรกเกดิ - 12 เดอื น เนอ่ื งจากรปู แบบของการเจรญิ เติบโตในเด็กท่กี นิ นมแมต่ า่ งกบั เด็กท่ีกนิ นมผง เทคนิคการชง่ั นำ้� หนกั 1. ไม่ควรช่งั น้�ำหนกั หลังรับประทานอาหารทันที 2. ควรช่ังน้�ำหนักในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงน้�ำหนักหรือภาวะโภชนาการเป็น รายบคุ คล 3. ควรถอดเสื้อผา้ ออกให้เหลอื เท่าทจ่ี ำ� เป็นโดยเฉพาะเสอื้ ผา้ หนาๆ รวมท้ังรองเท้า ถุงเทา้ และนำ� สง่ิ ของ ออกจากตัว 4. ในกรณีที่ใชเ้ ครือ่ งชง่ั น�้ำหนักแบบยืนชนิดเขม็ • ผู้ทีท่ ำ� การชง่ั น�ำ้ หนกั จะต้องอยู่ในตำ� แหนง่ ตรงกนั ข้ามกบั เด็ก ไม่ควรอยดู่ า้ นขา้ งทงั้ ซ้ายหรอื ขวา เพราะจะทำ� ใหอ้ า่ นค่านำ้� หนกั มากไป หรือนอ้ ยไปได้ • เขม็ ทช่ี ี้ไมต่ รงกับตวั เลขหรือขีดแบง่ น�ำ้ หนกั ตอ้ งอา่ นค่าน้�ำหนกั อยา่ ง ระมดั ระวัง เชน่ 10.1 หรือ 10.2 หรอื 10.8 กิโลกรัม 5. อา่ นค่าให้ละเอียดมที ศนิยม 1 ต�ำแหน่ง เชน่ 10.6 กโิ ลกรัม 6. จดน�้ำหนักให้เรยี บรอ้ ยกอ่ นลงจากเคร่ืองช่งั น�ำ้ หนกั เทคนิคการวดั สว่ นสงู 1. เด็กถอดรองเท้า ถุงเท้า 2. ผหู้ ญิง ถ้ามกี บ๊ิ ที่คาดผม หรอื มดั ผม ควรน�ำออกกอ่ น 3. ยนื บนพน้ื ราบ เทา้ ชดิ 4. ยืดตัวขนึ้ ไปข้างบนให้เต็มท่ี ไม่งอเข่า 5. ศรี ษะ หลงั กน้ ส้นเท้า สมั ผัสกับไม้วัด 6. ตามองตรงไปขา้ งหนา้ ศรี ษะไม่เอยี งซ้าย-เอียงขวา ไมแ่ หงนหนา้ ขึน้ หรือกม้ หน้าลง 7. ใช้ไม้ฉากในการอา่ นคา่ สว่ นสูง 8. อา่ นคา่ สว่ นสงู ใหอ้ ยู่ในระดบั สายตาผวู้ ดั โดยอา่ นคา่ ใหล้ ะเอยี ดมที ศนยิ ม1 ตำ� แหนง่ เชน่ 118.4 เซนตเิ มตร 159

องคค์ วามร้ดู า้ นอาหารและโภชนาการส�ำหรบั ทกุ ช่วงวยั ค�ำสงั่ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ท่ี 1 / 2555 เรอื่ ง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสังเคราะห์องคค์ วามรดู้ า้ นอาหารและโภชนาการสำ� หรบั ผ้บู ริโภค ------------------------------------------ ตามท่ีคณะกรรมการอาหารแห่งชาติได้มีมติให้แต่งต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อสร้าง ความเชอ่ื มโยง ด้านอาหารและโภชนาการสู่คณุ ภาพชีวิตที่ดี เพ่ือใหค้ ำ� ปรึกษา ค�ำแนะน�ำ และจัดทำ� ขอ้ เสนอแนะ เชงิ นโยบายและการดำ� เนนิ งานในประเดน็ ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การดา้ นอาหารของ ประเทศไทย ให้เกิดความเช่ือมโยงด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ เพ่ือให้ผู้บริโภคลดความเส่ียงจาก โรคติดเชื้อ และโรคเร้ือรัง ที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคอาหาร น�ำไปสู่ความเป็นปกติตลอดวงจรชีวิตมนุษย์ จึงเห็นควรใหม้ ีการแตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการสงั เคราะห์องคค์ วามรดู้ า้ นอาหารและโภชนาการสำ� หรับผบู้ รโิ ภค นั้น เพ่ือให้การด�ำเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความเชื่อมโยง ด้านอาหารและโภชนาการสู่คุณภาพ ชีวิตท่ีดี ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทยสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล จงึ มคี ำ� สง่ั ใหแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรดู้ า้ นอาหารและโภชนาการสำ� หรบั ผบู้ รโิ ภค เพือ่ สังเคราะหข์ ้อมลู วิชาการด้านอาหารและโภชนาการสู่คณุ ภาพชวี ิตท่ดี ีใหเ้ หมาะสม โดยมอี งคป์ ระกอบ ดงั น้ี (1) รองศาสตราจารยว์ ิสฐิ จะวะสติ ประธานอนุกรรมการ (2) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สมศรี เจรญิ เกยี รตกิ ุล รองประธานอนกุ รรมการ (3) รองศาสตราจารยส์ ุปราณี แจง้ บ�ำรงุ อนุกรรมการ (4) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สุรศกั ดิ์ กนั ตชูเวสศิริ อนกุ รรมการ (5) นางปิยะดา ประเสรฐิ สม อนกุ รรมการ (6) นางจรุ ีรตั น์ ห่อเกยี รต ิ อนุกรรมการ (7) นางกาญจนี หวงั ถริ อ�ำนวย อนุกรรมการ (8) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนิพรรณ บตุ รย ี่ อนุกรรมการ (9) ผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ นั ทนยี ์ เกรียงสนิ ยศ อนกุ รรมการ (10) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ติ ิมา จติ ตนิ ันท์ อนุกรรมการ (11) นายนฐั พล ตั้งสภุ ูม ิ อนกุ รรมการ (12) นางอรุ วุ รรณ แยม้ บรสิ ทุ ธิ์ อนุกรรมการ (13) นายพิเชฐ อิฐกอ อนุกรรมการ 160

องคค์ วามร้ดู า้ นอาหารและโภชนาการส�ำหรบั ทกุ ช่วงวยั (14) ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั โภชนาการ หรือผู้แทน อนกุ รรมการ (15) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักอาหาร หรอื ผแู้ ทน อนุกรรมการ (16) ผเู้ ชี่ยวชาญทแ่ี ต่งตง้ั เป็นครงั้ คราว ไม่เกิน 3 คน อนกุ รรมการ (17) นางศิรพิ ร โกสมุ อนุกรรมการและเลขานุการ (18) นางณัฐวรรณ เชาวนล์ ลิ ติ กลุ อนุกรรมการและเลขานุการ (19) นางสาวมยรุ ี ดษิ ย์เมธาโรจน์ อนุกรรมการและเลขานกุ ารร่วม (20) นางสาวมนสุวรี ์ ไพชำ� นาญ อนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร (21) นางสาวกังสดาล สงิ หส์ งู อนุกรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ โดยให้คณะอนุกรรมการ มีอำ� นาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้ (1) รวบรวมองค์ความรู้ทางวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศด้านอาหารและโภชนาการ ในทุกช่วงวัยของวงจรชีวิตมนุษย์ สังเคราะห์เป็นคู่มือที่ผู้บริโภคในระดับชุมชนสามารถเรียนรู้ เข้าใจและ ประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งได้ผล (2) พจิ ารณาความถกู ตอ้ งเหมาะสมของขอ้ มลู วชิ าการดา้ นอาหาร และโภชนาการ ทส่ี งั เคราะหใ์ นลกั ษณะ ของคู่มือทีน่ ำ� ไปใช้ไดอ้ ย่างง่าย (3) ให้ค�ำปรึกษาในการปรับปรุงข้อมูลองค์ความรู้วิชาการด้านอาหารและโภชนาการให้มีความถูกต้อง เหมาะสม (4) ดำ� เนินงานอ่นื ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย ทัง้ นี้ ตง้ั แตบ่ ัดนเี้ ป็นต้นไป ส่งั ณ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2555 (รศ.ดร.วิสฐิ จะวะสติ ) ประธานคณะกรรมการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์เพอ่ื สรา้ ง ความเชื่อมโยง ด้านอาหารและโภชนาการสู่คุณภาพชีวิตท่ดี ี 161

162

ประวัตผิ ู้เขยี น 1. คำ� แนะนำ� การบรโิ ภคอาหารในหญิงตัง้ ครรภแ์ ละใหน้ มบุตร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วันทนีย์ เกรียงสินยศ อีเมล ์ [email protected] ต�ำแหน่ง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ กลุ่มโภชนาการ หนว่ ยงาน สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ความเชีย่ วชาญ การศกึ ษาทางคลนี คิ หรอื เมตาบอลซิ มึ ของ อาหารในคนที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และงานวิจัยที่เก่ียวกับการปรับเปล่ียน พฤติกรรมการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคท่ีมี ความสัมพันธ์กับอาหาร เช่น ไขมันใน เลอื ดสงู เบาหวาน นายกติ ติพร พนั ธุว์ ิจิตรศริ ิ อเี มล์ kittiporn.phanvijhitsiri@ingredion. com [email protected] ตำ� แหนง่ นกั โภชนาการ หนว่ ยงาน บริษัท เนชน่ั แนล สตารช์ แอนด์ เคมิเคลิ (ไทยแลนด)์ จ�ำกัด ความเชี่ยวชาญ โภชนาการเดก็ กรดอะมโิ นกลตู ามีนใน ระดบั เซลล์ และ โภชนาการระดบั โมเลกลุ 2. อาหารและโภชนาการสำ� หรับท ารกแรกเกดิ ถึงอายุ 5 ปี นางอรุ ุวรรณ แยม้ บริสทุ ธิ์ อเี มล ์ [email protected] ต�ำแหน่ง นกั ปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั หนว่ ยมนษุ ยโภชนาการ หนว่ ยงาน สถาบนั โภชนาการ มหาวิทยาลยั มหิดล ความเชยี่ วชาญ สาขาโภชนาการเดก็ งานวจิ ัยดา้ นระบาด วิทยาและสิ่งแวดล้อมด้าน พฤติกรรม ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเกดิ โรคอว้ นในเดก็ งานวจิ ยั การประเมินสัดส่วนร่างกายในเด็กและ วยั ร่นุ 163

3. อาหารและโภชนาการส�ำหรับเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา (6-12 ป)ี นางณฐั วรรณ เชาวนล์ ลิ ิตกลุ อเี มล์ [email protected] ตำ� แหน่ง หวั หน้ากลมุ่ สร้างเสริมสขุ ภาวะโภชนาการ (นักโภชนาการช�ำนาญการพเิ ศษ) หน่วยงาน สำ� นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ความเชีย่ วชาญ การประเมินภาวะโภชนาการโดยการวัดสัดส่วน ของรา่ งกาย 4. อาหารและโภชนาการส�ำหรับวัยรุน่ นางกลุ พร สขุ ุมาลตระกลู อเี มล ์ [email protected] ต�ำแหนง่ นกั โภชนาการชำ� นาญการพเิ ศษ หนว่ ยงาน ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข ความเช่ยี วชาญ การส่งเสริมโภชนาการในกลุ่มวัยต่างๆ ได้แก่ หญงิ ตงั้ ครรภ์ หญงิ ใหน้ มลกู เดก็ ทารก เดก็ กอ่ น วยั เรยี น วยั เรียน วัยรุ่น ผสู้ งู อายุ และผูพ้ กิ าร การส่งเสรมิ โภชนาการแกน่ กั กฬี า การสง่ เสรมิ โภชนาการในภาวะวิกฤติ การให้ค�ำแนะน�ำโภชนาการบำ� บัดทาง การแพทย ์ 164

5. อาหารและโภชนาการสำ� หรับผูบ้ ริโภควัยทำ� งานและหญิงเจริญพันธ์ุ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ชนพิ รรณ บุตรยี่ อเี มล ์ [email protected] ต�ำแหน่ง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ กลุ่มวชิ าอาหาร หน่วยงาน สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ความเชีย่ วชาญ การประเมินความเส่ียงทางดา้ นโภชนาการและ การปนเปอื้ นโลหะหนักของผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหาร งานวจิ ยั ดา้ นสารตา้ นมะเรง็ จากผลติ ภณั ฑธ์ รรมชาติ การประเมินความเส่ียงของการเกิดมะเร็งโดยใช ้ ดชั นีชีว้ ดั ทางชวี ภาพ (biomarker) การทดสอบดา้ นพษิ วิทยาในอาหาร นายนฐั พล ตั้งสภุ ูมิ อเี มล ์ [email protected] ต�ำแหน่ง อาจารย์ประจ�ำ กลมุ่ วชิ าอาหาร หนว่ ยงาน สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลัยมหิดล ความเชยี่ วชาญ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพ่ือโภชนาการและ อาหารทางการแพทย์  การสกัดโปรตีนและ ไฮโดรคอลลอยด์จากของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม อาหารเพอื่ ใชเ้ ปน็ สว่ นผสมอาหารเพอื่ ผลเชงิ สขุ ภาพ โ ค ร ง ส ร ้ า ง จุ ล ภ า ค ข อ ง อ า ห า ร เ พ่ื อ ก า ร ค ว บ คุ ม การย่อยและการปลดปล่อยสารอาหารในระบบ ทางเดนิ อาหาร 6. อาหารและโภชนาการสำ� หรับผ้สู งู อายุ (> 60 ปี) รองศาสตราจารย์ สุปราณี แจง้ บำ� รงุ อเี มล์ [email protected] ต�ำแหนง่ ท่ปี รึกษา หน่วยงาน คณะเวชศาสตรเ์ ขตร้อน มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ความเชี่ยวชาญ โภชนศาสตรเ์ ขตร้อน (Tropical Nutrition) ชีวเคมี (Biochemistry) พษิ วทิ ยาทางโภชนศาสตร์(NutritionalToxicology) อายรุ ศาสตรเ์ ขตร้อน (Tropical Medicine) 165

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ สิตมิ า จติ ตนิ ันทน์ อีเมล์ [email protected] ตำ� แหนง่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กลุ่มวิชาอาหาร หนว่ ยงาน สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ความเชี่ยวชาญ การพฒั นาอาหารและผลติ ภณั ฑอ์ าหารเพอื่ สขุ ภาพ เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารและการเกบ็ รักษา 7. อาหารส�ำหรับผูท้ ี่เป็นโรคไตเร้อื รงั ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ สรุ ศกั ดิ์ กันตชเู วสศริ ิ อเี มล ์ [email protected] ต�ำแหน่ง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ และอายุรแพทย์โรคไต หน่วยงาน ส่วนโรคไต ภาควิชาอายรุ แพทย์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ความเช่ียวชาญ อายุรศาสตร์โรคไต อายุรศาสตร์ทัว่ ไป น.ท.หญิง วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี อีเมล ์ [email protected] ตำ� แหน่ง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลภูมพิ ลอดลุ ยเดช เลขาธกิ ารคณะอนกุ รรมการปอ้ งกนั โรคไตเรอื้ รงั เลขาธิการเครอื ขา่ ยลดบรโิ ภคเคม็ หน่วยงาน โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช ความเชีย่ วชาญ อายุรศาสตรโ์ รคไต อายุรศาสตร์ทว่ั ไป 166

8. อาหารสำ� หรบั ผปู้ ่วยโรคไขมันในเลือดสูง นางสาวปรารถนา ตปนีย์ อีเมล ์ [email protected] ตำ� แหน่ง ผู้ชว่ ยอาจารย์ และนักก�ำหนดอาหาร หนว่ ยงาน สถาบนั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ความเชยี่ วชาญ ด้านโภชนบ�ำบัดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง ได้แก่ ความดันโลหิตสงู เบาหวาน และมะเร็ง 9. อาหารสำ� หรับผูป้ ่วยโรคความดนั โลหติ สงู หวั ใจ และอัมพาต นางสาวทิวาพร มณรี ตั นศภุ ร อีเมล์ [email protected] กำ� ลงั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าNutritionand Food Sciences ณ Utah State University ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ความเชี่ยวชาญ โภชนาการเพอื่ การป้องกนั และบ�ำบัด 10. อาหารสำ� หรับผู้ท่ีเปน็ โรคอว้ น โรคเบาหวาน ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ุณ วรรณี นธิ ยิ านนั ท์ อเี มล์ [email protected] ตำ� แหน่ง ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ หน่วยงาน สาขาวชิ าโรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลสิ ึม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล ความเชย่ี วชาญ โรคอ้วน และเบาหวาน 167

องคค์ วามร้ดู า้ นอาหารและโภชนาการส�ำหรบั ทุกช่วงวยั หน่วยงานให้การสนบั สนุน 1. สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 2. ส�ำนกั โภชนาการ กรมอนามัย 3. ราชวทิ ยาลัยสูตินรแี พทย์แห่งประเทศไทย 4. ราชวทิ ยาลัยกุมารแพทย์แหง่ ประเทศไทย 5. สมาคมโรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี 6. สมาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทย 7. สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภส์ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 8. สมาคมแพทยโ์ รคหัวใจแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 9. สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย (Thai Hypertension Society) 10. สมาคมแพทย์โรคหวั ใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 11. สมาคมแพทยโ์ รคหลอดเลือดแห่งประเทศไทย 12. สำ� นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) 13. สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมการอาหารแหง่ ชาติ ทีมงานผจู้ ดั ทำ� 1. ศ.ดร.วสิ ิฐ จะวะสติ สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลัยมหิดล 2. รศ.ดร.สมศรี เจรญิ เกียรติกุล สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 3. นางศิริพร โกสุม สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 4. ดร.ทพิ ย์วรรณ ปริญญาศริ ิ สำ� นักอาหาร สำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา 5. นางสาวมยุรี ดษิ ยเ์ มธาโรจน์ ส�ำนักอาหาร สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา 6. นางสาวมนสุวรี ์ ไพช�ำนาญ สำ� นกั อาหาร สำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา 7. นางสาวกงั สดาล สงิ ห์สงู ส�ำนักอาหาร ส�ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา 8. นางสาวปรญิ ญา ตง้ั เจริญกจิ ส�ำนักอาหาร สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา 9. นางสาวงามศริ ขวัญ เพิ่มศร ี ส�ำนกั อาหาร สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา 168

องคค์ วามรู้ ด้านอาหารและโภชนาการ ส�ำหรับทุกช่วงวัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook