Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore atrama13

Description: atrama13

Search

Read the Text Version

Editor’s Talk อ.พญ.โสมรชั ช์ วไิ ลยุค บรรณาธกิ ารนติ ยสาร @Rama “เด็กในวันน้ีคือผู้ใหญ่ท่ีดีในวันหน้า” คำ�ขวัญท่ีเราๆ ท่านๆ คุ้นหูมา นาน หากจะสร้างเด็กคนหน่ึงให้เป็นผู้ใหญ่ท่ีดีเพื่ออนาคตของชาติในวันข้างหน้า ท่านรู้หรือไม่คะว่าต้องเร่ิมต้ังแต่คุณแม่ต้ังครรภ์กันเลยเชียว คุณแม่ถือว่าเป็น บุคคลทสี่ ำ�คัญมากส�ำ หรบั ลูก หากคุณแม่ไมร่ ูว้ ธิ ีปฏบิ ตั ิตัวท่ีถกู ต้องขณะตงั้ ครรภ์ ลกู ที่เกิดมาก็อาจไม่สมบูรณ์ทง้ั กายและ ใจ การเตรียมพรอ้ มสำ�หรบั การตง้ั ครรภ์จึงมคี วามส�ำ คัญไม่แพ้การดูแลลูกหลังคลอดนะคะ @Rama ฉบบั นเ้ี ราขอนำ�เสนอเรอื่ งราวเกี่ยวกับคุณแมต่ ัง้ ครรภ์ ซง่ึ มีเนือ้ หามากมายทนี่ ่าสนใจในหลายแงม่ ุม ท่ี กองบรรณาธิการได้รวบรวมมาไว้แน่นเอ้ียดเพื่อคุณแม่โดยเฉพาะค่ะ ส่วนฉบับถัดไปจะเป็นเร่ืองราวเกี่ยวกับการดูแลลูก ซ่งึ คณุ แม่ คุณพอ่ ก็พลาดไม่ไดอ้ กี เชน่ กันค่ะ เริม่ กนั ที่ คอลัมน์ Rama Today คุณแม่หลายท่านคงจะเคยผา่ นประสบการณก์ ารคลอดกันมาแลว้ และกค็ ุณ แม่หลายทา่ นได้มาคลอดท่ีรามาธบิ ดี อะไรนะท่ีทำ�ใหค้ นหล่งั ไหลกันมาคลอดท่ีน่ี แล้วการคลอดเองตามธรรมชาติกับการ ผ่าคลอดมคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งไร เราจะมวี ิธีการเลอื กอย่างไรดี นอกจากนแี้ ล้วยงั มเี กร็ดความร้เู กีย่ วกับการใช้ยาในคุณ แ ม่ตั้งครรคภว์มาามฝเชากอ่ื กทันวี่ า่ด้ว“ยดคม่ื ะ่ น�้ำ มะพรา้ วเยอะๆ แลว้ ลกู ในทอ้ งจะผวิ สวยจรงิ หรอื ไม?่ ” เรามคี �ำ ตอบมาฝากกนั ใน คอลมั น์ Believe it or not? ค่ะ...พอพดู เรือ่ งอาหารการกนิ ฉบับนนี้ อ้ งแพรวพาชิมกม็ ี “เคล็ดลับการดูแลแลอาหารเม่ือคณุ แม่ ตง้ั ครรภ”์ กนิ อย่างไรให้มีสุขภาพดที ้ังแมแ่ ละลกู มาใหต้ ิดตามกนั พลกิ ไปอ่านกันไดเ้ ลยค่ะ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั คณุ แมต่ ง้ั ครรภย์ งั ไมจ่ บนะคะ คอลมั น์ Easy Living ธรรมะคดิ ดี มขี อ้ มลู โครงการดดี มี าแนะน�ำ ส�ำ หรบั คณุ พ่อคณุ แม่มือใหม่ทก่ี ำ�ลังจะเปน็ พอ่ คนแมค่ น กบั “โครงการจิตประภสั สร” โครงการทจ่ี ะท�ำ ให้ท้ังคณุ แม่และ ลกู นอ้ ยในทอ้ งไดเ้ ตรยี มความพร้อมทางใจ ไม่ใช่เฉพาะทางกายทจ่ี ะตอ้ งดูแล ทางใจกส็ ำ�คัญไม่แพก้ ันนะคะ ส่วน คอลัมน์ Health Station กมุ ารแพทย์จะมาแนะน�ำ วธิ ีการดูแลตนเองของคุณแมต่ งั้ ครรภ์ในช่วงทีไ่ ขห้ วดั ใหญก่ �ำ ลงั ระบาด จะมวี ธิ กี ารอยา่ งไรบา้ ง แลว้ วคั ซนี ทฉ่ี ดี ใหค้ ณุ แมจ่ ะท�ำ ใหล้ กู ไดร้ บั ภมู คิ มุ้ กนั และมคี วามปลอดภยั ดว้ ยหรอื ไม่ ติดตามกนั ใหไ้ ด้นะคะ ปดิ ทา้ ยกนั ที่ คอลมั น์ทใี่ หข้ ้อคิดและท�ำ ให้ใครต่อใครซาบซึง้ ไปกบั บทความดดี ีกนั มาแล้วใน Behind the Scene ซึ่งฉบับน้ไี ด้กลา่ วถงึ โฆษณาทก่ี �ำ ลงั เปน็ talk of the town เมอื่ ไม่นานมานีก้ ับเร่ือง “ผู้หญิงท่ีสวยทส่ี ดุ จากขา้ งใน” ลอง พลิกมาอ่านดูนะคะ แล้วทา่ นจะรวู้ ่า “ผหู้ ญงิ ทีส่ วยจากข้างใน” นัน้ เป็นอย่างไร แลว้ พบกันใหมฉ่ บบั หน้านะคะ ลขิ สทิ ธเิ์ จ้าของ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล 270 ถนนพระรามหก แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร 10400 ติดตอ่ กองบรรณาธกิ าร @Rama โทรศัพท์ 0-2201-1723 ,0-2201-2127 [email protected], www.ra.mahidol.ac.th/atrama

Contents ที่ปรกึ ษากองบรรณาธิการ Easy Living ศ.นพ.วินิต พัวประดษิ ฐ์ รศ.พญ.จริ พร เหล่าธรรมทศั น์ : โครงการจิตประภัสสร ตงั้ แตน่ อนอยใู่ นครรภ์ ผศ.นพ.ภาวิทย์ เพียรวจิ ิตร พัชรี ภรู ีนนั ทนมิ ิต BackStage บรรณาธิการ : อะไรคอื ..โรคหายาก ? อ.พญ.โสมรชั ช์ วิไลยคุ Beauty-Full หัวหนา้ กองบรรณาธกิ าร : เมอ่ื ผวิ ชรา ตอนท่ี 2… วธิ กี ารรกั ษาเมอ่ื ผวิ หนงั เสอ่ื ม รวมทั้งวิธกี ารชะลอการเสอื่ มของผวิ หนัง ดนัย องั ควฒั นวทิ ย์ Health Station กองบรรณาธกิ าร : วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำ�หรบั หญงิ ตั้งครรภ์ สทิ ธิ แสงเจริญวัฒนา สาธติ อุณหกะ Healthy Eating กติ ยิ า สวุ รรณสทิ ธิ์ ฐติ พิ ร สรุ วฒั นวเิ ศษ : “เคลด็ ลับดูแลอาหารขณะตัง้ ครรภ”์ มูลนิธริ ามาธบิ ดีฯ Believe it or not? ฝา่ ยออกแบบ : ดม่ื น้ำ�มะพรา้ วเยอะๆ ลูกจะผวิ สวยจริงหรอื ไม่ พชิ ชา โภคงั Varieties Corner ฝา่ ยชา่ งภาพและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ : เยือนถิน่ ซากรุ ะ “ญ่ปี นุ่ ” ชนะภยั ลิ้มสุวรรณเกสร i-Style ฝา่ ยพสิ จู นอ์ กั ษร : ตอบไม่ให้แพ้ ทิพย์สุดา ตันเตมิ เกียรติ Behind the Scene ฝา่ ยการตลาดและโฆษณา : ผูห้ ญงิ สวยทสี่ ุดจากข้างใน กลุ นรนิ ทร์ สุขสมยั ปกรณ์ ดษิ เนตร One Day Off ฝา่ ยการเงนิ : พกั หยอ่ น ผอ่ นกาย ท่ี..ปางองุ๋ กติ ตมิ า ทัศนประเสรฐิ Giving and Sharing ฝา่ ยจดั สง่ และสมาชกิ : “อย่รู อ” เพือ่ คนที่ “รออย”ู่ ระวีนชุ วบิ ุญกลู Rama Today พมิ พท์ ่ี : คลอดทีร่ ามาธิบด.ี .ดีอย่างไร? บรษิ ทั เอส.เอน็ .มเี ดยี แอนด์ แพค็ จ�ำ กดั Education Talk 17 ซอยประชาอทุ ศิ 19/1 ถนนประชาอุทิศ แขวงราษฎร์บูรณะ : บทเรียนท่(ี ยงั )ไม่เคยสอน เขตราษฎรบ์ ูรณะ กรงุ เทพฯ 10140 Research Inspiration ภาพปก: เมธี บวั จู นกั วชิ าการโสตทศั น์ : “งานวิจัยเปน็ เรือ่ งของทุกคนในองคก์ ร” งานโสตทศั นศกึ ษา ศ.นพ.อร่าม โรจนสกลุ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาล รามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

โครงการ จติ ประภสั สร ตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์

Easy ทิพยส์ ดุ า ตันเตมิ เกยี รติ Living “เดก็ ในวนั นี้ คอื ผูใ้ หญใ่ นวนั หน้า” หลายคนคงไดย้ นิ ค�ำ กล่าวนี้มาบา้ ง การสร้างพ้นื ฐานทางสติปญั ญาและ อารมณ์ให้แก่ลูกน้อยต้ังแต่อยู่ในครรภ์นั้นเป็นสิ่งสำ�คัญท่ีจะทำ�ให้เขาเติบโตเป็น ผ้ใู หญ่ท่ีดไี ด้ เราขอชวนคุณพอ่ คุณแมใ่ ช้ชวี ิตแบบ Slow life นอ้ มนำ�ธรรมะเขา้ มาสูใ่ นจิตใจ ท�ำ ใหล้ กู นอ้ ยสมาชกิ ใหม่ไดม้ พี ้นื ฐานทางอารมณ์ที่ดกี ันค่ะ “โครงการจิตประภัสสร ตั้งแต่นอนอยใู่ นครรภ์” เปน็ โครงการของ เสถียรธรรมสถาน การส่งเสริมใหค้ ณุ พ่อคณุ แม่และผทู้ ่เี ก่ยี วข้องมีสัมมาทิฏฐิใน การดำ�เนินชีวติ เพื่อให้ใช้เวลา 9 เดือนของการต้งั ครรภ์ เปน็ การสร้างทนุ แห่ง “อริยทรัพย”์ ซ่ึงท�ำ ให้เดก็ คนหนึง่ ไดม้ โี อกาสเกดิ เปน็ มนุษยท์ ีอ่ ยบู่ นหนทางของ “อริยบุคคล” (บุคคลผ้ปู ระเสริฐ) “เพราะครรภข์ องแม่ คอื โลกของลกู ” ลกู นอ้ ยในครรภจ์ ะไดม้ โี อกาส เรยี นรโู้ ลกใบใหญน่ ผ้ี า่ นฮอรโ์ มนทบ่ี ง่ บอกอารมณข์ องคณุ แมใ่ นแตล่ ะขณะจติ หรอื ประมาณไดว้ า่ “แมร่ สู้ กึ อยา่ งไร ลกู รสู้ กึ ไดอ้ ยา่ งนน้ั ” ดงั นน้ั การรกั ษาใจของคณุ แมไ่ มใ่ หห้ งดุ หงดิ ขนุ่ มวั จงึ เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั โดยมคี ณุ พอ่ เปน็ ผเู้ กอ้ื กลู และใหก้ �ำ ลงั ใจ ซง่ึ กนั และกนั คอลมั น์ Easy Living ฉบบั น้ี เราไดม้ โี อกาสสมั ภาษณแ์ มช่ โี มลี เขยี ว สะอาด หรอื “แมช่ โี อะ๊ ” มารว่ มใหค้ วามรใู้ นการจดั กจิ กรรมครง้ั นด้ี ว้ ยคะ่ พูดถึงโครงการจิตประภสั สร ต้งั แต่นอนอยู่ในครรภ์ โครงการจิตประภัสสรตอนนีย้ ่างเขา้ สูป่ ีที่ 9 เป็นการเชญิ ชวนคู่รกั หรือผู้ ที่พร้อมจะเปน็ คุณพ่อคุณแม่ท่ดี ีของลกู มาเตรยี มทิฏฐิกนั หมายความว่า ก่อนที่ จะต้งั ครรภ์มาจนู คลื่นให้ตรงกนั กอ่ น เปน็ การเตรียมสมั มาทฏิ ฐิ เชิญเด็กดีมาอยู่ ในท้อง แล้วเราก็พบวา่ เดก็ ทีเ่ กิดมาในโครงการจิตประภัสสรจะเป็นเดก็ ทเ่ี ลี้ยง งา่ ย เป็นเด็กร่าเริงและมีความสขุ เพราะอยู่ในสภาพแวดล้อมทพ่ี ่อแมไ่ ด้เตรยี ม กาย เตรียมใจของคนในครอบครวั กนั แล้วเปน็ อย่างดี คณุ พ่อคณุ แมจ่ ะไดม้ ีโอกาสทำ�อะไรบา้ งเม่ือเขา้ ร่วมโครงการ กอ่ นอื่นตอ้ งเตรียมจิตท่ดี มี ากอ่ น ตัง้ แตเ่ ดินทางมาลงทะเบียนนน้ั คณุ พอ่ จะผกู ขอ้ มอื ให้คณุ แม่ ตั้งแต่ประตทู างเข้าก็จะมีบรรยากาศท่ีเชอื้ เชิญให้เขา้ มาอย่างมคี วามสุข จนมาถึงศาลา มาร่วมฟงั เสวนารายการวทิ ยุ ซง่ึ จะมีการสอน การปฏบิ ตั ิธรรม สอนวิธีคดิ ท่จี ะใหส้ ามีและภรรยาอยดู่ ้วยกนั อยา่ งเขา้ ใจ

หลงั จากจบรายการวทิ ยกุ จ็ ะเขา้ สชู่ ว่ ง “ภาวนากบั บทเพลง” ใหล้ กู ใน ทอ้ งไดด้ แู ลคณุ พอ่ คณุ แมก่ ด็ แู ลคณุ พอ่ เปน็ การดแู ลซง่ึ กนั และกนั บางครอบครวั ทม่ี คี วามเครยี ดความกงั วลวา่ ทผ่ี า่ นมาลกู ไมเ่ คยดน้ิ ใหร้ สู้ กึ เลย พอมาเขา้ สู่ กจิ กรรมทใ่ี ชบ้ ทเพลงแหง่ สติ เพลง “ดง่ั ดอกไมบ้ าน” แลว้ นน้ั ลกู ในครรภก์ จ็ ะดน้ิ หรอื คณุ แมท่ ม่ี ฮี อรโ์ มนในรา่ งกายไมส่ มดลุ อารมณแ์ ปรปรวน ซง่ึ อาจจะโกรธหรอื งอนคณุ พอ่ บา้ ง มาทน่ี ก่ี จ็ ะเปดิ โอกาสใหค้ ยุ กนั เปดิ โอกาสให้ มกี จิ กรรมรว่ มกนั ถอื วา่ เปน็ การปรบั สมดลุ ทง้ั กายทง้ั ใจ การเล้ยี งลูกดว้ ยวิธีปฏจิ จสมุปบาท จ๊ะเอ-๋ บ๊ายบาย (เมื่อเจอความทุกข์ให้โบกมอื ลานำ� ความทุกขอ์ อกไปจากใจ) หรอื วิธกี ารทจ่ี ะอยูด่ ้วยกนั อย่างไร แลว้ มีความสุข นกี่ เ็ ป็นวธิ ที ่คี ุณยายจา๋ (ท่านแม่ชีศนั สนยี ์ เสถยี รสตุ ) ได้เตรยี มกายเตรยี มใจท้งั คณุ พ่อและคณุ แม่ รวม ถงึ ลกู ท่อี ยใู่ นครรภ์ เปน็ การจดั สภาพแวดลอ้ มใหส้ ามารถอยู่ ด้วยกันได้อยา่ งเข้าใจซึ่งกนั และกนั การนอนภาวนา เป็นการฟังเสยี งการหมุนวนของคริสตัลโบวล์ (โถครสิ ตัล) เขย่าคลน่ื น้ำ�โมเลกลุ ท่อี ยใู่ นทอ้ ง นัน่ ก็คือ น้ำ�คร่ำ� การฟงั เสียงคริสตลั โบวลน์ ก้ี ็จะ ชว่ ยไปเขย่าโมเลกุลของน้ำ�ใหเ้ รยี งตวั กันอย่างเป็นระเบียบมีความสมดลุ เลอื ด ไมห่ นดื ทำ�ให้ลกู รสู้ ึกสดช่นื การเดินอย่างมีสติ การเดินในแต่ละก้าวของคุณแม่ อยา่ งมีสติ ลกู ในครรภก์ จ็ ะได้ก้าวอย่างมี สติไปดว้ ยกัน ลมหายใจของคณุ แมก่ ็จะ สงบเย็น ระหวา่ งทางเดนิ จะพบเสน้ ทาง ทแี่ ตกตา่ งกนั ไป ทง้ั พ้นื หญา้ พ้นื ดนิ พืน้ ทราย ดงั น้ัน แมร่ สู้ ึกอย่างไร ลกู กร็ ู้สึก อยา่ งนั้นดว้ ย เป็นการรู้ตัวทวั่ พรอ้ ม มีความสดชื่น รตู้ ่ืนและเบกิ บานทง้ั คุณแม่ และลูก ถือเป็นโอกาสท่ดี ี ถา้ หากคุณแมไ่ ด้ท�ำ กุศลอยู่ในทุกขณะ ลกู ก็จะไดก้ ศุ ล ดว้ ยเชน่ กนั ลมหายใจของคุณแมก่ ็คอื ลมหายใจของลูก ช่วงบา่ ยนนั้ ก็จะไดม้ าฟังการบรรยายร่วมกนั เช่น การเตรยี มจติ ใหเ้ ป็น ประภสั สร การเตรียมศักยภาพสมองของลูกใหส้ มบูรณ์ การใหน้ มแม่อย่างอม่ิ อุ่น แม้กระท่ังเรอ่ื งการออกก�ำ ลงั กายใหค้ ลอดง่าย โยคะแมท่ ้องเป็นอย่างไร ซง่ึ หลังจากดื่มนำ้�ปานะก็จะเชิญชวนคุณพ่อคุณแม่ไปอธิษฐานจิตท่ีหอประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ เพื่อที่จะยืนยนั และต้งั สัจจะว่า ขอให้ลูกนอ้ ยทเ่ี กดิ มาเป็น เดก็ ดี ความประทบั ใจในการจดั ทำ�โครงการจติ ประภสั สรฯ การทำ�งานของพวกเราทไ่ี ด้รบั ใช้คณุ พ่อคุณแมใ่ นโครงการนีน้ นั้ มนั ท�ำ ให้เกดิ กุศล เป็นการทำ�ใหเ้ ด็กในท้องมีความสุข เพราะเรารวู้ า่ เด็กทเ่ี กดิ มาจะ เป็นเดก็ ดี ซง่ึ จะเปน็ ผ้ดู แู ลโลกในอนาคตข้างหนา้ การได้เห็นภาพท่คี ุณพอ่ คณุ แม่ ดูแลกนั มันรสู้ กึ ดี นนั่ หมายความว่า จริงๆ แลว้ ยังมีหลายครอบครวั ที่ต้องการ เข้ารว่ มกิจกรรมดๆี แบบนี้อยู่ เพียงแต่วา่ บางคนเขาอาจยงั ไมท่ ราบว่าจดั ท่ไี หน บ้าง กเ็ ลยอาจจะใช้วธิ ีอ่านหนังสอื เตรียมตัวเอา แต่ไมม่ ีพน้ื ที่ให้ลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ เสถียรธรรมสถานจึงเป็นอีกสถานท่ีที่จะทำ�ให้คุณพ่อคุณแม่ได้เลือกมาฝึกฝนตัว เองท่ีจะเป็นพอ่ แม่ที่ดขี องลูก

หลังจากทีเ่ ด็กคลอดมาแลว้ เป็นท่ีนา่ แปลกใจมาก ส�ำ หรับการนำ�เดก็ ทารกครบ 1 เดอื นมารวมตัวกนั โดย เพอ่ื เขา้ สพู่ ิธกี ารขลิบผมรบั ขวัญโดยคุณยายจ๋า (ท่านแมช่ ศี นั สนีย์ เสถียรสตุ ) เป็นการตอ้ นรบั สู่วงศาคณาญาติ พร้อมรับขวัญ และพระธาตุ เราพบวา่ ไมม่ ีใครร้องไหง้ อแงเลยแม้แตค่ นเดียว เป็นเดก็ ท่เี ล้ยี งง่ายและมีจิตเปน็ ประภสั สร ถ้าหากโลก ของเรามแี ตเ่ ด็กทีร่ า่ เรงิ เบกิ บานแจม่ ใสกค็ งจะดีทเี ดยี ว ซง่ึ ทางเรายินดีท่ีจะเปน็ อีกหนึ่งสถานทที่ ี่จะช่วยเหลือสังคมใน ด้านนี้ เราเช่อื ในการลงทุนของเรา ในทกุ ขณะที่เราไดท้ ำ�งานและดูแลคุณพอ่ คณุ แมเ่ ราเตม็ ที่ เราเช่ือว่า ผลมนั ตอ้ งดอี ย่าง แนน่ อน หลังจากการเขา้ รว่ มโครงการนแ้ี ล้ว วนั ทค่ี ุณแมเ่ ขา้ โรงพยาบาลเพ่อื รอคลอด คณะแมช่ จี ากเสถียรธรรมสถาน จะรว่ มกนั สวดมนตแ์ ละตามประทปี ให้ ณ หอประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ เพ่ือเป็นการเสรมิ ความเปน็ สิริมงคลแก่ ลูกนอ้ ยสมาชกิ ใหม่ในครอบครวั ด้วยค่ะ สำ�หรับใครท่ีสนใจสามารถตดิ ต่อได้ท่ีเสถยี รธรรมสถานนะคะ โครงการนจี้ ัดขน้ึ ทุกวันอาทติ ยส์ ปั ดาหแ์ รกของทุกเดอื น ซึ่งนอกจากคุณพ่อคณุ แม่ท้งั มอื ใหม่และผ้ทู ่มี ปี ระสบการณ์การเลี้ยงดูลูกน้อยมา แลว้ ยังสามารถเชิญชวนสมาชกิ คนอนื่ ๆ ในครอบครัวเขา้ ร่วมได้อกี ด้วยค่ะ มาร่วมสรา้ งจิตประภสั สร ตง้ั แตน่ อนอยใู่ น ครรภร์ ว่ มกนั นะคะ ธรรมะสวสั ดคี ่ะ วถิ ชี วี ิตวนั ครอบครวั จติ ประภสั สร ตงั้ แตน่ อนอยู่ในครรภ์ 8.00 – 9.00 ลงทะเบยี นครอบครัวจติ ประภสั สร 9.00 – 10.00 รว่ มสนทนากบั รายการวิทยสุ าวิกา “ฟงั กันดว้ ยหัวใจ” 10.00 – 10.20 ภาวนากบั บทเพลงแห่งสติ 10.20 – 11.30 “ปฏิจจสมปุ บาท” การรู้เท่าทันอารมณ์ ไม่หลงจมอยู่ในความขุ่นมัวตลอดการตง้ั ครรภ์ 11.30 – 12.45 อาหารอรอ่ ยเพราะกนิ กนั หลายคน 12.45 – 14.00 ภาวนากบั คล่นื เสียงคริสตัลโบวล์ 14.00 – 15.00 ภาวนากบั การเดนิ เล่นในสวนเสถียรธรรมสถาน 15.00 – 16.30 สนทนากับวทิ ยากรผู้เชีย่ วชาญเฉพาะด้าน 16.30 – 16.45 ด่มื น�้ำ เพอื่ สขุ ภาพ 16.45 – 18.30 สวดมนต์ อธิษฐานจติ และตามประทปี ณ หอประดิษฐานพระบรมสารรี กิ ธาตแุ ละกลบั บ้านอยา่ งมคี วามสขุ เสถียรธรรมสถาน โทรศัพท์ 02-519-1119 Website: www.sdsweb.org Facebook: เสถยี รธรรมสถาน Sathira Dhammasathan

Back ดนัย องั ควัฒนวทิ ย์ stage ผมเองไดม้ ีโอกาสไปร่วมงานและเปน็ สว่ นหน่งึ ของงาน “วันโรคหายาก ครงั้ ท่ี 4” (Rare Disease Day 2014) มาเม่ือวนั ท่ี 1 มนี าคมที่ผ่านมา ณ ลาน Hard Rock Café สยามสแควร์ ซึง่ นอกจากจะไดร้ ่วมรับฟงั ขอ้ มูล ของโรคหายากทีเ่ กดิ ข้นึ แล้ว ยงั ไดป้ ระชาสมั พนั ธเ์ ผยแพรน่ ิตยสาร @Rama ของเราใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั ด้วย ซ่งึ ตอ้ งขอ ขอบคณุ ผู้เข้าร่วมงานและผ้ทู แ่ี วะเวยี นมายงั บธู กิจกรรมของเราในงานนเ้ี ปน็ อย่างยงิ่ ครบั และเช่อื เหลือเกนิ ว่าข้อมลู สขุ ภาพดดี ีทีไ่ ดร้ ับกลบั ไปจะเปน็ ประโยชน์ในการปฏิบตั ิตนเองในชวี ติ ประจำ�วันด้านสขุ ภาพไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ต้องอธิบายก่อนเลยว่า โรคหายากเป็นโรคที่พบได้มากกวา่ 6,000 โรค ซึง่ แต่ละโรคมคี วามหลากหลายของการแสดงอาการ และมกั พบโรคต่างๆ ได้ในเด็ก ซ่ึง ศ.พญ.ดวงฤดี วัฒนศริ ิชยั กลุ หัวหนา้ หน่วยเวชพันธศุ าสตร์ ภาควิชากุมาร เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ได้ อธิบายวา่ โรคหายากในประเทศไทยเป็นโรคที่รกั ษาได้ยากและมีวิธีการป้องกนั ยาก ซึ่งผ้ปู ่วยโรคหายากต้องการความเข้าใจและโอกาสในการรักษาทที่ ัดเทยี มผ้ปู ่วย โรคอ่ืนๆ และแม้วา่ โรคหายาก (Rare Disease) จะเปน็ โรคท่พี บไดไ้ ม่บอ่ ยนัก แตก่ ็ มีโรคอยจู่ �ำ นวนนับพันๆ โรค ท�ำ ให้การตรวจคัดกรองวินิจฉัยอาจทำ�ไดไ้ มท่ ว่ั ถึง

อกี ทง้ั ยงั พบผปู้ ว่ ยโรคหายากไดเ้ กอื บ 5% ของประชากร และกวา่ 80% ของโรคทพ่ี บ เปน็ โรคทางพนั ธกุ รรมทม่ี ี ยนี ผดิ ปกติ มยี นี แฝงอยใู่ นตวั และเดก็ มกั ไดร้ บั ยนี แฝงจากพอ่ แม่ นอกจากน้ี ยงั ไมพ่ บขอ้ มลู ทช่ี ดั เจนเกย่ี วกบั โรคหายากใน ประเทศไทย และมแี พทยท์ างดา้ นพนั ธกุ รรมในประเทศคอ่ นขา้ งนอ้ ย ท�ำ ใหโ้ อกาสในการเขา้ รบั การตรวจรกั ษามไี มม่ ากนกั 1) กลมุ่ โรคมกี รดในเลอื ด เช่น โรคไอวเี อ (IVA) โรคเอม็ เอสยูดี (MSUD หรอื โรคฉหี่ อม) ซง่ึ พบได้ใน เดก็ ทารกและเด็กเล็ก เดก็ จะมีอาการซมึ กนิ ไม่ได้ ไม่รู้สกึ ตวั และมักเปน็ อาการ หแบรือบกเฉลีย่นิ บนพ�ำ้ ตลนัาลบไหามงโ้ รนค�ำ้ จตะามลกีในลเิ่นลตอื ัวดแตล่ำ�ะกคลา่ ก่ินรปดัสใสนาเลวะอื ฉดุนสคูงลห้าายกกรลักิ่นษเาหไงมอ่ื ท่ เหันมทน็่วงอทับี อาจท�ำ ใหส้ มองพกิ ารถาวร หรือเสียชีวิตได้ 2) โรคพราเดอร-์ วลิ ล่ี ลักษณะอาการในเด็กทารกจะหลบั มาก ไมค่ ่อยกิน นำ�้ หนกั ขึ้นน้อย เมอ่ื อายไุ ด้ 6-9 เดือน จึงจะเริม่ ตืน่ ตัวดี เริ่มกินได้ และกินมากเกินไป เนือ่ งจากไมร่ ้จู ัก อมิ่ รา่ งกายจงึ อ้วนผดิ ปกติ และมีพัฒนาการสติปญั ญาล่าช้า 3) โรคกลา้ มเนอื้ เส่อื มดเู ชน พบในเดก็ ผู้ชายอายุ 3-5 ปี ลกั ษณะอาการเรมิ่ จากกลา้ มเนอ้ื ขาอ่อน แรง เดนิ ขาปัด ลม้ ง่าย ลุกขน้ึ จากพน้ื เองไม่ได้ ต้องใช้มอื ยนั พน้ื ทั้งทเี่ มอ่ื กอ่ นเคย ว่ิงเล่นปกติ นอ่ งโตแข็ง เดินเขยง่ หลังแอ่น อาการกล้ามเนอ้ื ออ่ นแรงจะมากขนึ้ เรื่อยๆ จนกระทั่งอายุ 8-9 ปี จนไมส่ ามารถเดินได้เอง 4) โรคมาแฟน เดก็ จะมีรปู ร่างสูงกว่าปกติ โดยมากมักปรากฏให้เหน็ ชัดเมื่อเด็กโต ผอม นวิ้ ยาว ข้อกระดูกหลวมออ่ น กระดูกหน้าอกบุ๋มหรือโป่ง กระดูกสันหลังคด สายตาส้ันมาก เลนส์ตาเคล่อื นหลุด ผนงั หลอดเลือดใหญใ่ นช่อง อกหรอื ชอ่ งทอ้ งมีการโปง่ พอง และเปราะแตกง่าย ซ่ึงอันตรายถึงข้ันอาจเสยี ชีวติ ได้ 5) กลุ่มโรคสมองนอ้ ยเส่ือมจากพันธุกรรม (โรคเดนิ เซ) มักเริม่ มีอาการในวยั ผใู้ หญ่ เดินเซ เวลาก้าวเดินไมม่ นั่ คง ต้องกางขาเพอ่ื ช่วยการทรงตัว เสียงพูดเปลยี่ นไป ด่ืมน้ำ�แลว้ ส�ำ ลัก การใชก้ ลา้ มเนือ้ นิ้วและมือไมส่ ัมพนั ธก์ นั ลายมือเปล่ยี น บางรายมีตากระตุกไปมา และมอี าการรนุ แรงเกดิ ขึ้นอย่างชา้ ๆ 6) โรคเพนเดรด็ จะมอี าการหหู นวกตง้ั แต่ก�ำ เนดิ บางคนมีการทรงตัวไมด่ ี เม่อื โตขึน้ มกั มอี าการต่อมไทรอยด์โต หรือคอพอกแบบไม่เป็นพษิ 7) โรคแองเจลแมน อาการแสดงทีพ่ บจะมีพัฒนาการชา้ ซ่งึ สามารถสงั เกตได้ในช่วงอายุ 6-9 เดือน มีอาการเดินเซ ไมม่ ั่นคง ไม่พดู มักจะยิ้ม หวั เราะเกง่ ต่นื เต้นงา่ ย ชอบตบมอื และสมาธสิ ้ัน เหล่านีค้ อื โรคหายากท่ีพบได้ในเด็กแรกเกิดและในเด็กในครรภ์มารดา ซง่ึ ใน ปจั จุบันไมส่ ามารถทำ�การคาดเดาและตรวจคดั กรองโรคได้ทุกโรคในกล่มุ โรคหายาก และเพอื่ ต้องการใหผ้ ้ปู ่วยรายใหม่ได้เขา้ ใจอาการของโรค จนนำ�ไปสแู่ นวทางการรักษา ทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสม รวมไปถงึ การสร้างความตระหนักให้เกิดขนึ้ แกห่ น่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง อันจะน�ำ ไปสู่แนวทางความรว่ มมือในการรกั ษาโรคหายากต่อไป นอกจากน้ียังมุง่ หวังให้ เกดิ การสร้างความเสมอภาคแก่ผปู้ ว่ ยและลดชอ่ งวา่ งในสังคมอกี ด้วย

เมอื่ ผวิ ชรา ตอนท่ี 2 … วธิ กี ารรกั ษาเมอ่ื ผวิ หนงั เสอ่ื ม รวมทง้ั วธิ กี ารชะลอการเสอ่ื มของผวิ หนงั ฉบบั ทแี่ ลว้ ไดน้ ำ�เสนอกันถงึ กลไกการเสอื่ มของผวิ หนัง ซง่ึ แบ่ง ไดเ้ ป็น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ การเสอื่ มจากปจั จยั ภายนอกรา่ งกาย เชน่ แสงแดด สบู บุหรี่ และการเสือ่ มจากปจั จยั ภายในร่างกาย ซงึ่ เกดิ จากพนั ธกุ รรม หรอื ยนี ที่ได้จากพ่อแมแ่ ละบรรพบุรษุ ส�ำ หรับฉบับน้ีขอน�ำ เสนอถึงวธิ ีการ รกั ษาเมื่อผวิ หนงั เสื่อม รวมทั้งวิธกี ารชะลอการเส่อื มของผวิ หนัง วิธีท่ีดีท่ีสุดสำ�หรับการรักษาการเสื่อมจากปัจจัยภายนอก รา่ งกาย ได้แก่ หลีกเล่ยี งปัจจยั ด้านสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ ท่ีมีผลต่อการเสอื่ ม ของผวิ หนัง ท่ีส�ำ คัญคอื การหลีกเล่ยี งแสงแดด งดสบู บุหรี่ และงดด่มื เหล้า วิธีการหลีกเลี่ยงแสงแดดที่ดีที่สุดคือการสัมผัสแดดให้น้อยที่สุด เลอื กใชร้ ่มทที่ �ำ จากวสั ดุกนั รงั สยี ูวีได้ ซึ่งประสทิ ธภิ าพของร่มจะสงู ท่สี ดุ ใน เวลาเทีย่ งวัน อนั เป็นเวลาทีด่ วงอาทิตย์ทำ�มุม 90 องศากบั พ้ืนโลก จึงควร ถือรม่ ในตำ�แหน่งท่ีสูงกว่าศรี ษะประมาณ 10-20 เซนติเมตร การสวมหมวกทกุ ประเภท สามารถป้องกันผิวหนังบริเวณ หน้าผากได้มากกว่าร้อยละ 90 รองลงมาคือบริเวณ จมูก แก้ม คาง และคอด้านหลงั ส�ำ หรับบรเิ วณ ค า ง จ ะ เ ป็ น บ ริ เ ว ณ ท่ี ห ม ว ก ทุ ก ประเภทปอ้ งกันแสงแดดไมไ่ ด้ หาก พจิ ารณาชนดิ ของหมวก จะพบวา่ หมวกปีกกว้างซ่ึงทำ�จากวัสดุสาน 10-20 cm จะมีประสิทธิภาพในการป้องกัน แสงได้น้อยกว่าหมวกปีกปานกลาง (ขนาด 2.5-7.5 เซนตเิ มตร) ที่ทำ� จสาฟี ก้าผน้า้ำ�เเนงินอื้ หนาสเี ขม้ เช่น ผ้ายนี ส์

Beauty อ.นพ.วาสนภ วชิรมน แผนกผิวหนังและเลเซอร์ หนว่ ยโรคผวิ หนัง Full ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล ดังนัน้ คำ�แนะน�ำ ในการเลือกหมวกเพ่อื ป้องกนั แสงแดด ควรจะเปน็ หมวกท่ีมปี กี กวา้ งกวา่ 7.5 เซนติเมตร และท�ำ จากวัสดุเนือ้ หนาสเี ข้ม วา่ ผา้ เนื้อใหนนการณีขนอำ�้ งหเนสักอื้ มผา้ากและจทะอพแบนกน่ วา่ ผจา้ะสปีเอ้ขงม้ กปันอ้ รงงั กสันอี ัลรงัตสรอีาไัลวตโอราเลไวตโไอดเด้ ลีกตวไ่าดด้ กีนวอา่ กผจา้ าสกีอน่อี้ นการซนักอผก้าดจา้วกยนน้ีย้ำ�ังแพลบะ ผงซักฟอกจะท�ำ ใหเ้ กิดการหดตัวของใยผา้ ท�ำ ให้ช่องว่างระหว่างเส้นใยมีขนาดเล็กลง ทำ�ใหค้ วามสามารถในการ ป้องกันรงั สีอัลตราไวโอเลตดขี น้ึ ในทางตรงกันขา้ ม ผ้าท่ีถกู ดงึ หรือขึงเนื้อผ้าให้ตึงจะทำ�ให้ความสามารถในการป้องกันรังสี อลั ตราไวโอเลตลดลง ความแหง้ และเปยี กของผา้ กม็ ผี ลต่อการ สอ่ งผา่ นรงั สีอัลตราไวโอเลตเชน่ กัน โดยพบวา่ ผา้ ทเ่ี ปียกจะมี การส่องผ่านรังสีอลั ตราไวโอเลตทม่ี ากกวา่ ผา้ ทแี่ ห้ง สำ�หรับยากันแดด แม้ไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดในการ ป้องกันแดด แต่จัดเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากมีความคล่องตัวสูงใช้ได้กับทุกกิจกรรม การที่ กสาลม่าาวรวถ่าปย้อางกกันันแแดสดงแไดมด่ใชได่ว้ทิธีุกทคี่ดวีทาี่สมุดยาเนวคื่อลงื่นจากเหยงาื่อกันนแ้ำ�ดแดลไมะ่ แสงแดดเองทำ�ให้ยากันแดดเหล่านี้เสื่อมประสิทธิภาพลง สำ�หรับวิธีการเลือกใช้ยากันแดด คือการดูค่า เอสพีเอฟ (SPF) ซเลึ่งตเปบ็ีนคโ่ดาบยทอั่กวไคปวจาะมแสนาะมนาำ�รใถหใ้เนอสกพารีเอปฟ้อไงมก่ตัน่ำ�รกังวส่าีอัล3ต0ราไแวลโอะ การดูค่าพีเอ (PA) ซึ่งเป็นตัวบอกความสามารถในการป้องกัน รังสีอัลตราไวโอเลตเอ ควรทาให้ได้ความหนา 2 มิลลิกรัม 1ต่อกตราัมราปงัญเซหนาตทิเมี่พตบรบ่อหยรไือดง้แ่ากยๆ่ กาครือททาั่วยหานไม้า่สคมว่ำ�รเใสชม้ยอาปแรละะมทาณาไม่ทั่วถึง ไม่ควรทาบริเวณขมับ ใบหู ต้นคอ รอบตา และ รอบปาก ทั้งนี้ ควรทิ้งช่วงเวลาในการทายากันแดดประมาณ 15 นาที เพื่อให้มีการเกาะตัวกับผิวหนังชั้นบน สำ�หรับการเสื่อมของผิวหนังจากปัจจัยภายในร่างกาย เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงหรือป้องกันไม่ได้ จึงต้องคอย ติดตามรักษากันไป ในกรณีที่ผิวบางตัวลงและแห้งง่าย สามารถใช้ครีมเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นแก่ผิวได้ หากเป็นการ ลดลงของ คอลลาเจน อีลาสติน ใต้ผิวหนัง ก็สามารถรักษาได้โดยการใช้ยาทาบางชนิด เช่น ยาที่มีสารกระตุ้นการ สร้างคอลลาเจนและอีลาสตินใต้ผิวหนัง อย่างไรก็ตาม การทายาก็ยังมีข้อจำ�กัดเรื่องการดูดซึมของยาแต่ละชนิดอาจ ไม่เท่ากัน จึงพบว่ายาหรือเครื่องสำ�อางบางชนิดนั้นใช้ไม่ได้ผล อีกวิธีที่พบว่าช่วยสร้างคอลลาเจนและอีลาสติน ใต้ผิวหนังได้ดีกว่าการใช้ยาทาได้แก่ การใช้เลเซอร์ ซึ่งในปัจจุบันมีเลเซอร์หลายชนิดที่สามารถกระตุ้นการสร้าง คอลลาเจนได้ดี ในขณะที่หลายตัวก็ไม่สามารถกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนได้ ดังนั้น การเลือกใช้เลเซอร์ให้เหมาะกับ สภาพปัญหาของผิวหนังจึงมีความสำ�คัญ เน่ืองจากเลเซอรใ์ นปจั จบุ นั มีหลายชนิด แต่ละชนดิ กม็ คี ุณสมบัตแิ ละจุดเด่นแตกตา่ งกันไป ผมจะขอเล่าเรื่อง เลเซอร์ที่ใชใ้ นทางผวิ หนงั แต่ละประเภทในฉบบั หน้า แล้วพบกนั ฉบับหนา้ ครบั

Health ผศ.นพ.ชนเมธ เตชะแสนศริ ิ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ Station คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหิดล วคั ซนี ไขห้ วดั ใหญ่ สำ�หรับ หญิงตง้ั ครรภ์ ห ญิ ง วั ย เจ ริ ญ พั น ธ์ุ ท่ี ว า ง แ ผ น จ ะ เสยี่ งหากเกดิ การตดิ เชอื้ นน้ั ๆ ขนึ้ และยงั ชว่ ยเพม่ิ โอกาส ตั้งครรภ์หรือหญิงท่ีกำ�ลังตั้งครรภ์ควรจะได้รับ ในการปอ้ งกนั โรคแกท่ ารกในชว่ ง 6-12 เดือนแรกหลัง การทบทวนการได้รับวัคซีนมาแล้ว ซ่ึงผู้หญิง เกิดด้วย ทุกคนควรได้รับวัคซีนอย่างครบถ้วนก่อนท่ีการ ต้ังครรภ์โดยไม่ต้องกังวลกับการได้รับวัคซีนใน โรคไข้หวัดใหญ่กเ็่ ปน็ อกี โรคหนึ่งทพี่ บวา่ หญิง ระหวา่ งการตง้ั ครรภ์ หากไมเ่ คยไดร้ บั วคั ซนี หรอื ตั้งครรภ์มีความเส่ียงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก ไมม่ หี ลกั ฐานการไดร้ บั วคั ซนี มากอ่ น กต็ อ้ งมกี าร ไข้หวัดใหญม่ ากกวา่ คนทว่ั ไป โดยเฉพาะเกิดภาวะปอด วางแผนการให้วัคซีนท้ังในระยะต้ังครรภ์และ อักเสบและอาจเสียชีวิตได้ เน่ืองจากหญิงตั้งครรภ์มี ระยะหลังคลอดอยา่ งเหมาะสม การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบหัวใจและ หลอดเลอื ด ระบบทางเดินหายใจ และมคี วามต้องการ โดยทั่วไปแล้ววัตถุประสงค์ของการให้ ออกซเิ จนเพมิ่ ขนึ้ พบว่าหญงิ ตงั้ ครรภท์ เี่ ปน็ ไขห้ วดั ใหญ่ วัคซีนในหญิงตั้งครรภ์ มักจะให้เพ่ือกระตุ้นให้ มีโอกาสที่จะต้องนอนในโรงพยาบาลมากกว่าหญิงท่ีไม่ เกดิ ภมู คิ มุ้ กนั ในมารดา หากหญงิ ตงั้ ครรภม์ คี วาม ไดต้ ัง้ ครรภ์และเปน็ ไขห้ วัดใหญ่ถึง 4 เทา่

หญิงตง้ั ครรภ์ทเี่ ป็นไข้หวดั ใหญ่ แนะนำ�ใหฉ้ ดี มีโอกาสท่จี ะตอ้ งนอนในโรงพยาบาล วคั ซนี ไข้หวัดใหญ่ ได้ในทกุ ช่วงระหวา่ งการตง้ั ครรภ์ มากกว่าหญิงที่ไมไ่ ดต้ ง้ั ครรภ์ โดยนอกจากจะป้องกันไข้หวดั ใหญ่ และเป็นไขห้ วัดใหญ่ ในหญงิ ต้งั ครรภแ์ ล้ว ภูมคิ มุ้ กนั ทเ่ี กิดขึน้ ยังผา่ นจากรกมารดา ถงึ 4 เทา่ มาสูล่ กู ในครรภด์ ้วย โรคไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทยจะพบมากในช่วงฤดู ฝน และยังพบตอ่ เน่อื งในช่วงฤดูหนาวด้วย เช้ือไข้หวัดใหญม่ กั มกี ารเปลยี่ นแปลงสายพนั ธท์ุ รี่ ะบาดเกอื บทกุ ปี คนทเ่ี คยเปน็ ไข้ หวดั ใหญแ่ ลว้ กย็ งั มโี อกาสเปน็ ซ�ำ้ ได้ เนอ่ื งจากอาจปว่ ยจากเชอื้ ไข้หวัดใหญ่ที่เปลี่ยนสายพันธุ์ไปได้ และภูมิคุ้มกันท่ีเกิดข้ึนจะ อย่ไู ดไ้ มน่ าน วคั ซนี ไขห้ วดั ใหญจ่ ะมสี ว่ นประกอบของเชอ้ื ไขห้ วดั ใหญ่ 3 สายพนั ธุ์ โดยแบง่ เปน็ type A จ�ำ นวน 2 สายพนั ธุ์ คอื H1N1 และ H3N2 และยังมี type B 1 สายพนั ธุ์ วคั ซนี ไขห้ วดั ใหญม่ ี การเปลีย่ นแปลงสว่ นประกอบของสายพนั ธุ์ไวรัสทีจ่ ะบรรจุใน วคั ซนี ทกุ ปี ตามค�ำ แนะน�ำ ขององค์การอนามยั โลก ปจั จบุ นั แนะน�ำ ใหห้ ญงิ ตงั้ ครรภท์ กุ คนควรไดร้ บั วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคไข้หวดั ใหญ่ โดยตอ้ งเป็นวัคซนี ชนดิ เชอ้ื ตาย (สว่ น วัคซีนชนิดเช้ือเป็น ซ่ึงยังไม่มีในประเทศไทย ถือเป็นข้อห้าม ใช้ในหญงิ ตั้งครรภ)์ โดยแนะน�ำ ใหฉ้ ีดไดใ้ นทุกช่วงระหว่างการ ต้ังครรภ์ ซึ่งนอกจากจะป้องกันไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์ แล้ว ภูมิคุ้มกันที่เกิดข้ึนยังผ่านรกจากมารดามาสู่ลูกในครรภ์ ดว้ ย ท�ำ ใหเ้ มอ่ื คลอดออกมาลกู จะมภี มู คิ มุ้ กนั ไขห้ วดั ใหญต่ งั้ แต่ แรกเกดิ โดยไม่ตอ้ งฉดี วคั ซนี เพราะปกตแิ ล้วจะเริ่มให้วคั ซนี ไข้ หวดั ใหญ่ชนิดเชอื้ ตายไดใ้ นเด็กตง้ั แตอ่ ายุ 6 เดือนขน้ึ ไป การ ได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ในหญิงตั้งครรภ์จึงเป็นการได้ ประโยชน์ถึง 2 ต่อ หญิงต้งั ครรภ์ได้รบั ประโยชน์โดยตรง สว่ น ลกู ได้รบั ประโยชนโ์ ดยออ้ ม ภมู คิ มุ้ กนั ทเ่ี กดิ จากการฉดี วคั ซนี ไขห้ วดั ใหญจ่ ะลดต�ำ่ ลงตามธรรมชาติหลังจากผ่าน 6-12 เดือนไปแล้ว ดังนั้นควร ฉีดวัคซีนทุกปี เน่ืองจากระยะฟักตัวของโรคไข้หวัดใหญ่สั้น มาก จ�ำ เปน็ ตอ้ งมภี มู คิ มุ้ กนั สงู มากพอขณะทไ่ี ดร้ บั เชอื้ เขา้ มาใน รา่ งกาย การฉดี วคั ซนี ปลี ะครง้ั จะท�ำ ใหร้ ะดบั ภมู คิ มุ้ กนั สงู พอที่ จะป้องกันโรคได้ วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่มีความปลอดภัยสูง แต่ ผลข้างเคียงจากการได้รับวัคซีนมีน้อยมาก ส่วนใหญ่ที่เกิดมัก เป็นอาการเฉพาะทบ่ี รเิ วณต�ำ แหน่งฉีด หรอื อาจมไี ขต้ ำ�่ ๆ และ ปวดเมือ่ ยไดใ้ นชว่ ง 1-2 วันหลงั ฉดี

“เคลด็ ลบั ดูแลอาหาร ขณะตง้ั ครรภ”์ สวสั ดที ่านผูอ้ ่านทกุ ทา่ นคะ ขอตอ้ นรบั เขา้ สเู่ ทศกาลมคี รรภ์ เอะ๊ ! วันนี้มาแปลก ท�ำ ไมพดู แบบน้ี กป็ นี ้ีเปน็ ปีม้าทองยงั ไงละ่ คะ ครู่ กั ทเ่ี พงิ่ แตง่ งานใหม่ หรือทีแ่ ต่งกันมานานแลว้ ยงั ไมม่ ลี ูกกร็ อจังหวะที่จะผลติ เจ้าตัวน้อยในปดี ๆี อย่างนี้ และหลายคู่ที่ก�ำ ลงั ตัง้ ครรภ์อยกู่ ม็ แี นน่ อนคะ่ เม่อื พูดถงึ การต้งั ครรภ์ คุณแม่มอื ใหม่หลายท่านต้องเรม่ิ กงั วลกับการเปล่ียนแปลงของร่างกาย และอยากดูแล ตัวเอง ไม่วา่ จะเปน็ การออกก�ำ ลังกาย หรืออาหารทต่ี อ้ งทานระหว่างชว่ งทกี่ ำ�ลังตงั้ ครรภ์ วนั นแ้ี พรวเลยมเี คลด็ ลับวิธี ดแู ลอาหารขณะตง้ั ครรภ์มาฝากค่ะ อยา่ งทีท่ ราบกันดีอยูแ่ ลว้ ว่า อายุครรภข์ องคนเราน้นั อยทู่ ่ี 40 สัปดาห์ หรือประมาณ 9 เดอื น เราจึงแบง่ ออก เปน็ ทกุ 3 เดือน หรอื เรยี กวา่ ไตรมาส เพราะเราจะแบง่ ได้ทั้งหมด 3 ไตรมาสคะ่ คอื ชว่ งกอ่ นต้ังครรภ์ คณุ แมค่ วรมี การเตรยี มพร้อมในเรื่องของการช่งั น้ำ�หนกั ตัว วัดสว่ นสงู เพอ่ื หาคา่ ดชั นีมวลกาย วา่ เปน็ บุคคลท่ีมดี ชั นมี วลกายอยู่ใน เกณฑ์ปกตหิ รือไม่ โดยใช้วิธนี ีค้ ่ะ น�ำ้ หนกั ตวั (กิโลกรัม) ÷ สว่ นสูง (เมตร) ² 2 60 kg 1.75 m

Healthy แพรวพาชมิ Eating ส�ำ หรับค่าปกติจะอยู่ท่ี 18.5-22.9 สาเหตุทีต่ ้องหาดัชนีมวลกาย เพราะจะสมั พันธก์ ับปริมาณอาหารและ พลงั งานท่ีร่างกายควรจะได้รบั ขณะตงั้ ครรภ์น่นั เองคะ่ แพรวจงึ น�ำ ตารางดัชนีมวลกายส�ำ หรับหญงิ ตง้ั ครรภเ์ พ่ือใหง้ า่ ย ตอ่ การเปรยี บเทียบมาฝากกันค่ะ นํ้าหนักทีค่ วรเพ่ิมเมอ่ื ครรภค์ รบกําหนด ดัชนีมวลกายกอ่ นต้ังครรภ์ น�ำ้ หนกั เพิม่ เมื่อครรภค์ รบก�ำ หนด พลังงานทีค่ วรไดร้ บั (BMI) (กโิ ลกรัม) (กโิ ลแคลอร่ี/กิโลกรมั /วัน) นอ้ ยกว่า 19.8 12.5 - 18 40 19.8 - 26 11.5 - 16 30 มากกวา่ 26 - 29 7 - 11.5 25 มากกวา่ 29 7 12 - 18 ครรภ์แฝด 16 - 20 ตามตารางทน่ี ำ�มาใหเ้ ปรยี บเทยี บอาจเปน็ เพียงพลงั งานที่ควรไดร้ บั และนำ�้ หนักตัวท่คี วรเพิ่มเมื่อครรภ์ครบ กต�ำำ�่ หกวน่าด1เ,ท80ยี 0บกกบั โิ ลดแชั คนลีมอวรล่ีตก่อาวยันกอ่ นตัง้ ครรภ์ ไม่วา่ อยา่ งไรกต็ าม พลังงานท่ีควรได้รับในหญงิ ต้งั ครรภ์ โดยเฉลย่ี ไม่ควร เพราะความตอ้ งการพลงั งานของผ้หู ญิงก่อนตั้งครรภ์ โดยเฉลีย่ อยู่ที่ 1,500 กิโลแคลอรี่ตอ่ วนั เมื่อมกี ารตั้ง ครรภก์ ค็ วรเพ่มิ อกี 300 กโิ ลแคลอรีต่ อ่ วนั ท�ำ ใหก้ ารจัดอาหารใหไ้ ด้พลงั งาน 1,800 กิโลแคลอรี่ต่อวัน จะแบ่งเป็น ขา้ ว 3 ทัพพีต่อมอื้ เนือ้ สตั ว์ 4-5 ช้อนโตะ๊ ตอ่ มือ้ ผลไม้ 6-8 คำ�ตอ่ มือ้ และควรเสริมนมพร่องมันเนย หรอื ขาดมันเนย 2 กล่องต่อวัน หากคณุ แมท่ า่ นใดทีแ่ พน้ มหรือไม่ชอบการดื่มนม อาจจะเพม่ิ เป็น Milk เน้อื สัตวอ์ กี 1 ช้อนโตะ๊ ต่อม้อื กไ็ ด้ แตก่ ารจะเพิม่ พลังงานนั้น ควรจะเพ่ิม หลังไตรมาสแรกหรือหลงั 3 เดอื น เพราะชว่ งไตรมาสแรก ตวั คุณแม่เอง แทบมองไม่เหน็ การเปล่ยี นแปลง และพฒั นาการทางรา่ งกาย หรือการเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์ยังเป็นไปอย่างช้าๆ หรือพูดง่ายๆ วา่ ยังไมม่ ี องค์ประกอบของร่างกายทช่ี ัดเจน แต่หลงั จากไตรมาสท่ี 3 ไปแล้ว พัฒนาการจะชัดเจนข้ึนเป็นช่วงเวลาท่ีการเจริญเติบโตของทารกใกล้ จจะะมสมากบขูรน้ึณต์ าจมึงไเปทดยี ว้บยไดย้วกา่ เเวมน้ื่อคเรณุ าตแัวมใ่ทห่มี ญนี ข่ ้�ำ ึ้นหนคักวตาัวมตต่ำ�้อกงวก่าาเรกพณลฑัง์งคานวรก็ จะทานอาหาร หรอื เตรียมความพรอ้ มของรา่ งกายให้เพียงพอต้งั แต่ ก่อนตงั้ ครรภ์

นอกจากอาหารหลกั 5 หม่แู ล้ว ยังมีสารอาหารต่างๆ อาทิ FOLIC - FoLate acid กรดโฟลิก โฟเลท ซง่ึ พบมากในผกั ใบเขียว ธัญพชื ถัว่ เครอื่ งใน มสี ่วนช่วยในการพฒั นา ระบบประสาทและสมอง vitamin C vitamin B12 vitamin D วติ ามินซี พบมากในผัก วิตามินบี 12 พบมากในเน้ือสัตว์ วติ ามินดี พบมากในนม ผลไมส้ ด โดยเฉพาะผกั ผลไมร้ สเปรย้ี ว นม ธญั พืชไมข่ ดั สี มีส่วนช่วยในการพัฒนา ผลติ ภณั ฑจ์ ากนม และปลาตัวเลก็ มสี ่วนช่วยในการสรา้ งภมู ติ ้านทาน ระบบประสาทในทารก ตวั น้อย มสี ่วนช่วยในการดูดซึม และชว่ ยในการดูดซมึ แคลเซียม ธาตุเหลก็ เร่อื งของผลติ ภัณฑ์ หรืออาหารเสริมในรูปแบบสกัด อยากให้คณุ แมร่ ะมดั ระวงั ในการรบั ประทานใหม้ าก ทางทด่ี คี วร ปรึกษาแพทย์กอ่ นทานจะดีกว่า เพราะทีแ่ พรวแนะน�ำ หากสังเกตดดี ี จะพบวา่ หากเราทานอาหารครบทง้ั 5 หมู่ใหห้ ลากหลาย แลว้ เราจะไดร้ บั สารอาหารต่างๆ เรยี กได้ว่าแทบจะครบถ้วนเลยคะ่ แหม่! อะไรจะดี 3 เด้งขนาดน้ไี ดร้ บั พลงั งานทเี่ พยี งพอ ไดร้ ับสารอาหารครบถว้ น แถมยังไมต่ อ้ งเสียเงินซื้ออาหารเสริมอกี คมุ้ กว่านไี้ ม่มีอกี แลว้ เจ้าคะ่ เรอ่ื งอาหารทคี่ วรทานและพลังงานทค่ี วรได้รบั เรากพ็ ูดกนั ไปแล้ว ลองมาดอู าหารทีค่ วรหลกี เล่ียงกันบ้างดีกว่า!! ส�ำ หรบั อาหารที่ควรหลีกเล่ยี งในคุณแมต่ ้งั ครรภ์ อย่างแรกท่ีรู้กนั ดีกค็ ือ แอลกอฮอล์ อยา่ เอาอยา่ งลำ�ยองนะคะมันไม่ดี ต่อ มาก็เปน็ พวกชา กาแฟ และของหมกั ดองต่างๆ แตถ่ ้าคุณแมท่ ่านใดแพ้ท้องเปร้ยี วปากอยากจะทานแล้วละ่ ก็ แนะน�ำ เปน็ ผลไม้สดรสเปร้ียวดีกวา่ เพราะนอกจากจะไดเ้ ปรย้ี วสมใจแล้ว ยงั ได้วิตามินซีสูงอีกตา่ งหาก ส�ำ หรบั วันน้ี Healthy Eating ขอลาไปกอ่ น ขอให้วา่ ทค่ี ณุ พอ่ คุณแมท่ ั้งป้ายแดง ป้ายดำ� แฮปป้ี มีสขุ ภาพดี และรอ ดูหน้าเจา้ ตัวเล็กทีอ่ อกมาท้งั สมบรู ณ์ แข็งแรง ต้อนรับปมี า้ ทองนน้ี ะคะ แลว้ พบกนั ใหม่ฉบบั หนา้ แต่จะเป็นเรื่องอะไรนนั้ ต้อง ตดิ ตามชมกนั คะ่ แหล่งอ้างองิ : http://www.tinyzone.tv/HealthDetail.aspx?ctpostid=1129 คุณอัจฉรยี ์ สวุ รรณชื่น และคณุ มณทชิ า พันธไ์ุ พร (นกั วิชาการโภชนาการ)

Believe It จริงหรอื ไม่ ใช่หรือเปลา่ ? ผศ.นพ.ธวัช เจตนส์ วา่ งศรี or Not ? ภาควิชาสตู ิศาสตร์ – นรเี วชวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล น้ำ�มะพร้าวกับหญิงตั้งครรภ์ น�ำ้ มะพรา้ วเปน็ น�ำ้ ผลไมท้ ม่ี ปี ระโยชนม์ าก อดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตหุ ลายชนดิ เชน่ เกลอื แร่ โพแทสเซยี ม เหลก็ โซเดยี ม แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม ฟอสฟอรสั ทองแดง กรดอะมโิ น กรดอนิ ทรยี ์ และวติ ามนิ บี > นำ้�มะพร้าวมีส่วน > น้ำ�มะพร้าวเป็นเครื่องดื่มที่ > มฤี ทธิเ์ ปน็ ยาระบายออ่ นๆ ประกอบสำ�คัญในการ ให้พลังงาน ช่วยบรรเทาอาการ ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ สร้างคอลลาเจน ใน อ่อนเพลีย ให้ความรู้สึกสดชื่น มักมีอาการท้องผูกก็จะให้ รา่ งกาย จงึ ดตี อ่ สขุ ภาพผิว แก่หญิงตั้งครรภ์ ประโยชน์ได้ นำ้�มะพร้าวเป็นเคร่ืองดื่มท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการ อีกท้ังรสชาติอร่อย ช่วยดับกระหายให้แม่ท้อง ส ด ชื่ น ส่วนที่มีคำ�กล่าวว่าด่ืมน้ำ�มะพร้าวแล้วผิวทารกในครรภ์จะสวยนั้นไม่มีการยืนยันทางการ แพทยแ์ ละการวิจยั เป็นความเชอื่ ทส่ี บื ต่อกนั มา ม ีผลตอ่ ภขา้อวคะเวบรารหะววังาเนนใอื่นงรจะาหกวน่าำ้�งมตะัง้ คพรรร้าภวม์ คีกวาารมดหืม่ นวาำ้�นมะพจรึง้าอวาจ มากเกนิ ไปอาจไม่ไดม้ ผี ลดี จงึ ควรดม่ื ในปรมิ าณเหมาะสมรว่ ม กบั รบั ประทานอาหารทส่ี ะอาด ครบทุกหมู่ ซ่งึ เป็นแนวทางทเ่ี หมาะสม

Varieties พัชระกรพจน์ ศรปี ระสาร หน่วยบรกิ ารพยาบาลผปู้ ่วยที่บ้าน งานการพยาบาลปอ้ งกันโรค Corner และส่งเสริมสขุ ภาพ ฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล เยือนถ่นิ ซากรุ ะ “ญี่ปนุ่ ” ประเทศในฝันของใครหลาย คนที่คร้ังหน่ึงในชีวิตอยากมีโอกาส ได้ไปสัมผัส ไมใ่ ชเ่ พียงแค่ธรรมชาติ ท่ีสวยงามเท่าน้ัน ญ่ีปุ่นยังคง กล่ินอายของการผสมผสานศิลป วัฒนธรรมท้ังเก่าและใหม่ได้อย่าง ลงตวั เทคโนโลยีที่ทันสมัยของโลก >> ยิ้มแย้ม กบั ภาพบรรยากาศการเข้าคา่ ยและพธิ ีมอบเกยี รติบตั รหลังเสรจ็ ส้นิ การอบรม หลายอย่างถกู คน้ พบและพฒั นาที่น่ี และทนุ สนบั สนนุ จากรฐั บาลญป่ี นุ่ ท�ำ ให้ ชแี้ จงการใชบ้ ตั รประกนั สุขภาพ และค่า ใ น ว ง ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ก็ เ ช่ น พวกเราไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการเพอ่ื เกบ็ เกย่ี ว ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ ทีจ่ ะไดร้ ับจากโครงการ ใช้ เดียวกัน ประเทศญี่ปุ่นยังคงความเป็น ประสบการณ์ด้านสาธารณสุขชุมชน เวลาในเตรยี มความพรอ้ มด้านตา่ งๆ ท้ัง ผู้นำ�ด้านความทันสมัยของเคร่ืองมือ ท่ีประเทศญ่ีปุ่น และจะได้นำ�เอาองค์ ภาษา วฒั นธรรม การเมืองการปกครอง เทคโนโลยีทางการรักษาและการแพทย์ ความรู้กลับมาพัฒนาประเทศไทยต่อไป รวมระยะเวลา 3 วันก่อนจะเดินทางสู่ ทีล่ �ำ้ หนา้ ของภมู ิภาคเอเชียดว้ ย นับเป็นการอบรมดูงานที่ต่ืนเต้นมาก จงั หวดั โทคชุ มิ า่ เมอื่ การฝกึ อบรมเตรยี ม ทีเดียว เน่ืองจากเป็นการเดินทางไป ความพร้อมเสร็จส้ินลง พวกเราก็รู้ทัน พ ว ก เร า ผู้ นำ � เ ย า ว ช น จ า ก ประเทศญ่ปี ุ่นเป็นคร้งั แรก ทีว่า..การอบรมที่เข้มข้นใกล้จะเริ่มต้น ประเทศไทย 15 ชีวิตได้มีโอกาสเข้า ขน้ึ แล้ว!!.. ร่วมในโครงการฝึกอบรมผู้นำ�เยาวชน เมอ่ื เดนิ ทางถงึ ประเทศญป่ี นุ่ พวก (Training Programme For Young เราได้รับการต้อนรับอันอบอุ่นต้ังแต่ >> เงยี บสงบ กบั ภาพการศึกษาดูงานที่ Leaders) สาขาบริหารและจัดการ ที่สนามบิน มีเจ้าหน้าท่ีจากสำ�นักงาน สาธารณสุขชุมชน (Community- JICA KANSAI มาช้แี จงขนั้ ตอนต่างๆ ใน Based Health Operation and เบื้องต้น กอ่ นการเดนิ ทางเขา้ ทีพ่ กั เม่อื Management Course) โดยความ เดินทางถึงสำ�นักงาน มีเจ้าหน้าที่คอย ร่วมมือระหว่างรัฐบาลญี่ปุ่นและรัฐบาล อำ�นวยความสะดวกให้เป็นอย่างดี หลัง ไทย ซึ่งรัฐบาลญ่ีปุ่นภายใต้องค์กร จากนน้ั พวกเราจงึ ไดร้ บั ทราบโปรแกรม Japan International Cooperation การเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการ Agency (JICA) และประเทศไทยภาย ฝึกอบรม เจ้าหน้าท่ีอธิบายการเข้าห้อง ใต้สำ�นักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและ พัก ตารางฝึกอบรมเตรียมความพร้อม พิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ ระหว่างวัน ที่ 17 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน 2556 ด้วยความร่วมมือของท้ัง 2 ประเทศ

โทคุชิม่าเป็นจังหวัดท่ีอยู่ทาง >> ต่นื เต้นเรา้ ใจกบั การแลกเปล่ียนวฒั นธรรมด้วยการชมแสดงร�ำ AWAODORI ฝ่ังตะวันออกของเกาะชิโกะกุ ซึ่งเป็น เกาะหน่ึงในส่ีเกาะใหญ่ของประเทศ นอกจากนี้ พวกเรายงั มีโอกาสได้ อันดขี องทางจังหวดั ด้วย เช่น การศึกษา ญี่ปนุ่ เกาะชโิ กะกุตง้ั อย่ทู างตอนใตข้ อง เขา้ คารวะผนู้ �ำ ของจงั หวดั ซง่ึ ทางจงั หวดั วัฒนธรรมผ่านการดู “รำ�อะวาโอโดริ” ประเทศ การเดินทางมาท่ีนี่แม้จะเจอ ได้ให้ความสำ�คัญกับพวกเราเป็นอย่าง ซงึ่ เปน็ ประเพณที จ่ี ดั ขนึ้ เพอื่ ตอ้ นรบั และ กับพายุไต้ฝุ่นใน 2-3 วันแรก ก็ไม่ได้ มาก มกี ารประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสอ่ื รปู แบบ ส่งบรรพบุรุษท่ีเสียชีวิตไปแล้ว การฝึก เป็นอุปสรรคสำ�หรับการต้ังใจท่ีจะเรียน ตา่ งๆ ทง้ั โทรทศั น์ วทิ ยุ และหนงั สอื พมิ พ์ ย้อมผ้าด้วยคราม การดูงานในสถาน รู้และเก็บเกี่ยวเอาประสบการณ์อันมี ทำ�ให้พวกเราเป็นที่รู้จักของทางจังหวัด พยาบาลต่างๆ ท้ังในตัวเมืองและใน ค่าในต่างแดนเลย แววตาของทุกคนยัง ในครั้งน้ี พวกเราทุกคนได้รับการแต่ง ชนบทหา่ งไกล คงแจ่มใส ไม่ได้รสู้ ึกเหน็ดเหน่อื ยกับการ ตั้งจากผู้ว่าราชการจังหวัดให้เป็นยุว เดินทางแม้แตน่ ้อย ทูตความสัมพันธ์ระหว่างโทคุชิม่าและ ที่คามิคัสซึโจว โฮแคร์ เซ็นเตอร์ ประเทศไทยด้วย เ ป็ น ส ถ า น พ ย า บ า ล ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร กั บ ในช่วงการดูงานวันแรกๆ พวก ประชาชนในพ้ืนที่ห่างไกล ในบริเวณ เราจะได้รับการปูพ้ืนความรู้โดยการ การแบ่งการปกครองในประเทศ ใกล้ๆ มีศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ ซ่ึงพวก ฟงั บรรยายในบรเิ วณศาลาวา่ การประจ�ำ ญ่ีปุ่นมีความแตกต่างจากประเทศไทย เราได้เข้าไปศึกษาดูงานด้วย ที่โรง จังหวัด มีการถามตอบและแลกเปล่ียน จึงทำ�ให้บริบทของการบริหารงานด้าน พยาบาลประจำ�จังหวัดโทคุชิม่าน้ันเป็น ความคดิ เห็นเป็นระยะ ทำ�ใหพ้ วกเราได้ สาธารณสุขมีความแตกต่างกันออกไป โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย มีการ เข้าใจระบบการบริหารงานด้านสุขภาพ ด้วย การแบ่งการปกครองที่เป็นภาค ใช้เทคโนโลยีการศึกษาที่ทันสมัยทำ�ให้ นโยบายสุขภาพ รวมถึงการให้บริการ ส่วนชัดเจนและเป็นอิสระต่อกัน ทำ�ให้ การศึกษาด้านการแพทย์เป็นเรื่องท่ีน่า สุขภาพของประเทศญี่ปุ่นและจังหวัด ประเทศญี่ปุ่นมีความคล่องตัวสูงในการ สนใจมากทเี ดยี ว โทคุชิม่ามากย่ิงขึ้น ในขณะที่หัวข้อการ ดำ�เนินงาน แต่ละจังหวัดสามารถออก บรรยายที่เข้มข้น ก็มีหัวข้อทางด้าน นโยบายด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง โดย >> ตัง้ ใจ กับการยอ้ มผ้าอะโอโซเมะ หรอื วัฒนธรรมและการท่องเท่ียวสอดแทรก องิ นโยบายจากกระทรวงสาธารณสขุ ซง่ึ การยอ้ มผ้าดว้ ยคราม เข้ามาด้วย นับเป็นการจัดโปรแกรมท่ี เป็นหน่วยงานกลางของรัฐ การดำ�เนิน ลงตัวทีเดียว ตอ้ งขอกล่าวคำ�ว่า งานด้วยวิธีดังกล่าวทำ�ให้การบริหาร ภายในท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพ ได้รับ “อะรกิ ะโตะ โกะไซอิมสั ” การแก้ปัญหาที่รวดเร็ว ตรงตามความ ทางทมี ผู้จดั และโคง้ งามๆ ตอ้ งการของประชาชนในแตล่ ะพน้ื ทม่ี าก เพ่ือแสดงความขอบคุณ ทส่ี ดุ ในขณะทป่ี ระชาชนกส็ ามารถเขา้ ถงึ บริการสุขภาพได้อย่างทั่วถึงและเสมอ สกั 3 รอบ ภาคกนั (ทกุ คนมคี วามเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ในการบรกิ าร นเ่ี ปน็ ปรชั ญาของ เดบะคลนิ กิ และบรรยากาศบนเกาะ จังหวดั นีเ้ ลยนะ) เม่ือได้รับการปูพื้นความรู้เก่ียว >ท>่ี TตO่ืนKตUาSHกับIMเทAคUโนNโลIVยEีกRาSรIสTอYนทท่ี ันสมัย กับระบบบริหารจัดการสาธารณสุข เบอื้ งตน้ แล้ว พวกเราก็ได้มีโอกาสไปฝึก อบรมดูงานในสถานท่ีต่างๆ ทั้งท่ีเกี่ยว กับสาธารณสุขชุมชนและวัฒนธรรม

>> พร้อมเพรยี ง หลังเสรจ็ ส้ินการบรรยายในหัวขอ้ Community Health in JAPAN เราทง้ั 15 ชวี ติ ตลอดระยะเวลาทเี่ ขา้ รว่ ม โครงการ พวกเราได้รับการต้อนรับและ นอกจากนี้ ยังได้เดินทางไป น่ันเอง ที่ซากุระคลินิกเราได้เห็นภาพ ดูแลอย่างอบอุ่นจากทางคณะจนกลาย ท่ี โ ร ง เ รี ย น อ า ชี ว ะ ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ ของการดูแลผู้ป่วยท่ีหลากหลาย ผู้สูง เปน็ ความสมั พันธอ์ นั ดี สวัสดิการโทคุชิม่า ซ่ึงเป็นสถาบันการ อายุท่ีเจ็บป่วยท่ีต้องนอนรักษาตัวในโรง แห่งคว“านม�ำ้อตาาลทัยไ่ี หหลารกนิ แในตว่เปนั ็นนไนี้ ม้ำ�ใ่ ตชาน่ แ�้ำ หตา่ง ศึกษาที่จัดหลักสูตรการสอนทางด้าน พยาบาล การดแู ลผสู้ ูงอายุทีไ่ มเ่ จบ็ ป่วย ความรัก และความผูกพันที่เกิดข้ึน กายภาพบำ�บัดและกิจกรรมบำ�บัด มี โดยการอยู่ประจำ� และแบบมาเช้าเย็น ระหว่างเรา” (ยามาดะ เคน) ประธาน กิจกรรมการสอนท่ีหลากหลาย ท้ังสอง กลับด้วย ท่ีคลินิกได้มีการนำ�พลังงาน TซIาYบEซAึ้งกทลำ�า่ เวอในาพพวธิ กปี เดิรากทารุกอคบนรกมลไ้ันดน้อำ้�ยต่าาง หลกั สตู รมงุ่ เนน้ ผลติ บคุ ลากรทม่ี คี ณุ ภาพ สะอาดมาใช้ ทั้งจากแสงอาทิตย์ จาก เอาไว้ไม่อยู่เลยทีเดียว พวกเราได้กลาย ใหก้ บั ประเทศ การศกึ ษาดงู านทางรถไฟ เไปฟลฟอื ้ากไผมล้ จิตานกำ้�ขรเ้ี ล้ออื่ นยแทลนี่ะ�ำผมลาิตผคลวติ ากมรระ้อแนส เป็นเพ่ือน เป็นพี่น้องที่ยังคงติดต่อกัน ท่ีโรงพยาบาลไคฟุ โรงพยาบาลขนาด ในตัวอาคาร นอกจากนี้พวกเรายงั ได้รบั จนถึงทุกวนั นี้ แมช้ ว่ งเวลาที่เข้าร่วมการ 110 เตียง ภายใต้สังกัดของจังหวัด ประทานผักปลอดสารพิษที่ทางคลินิก ฝึกอบรมจะเป็นช่วงเวลาที่แสนส้ัน แต่ โทคชุ มิ ่า เปน็ สถานพยาบาลที่รองรบั ทั้ง ปลูกเองด้วยละ่ พวกเราทั้งสองประเทศต่างก็ได้มุมมอง การบริการและการศกึ ษา และองค์ความรู้มาแลกเปล่ียนกัน และ พวกเรามีโอกาสได้ศึกษารูปแบบ นำ�ความรู้กลับมาพัฒนาประเทศไทย ในวันเดียวกันยังได้เดินทางโดย การใช้สัตว์บำ�บัด Horse therapy ของเรา การเดินทางครั้งน้ีนับเป็น เรือเพื่อไปดู ”เดะบะคลินิก” ซ่ึงเป็น ในการฝึกการทรงตัว ฝึกการใช้กล้าม ประสบการณช์ วี ิตท่แี สนประทับใจ และ สถานพยาบาลขนาดเล็กภายใต้การ เนื้อ ฝึกพัฒนาการด้านความคิดและ ตราตรึงในใจของพวกเราทุกคน ขอ สังกัดของโรงพยาบาลไคฟุ แม้จะเป็น จิตใจด้วย เนื่องจากม้าเป็นสัตว์ที่ไวต่อ ขอบคณุ ทกุ ภาคสว่ นทม่ี องเหน็ ศกั ยภาพ พื้นท่ีห่างไกลมีประชากรในพื้นที่เพียง สัมผัสและความรู้สึก ซ่ึงก็สร้างความ ในตัวของพวกเรา เปิดโอกาสใหพ้ วกเรา 70 คน แตท่ างจงั หวดั กใ็ หค้ วามส�ำ คญั กบั เพลิดเพลินให้กับพวกเรา และเป็นภาพ ได้เดนิ ทางไกลในคร้งั น้ี ประชาชนทุกคน มีการจัดบริการตรวจ ความทรงจำ�ท่ีประทับใจมากที่สุดอีก รักษาโดยมีแพทย์ไปประจำ�สัปดาห์ละ โปรแกรมหน่งึ เ ม่ื อ ม อ ง ย้ อ น ก ลั บ ม า ที่ 3 วัน ประเทศไทยของเราแลว้ กอ็ ดคดิ ไมไ่ ดว้ า่ พวกเราฝึกอบรมดูงานโดยมี ท่ีศูนย์อนามัยของจังหวัดซ่ึงเป็น ล่ามท่ีเป็นคนไทย 1 คน คนญี่ปุ่น 1 “เมือ่ ไหรป่ ระเทศของ สถานท่ีให้ความรู้ โดยเฉพาะอนามัยแม่ คน และทีมงานจากสมาคมแลกเปล่ียน เราจะกา้ วขา้ มปญั หา และเด็ก การฉีดวัคซีนต่างๆ และยังมี ความสัมพันธ์เยาวชนนานาชาติจังหวัด อุปสรรคตา่ งๆ ไปได้ โครงการรณรงค์การด้วยการเดิน การ โทคุชิม่า Tokushima International เม่อื ไหร่เราจะเป็นประเทศ รับประทานผักที่หลากสีสันมีปริมาณ Youth Exchange Association (TI- ทีพ่ ฒั นา มีเทคโนโลยี ยรวังมมมีสารกะกวว่า่ายน3้ำ�5แ0ลกะรฟมั ิตทเกุนวสนั เพใน่ือออนำ�นามวยัย YEA) ซึ่งเป็นผู้ประสานงานและจัด การแพทย์ทีท่ ันสมัย ความสะดวกให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี โปรแกรมในการดูงานคร้ังนี้ทั้งหมดที่ได้ มรี ะบบบรกิ ารสาธารณสขุ กลา่ วมา สมาชิก TIYEA คอยดแู ลพวก ทีม่ คี ุณภาพและ ประสิทธภิ าพมากกวา่ ที่ เปน็ อยู่ เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนที่เจบ็ ป่วย” คำ�ถามซ่ึงกลายเป็นสิ่งที่ท้าทาย พวกเราด้วยกันเองอย่างมาก และ แนน่ อนค�ำ ตอบจะตอ้ งถกู เฉลยในสกั วนั !!



I-Style ไมใ่ หต้ อบสาธิตอณุ หกะ แพ้ ทันทีทส่ี ้นิ เสียงโทรศัพทท์ ีด่ งั ขึน้ ... เสียงปลายสายทด่ี งั กรอกหูแบบจิตตกปนเศร้า ท�ำ เอาผมร่วมตกใจไปด้วยอีกคน “เฮยี !!!!! สรปุ เจา้ เต มันเปน็ โรค จี - 6 - พดี อี ะ่ เครยี ดเลยท�ำ ไงดี ???” ครบั เจา้ “เต” ด.ช.เตชพฒั น์ คอื หลานคนแรกของสายเลือดฝั่งแมข่ องผม หลานคนแรกทที่ �ำ ให้พนี่ อ้ งทุกคนร่วมตนื่ เตน้ และ “รอคอย” การมีสภาพบคุ คล ตามมาตราที่ 15 ในตวั บทกฎหมายของเด็กคนน้ี แต่ “ข่าวรา้ ย” ซ่ึงเปน็ ประโยคบอกเล่าของน้องสาว และผสมมาด้วย “ค�ำ ถาม” ท่ตี อ้ งการ “ค�ำ ตอบ” สำ�หรบั นำ�มาจัดการชีวติ ในฐานะ “แม”่ โดยเฉพาะ “แมม่ ือใหม”่ ทีค่ อยประคบประหงมลกู นอ้ ยในครรภ์ มานานกว่า 40 สปั ดาห์

ทำ�ใหผ้ มเครยี ดกบั การจดั การ “คำ�ตอบ” ของเรอื่ งน้ี โดยไมร่ ้วู ่าจะตอบยงั ไงให้น้องสาวสบายใจ หรอื จะตอ้ งปลอบยงั ไง ใหเ้ ขามกี �ำ ลังใจเพมิ่ ขนึ้ เพือ่ ใช้เป็น “พลังทางใจ” ในการดูแลลกู นอ้ ยให้เติบใหญแ่ ขง็ แรงสมวยั ที่สำ�คัญผมกไ็ ม่รู้วา่ โรค จี - 6 – พีดี เป็นอยา่ งไร และเราจะต้อง “ดแู ลรกั ษา” ผ้ปู ว่ ยกลุ่มนอี้ ยา่ งไร แตส่ไปง่ิ หพนรง่ึอ้ ทมผ่ี กมบั รู้แคพอื ทยใใ์นชหล้ อ้ กู งยคาลงอสดีแทดนั งทดทีูดพ่ีนย�้ำ าคบราำ�่ ลในขาชนอ่ บงปอกากเวลา ช่องจมูกใหท้ ารกหายใจเองได้ และเม่ือแพทยใ์ ช้แคลมป์ 2 ตวั หนบี สายสะดอื ไว้ พรอ้ มบรรจงตัดแยก “สายสะดือ” ซึง่ เปน็ ด่ัง “สายชวี ติ ” ของทารกนอ้ ยทีไ่ วเ้ ช่อื มตอ่ กับครรภ์มารดา ด้วยคมกรรไกร ชว่ งเวลาน้นั เอง คือ ชว่ งเวลาสำ�คญั ที่เปลย่ี น “สายสะดอื ” ใหก้ ลายเปน็ “สายสัมพันธ”์ ระหว่าง “แม่” และ “ลูก” สายสมั พนั ธ์ของ “ใจ” ทไ่ี ม่มี “กรรไกร” คมไหนตดั “แยก” ขาดจากกันได้อกี เลย ฉะนัน้ คำ�ตอบท่ีผมจะตอ้ งใช้ตอบ !!!. ต้องไมส่ ่งผลกระทบกระเทอื นตอ่ สายสมั พนั ธ์ทางใจของนอ้ งสาว พอผมคดิ ไดแ้ บบนนั้ ผมจึงรบี รอ้ งขอความช่วยเหลอื จาก “อาจารยส์ ้ม” “อาจารยแ์ พทยห์ ญงิ โสมรชั ช์ วไิ ลยคุ ” บรรณาธกิ ารนติ ยสาร @ Rama และได้รับค�ำ แนะนำ�ใหเ้ ข้าใจใน “บรบิ ทของโรค” นไ้ี ดเ้ พมิ่ มากข้ึน “...โรคนถี้ อื วา่ ไม่น่ากลัวเลย คนป่วยมีชีวติ เหมอื นคนปกตเิ ลยคะ่ เพียงแต่วา่ ตอ้ งระวงั และหลีกเลย่ี งอาหาร และยาทสี่ ง่ ผลต่ออาการแพ้ เพราะถา้ รับสิ่งทรี่ า่ งกายแพ้เข้าไป จะท�ำ ให้เม็ด เลือดแดงแตก และซดี ปสั สาวะมีสเี ข้ม แต่โรคนจี้ ะสำ�คญั อยใู่ นช่วงวัยเดก็ วยั ทคี่ นป่วยจะดูแลตวั เองไมไ่ ด้ ยังไมส่ ามารถ ไตร่ตรองถกู ผดิ ในการกนิ อาหารกลุ่มเสย่ี งได้ แตพ่ อโตขน้ึ กจ็ ะจัดการตัวเองได.้ ..” ครบั !!! จรงิ อยู่แมโ้ รคนี้จะดเู หมือนเป็นโรคท่ี “ไม่รา้ ยแรง” นกั แตห่ ลกั ใหญ่ใจความที่ผมคิด วา่ เปน็ “ความยาก” ในการ “จดั การ” กับผู้ป่วยกล่มุ น้ี คอื การดูแลผปู้ ่วยใน “วยั เดก็ ” วัย 2 – 5 ขวบ วยั ทกี่ �ำ ลงั สนุกกบั การเรียนรู้สิง่ ใหมๆ่ ด้วยตัวเอง วยั ท่มี ัก “คบั ขอ้ งใจ” กับ “ข้อห้าม” และเต็มไปด้วย “อารยะขดั ขนื ” อยู่รำ่�ไป รวมถงึ เป็นวยั ที่ต้องเรมิ่ ต้น “เดนิ จาก” อกพอ่ แมส่ ู่โลกกว้างในวยั เรียน ซึ่งเตม็ ไปด้วย “สิง่ เรา้ ” ทท่ี ำ�ให้เกิดอาการของโรคไดม้ ากมาย

การใส่ใจในรายละเอียด และเตรยี ม “ค�ำ ตอบ” ใหก้ บั เดก็ วัยนีจ้ ึงสำ�คญั แลว้ การเตรยี ม “ค�ำ ตอบ” เราควรท�ำ อย่างไรละ่ !?! ค�ำ ตอบแบบไหนท่ีจะทำ�ให้ “เดก็ เขา้ ใจ” และไม่ย่งุ เก่ียวกับส่งิ ทท่ี ำ�ใหเ้ กิดอาการแพ้ ??? ผมรบี ตงั้ คำ�ถามใหก้ บั ตัวเอง !!!!! อย่างน้อยกจ็ ะได้มี “หลกั คดิ ” ในการใช้ตอบค�ำ ถามให้กบั น้องสาวของผมด้วยเช่นกัน แตอ่ ยู่ๆ ผมก็คิดถงึ เร่อื งเล่าข�ำ ๆ เร่ืองน้ขี ้ึนมา ประมาณว่า... เยน็ วันหนึ่ง พอ่ กบั แมค่ หู่ นงึ่ ขบั รถไปรับลกู สาววยั 5 ขวบ กลับจากโรงเรียนเชน่ ทุกวัน ระหวา่ งทางกลับบา้ น ลูกสาวนง่ั น่งิ ....เงยี บ...สีหน้าดูเคร่งเครียด ไม่ถามนนู่ ถามน้อี ยา่ งเช่นทุกวนั ถึงบ้าน ระหว่างทานอาหารเยน็ แม่จึงเอ่ยถามลูกน้อยว่า “วันนมี้ อี ะไรไม่สบายใจหรอื เปล่าลูก ท่ีโรงเรยี นมเี ร่ืองอะไรหรอื เปล่า” “มคี ะ่ ” ลกู น้อยตอบ พร้อมกับพูดต่อวา่ “เพ่อื นถามว่าหนูมาจากไหน” เมอ่ื พอ่ กับแม่ได้ฟงั กลบั ย่งิ เครยี ดหนักกว่าลกู อีก และได้สัญญากบั ลกู น้อยว่า ระหว่างอาหารเยน็ วนั พร่งุ นี้ จะใหค้ �ำ ตอบ คืนนนั้ ท้งั คนื หลังจากลกู หลับแล้ว พอ่ กบั แม่ได้ปรึกษากนั ถึงคำ�ตอบ วา่ ควรจะอธิบายให้ลกู วยั 5 ขวบ ฟังอยา่ งไรจงึ จะเขา้ ใจว่า...เขามาจากไหน วนั ตอ่ มา ในระหวา่ งอาหารเย็นตามปกติ แมจ่ ึงชใ้ี ห้ลูกมองไปทน่ี อกบา้ น และพูดกบั ลูกว่า “ลูกเห็นนกคู่นนั้ มยั้ ? นกมันรกั กัน เห็นผเี สือ้ คู่น้ันมัย้ ? นน่ั มนั ก็รกั กัน ก็เหมือนพอ่ กับแมน่ ่แี หละ พ่อกับแมก่ ร็ ักกัน แตง่ งานกัน (อื่นๆ อีกมากมายไมอ่ าจบรรยายหมด) และหนูกเ็ กดิ จากความรักระหวา่ งพ่อกับแมไ่ งจ๊ะ” เม่อื ลูกไดฟ้ ังคำ�ตอบ จึงพดู กับแมว่ า่ “โห !!! ทำ�ไมยุง่ ยากจงั ล่ะคะ” แม่จงึ เอย่ ข้ึนวา่ “แล้วเพอื่ นหนเู ขาบอกหนูว่า เขามาจากไหนกันบ้างละ่ ” ลูกสาวจึงตอบแมว่ า่ ... “เพ่ือนหนเู ขาบอกวา่ ...เขามาจากนครนายก” สำ�หรบั เด็กแค่เรื่องงา่ ยๆ กพ็ อ ครบั !!! จากเรอ่ื งเลา่ นี้ ผมเลยป๊งิ แวบ๊ ข้ึนมาทนั ทีวา่ “ค�ำ ตอบ” ทด่ี ีส�ำ หรับเดก็ ควรเปน็ คำ�ตอบที่เราไม่ต้องคิดเยอะ และควรเปน็ “ค�ำ ตอบงา่ ย ๆ” ท่ีฟงั แลว้ เขา้ ใจเลย แตห่ ากจ�ำ เป็นจะต้องตอบคำ�ถามให้กับ “ผู้ใหญ่” โดยเฉพาะคำ�ตอบเพื่อใช้แก้ไข “ปัญหาชวี ติ ” คำ�ตอบที่ดแี ละถูกต้องท่สี ดุ จงึ ควรเป็นคำ�ตอบทีต่ รงกับ “ความตอ้ งการ” เปน็ สำ�คญั พอคดิ ไดแ้ บบน้ัน คำ�ตอบท่ีเหมาะกบั นอ้ งสาวท่ีสดุ และผมควร รีบโทรตอบกลับไปบอกคอื ...“เฮยี ว่า!!!..เอง็ ไปปรกึ ษาหมอเถอะ”

G6PจDี-6-พดี ี จ-ี 6-พีดี (G6PD) เป็นช่ือย่อของเอนไซม์กลโู คส-6-ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส ซง่ึ เปน็ เอนไซม์ทีม่ อี ยู่ในเมด็ เลอื ดแดง มีประโยชนใ์ นการป้องกนั การถูกทำ�ลาย ของเม็ดเลือดแดงจากยา อาหาร หรอื สารเคมบี างชนิด ภาวะพรอ่ งเอ็นไซม์ G6PD ภาวะพรอ่ งเอ็นไซม์ G6PD ในเมด็ เลือดแดงนั้นเป็นภาวะทถ่ี ่ายทอดทางพันธกุ รรม เกิดจาก ความผดิ ปกตขิ องยีน G6PD ท่อี ยูบ่ นโครโมโซมเพศ ดังนัน้ ภาวะนจ้ี ะตดิ ตัวไปตลอดชวี ติ และอาจ ถ่ายทอดไปยงั ลูกหลานได้ ยา อาหาร หรอื สารเคมบี างอยา่ งอาจกระต้นุ ใหผ้ มู้ ภี าวะน้ีเกดิ อาการเม็ด เลือดแดงแตก ซีดลงและมอี าการดซี ่าน ตัวเหลืองตาเหลอื ง และปสั สาวะเปน็ สีดำ�หรือสโี ค้กได้ ดงั น้นั ผมู้ ีภาวะนคี้ วรทราบรายชอื่ ยา อาหาร และสารเคมที ่ีควรหลกี เลีย่ ง ทง้ั นภี้ าวะพรอ่ งเอน็ ไซม์ G6PD ใน แต่ละบคุ คลนัน้ อาการแสดงของภาวะเม็ดเลือดแดงแตก อาจรุนแรงมากนอ้ ยแตกต่างกัน ขนึ้ กับระดบั ของภาวะพร่องเอ็นไซมซ์ ึง่ แตกต่างกันไปและขึน้ กับขนาดของยา ปรมิ าณอาหารหรือสารเคมีทไ่ี ด้รบั ด้วย ดงั น้นั จงึ จำ�เป็นตอ้ ง แจง้ ใหแ้ พทยท์ ราบถึงการมีภาวะพรอ่ งเอ็นไซม์ G6PD ก่อนการรกั ษาทกุ ครั้ง การปฏบิ ัตติ ัว 1. แจง้ ใหแ้ พทยท์ ราบเสมอวา่ มภี าวะน้ี 2. เมอื่ เกดิ อาการไม่สบาย ควรปรึกษาแพทย์ไม่ซอ้ื ยารับประทานเอง 3. เมอ่ื เกดิ ภาวะเม็ดเลอื ดแดงแตก ควรเขา้ โรงพยาบาลเพอ่ื ให้การรกั ษาทันที 4. หลกี เล่ียงยา อาหาร หรอื สารเคมี ที่อาจกระตุ้นใหเ้ กิดอาการ 5. เม่ือจะมีบตุ ร ควรได้รับคำ�ปรกึ ษาและแนะนำ�จากแพทย์ เพ่อื ใหท้ ราบถึงอัตราเสี่ยงของการท่บี ตุ รจะมภี าวะน้ี ยาที่ควรหลีกเล่ียง - ยาปฏชิ วี นะ (ยาต้านจุลชพี ) กลุ่มยา Quinolones (ควโิ นโลน) ซัลฟา Nitrofurans (ไนโตรฟูแลน) - ยากลุม่ อ่นื ๆ ยารักษามาลาเรยี ยาเคมบี �ำ บดั Genitourinary analgesic Antimethemoglobinemic agent อาหารท่ีควรหลีกเลี่ยง - ถวั่ ปากอา้ บลูเบอรร์ ่ี ไวน์แดง ฯลฯ สารเคมีท่ีควรหลีกเล่ียง - ลกู เหม็น การบูร พมิ เสน สารหนู ฯลฯ

Behind เรื่องเลา่ จากหมอ The Scene อ.พญ.โสมรชั ช์ วิไลยุค ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล ผหู้ ญิงสวยทีส่ ดุ จากข้างใน “ผหู้ ญิง..สวยทส่ี ดุ จากข้างใน” คณุ จำ�ได้ไหม คำ�พดู คำ�แรกทคี่ ณุ หัดพูดคอื คำ�วา่ อะไร? คุณจำ�ไดไ้ หม ใครทเี่ ป็นคนคอยอยูข่ ้างๆ คณุ เวลาคุณหกล้ม? คุณจำ�ได้ไหม คนทอี่ ้มุ คณุ มาตลอดระยะเวลา 9 เดอื นคือใคร? คณุ จำ�ได้ไหม ใครท่ใี หอ้ ภัยคณุ ได้เสมอ ไมว่ ่าคณุ จะทำ�อะไรผิดกต็ าม? คุณจำ�ไดไ้ หม ใครทคี่ อยปลอบโยนและให้กำ�ลงั ใจคุณ แม้สิ่งแวดลอ้ มขา้ งนอกจะแยแ่ คไ่ หนก็ตาม? นเี่ ปน็ เพยี งส่วนเลก็ ๆสว่ นหน่งึ จากส่วนใหญ่ๆอกี หลายส่วนท่ีคงถามคุณไดไ้ ม่หมด ส�ำ หรบั คนๆน้ี .. ทีเ่ รา เรียกส้นั ๆว่า “แม่” แม่เป็นคนที่เราคุ้นเคย เปน็ คนทเ่ี ราเจอทกุ วนั เป็นคนกนั เอง ที่เรามกั จะนึกถงึ นอ้ ยทส่ี ดุ แต่ ส�ำ หรบั แมแ่ ล้ว ลกู คอื คนสำ�คญั คนทเ่ี จอทุกวัน แตก่ ็อยากเจออยตู่ ลอด และเปน็ คนแรกทีน่ ึกถึงกอ่ นคนอ่นื อยู่ เสมอ ความแตกตา่ งกนั ระหว่างลูกกบั แม่ ดแู ตกต่างกันมากโขอยู่ ราวกับฟา้ กับทะเล .. มีเพียงเสน้ ขอบฟ้าบางๆ ที่กั้นกลาง หวงั วา่ สักวนั หนึง่ ลูกๆ ทั้งหลายคงจะขา้ มเส้นขอบฟ้ามาอยู่ข้างๆ “แม”่ สักท.ี .

เมื่อไม่นานมานฉ้ี นั ได้มีโอกาสดูโฆษณาของผลิตภัณฑห์ น่ึงทีแ่ สดงใหเ้ ห็นมุม มองทีแ่ ปลกออกไปของผ้ทู ีไ่ ดช้ ื่อว่าเป็น “แม”่ โดยไดผ้ ลิตเป็นหนงั สัน้ จ�ำ นวน 3 เรอื่ ง โดยใช้ concept ท่ีวา่ “ผู้หญิงสวยทีส่ ุดจากข้างใน” หรอื มีช่อื หนงั ส้ันชดุ นีว้ า่ “My Beautiful Woman” ซ่งึ มีเคา้ โครงเร่อื งมาจากเรอื่ งจรงิ หนงั สั้นชุดนอี้ อกมาไดไ้ ม่ นานประมาณตน้ ปนี เี้ อง อ่านมาถงึ ตรงนถ้ี า้ ใคร ยงั ไม่มีโอกาสได้ดูเข้าไปดูไดค้ ะ่ ที่ http://www. mybeautifulwoman.org/ กอ่ นที่ฉนั จะ spoil หนงั ต่อไป เรอื่ งแรกคอื เรือ่ ง “ทางเลือกของแม”่ เปน็ เรื่องราวเกีย่ ว กับผู้หญงิ คนหนงึ่ ที่อยากมลี กู มาก แต่โลกกช็ า่ งโหดร้ายเหลอื เกิน ส�ำ หรับเธอ เธอดีใจมากๆ ไดเ้ พยี งไมน่ าน กก็ ลายเป็นความทุกข์ ใจอยา่ งมหนั ต์แทน ทกุ ขใ์ จท่ีได้รู้วา่ ในตัวเธอมโี รครา้ ยซอ่ นอยู่ ทุกขใ์ จทีเ่ ธอต้องตัดสินใจระหวา่ งจะเขา้ รับการรกั ษา เพ่อื กำ�จดั โรคร้ายทซ่ี อ่ นอยู่ในตัวเธอท้งิ ไป หรอื เลอื กที่จะเกบ็ ชีวติ ท่สี วยงามน้อยๆ ทกี่ ำ�ลังจะลมื ตาข้นึ มาดูโลกในอกี ไมก่ ีเ่ ดอื น .. ในความเป็นแม่ .. ถงึ แมจ้ ะยังไม่เหน็ หน้าลูก แตแ่ ม่ก็รับร้ไู ด้ถึงสง่ิ มชี ีวติ นอ้ ยๆ ท่กี ำ�ลงั เตบิ โตอยภู่ ายในตวั ของแม่ “ความรกั ”เกดิ ขึน้ ตง้ั แตว่ นิ าทีแรกทร่ี ู้ว่าเขาเร่มิ เข้ามาอยู่ในตวั แม่ ถึงแม้จะไมเ่ คยคยุ หรอื เห็นหนา้ กันมากอ่ น สิ่งมีชีวิตนอ้ ยๆนี้ บรสิ ุทธ์ิ ไร้เดียงสา และไมไ่ ดท้ ำ�อะไรผิด .. นน่ั คือสิง่ ท่ฉี นั เดาใจ “คุณแม่” ในเรอื่ งนี้ ท่เี ธอไดต้ ัดสินใจ อย่างกลา้ หาญทจี่ ะไม่รับการรักษาเพ่อื ท่ีจะรกั ษาชวี ิตลกู น้อยให้เกดิ มาครบ 32 ประการ โดยทเี่ ธอไมไ่ ดค้ ิดถึงตัวเองเลย .. ความรกั ท่บี ริสทุ ธ์เิ ชน่ นีเ้ กดิ ขนึ้ ดว้ ยความเสยี สละอย่างสุดประมาณ เสยี สละชีวิตตัวเอง เพ่อื ลูก .. ฉันขอยกยอ่ งใน ความเปน็ แม่ของเธอผู้นีจ้ ริงๆ ในทส่ี ดุ เธอเลือกที่จะทรมานกับโรครา้ ยตามลำ�พัง เธอคลอดลกู ออกมาแข็งแรงครบ 32 ประการดง่ั ทีต่ ัง้ ใจ แต่ทวา่ ตอนนน้ั เนอ้ื ร้ายกไ็ ด้ลามไปมากแล้ว เธอตดั สนิ ใจเขา้ รับการรักษาหลงั จากนัน้ ในความทุกข์ ทีเ่ นอื้ รา้ ยคอยกดั กินตวั เธอ แต่ใบหน้าเธอช่างมคี วามสขุ ทไี่ ดใ้ หก้ ำ�เนิด ชวี ิตน้อยๆ ทแี่ สนบรสิ ทุ ธิข์ ้ึนมาอีกชวี ติ หนึง่ .. ไมม่ ีใครตอบไดว้ า่ เธอได้ ตดั สินใจถกู หรือผิด แต่ฉนั ว่าตัวเธอเองคงรบั รู้ และได้ท�ำ หน้าที่ของ แม่อย่างดที ่ีสุดก่อนที่เธอจะจากโลกนี้ไป ..

เรื่องที่สอง “ลูกนอ้ งท่หี ายไป” เปน็ เรอื่ งราว หน่งึ เตกัง้ ีย่ แวตกเ่ ชับ้าผจู้หรญดคิงวำ่�ยั โทดำ�ยงไามน่มคีเหนนหด็นเง่ึ หทนี่ทื่อำ�ยงาเนธใอนพบยราิษยทัามแหง่ ท�ำ งานนอกเวลา ท�ำ งานให้ครบทุกอย่าง ไม่ขาดตกบกพรอ่ ง เพอ่ื ท่ีจะขอหวั หน้าหยดุ ในวันศุกร์ หวั หนา้ เธอ ใหเ้ ธอหยุด แต่ก็ยงั ไม่คลาย ท่จี ะสงสยั ว่าแล้วเธอหายไปไหนในทกุ ๆ วันศกุ ร์ .. เธอ เปน็ คนเงียบ ไมค่ อ่ ยมีสังคม ไมม่ ใี ครรู้ประวตั ิความเปน็ มา หรอื เร่อื งราวของเธอ ไดแ้ ตค่ ิดไปตา่ งต่างนานา ว่า เธอแอบเลี้ยงเด็ก เธอถึงไดห้ ายไป จนมาถึงวันหนึ่งเธอ ได้หายไปนานราวสัปดาห์ งานกองพะเนินไดถ้ ูกท้ิงอยู่ ทโ่ี ต๊ะเธอ ราวกบั ว่ารอคอยเธอให้เธอมาจัดการอยเู่ ป็น เวลานาน .. หวั หนา้ ไดต้ ัดสนิ ใจไปสืบหาด้วยตัวเอง เขาจอดรถหน้าบ้านเธอเพือ่ เฝา้ ดเู ธอที่เพ่งิ กลับเข้าบา้ น แวบแรกเขาคดิ เหมือนทีค่ นอื่นๆ นินทาคือ “หรือเธอจะเลย้ี งเด็ก?” เขาขับ รถผา่ นหน้าบา้ นเธอไปอยา่ งช้าๆ แล้วสหี น้าเขาก็คลายความเคลือบแคลงและสงสัยในตวั เธอ ขณะเดียวกันมีรอยย้มิ เกิดข้ึนบนใบหนา้ เขาขนึ้ มาแทน .. ในวนั สดุ ทา้ ยทบ่ี ริษทั เธอได้ ตดั สินใจลาออก เพราะเธอไม่สามารถท�ำ งานหลายๆ อย่างไดใ้ นเวลาเดียวกนั เธอเข้าไปหา หัวหน้า .. หวั หนา้ ดูเข้าใจดี เขายน่ื ซองจดหมายสีขาวให้เธอ แล้วกลา่ วลาเธออยา่ งสุภาพ ด้วยประโยคทีท่ ิง้ ไวเ้ ปน็ ปริศนาว่า “คุณอาจไมเ่ หมาะกับบริษทั น้กี ไ็ ด้” เธอเดนิ กลบั อย่าง เศรา้ สรอ้ ย เกบ็ ข้าวเก็บของ พรอ้ มดรู ปู แม่บนโต๊ะทำ�งานของเธอ ราวกบั จะขอก�ำ ลงั ใจในสิง่ ที่เธอไดต้ ัดสนิ ใจท�ำ ในวันนี้ .. เธอกลับบา้ น บ้านท่เี ปน็ ทั้งท่ีอยู่อาศยั ใหเ้ ธอและเด็กก�ำ พรา้ อีกหลายชวี ติ เธอต้องเขา้ มารบั ผิด ชอบสถานสงเคราะห์เด็กกำ�พรา้ ทแี่ ม่เธอเปน็ ผ้กู อ่ ตั้ง แต่ทว่าแมเ่ ธอได้ลว่ ง ลบั ไปแล้ว เธออยากสานเจตนารมณข์ องแมต่ ่อ ถงึ เธอจะไม่มีลกู ของเธอ เอง แตเ่ ธอก็เป็นแมข่ องเดก็ กำ�พรา้ อีกหลายชวี ติ ณ สถานทีน่ น้ั .. อนาคต เงนิ ทองกับงานทเ่ี ธอรกั คือส่ิงที่เธอได้เลอื กวางเอาไว้ แต่เธอกลบั เลือก หยบิ ความสขุ กับงานใหม่ งานที่ไดใ้ หค้ วามรกั และความอบอนุ่ กับเด็กๆ ท่ี มโหายอหา่ นาสแิ่งลเหว้ ลเธา่ อนกี้มอ็ าึ้งตแลลอะดถชงึ ีวกติ บั กเธลอัน้ ไนด�ำ้เ้ ปตดิาไจวดไ้ หมมอ่ ายยทู่ ที่หหี่ วั ัวหหนนา้ า้แฝลาะกเพใหอ่ื ้เนธรอว่ขมน้ึ งานได้ทราบความ จริง พร้อมทั้งรว่ มบรจิ าคเงินให้กบั สถานสงเคราะห์ของเธอ หวั หนา้ ไดใ้ ห้กำ�ลังใจเธอ แถม ยงั ขอบคุณท่เี ธอชว่ ยทำ�งานให้บรษิ ัทเขาได้เปน็ อย่างดี “ความเปน็ แมม่ าได้ในหลายรปู แบบ เสมอ ถงึ จะไมใ่ ชแ้ มล่ กู ในสายเลอื ด แตส่ ิง่ ท่ีเธอท�ำ น้ัน .. ฉนั เชอื่ วา่ เด็กๆ ทเ่ี ธอดแู ลอยู่นัน้ เรยี กเธอว่า “แม”่ ไดอ้ ย่างไม่ขัดเขินอะไร” น ำ�้ ตาไมอ่ มยาู่ ถ..ึงเเรรอื่อื่ งงนทีม้ส่ี ีชามื่อซวา่ึง่ เป“ค็นวเราื่อมงลสบัดุ ขทอา้ ยงเจ..นแ”ละเจเปน็นเปเรน็ อื่ นงกัทศที่ ึก�ำ ษใหา้ฉปนัที แี่ 4ทบเปก็นลคนั้ น เก็บตัว ไม่ค่อยสงุ สิงกบั ใคร พอเลกิ เรยี น เจนกร็ บี กลบั บา้ น เพราะเจนต้องรบี กลับไป รบั ลกู สาวตวั นอ้ ยๆ ทโี่ รงเรียน ท่ีมีช่ือว่าจูน .. เพือ่ นๆ ของเธอรวมทั้งคนดู กค็ งอดคิด ไมไ่ ด้ว่า เจนเปน็ คุณแม่ที่ทอ้ งกอ่ นวัยอนั ควรหรอื Teenage pregnancy แนๆ่ เพื่อนๆ และคนรอบข้างได้แต่นินทาเธอลับหลงั ต่างตา่ งนานา

.. เจนไม่ได้สนใจคำ�นินทา เหลา่ นัน้ เพราะความสขุ ของเธอคอื “จูน” ลกู สาวตัวน้อยวัย 4 ขวบ หนา้ ตานา่ รกั น่าเอ็นดูตา่ งหาก .. เจนทำ�หนา้ ทีข่ องแมอ่ ยา่ ง ไมข่ าดตกบกพร่องถึงแม้เธอจะมหี นา้ ทเี่ รยี นหนงั สือด้วยอกี อยา่ งกต็ าม เธอเลอื กท่ีจะข้ามชีวิตวยั ร่นุ เลอื กทีจ่ ะไม่สังสรรค์ และเทีย่ วเตร่กับเพ่อื นฝงู เธอได้กา้ วกระโดดมาเป็นอีกชีวติ หน่งึ ทมี่ ีหน้าที่และความรับผิดชอบอยา่ งใหญ่หลวง ท่แี มแ่ ทๆ้ โดยสายเลอื ดของจูนตอ้ งละอายเลยทีเดยี ว .. ยอ้ นกลับไปตอนที่จนู เกดิ แม่บังเกิดเกล้าของจนู ไดน้ ำ�จูนใส่กระเป๋าแล้วมา ทิ้งไว้บรเิ วณกองขยะขา้ งมหาวทิ ยาลัย ดว้ ยความโชคดขี องจูนและโชคชะตาของคนทง้ั สอง ได้น�ำ พาใหเ้ จนและจนู มาเจอ กนั ทง้ั ท่ีไมใ่ ชล่ ูกในสายเลือด ทง้ั ๆทตี่ ัวเองกำ�ลังเรียนหนงั สอื แตค่ วามเปน็ แมใ่ นตวั เจนไดก้ อ่ ก�ำ เนิดข้ึนมาตัง้ แตว่ ันน้นั เจน ได้เล้ียงดจู นู อยา่ งดี ประหน่งึ ว่าจูนเป็นลกู ในไส้ของเจน แม้เพอ่ื นเจนถามเจนว่า ทำ�ไมไม่บอกให้คนอ่นื ๆ รคู้ วามจรงิ ทวี่ ่าจูนเปน็ เด็กเก็บมาเลย้ี ง .. เจนยิ้มในขณะ ท่มี องจูนท่วี งิ่ เลน่ อยา่ งมคี วามสขุ และหันกลบั มาตอบวา่ “ให้คนอ่นื มองเราไม่ดี ดีกวา่ มองจนู ไม่ดหี รอื เปลา่ ” … เพ่อื นเจนไดก้ ล่าวถงึ เจนว่า “เธอไมใ่ ชค่ นหุ่นดี ไม่ใชค่ นท่สี วยกว่าใครๆ แตร่ อยย้มิ ทเ่ี ธอมีให้กบั จนู เธอคอื ผหู้ ญิงที่สวยมาก สำ�หรับผม” ประโยคน้ที �ำ ให้ฉันคดิ ว่า “ความสวยเพียงรปู รา่ งหน้าตา อยไู่ ด้ ไมน่ าน แตค่ วามสวยออกมาจากข้างใน อยู่ไดย้ ่งั ยนื กวา่ ” อย่ทู ค่ี ณุ แล้ววา่ จะ เลอื กทจ่ี ะสวยแต่เพยี งภายนอก หรอื สวยมาจากขา้ งใน ขอออกตวั ก่อนว่าฉนั ไมไ่ ดม้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี กับโฆษณาชุดนแ้ี ตอ่ ย่างใด แต่ขอชนื่ ชมทง้ั เจา้ ของเรอ่ื ง คนแสดง ผู้กำ�กับ และคนทเี่ ปน็ ต้นคดิ หนงั สัน้ ชุดน้ี ทถ่ี ่ายทอดเร่อื งราวท้งั 3 เร่อื ง ไดอ้ ย่างสวยงาม ทำ�ใหผ้ ู้ชมอย่างเราๆไดร้ ูว้ ่า “แม”่ เปน็ บุคคลทีย่ ิ่งใหญ่ และมาพรอ้ มกบั ความ เสยี สละและความรกั แทเ้ สมอ แม่สามารถมาได้ในหลายรปู แบบ ไมจ่ ำ�เปน็ ต้องเป็นสายเลือด เดียวกนั ขึ้นอยูก่ บั การกระทำ�ของบุคคลคนน้ันมากกวา่ วา่ ได้ท�ำ หนา้ ทขี่ อง “แม่” แลว้ หรอื ยัง? ถา้ ใครยงั ไมไ่ ด้ดู อยากเชญิ ชวนใหเ้ ข้าไปดูนะคะ ถ้าเราตัดสินใจว่าจะมลี ูกคนนงึ แลว้ แสดงว่าคุณ พรอ้ มแลว้ ทจ่ี ะเสียสละและมอบความรักของคุณใหก้ ับคนอกี คนหนึ่งอยา่ งไมม่ ีเงอ่ื นไข แตถ่ า้ คณุ ยงั ไมพ่ รอ้ มท่ีจะท�ำ อยา่ งนั้น ขอใหค้ วบคมุ และป้องกนั นะคะ เพ่ือที่เดก็ ท่เี กิดมาดูโลกคนหนึง่ จะ ได้เตบิ โตขึ้นมาอย่างสมบรู ณท์ งั้ กายและใจ .. สิ่งสำ�คญั ทอ่ี ย่างท้ิงทา้ ยไวก้ ค็ ือชวี ิตนอ้ ยๆ ทีก่ �ำ ลัง จะลมื ตามาดโู ลก เปน็ ชีวติ ท่บี รสิ ุทธิ์ ไม่ได้มีความผดิ อะไร ใครๆ กร็ ักชีวิตตัวเอง การท่ีจะตดั สิน ใจกำ�จัดเขาเพียงเพอื่ ความไมย่ ับยง้ั ชั่งใจชวั่ ครัง้ ชัว่ คราว มนั ยตุ ธิ รรมกับชีวติ นอ้ ยๆ ชีวติ หน่ึงแลว้ หรือ? อยากให้ลองพจิ ารณาไตรต่ รองดู .. สุดทา้ ยน้ีขอขอบคุณผู้ท่เี ปน็ แม่ทกุ คน ทีด่ ูแลลูกๆ ของ ท่านมาอยา่ งดี .. คงไมม่ ีอะไรจะทดแทนบุญคณุ ของแมไ่ ด้หมด ขอใหพ้ วกเราทกุ คนรักทา่ นให้ มากๆ ถงึ แม้จะเป็นคนที่คนุ้ เคย เจอกนั ทกุ วนั ว่ากล่าวเราอยู่เปน็ ประจ�ำ แตถ่ ้าวันใดไมม่ บี คุ คล คนนี้แล้ว เราจะรูว้ ่าวันน้นั เราได้เสียบุคคลทีร่ กั เรามากท่สี ดุ ในโลกไปตลอดกาล .. “หนูรักแมน่ ะ”

พกั หย่อน ผ่อนกาย ท่.ี . ปางอุ๋ง

One เรื่องโดย ดนัย อังควัฒนวิทย์ ภาพโดย ชนะภัย ลิ้มสุวรรณเกสร Day ff คอลมั น์ One Day Off ฉบับน้ี ขออาสาเขียนเรอ่ื งราวจากปลายปาก (ไม่มกี า) ของ ชา่ งภาพประจ�ำ กอง บก. ของเรา ทไ่ี ดไ้ ปเยยี่ มเยยี นสถานทอ่ี นั แสนจะสงบและโรแมนตกิ ทส่ี ดุ แหง่ หนึง่ ในเมอื งไทย “ใช่แลว้ ครบั ...ปางอุ๋ง...” แม้จะผ่านพน้ ช่วงเวลาหนา้ หนาวกนั ไปพอสมควร แตค่ วามทรงจำ�ของผม (ชนะภยั ) ทน่ี ั่น... “ปางอ๋งุ ” ...ยงั คงหอมหวนอยู่ในความร้สู กึ อยู่ตลอดเวลา

>> บรรยากาศทป่ี างอ๋งุ ยามเช้า (ชว่ งเดือนธันวาคม) “ปางอุง๋ ” ดินแดนแห่งมวลแมกไม้ ท่ีเต็มไปด้วยต้นสนเรียงรายล้อมรอบอ่างเก็บนำ้� ขนาดใหญ่ ทไี่ ดข้ ้ึนชอื่ ว่าเป็น ..นิวซีแลนด์เมอื งไทย.. ข้ึนชื่อว่านิวซีแลนด์ หลายคนก็คงจะนึกภาพถึงบรรยากาศของต้นไม้ใบหญ้า มากมาย ท่ีพร้อมจะโอบกายแก่ผู้ที่รกั การ ท่องเทยี่ วแบบธรรมชาตปิ ่าเขา ตามแนวชตาอ้ ยงฝบ่ังอขกอวง่าอป่า่างสเกน็บทน่นี ้ำ�่ี เทร้ังียสงรอางยขไ้าปง ทาง ซึ่งหากสะพายกล้องมาด้วย ก็จะได้ แชะ.. เกบ็ ภาพแสงอาทติ ยส์ าดสอ่ งกระทบ มายงั ตน้ สนในช่วงเย็นกัน

ทันทีที่กดชัตเตอร์... เราก็จะได้ภาพแห่งความประทับใจ ที่แสงอาทิตย์สาดส่อง มากระทบกับใบของต้นสน เห็นเป็นแสงนุ่มๆ ท่ามกลางบรรยากาศเงียบสงบ เหมาะแก่ การพกั หยอ่ นผ่อนกายนัก ดว้ ยแสงทมี่ ากระทบใบตน้ สน ท�ำ ใหภ้ าพนนั้ ดอู บอนุ่ แทบอยากจะหาคนขา้ งกาย มาเลยี บเคยี งบรรยากาศอนั แสนโรแมนตกิ จดุ เด่นอกี อยา่ งของปางอุ๋งกค็ อื การเกบ็ ภาพบรรยากาศรมิ น�ำ้ ผิวน�ำ้ ไม่ว่าใครที่มาท่ีนี่ ก็มักจะแชะภาพบรรยากาศริมนำ้� ที่มีทั้งสะพานไม้ท่ียื่นไปยัง หรอื บรรยากาศจากการทอดกายขยบั อารมณไ์ ปกับแพเรอื ที่ท�ำ จากไมไ้ ผ่ สง่ิ หนง่ึ ทน่ี า่ เสยี ดายส�ำ หรบั ครงั้ นกี้ ค็ อื ไมไ่ ดเ้ กบ็ ภาพไอเยน็ ๆ เหนอื ผวิ น�้ำ มาฝากกนั อาจเพราะมาไมถ่ กู ชว่ งถกู เวลา จงึ ท�ำ ใหไ้ มเ่ หน็ ไอเยน็ ๆ ทไ่ี มบ่ อ่ ยครง้ั นกั จะไดเ้ หน็ ในบา้ นเรา แมว้ า่ อากาศท่ีน่ีจะหนาวเย็น แต่กพ็ อมแี สงแดดให้ไออุ่นอยู่รำ�ไร รับรองเลยวา่ ใครได้มาทนี่ ี่ จะต้องไดร้ ับความเงยี บสงบ และบรรยากาศอนั แสน จะสบาย บอกเลยวา่ ...คุ้มค่ากบั การขับรถชลิ ๆ 17 ชวั่ โมงมาทนี่ ี่เสียจริงครับ >> ใครแวะมาต้องมาเก็บบรรยากาศทสี่ ะพานไมแ้ หง่ น้ี >> บริการนักท่องเทีย่ วด้วยแพไม้ไผ่

Giving คำ�ว่าให้ ไม่ส้ินสดุ and Sharing มูลนิธิรามาธบิ ดฯี



คลอดทดรี่ าีอมายธบิ า่ดี.ง. ไร? ขึ้นชื่อว่า.. การกำ�เนิด.. หลายคนก็คงนึกถึงภาพคุณแม่ ต้ังครรภ์ คุณแม่คลอดลกู การวางแผนครอบครวั เพือ่ เตรยี มความ พรอ้ มท่ีจะมีบุตร แล้วเมือ่ มกี ารตงั้ ครรภด์ ว้ ยความรักจากพ่อแมเ่ กิด ข้ึนแลว้ กระบวนการถดั ไปของการดแู ลลูกในครรภ์ก็คอื การฝาก ครรภ์และดูแลครรภ์ในชว่ ง 9 เดอื นของคณุ แม่ จนเมอื่ ถึงเวลาของ.. เกอางรตกา�ำ มเนธรดิ ร..มคชณุ าแตมิ คก่ ล็จอะดตใดั นสนนิ ำ�้ ใจแทลี่จะะผค่าลตอัดดคใลนอแดบบวิธตี า่ งๆ ทั้งคลอด อแุ ว้.... อุแว.้ ... เมอื่ ถึงเวลาคลอดแลว้ จะมกี ารเลือกวธิ ีคลอด อยา่ งไรดี แล้วการคลอดแต่ละแบบมีความแตกตา่ งกนั อย่างไร รวม ไปถึงคลอดทีโ่ รงพยาบาลรามาธิบดีน้นั ..ดอี ยา่ งไรบา้ ง คอลมั น์ Rama Today ฉบับน้ี มีคำ�ตอบจาก รศ.นพ.พญั ญู พนั ธ์บูรณะ ภาควิชา สูติศาสตร-์ นรีเวชวทิ ยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล มาฝากกนั เลือกคลอดแบบใดอย่างไรดี การคลอดในปจั จบุ ันทท่ี ราบกันจะมีอยู่ 2 แบบ ไดแ้ ก่ การคลอดเองตามธรรมชาติ และ การผ่าตดั คลอด ซึง่ การคลอดแตล่ ะแบบก็มีขอ้ ดขี อ้ เสียแตกต่างกัน คณุ แมม่ สี ทิ ธิทจี่ ะเลือกวา่ จะ คลอดแบบใด ซงึ่ แพทยม์ กั จะใหค้ �ำ แนะนำ�โดยคำ�นึงถงึ พืน้ ฐานของความปลอดภัย ฉะน้นั หนา้ ท่ี ของบุคลากรทางการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นแพทย์เองหรือพยาบาลท่ีจะดูคุณแม่ที่มาฝากครรภ์ก็ มักจะใหค้ ำ�แนะน�ำ ทีเ่ หมาะสมส�ำ หรับการเลือกวิธีคลอด เม่ือคุณแม่เร่มิ มาฝากครรภ์ แพทย์ จะทำ�การตรวจครรภ์และซักประวตั ิเพือ่ ตรวจหาโรคประจำ�ตัว รวมไปถึงการวนิ จิ ฉัยว่ามีภาวะ ความจ�ำ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งทำ�การผา่ ตดั คลอดหรอื ไม่ เชน่ วางแผนไว้วา่ จะคลอดเอง แต่พบปญั หาวา่ ปากมดลูกไมเ่ ปดิ หรือเดก็ ตัวโตเกินไป กจ็ ำ�เปน็ จะตอ้ งท�ำ การผา่ ตดั คลอด เปน็ ตน้

Rama กิตยิ า สุวรรณสิทธ์ิ ดนยั อังควฒั นวทิ ย์ Today ความแตกต่างของการคลอดธรรมชาติกับการผา่ ตดั คลอด ความแตกต่างของการคลอดธรรมชาติกับการผ่าคลอดน้ันไม่มีความแตกต่างกัน มากนัก เพราะสิ่งสำ�คญั ท่ีสดุ คือต้องการใหค้ ณุ แมแ่ ละลูกคลอดไดอ้ ยา่ งปลอดภัยท่สี ดุ ซ่งึ วิธีการ คลอดธรรมชาติเปน็ วธี ีที่คณุ แม่ส่วนใหญ่เลือกมากทสี่ ุดและเปน็ วธิ ีท่เี จบ็ ตัวน้อยที่สดุ เพราะไม่มแี ผล พน้ื ตัวเร็ว สว่ นการผ่าตัดคลอดนัน้ คณุ แมอ่ าจไมเ่ จบ็ เพราะตอ้ งท�ำ การวางยาสลบ เมื่อตื่นมาก็จะได้ เห็นหน้าลูกเลย แน่นอนว่าการผ่าตัดผ่านทางหน้าทอ้ งกจ็ ะมีแผลผ่าตดั ยาวหนอ่ ย และมกี ารพืน้ ตวั ช้ากวา่ คณุ แมท่ ค่ี ลอดปกติ ทงั้ ยงั อาจเกดิ ภาวะแทรกซ้อนจากการผา่ ตดั ได้ เชน่ การผ่าตัดอาจไปโดน อวัยวะข้างเคยี ง หรือแม้แต่ตัวเด็กเองอาจไดร้ บั บาดเจบ็ เช่นเดียวกนั จากการลงมีดผา่ ตัดได้ แนน่ อน เป็นหน้าทหี่ ลกั ของแพทย์ทต่ี ้องใหค้ วามรู้แกค่ ณุ แม่กอ่ นว่า คลอดแต่ละแบบมผี ลอย่างไร ความพร้อมในการดูแลของทมี แพทย์ เมื่อคณุ แม่มาฝากครรภ์ ต้องบอกว่าโรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นโรงเรียนแพทย์ระดับชั้น น�ำ ของประเทศ ฉะน้ันก็จะมอี ุปกรณก์ ารแพทยท์ ค่ี รบครนั ทัง้ การดแู ล คุณแมท่ ี่มาฝากครรภห์ รอื ทารกทค่ี ลอดแลว้ อกี ทั้งโรงพยาบาลรามาธิบดยี ัง สามารถให้การดูแลทารกท่ีมีนำ้�หนักน้อยค่อนข้างดีและมีช่ือเสียงในระดับ ประเทศ นอกจากนี้ หากกรณีท่คี ณุ แมม่ ภี าวะแทรกซอ้ นอ่ืนร่วมด้วย ก็ยังมี ทีมระดับอาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญร่วมให้การดูแลรักษาอย่างเป็นระบบอีก ด้วย ฉะนน้ั คณุ แม่ท่ีมาฝากครรภ์และมาคลอดทโี่ รงพยาบาลรามาธบิ ดจี ะ ไดร้ บั การดูแลจากทีมแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญเปน็ อย่างดี การเตรียมตวั เรือ่ งคา่ ใช้จ่ายและการเตรยี มตวั กอ่ นคลอด เนอ่ื งดว้ ยโรงพยาบาลรามาธบิ ดมี อี ตั ราการทำ�คลอด 2 แบบ ทง้ั แบบคลอดเองตามธรรมชาติและ ผา่ ตัดคลอด ซง่ึ สามารถขอคำ�ปรกึ ษาจากอาจารย์แพทยไ์ ด้ โดยหอ้ งคลอดของท่โี รงพยาบาลรามาธบิ ดีขณะนมี้ ี มาตรฐานคุณภาพและมีการดแู ลคณุ แมท่ ่ีมาฝากครรภ์อยา่ งใกล้ชิด ส่วนการเตรียมตวั ก่อนคลอดนั้น หากเป็นคณุ แมท่ มี่ าฝากครรภท์ ่โี รงพยาบาลรามาธบิ ดี ทน่ี ีก่ จ็ ะมีการจดั คอรส์ อบรมการเตรียมตวั ในทุก 3 เดือน ต้ังแต่ตั้งครรภอ์ อ่ นๆ จนถงึ ใกล้คลอด และจะมกี ารให้ค�ำ แนะน�ำ สำ�หรับ คณุ แมท่ ใ่ี กลค้ ลอดว่ามีอาการอะไรบา้ งทบี่ ง่ บอกวา่ ให้มาโรงพยาบาล ตอ้ งบอกว่าท้องแรกอาจใช้เวลานานในการ เรียนรู้ แตเ่ ม่ือทอ้ งท่ี 2 แล้ว จะใช้เวลาในการเรียนรเู้ รว็ มากขน้ึ

ข้อมลู สำ�หรบั ผู้ทีส่ นใจคลอดทโี่ รงพยาบาลรามาธบิ ดี ห้องคลอด หอ้ งคลอดโรงพยาบาลรามาธบิ ดี มเี ป้าหมายใหบ้ ริการรักษาพยาบาลสตรี ตงั้ ครรภ์ การท�ำ คลอด และดูแลทารกแรกเกิดท้งั ทีป่ กตแิ ละมีภาวะแทรกซอ้ นในระดับทุติย ภูมแิ ละตติยภมู ิตามมาตรฐานวชิ าชีพ โดยเน้นให้ลกู เกดิ รอด แม่ปลอดภัย ด้วยมาตรฐานและ เทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ีทนั สมัย รวดเร็ว ปลอดภัย พรอ้ มด้วยทีมแพทยแ์ ละพยาบาลที่มี ความชำ�นาญในการดูแลผทู้ ม่ี าท�ำ คลอด เพือ่ ใหเ้ กิดความพงึ พอใจและความปลอดภัยสูงสดุ ปจั จบุ นั หอ้ งคลอดโรงพยาบาล รามาธิบดีได้ปรับปรุงพ้ืนท่ีใหม่ให้ทัน สมยั ดโู อโ่ ถงสวยงาม มคี วามเปน็ สว่ นตวั และใหบ้ รรยากาศทอ่ี บอนุ่ ส�ำ หรบั ผู้ท่ีมาคลอดจะได้รับการตรวจวินิจฉัย ท่ีห้องตรวจคัดกรองซ่ึงเป็นห้องท่ีเน้น อ�ำ นวยความสะดวก และมคี ณุ ภาพสงู ใน การตรวจคัดกรองผู้คลอดและทารกใน ครรภ์ มหี อ้ งรอคลอดจ�ำ นวน 7 หอ้ ง ซง่ึ มลี กั ษณะเปน็ หอ้ งเดย่ี ว แตล่ ะหอ้ งจะ เตรยี มเตยี งคลอด 1 เตยี งส�ำ หรบั รอคลอด การคลอด และพกั หลงั คลอด จนกระทง่ั ยา้ ยออก เนน้ ความเปน็ สว่ นตวั ความสขุ สบาย ความสะอาดและความปลอดภยั ของผคู้ ลอดและทารกแรกเกดิ ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ีทันสมัยและมีคุณภาพสูงในการ ตดิ ตามสัญญาณชพี ของท้งั มารดาและทารกตลอดระยะคลอด บรรยากาศ สงบเงียบ สามารถปรบั ความสวา่ งและอุณหภมู หิ อ้ งใหเ้ หมาะสมกับผ้คู ลอด แต่ละรายโดยเฉพาะผคู้ ลอดท่ีมภี าวะแทรกซอ้ น ส่วนทารกแรกเกดิ จะไดร้ บั การดแู ลและสงั เกตอาการในห้องทารกแรกเกิด ซ่งึ เนน้ ความสะอาดมดิ ชดิ ความอบอนุ่ และความปลอดภัย ญาตสิ ามารถเยย่ี มทารกโดยมองผ่าน กระจกและติดตอ่ พยาบาลทางเครือ่ งตดิ ต่อภายใน ที่ส�ำ คัญทารกแรกเกิด ทุกคนจะไดร้ บั การดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ตลอด 6 ชัว่ โมงแรกเกดิ จากพยาบาล วชิ าชีพพร้อมเทคโนโลยีให้ความอบอุน่ และช่วยชีวิตที่มคี ุณภาพสูง ขอขอบคุณข้อมูลจากรายการ Rama Kid D Live ทางสถานี Rama Channel True visions 24

เกร็ดความรู้ของคุณแมต่ ัง้ ครรภก์ ับการใช้ยา ส�ำ หรับการใช้ยาในคณุ แมต่ ้งั ครรภ์ อาจมีอันตรายตอ่ ลูกนอ้ ยในครรภ์ได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงชว่ ง 3 เดือนแรก ของการตงั้ ครรภ์ใหมๆ่ ทารกในครรภ์จะมีการเจริญเติบโตและสรา้ งอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ถา้ มสี ารหรอื ยาบางชนิด ไปกระทบกระเทือนตอ่ การแบง่ เซลล์ จะทำ�ให้อวยั วะนัน้ มคี วามผดิ ปกติหรอื หยุดเจรญิ เตบิ โต ซง่ึ จะผดิ ปกตมิ ากหรือ น้อยข้ึนอยูก่ บั ระยะของการตัง้ ครรภ์และปรมิ าณของสารทไี่ ดร้ บั การรับประทานยาก็เชน่ เดียวกัน หากใช้ยาไม่เหมาะ สมหรือไมร่ เู้ ท่าทนั ก็จะเกิดอันตรายแกล่ กู ในครรภไ์ ด้ เรามีเกร็ดความร้เู กี่ยวกบั การใชย้ าในคุณแมต่ ั้งครรภ์มาฝากกนั 1) ยาปฏชิ ีวนะและยาแกอ้ กั เสบ ยาเตตราซยั คลิน มีผลต่อการสรา้ ง กระดกู และฟนั ของลูกในครรภ์ / ยาซลั ฟา อาจท�ำ ใหท้ ารกคลอดออก มาแล้วตวั เหลือง / ยาเพนนิซิลินและแอมพิซลิ ิน เปน็ ยาทีป่ ลอดภัยท่ีสุด สำ�หรบั หญงิ มคี รรภ์ ยกเวน้ ผูท้ ่แี พย้ าเท่านน้ั / ยาแกอ้ ักเสบ มักจะเปน็ ยาท่ี หาซ้อื มาทานเองบอ่ ยมาก และมกั ใชไ้ มถ่ ูกวธิ ี จึงท�ำ ให้ด้อื ยา ฉะนั้นไม่ควรใช้ ยาเอง หากใชใ้ นหญงิ ทง้ั ท่ีตง้ั ครรภ์หรือไม่ อาจท�ำ ใหช้ ่องคลอดอักเสบจาก เชื้อรา มีอาการตกขาวและคันช่องคลอดมากได้ 2) ยาแกป้ วดลดไข้ ยาแอสไพรนิ หากทานเมอื่ ใกล้คลอด อาจไปยบั ย้งั การทำ�งานของเกลด็ เลอื ดสำ�หรบั ทารกในครรภ์ ท�ำ ใหเ้ ลอื ดไหลไม่หยดุ ได้ / ยาพาราเซตามอล เป็นยาทใี่ ช้ไดป้ ลอดภยั ในผู้ต้งั ครรภ์ แตต่ อ้ งอยใู่ นความ ควบคุมจากแพทย์ / คุณแม่ตงั้ ครรภ์ทีเ่ ปน็ ไมเกรน ใหห้ ลกี เล่ียงยาแก้ปวด ศีรษะกลุ่มเออโกตามีน เพราะท�ำ ให้มดลูกบบี ตวั จนอาจแทง้ หรอื คลอดกอ่ น ก�ำ หนดได้ ต่�ำ 3) ยาแก้คนั แกแ้ พ้ ยาคลอเฟนิรามีน หากมีการใช้ตดิ ตอ่ กันนานๆ จะท�ำ ให้เกลด็ เลอื ด ลกู ทเี่ กดิ มาอาจจะมีเลอื ดไหลผิดปกติ 4 ยานอนหลับและยากล่อมประสาท ควรใช้ตามที่แพทย์สัง่ หากใชใ้ นปรมิ าณมาก ลูก ท่เี กิดมาอาจหายใจไมด่ ี เคลอ่ื นไหวชา้ และชกั กระตกุ ได้ ช นิดรับป5ร)ะทยาานรักอษาจาจเบะาทห�ำ ใวหาน้น�ำ้ ตหาาลกใเนปเน็ลือชดนขิดอฉงดี ทอานิ รซกลู ตนิ �่ำ สไดา้มารถใช้ได้ ไม่มอี นั ตราย แต่ถ้าเป็น 6) ยากันชกั อาจท�ำ ให้เกดิ ความพกิ ารในทารกได้ โดยมีใบหนา้ ผิดปกติ 7) ยาแก้ไอ ไม่แนะนำ�ใหใ้ ช้ยาชนดิ ที่ไม่มไี อโอดนี เพราะอาจทำ�ให้ทารกเกดิ อาการ คอพอก และมอี าการผดิ ปกตทิ างสมองได้ 8) ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ยาชนิดน้ีมีส่วนผสมของแมกนีเซยี มไฮดรอกไซด์มาก อาจจะท�ำ ใหค้ ณุ แม่ทอ้ งเสยี และอาจเปน็ อันตรายต่อลูกในครรภ์ได้ 9) ยาแก้อาเจยี นหรอื ยาแกแ้ พ้ท้อง ควรให้หมอเปน็ ผู้สัง่ ยา อย่าซอ้ื ทานเองเดด็ ขาด ไม่ควรซ้ือกยาารทใชา้ยนาเอเปง็นเดเร็ด่ือขงาทด่สี ถ�ำ ้าคจัญ�ำ มเปาน็กจสรำ�งิ หๆรใับหค้ไณุปพแบมท่แพีต่ ัง้ทคยร์ รยภ้�ำ ว์โป่ารดระลึกไว้เสมอเลยว่า “ใชย้ าอย่างระมัดระวงั เพื่อสุขภาพของตัวเองและลกู นอ้ ยในครรภ์”

Education ทพิ ยส์ ดุ า ตนั เตมิ เกยี รติ Talk ช(ัน้ สปว่ โทีนดี่หย6นคผรง่ึ ณขศ่นุ อท.ะนแง่ี กพพ4าท4.รภยบาเศมวราื่อทิรสยวยตนัา์ ยรเทพ์โใี่รนีย1ง9งรพาวนยกจิ ปาุมติ บัจภราฉาลอพิมรานันาจมิเธาทา์รศธ2ยบิ5ส์ปด5ำ�รห7ี ะมรจณหบัำ�ภานวาหักทิคอศยวปึกิชารษลาะอัยาชแามมุพยหอรุทดิาศยรลา์รี สวาตมัลยราธ์เสบิ วด)ี ี การเปน็ หมอท่ีดีต้องมีมากกวา่ ความรู้ การทเี่ ราจะไดร้ ับความศรทั ธาและ ความเชือ่ จากคนไขน้ นั้ จะมีได้อย่างไร มนั มอี งค์ประกอบอยู่ 3 อย่าง นนั่ คอื Reputation ExpPearisetnce ImpFrierssstion การมชี อื่ เสียง เปน็ ที่ร้จู กั การทค่ี นไขม้ ีประสบการณ์การ ความรูส้ กึ ประทบั ใจ ของคนไขห้ รือมชี ื่อเสียง รักษาท่ดี ีดว้ ย เช่น มโี อกาสได้ เม่อื แรกพบกัน รกั ษาทง้ั ตัวคนไขแ้ ละญาติ ในการรกั ษา พนี่ ้องของคนไขม้ าเป็น เวลานาน ส�ำ หรับแพทยท์ ีจ่ บมาใหม่ มีองค์ประกอบข้อไหนบา้ ง? 2 ข้อแรกข้างต้นไม่มกี นั แน่นอน คงเหลอื สิ่งเดยี วกค็ ือ First Impression ที่คนไขจ้ ะมีให้คณุ ได้ แลว้ รูห้ รือไม่วา่ คนๆ หนงึ่ ใช้เวลาตดั สินคณุ เพยี งมองแค่ 3 วนิ าทเี ท่าน้ัน มันเหลือเชื่อมาก คนเราพยายามจะชัง่ นา้ํ หนกั วา่ ใครเป็นมิตรหรือเป็นศตั รู คนไหนทเ่ี ราควรไว้วางใจ หรอื ว่าคนน้เี ราควรใหค้ วาม นอบน้อมหรอื เปล่า

สมมติคุณเปน็ สตั วอ์ ยู่ในปา่ ภายใน 30 นาทีเนยี่ คุณต้องร้แู ลว้ ว่า ใครคอื หัวหน้าจา่ ฝูง ใครเปน็ คนแข็งแรง ใครเป็นผ้แู พ้ ก็เหมือนกันครบั ภายใน 3 วินาที คนเราตดั สนิ ได้เลยวา่ คุณ เป็นใคร แตก่ ารท่ีคณุ จะทำ�ให้ First Impression เกิดข้นึ ไดน้ ั้น มันยาก แตท่ ยี่ ากไปกวา่ นน้ั คอื หากคณุ สร้าง First Impression ที่ผดิ แล้วล่ะก็ มันจะไม่ลบออกจากความจ�ำ ของคนน้นั เลย เพราะความจ�ำ ไดฝ้ งั อยใู่ นสมองของเค้าแลว้ ว่าคุณเปน็ คนยงั ไง A smile i-s tMheaxunEivaesrtsmaalnwelcome. “การยิ้มคือการต้อนรับอันเป็นสากล” การยิม้ นก่ี เ็ ปน็ เร่อื งทีส่ �ำ คัญมาก ยม้ิ สู้ไว้กอ่ นครับ เวลาคณุ ไปสมั ภาษณแ์ ต่คณุ ตอบค�ำ ถามไมไ่ ด้ คุณกย็ ้ิมไว้กอ่ น เพราะมนั ทำ�ใหท้ ุกคนดูแฮปป้เี วลาที่อยูใ่ กล้ๆ คณุ เปน็ เรอ่ื งง่ายๆ นอกจากนี้แลว้ ถา้ หดั มองตาคนท่ีคณุ คยุ ดว้ ยแล้วก็จะดมี าก (ขอ้ ความ การถามคนไข้) หมอ 1: “ป้ากนิ ยาหรอื เปล่า? กินยายงั ไง?” หมอ 2: “คุณป้า (ช่อื ) กินยาหรอื เปล่าครับ? กินยังไงครับ?” จะเห็นไดว้ ่าบทสนทนาของหมอคนที่ 2 มีความแตกต่างจากหมอ คนแรก เพราะการพูดจาทนี่ ่าฟัง รบั รองไดเ้ ลยวา่ สิ่งท่ีคณุ สือ่ ออกมาน้ัน ดี มากตอ่ ตวั คณุ คณุ จะได้รบั ความรสู้ ึกจากคนไข้ทว่ี า่ “หมอคนนีเ้ ปน็ หมอทด่ี ี จงั พดู จาน่าฟังทีเดยี ว” การพดู คยุ กับคนไขก้ ต็ ้องประเมนิ ผู้ฟงั ด้วยว่า เขามคี วามรู้ความ เขา้ ใจอยา่ งไร สงั คมและวัฒนธรรมเขาเปน็ อยา่ งไร ยกตวั อย่างเชน่ คนไขอ้ ายุ 74 ปี เป็นไขมัน เบาหวาน เดินทางมาหาคุณหมอคนใหม่ แลว้ บอกวา่ “ฉันกินยาเยอะมาก บางทีกล็ ืมกนิ ยา แล้วก็คุมเบาหวาน ความดัน ไขมันไม่ไดเ้ ลย จะท�ำ ยังไงดี?” คนไขจ้ ะตอ้ งทานยาท้ังหมด 16 ตัว คำ�ถามคอื จะมวี ธิ ี การจดั การทานยาของคนไข้คนนอี้ ยา่ งไร ถ้าเกิดหมอมือใหม่ ไมม่ ีประสบการณ์ แต่นิสยั ดหี น่อย อาจจะค่อยๆ อธิบายยา แตล่ ะตวั ใหค้ นไข้ฟงั แต่อยา่ ลืมวา่ คนไข้อายมุ าก เค้าจ�ำ ไม่ได้ หรอก ดงั นัน้ เราต้องพยายามเข้าใจคนไข้ เรียกญาติผ้ดู ูแลเขา้ มาคุย มาช่วยจดั ยาและการทานยาของคนไข้ ประเมนิ ว่าคนไข้ มคี วามรู้ความเข้าใจมากนอ้ ยแคไ่ หน ต้องดูสงั คมแวดลอ้ มของ คนไขด้ ้วยว่าเปน็ อย่างไร

Compassion ความเห็นอกเห็นใจ เอาใจคนไข้มาใส่ใจเรา ผมอยากใหค้ ุณดหู นังเรอื่ ง The Doctor (1991) เรื่องมอี ยูว่ ่า พระเอก (แสดงนำ�โดย William Hurt) เป็นศลั ยแพทย์ เปน็ คนทมี่ งุ่ มั่นตง้ั ใจเฉพาะการรักษาเพียงอยา่ งเดียว ดูเพียงแคว่ ่ารูปแบบการรักษาคนไขน้ ัน้ โอเคหรือยงั และไม่ได้สนใจว่าคนไขช้ ือ่ อะไรหรืออาการตอนน้ันเป็นอย่างไรบ้าง จนกระทัง่ วันหน่ึง ตัวเขาเองเปน็ มะเร็ง ตอ้ งท�ำ เคมบี �ำ บดั ซ่ึงระหว่างท่ีเขาท�ำ การรักษานัน้ หมอคนท่รี ักษาตวั เขาเองกเ็ ป็นคนท่ีมีนิสัยแบบเดยี วกัน นัน่ คอื ไมไ่ ด้สนใจในรายละเอยี ด คนไข้กินยารึเปลา่ ? ท�ำ ไมกนิ ยาแล้วอาเจยี น? ไมไ่ ดใ้ หก้ ำ�ลังใจอะไรเป็นพเิ ศษ จน เขาหายจากโรคมะเร็งแล้ว และหลงั จากทเี่ ขาเจอเหตกุ ารณแ์ บบนี้ เขาเลยเปล่ียนแปลงตัวเองใหม่ กลายมาเป็น หมอท่ดี ี มคี วามเข้าใจในตวั คนไขม้ ากขึน้ ดังนั้น ค�ำ พดู ของเราถ้าเปลี่ยนแปลงนิดหนอ่ ย มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจกัน ก็จะท�ำ ให้คนไขร้ สู้ ึกดมี ากทีเดียว Surpassing your teacher with respect ก้าวผ่าน...แต่ไม่ก้าวข้ามอาจารย์ของคุณ การเรียนรู้ของแพทย์ ไม่มีวันจบ ลองหัดอ่านวารสารเอง หาข้อมลู เอง เพราะอะไร? ยกตวั อยา่ ง ถ้าสมมติ ผมสอน 1 ชัว่ โมง เร่ืองหวั ใจวาย แต่ผมยงั มนึ ๆ จากงานเลย้ี งเม่ือคนื ก่อน ท�ำ ใหพ้ ดู ผิดไป 2 คำ� แล้วคุณจดลงไปใน สมดุ น่นั ไม่แย่เหรอครับ แล้วอกี อยา่ งหน่ึงคือ ถา้ ความรขู้ องคณุ มีเทา่ กบั ผม แลว้ เม่อื ไหร่คุณจะเก่งกว่าผมล่ะ ผม ยังหวงั พ่ึงคุณนะครบั เวลาผมแก่ตัวไป ผมยังตอ้ งการให้พวกคุณมาดแู ลผมนะ เพราะฉะนัน้ คุณจะต้องเกง่ กวา่ ผม เม่อื จบไปกค็ วรหาความรู้ให้มากกวา่ ทอี่ าจารย์สอน และแนน่ อนครับ เมื่อคุณกา้ วผา่ นอาจารยไ์ ปแลว้ ก็อย่าลืม แสดงความนอบน้อม ความเคารพต่ออาจารย์ทีส่ อนคุณด้วยนะครับ Medico-Social Etiquette มารยาทในสังคมของแพทย์ สง่ิ หนึง่ ทผ่ี มอยากเตือนไม่วา่ จะไปฝึกงานท่โี รงพยาบาลใดก็คือ เรอ่ื งพดู ใหร้ า้ ยเกีย่ วกับหมอคนอนื่ ซงึ่ เรา ไม่ร้ขู ้อมูล ยกตวั อย่าง ลกู ถอื แฟม้ ประวัตกิ ารรักษา พาแมเ่ ดินมาหาคุณหมอคนใหมแ่ ล้วบอกวา่ “หมอคนน้นั น่ะ เคา้ รักษาไม่ดเี ลย จะแนะนำ�ใหท้ ำ�แบบน้อี ย่างเดยี ว ใหก้ ินยาแบบน้ีอย่างเดยี ว” บางคนไดฟ้ งั แลว้ อาจจะตอบกลบั ไปวา่ “เคา้ ท�ำ แบบนี้ได้ยงั ไง ไมไ่ ด้เรื่องเลยนะเนี่ย อย่าไปหาหมอคนน้ีเลยนะ” แต่ข้อมลู พวกน้ที ีไ่ ด้รับได้ฟงั มา เราอาจจะไม่รูจ้ รงิ ๆ วา่ เรือ่ งมันเปน็ ยังไง เพราะบางคนก็เลา่ ไมห่ มด บางคนก็เล่าเพียงทเ่ี ขาเขา้ ใจ บางคนกเ็ ลา่ ผิดเล่าถูกหรอื แม้แต่ญาติทจ่ี รงิ ๆ แลว้ ไมเ่ คยดแู ลเลย แตเ่ มอ่ื เกิดความเจ็บป่วยกับคนในครอบครวั เลยมาจดั การ การรกั ษาให้ใหม่ ซ่งึ ก็อาจจะเสรมิ เติมแต่งคำ�พูดจากคนไขส้ งู อายอุ กี ทอดหน่งึ ดงั นั้น ตราบใดทเ่ี รายงั ไม่มีข้อมูล ท้งั หมด เราไม่เคยเห็นเอกสารการรักษาหรือรูจ้ ักหมอท่เี คยทำ�การรกั ษาคนไขค้ นนี้มากอ่ น ก็อยา่ เพิง่ ไปตดั สนิ วา่ หมอคนน้ันรกั ษาไม่ถกู วิธี ดังนน้ั การตอบวา่ “ผมไมแ่ นใ่ จวา่ เกิดอะไรข้นึ ทีโ่ รงพยาบาลก่อน แตเ่ รามาเริม่ กนั ใหม”่ พูดเชน่ นจ้ี ะดูดีกวา่

Balance your priorities การจัดลำ�ดับความสำ�คัญในชีวิต ตอ่ ไปในอนาคต คณุ อาจจะมีหน้า ทต่ี ่างๆ ไมว่ ่าจะเป็น หมอ อาจารยแ์ พทย์ ท�ำ วจิ ยั ด�ำ รงต�ำ แหน่งในองคก์ รและสมาคม ต่างๆ หรอื ต่อไปคณุ อาจจะแตง่ งาน ก็ต้อง ท�ำ หน้าทดี่ ูแลลูก ดแู ลครอบครัว ดแู ลพอ่ แม่ และสดุ ท้ายกต็ อ้ งดแู ลตัวเองดว้ ย คน เรามหี นา้ ที่ที่ต้องท�ำ เยอะมาก เพยี งแตว่ า่ จะจัดล�ำ ดับเรอ่ื งตา่ งๆ อย่างไร คุณกำ�ลงั ทำ�สิ่งท่ีต้องการในชีวิตหรือทำ�ในส่ิงท่ีคนอ่ืน ตอ้ งการ คุณต้องเป็นคนตัดสนิ ใจ ในชวี ิตน้คี ุณอาจจะเคยเจอคนท่ี เป็นเหมอื นซปุ เปอร์แมน ทำ�ไดท้ กุ อยา่ งทุกหน้าที่ แต่คนเหลา่ น้เี ปน็ บคุ คลทีท่ �ำ งานหนัก เปน็ คนเกง่ และทุม่ เทมากๆ แต่ เราก็ตอ้ งดูดว้ ยว่า อะไรบา้ งทีส่ ำ�คัญส�ำ หรับตวั เราเองจริงๆ ประโยคท่วี ่า “การไมเ่ ปน็ โรค เป็นลาภอันประเสริฐ” อันน้จี รงิ มากๆ สมมตวิ ่าคณุ ไม่ออกกำ�ลงั กาย ปล่อยใหต้ ัว เองอ้วน จนเป็นเบาหวาน คุณก็เตรยี มตวั ไดเ้ ลยว่า จะตอ้ งจา่ ยเงนิ จ�ำ นวนมากส�ำ หรับการรกั ษาในอนาคต ถามวา่ ถ้าให้ เงิน 10 ลา้ นแลว้ เปน็ เบาหวาน กบั ไม่รับเงิน 10 ลา้ นแตไ่ ม่เปน็ เบาหวาน จะเลอื กอะไร แน่นอนว่า ก็ตอ้ งเลือกไม่เปน็ เบา หวานสิ สขุ ภาพดีน่ถี อื ว่าเป็นเงนิ ที่อยู่กบั ตวั คุณเลยนะ เพราะไม่ต้องน�ำ เงินไปรักษาโรคเหล่าน้ี มีคาถาอย่อู ยา่ งหนงึ่ เปน็ เคลด็ วชิ าตกน้ำ�ไมไ่ หล ตกไฟไม่ไหม้ ตอนสมยั ผมเรยี นอยทู่ ่อี เมริกา มีอาจารย์ทา่ นนึง เขาบอกว่า “ถา้ หากเราไม่ร้วู า่ เราจะท�ำ อะไร โดยเฉพาะเกยี่ วกบั คนไข้นน้ั ก็ขอให้คดิ ว่าส่ิงท่ดี ีทสี่ ดุ ส�ำ หรบั คนไขน้ ั้นคือ อะไร แล้วใหท้ �ำ ตามนน้ั คุณม่นั ใจได้ร้อยเปอร์เซน็ ตว์ า่ ไม่มีใครฟอ้ งคุณได้ ไม่มีใครมาว่าคุณได้ ถา้ การตัดสนิ ใจนน้ั มีคนไข้ เป็นทต่ี งั้ ” ซึ่งเม่อื ผมกลับมาทเ่ี มอื งไทยแลว้ ผมพบวา่ สมเดจ็ พระราชบิดาฯ เคยมพี ระราชปณธิ านมากอ่ นแล้ว นั่นกค็ ือ “ขอให้ถือผลประโยชนส์ ว่ นตัว...เปน็ ที่สอง ประโยชนข์ องเพ่ือนมนษุ ย.์ ...เป็นกิจทหี่ น่งึ ลาภทรพั ย์และเกยี รติยศจะตกมาแกท่ ่านเอง” การเปน็ หมอ บางทีอาจจะพบกบั ความยุง่ ยาก บางครง้ั ทอ้ แท้ บางครัง้ เหนอื่ ยจนคิดวา่ “ไม่อยากจะเปน็ หมอ แลว้ ” แต่ส่งิ ทอี่ ยากจะบอกกค็ ือ ถา้ คุณสูต้ อ่ ไป กจ็ ะพบกับความสำ�เร็จ เพราะอยา่ งท่ีเคา้ วา่ กันว่า “ก่อนจะมาเป็นเทพ กต็ ้องหว่ ยมากอ่ นทงั้ นัน้ แหละ่ ครับ” Failure is the opportunity to begin again more intelligently. - Henry Ford ความล้มเหลวเป็นโอกาสที่จะเริ่มต้นอีกครั้ง แต่เป็นการเริ่มต้นอย่างฉลาดกว่าเดิม

Research ดนยั องั ควัฒนวทิ ย์ Inspiration “งานวิจยั เปน็ เรือ่ งของ ทกุ คนในองคก์ ร” ศ.นพ.อร่าม โรจนสกุล หากนกึ ถงึ งานวิจัย หลายคนก็คงจะนกึ ถึงการเกบ็ ขอ้ มลู การ จัดทำ�สถติ ิ ตารางซบั ซอ้ น หอ้ งแล็บ แบบสอบถาม การนำ�เสนอ ผลงาน การตีพิมพใ์ นวารสาร ซึ่งเหลา่ น้ลี ้วนแตก่ ็เปน็ สว่ นประกอบ หน่งึ ของการทำ�งานวิจยั ท้งั สน้ิ ที่หลายคนกค็ งมองว่าเปน็ เรอ่ื งไกล ตวั หากไม่ใช่นักวิจยั นักวิทยาศาสตร์ นักวิเคราะหส์ ถิติ หรือแมแ้ ต่ บุคลากรทางการแพทยเ์ องก็ตาม น่นั เองคงไมใ่ ช่ในมุมมองของ ศ.นพ.อรา่ ม โรจนสกุล ผอู้ ำ�นวยการศูนยก์ ารแพทย์สมเดจ็ พระเทพรตั น์ ท่ีมองวา่ “งานวจิ ยั เป็นเรอ่ื งของทุกคนในองคก์ ร”



งานวิจัยท่ีรามาธบิ ดใี นสมัยกอ่ น เป็นอย่างไร วจิ ัย..ในความหมายสว่ นตวั ในสมัยก่อน งานวิจัยยังไม่กวา้ งขวางและ คำ�ว่าวิจัย เป็นการค้นหาคำ�ตอบจากปัญหา เป็นทต่ี ่นื ตวั มากนัก ส�ำ หรบั ท่ีรามาธบิ ดี ศ.นพ.อารี ที่เรามีอยู่ หรือจากสิ่งที่เราอยากรู้อยากเห็น ซึ่งมัก วัลยะเสวี คณบดที า่ นแรก ไดส้ รา้ งรามาธบิ ดใี ห้มีความ เกิดขึ้นได้ในทุกคน อย่างนักวิทยาศาสตร์สงสัยว่า โดดเดน่ กวา่ โรงเรยี นแพทย์แห่งอื่น ในขณะนนั้ ในด้าน สารตัวหนึ่งมีหน้าที่อะไร ก็ไปท�ำ การคน้ คว้าวิจยั หา งานวจิ ยั และนวตั กรรม ซึ่งจะก่อใหเ้ กิดการพฒั นาอย่าง ค�ำ ตอบ อาจารยแ์ พทย์สนใจว่ายาชนดิ น้จี ะรักษาโรคนี้ ต่อเนื่อง สร้างความเจริญเตบิ โตแก่องคก์ ร ท้ังนี้ องคก์ ร ได้อย่างไรก็ไปวจิ ยั ค้นคว้า ชาวนาสนใจวา่ เมล็ดพนั ธ์พุ ืช จะนิง่ อยกู่ บั ที่ไม่ได้ ตอ้ งเปล่ยี นแปลงไปตามสภาวะ น้จี ะทำ�ให้งอกงามไดย้ งั ไงก็ต้องทำ�วจิ ัย เช่นเดยี วกนั กับ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอย่างย่งิ ปัญหาดา้ นสาธารณสุขท่ี พนักงานสายสนับสนุนที่สนใจว่าจะทำ�อย่างไรให้การ เปลย่ี นไป มีทงั้ โรคอบุ ตั ใิ หม่ โรคเรื้อรงั เพิม่ มากขนึ้ ถ้า ทำ�งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นก็ไปค้นคิดวิธีการมา ไม่ได้ทำ�การวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเน่ืองก็จะล้าหลัง เหลา่ นีม้ ีลักษณะเขา้ ได้กบั งานวิจัยทัง้ ส้ิน และไม่สามารถเปน็ ผนู้ �ำ ได้ ในบางครง้ั การหาค�ำ ตอบจากงานวจิ ยั เพยี งแค่ คน้ ควา้ จากสารสนเทศตา่ งๆ กส็ ามารถหาค�ำ ตอบไดแ้ ลว้ มมุ มองส่วนตวั เกีย่ วกบั การทำ�งานวจิ ัย หากยงั ไมไ่ ด้ กต็ อ้ งท�ำ การคน้ ควา้ วจิ ยั เพอ่ื หาค�ำ ตอบโดย มกี ารตง้ั วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั ต่อด้วยกระบวนการ ส่วนตัวมองว่าควรทำ�การวิจัยท่ีมุ่งเน้นปัญหา วิจัย การวดั ผลอยา่ งไร เพื่อใหไ้ ด้ผลลัพธน์ �ำ มาวิเคราะห์ สขุ ภาพของคนไทย ท�ำ การวจิ ยั เพอ่ื หาค�ำ ตอบดา้ น และสรุปนำ�ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และนำ�ไป สขุ ภาพแกส่ งั คม โดยทใ่ี นคณะฯ เองมที รพั ยากรทจ่ี �ำ กดั ตอ่ ยอดทางวิจัยตอ่ ไป ทง้ั บคุ ลากรนกั วจิ ยั เงนิ งบประมาณ จงึ ควรทมุ่ เทไปใน การวจิ ยั น้ี มงุ่ แกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพในประเทศของเราได้ มองว่างานวจิ ัยเป็นเรือ่ งของทกุ คน ช่วงท่ีเข้ามาเป็นอาจารย์แพทย์ท่ีรามาธิบดี อาจารย์แพทย์จะมุ่งเน้นการเรียนการสอนและบริการ มองว่างานวิจัยจึงไม่ใช่เพียงแค่หน้าที่ของ รกั ษาพยาบาล แตใ่ นขณะเดยี วกนั กจ็ ะควรมงุ่ ไปทก่ี าร นกั วจิ ัย หรืออาจารย์เทา่ น้นั แต่ยงั เป็นบทบาทสำ�คัญ วจิ ยั ดว้ ย งานวจิ ยั จงึ เปน็ บทบาทโดยตรงของอาจารย์ ทีท่ กุ คนสามารถท�ำ ได้ โดยตา่ งกนั ที่บริบทของแตล่ ะ แพทย์ เมอ่ื อาจารยแ์ พทยท์ �ำ วจิ ยั แลว้ กจ็ ะไดค้ วามรใู้ น คนเทา่ นัน้ เอง เดมิ ทีเราเขา้ ใจว่าเรือ่ งวิจัยเป็นเรือ่ ง การนำ�ไปสอนนักเรียนแพทย์ให้ร้จู ักค้นคว้าหาทางแก้ไข ของแพทย์ อาจารย์ นักวิจยั และนกั วทิ ยาศาสตร์ แต่ ปญั หาตา่ งๆ อาจารยก์ จ็ ะไดอ้ งคค์ วามรนู้ �ำ ไปปรบั ปรงุ ในความเป็นจริงแลว้ ยงั มีงานวิจยั รปู แบบอ่นื ทีค่ ดิ ได้ การใหบ้ รกิ ารทด่ี ขี น้ึ ไปตอ่ ยอดในวงการแพทยต์ อ่ ไป ว่าเป็นงานวจิ ัย เชน่ จากงานประจำ�สงู่ านวจิ ัย (R2R, ฉะนน้ั การวจิ ยั จงึ เปน็ หวั ใจส�ำ คญั ของอาจารยแ์ พทย์ Routine to Research) ที่ทกุ คนในองค์กรสามารถ ท�ำ ได้ งานวิจยั จึงเป็นเร่ืองของทุกคน งานวิจยั เป็น “หนา้ ที”่ รปู แบบงานวจิ ัยทีห่ ลากหลาย การทำ�วิจัยเป็นภาระหน้าท่ีของอาจารย์ โดยตรง มอี าจารยจ์ ำ�นวนมากทที่ �ำ วจิ ัยอย่างมคี วามรบั งานวจิ ยั มหี ลากหลายรูปแบบ คงเคยไดย้ ินคำ� ผิดชอบและมีฉันทะ ใชเ้ วลาทงั้ ในเวลาราชการและนอก วา่ วิจัยทางคลินิก วิจัยในหอ้ งปฏิบัติการ วิจัยในชมุ ชน เวลาราชการทมุ่ เทใหก้ ับงานวิจยั โดยทไ่ี ม่ไดค้ า่ ตอบ วจิ ัยทางระบาดวิทยา วจิ ยั เชิงระบบ วิจัยเพ่ือหาความ แทนใดๆ เพมิ่ ขน้ึ ทุ่มเทเวลาใหก้ บั งานวิจยั อยากที่จะ คุ้มคา่ และประสทิ ธผิ ล กนั มาบา้ งแล้ว ซึ่งเป็นรูปแบบ ค้นควา้ อยากเกาะติด อยากจะหาคำ�ตอบในสง่ิ ทีเ่ ปน็ งานวจิ ยั ทพ่ี บเหน็ ไดบ้ อ่ ยคร้งั กระทง่ั ในปัจจุบันเราพบ ประโยชน์ ซง่ึ ในคณะฯ กม็ อี าจารย์แบบนอี้ ยจู่ ำ�นวน ว่ามงี านวิจัยในงานประจำ� ทีต่ ้องการปรบั ปรงุ ผลงาน หนง่ึ ในงานประจำ�ใหด้ ยี ่งิ ขึน้ มปี ระสทิ ธิภาพดีข้นึ ช่วยลด งานวิจัยเป็นพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย ทอนความไมจ่ ำ�เป็นในการทำ�งาน และเพมิ่ ความคล่อง และคณะฯ แตก่ ารท่ีงานวิจัยจะสำ�เร็จหรอื ไปขา้ งหนา้ ตัวในการท�ำ งานได้ ดังนั้น งานวิจัยจงึ มีความหมายและ ได้ จ�ำ เป็นอย่างย่ิงท่จี ะตอ้ งไดร้ บั การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ รปู แบบกวา้ งขวางหลากหลายมาก

หลายด้าน เช่น ทรพั ยากรบคุ คล จากหน่วยสนบั สนุน มาตรฐาน หากไมม่ ผี ลงานในเวลาทก่ี �ำ หนดอาจไมไ่ ดร้ บั บคุ ลากรทางดา้ นสถิติ ระบาดวทิ ยา ทรพั ยากรการ การพจิ ารณาตอ่ สญั ญาใหเ้ ปน็ อาจารยต์ อ่ ไป เรียนรู้ บคุ ลากรทางคลนิ ิก พยาบาล และเจา้ หน้าทที่ ี่ อาจารย์แพทย์รุ่นใหม่ทุกคนก็ต้องเข้าใจและ เกี่ยวข้อง อกี ทง้ั งานวิจยั ยงั ตอ้ งใช้เงนิ ทุนสูง นอกจากน้ี ยอมรบั ในบทบาทนด้ี ้วย สว่ นจะต้ังหวั ขอ้ การท�ำ วิจัย ยงั ต้องได้รบั การสนบั สนนุ ดา้ นอาคารสถานที่ เชน่ ห้อง อยา่ งไรดนี ัน้ ส่วนใหญ่มกั เลือกตามท่ีตนเองถนัดหรือ ปฏิบตั ิการ รวมท้งั เครอ่ื งมือท่จี �ำ เป็น ซ่งึ บางชน้ิ มรี าคา ตามภาควิชาทีส่ ังกดั อยู่แล้ว อยากจะแนะนำ�ว่าการ สูงมาก หากได้รบั การสนบั สนุนไม่พอเพยี งก็อาจเป็น ทำ�งานวิจยั ให้เริ่มต้นจากปญั หาของชมุ ชน ปญั หาของ ปัญหาและอปุ สรรคได้ สังคม ปัญหาของประเทศชาติ วา่ ในสาขาวิชาที่เรารบั อีกส่ิงหนึง่ ทไ่ี มค่ วรมองขา้ มกค็ อื “เวลา” ผิดชอบอยู่มปี มประเด็นปญั หาสขุ ภาพอะไรบ้าง ให้ เนื่องจากเวลาส่วนใหญ่เราใช้ไปกับการบริการรักษา หยบิ ปัญหาเหล่านีข้ ึ้นมาเป็นประเด็นในการวิจยั โดย พยาบาล อาจารย์ของเราจะต้องทำ�หน้าทบ่ี รกิ ารรกั ษา เลอื กประเดน็ ท่ีมคี วามท้าทายพอสมควร อยากจะ พยาบาลและจัดการเรยี นการสอน จนท�ำ ให้ไม่มเี วลา ใหแ้ พทยร์ ุน่ ใหมเ่ ข้าใจวา่ เมอ่ื เราลงทนุ ลงแรงไปกับ ส�ำ หรับงานวจิ ยั มากนกั นอกจากน้ียังอาจมีอปุ สรรค การทำ�งานวิจัยแล้วก็ควรจะได้ผลงานท่ีนำ�ไปใช้แก้ไข ดา้ นภาษาและการสื่อสารกม็ ีความสำ�คญั ส�ำ หรับใน ปญั หาสขุ ภาพของประเทศได้ในระดบั หน่ึง ไมใ่ ช่เปน็ คณะฯ ของเรา ไดร้ ับการสนับสนนุ ด้านการวจิ ยั เปน็ วจิ ัยข้ึนหิ้ง หรอื ท�ำ วิจยั เพอื่ ใหไ้ ด้ตำ�แหนง่ ทางวชิ าการ อย่างดีจากหลายฝ่าย ทั้งฝ่ายบรหิ าร จดั การและ เพียงอยา่ งเดยี ว โดยไมค่ �ำ นงึ ถงึ การทำ�ผลงานวิจยั ไป ปฏบิ ตั ิการ มีการสนบั สนนุ ทรัพยากรต่างๆ รวมทัง้ คา่ ประยกุ ตใ์ ช้เพื่อประโยชน์แก่มวลมนษุ ยชาติ ตอบแทนด้วย ปญั หาท่มี ักพบในนักวจิ ัยรุน่ ใหม่ คำ�แนะนำ�ในการทำ�งานวิจัย แกน่ กั วจิ ยั รนุ่ ใหม่ ปัญหาในระหว่างการทำ�งานวิจัยสำ�หรับ อาจารย์รุ่นใหมม่ ีหลายเรื่องทีส่ �ำ คัญคอื เรือ่ งเวลา อาจารยท์ ุกคนในมหาวิทยาลยั มหี นา้ ทค่ี วามรับ อาจารยใ์ หม่อยใู่ นระยะกอ่ ร่างสรา้ งตัว ไหนจะต้อง ผดิ ชอบในการท�ำ วจิ ยั อยแู่ ลว้ ตอ้ งมผี ลงานวจิ ยั ออกมา ดูแลตวั เอง ไหนจะต้องดูแลครอบครวั ไหนจะต้องดแู ล ตอ้ งมกี ารตพี มิ พผ์ ลงานวจิ ยั ในวารสารทางการแพทยท์ ไ่ี ด้ รกั ษาผปู้ ว่ ยและเตรยี มการสอน จึงตอ้ งแบ่งเวลาให้ กับงานวจิ ยั ใหด้ ี ต้องมีความมงุ่ ม่นั ในบางคร้ังตอ้ งนั่ง ท�ำ งานวจิ ัยกลางค่�ำ กลางคืน ทำ�วนั หยดุ เสาร-์ อาทติ ย์ จึงต้องมคี วามอดทนสงู และมเี ป้าหมายชดั เจน อยา่ ท้อแท้ อยา่ ยอมงา่ ยๆ อาจจะปรกึ ษากบั อาจารย์อาวุโส หรอื ปรึกษากบั ผบู้ ริหารของภาควชิ า เพื่อขอรับการ สนบั สนุน ก็ฝากนักวจิ ัยรุน่ ใหมๆ่ ไว้วา่ ส่งิ ทอ่ี าจารย์ รนุ่ ก่อนไดท้ �ำ ไว้ให้เรา ในขณะนด้ี กี ว่าเมื่อกอ่ นมาก อาจารยแ์ ตล่ ะรุ่นๆ ได้พยายามสร้างพ้นื ฐานในการทำ� วจิ ยั ไวใ้ ห้ ท่ีเราท�ำ งานวจิ ยั ได้ดีในทุกวนั น้ี กเ็ ป็นผลจาก อาจารยร์ ุ่นกอ่ นได้ทำ�ไว้ เราเองก็จะต้องท�ำ สงิ่ ใหมๆ่ เพอื่ อาจารย์รนุ่ ใหมใ่ นอนาคตด้วย อีกปญั หาท่ีอยากฝากไว้ก็คอื ความไม่เขา้ ใจกนั ในหนว่ ยงานหรอื ภาควิชา บางคนบอกว่าเอาแตว่ ิจัยไม่ มาชว่ ยสอนหนังสอื ไมม่ าชว่ ยงานบริการ เอาแต่วิจยั เพ่อื หาประโยชน์ใส่ตัว ตำ�แหนง่ วิชาการก็เป็นประโยชน์ สว่ นตวั อนั น้ตี ้องสรา้ งสมดุลระหว่างงานต่างๆ ให้ดี ให้ คิดวา่ เราก็เป็นส่วนหน่ึงขององค์กร ของหนว่ ยงาน ของ ภาควิชา ของคณะฯ เหมอื นกนั เราจะท�ำ ตามใจเราแต่ เพียงอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมองในภาพรวม อาจารย์

ทกุ คนตอ้ งมองในภาพรวมให้เกียรติซง่ึ กันและกนั โดย งานวิจัยในอาคารสมเดจ็ พระเทพรตั น์ สว่ นตวั คดิ วา่ ศกั ยภาพและความพร้อมของอาจารยเ์ รา สามารถทำ�งานวิจยั ให้สำ�เร็จไดอ้ ยแู่ ล้ว ทอี่ าคารสมเดจ็ พระเทพรตั น์ เรามงุ่ เน้นการ รักษาพยาบาลเป็นหลกั แตใ่ นขณะเดยี วกนั กใ็ หม้ กี าร งานวิจัยสำ�หรับบุคลากรสายสนับสนุน สนบั สนุนสง่ เสรมิ หนว่ ยงานต่างๆ ให้ทำ�งานวจิ ัย เชน่ การวิจัยทางคลินิก ซ่ึงเรากอ็ �ำ นวยความสะดวกแก่ ปญั หาหลกั ของสายสนบั สนนุ กค็ อื ไมก่ ลา้ ไมร่ ู้ อาจารยแ์ ก่นักวิจยั ตา่ งๆ ในการท�ำ งานวจิ ัย แตอ่ ย่างท่ี วา่ อนั นเ้ี ขาเรยี กวจิ ยั ไมร่ วู้ า่ จะท�ำ ยงั ไง ขอใหป้ รกึ ษา กล่าวข้างตน้ ว่า แนวคิดท่วี ่างานวจิ ัยเป็นเรอื่ งของทกุ หวั หนา้ หนว่ ยงาน ในการสง่ เสรมิ ใหท้ �ำ งานวจิ ยั ของ คนในองค์กร เรากส็ นบั สนนุ ใหท้ ุกคนไดท้ �ำ งานวิจัยได้ บคุ ลากรคณะฯ ไดเ้ ปดิ โอกาสใหอ้ ยแู่ ลว้ เชน่ งานวจิ ยั ในระดบั หนง่ึ เช่น ใหพ้นยำ้�าเกบลาือลทใีท่หำ�เ้ ลงาอื นดปจระะจท�ำ�ำ กอ็จยะ่าพงไบร R2R นน่ั เอง เรม่ิ ตน้ งานวจิ ยั จากการท�ำ งานประจ�ำ ของ ปญั หาวา่ การใหย้ า เรา ก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคใ์ นการท�ำ งานของเรากอ่ น มี ใหเ้ กิดความปลอดภัยสูงสุด ไมใ่ หผ้ ดิ คน กส็ ามารถ จดุ มงุ่ หมายอยา่ งไร มกี ระบวนการท�ำ งานอยา่ งไร วดั ผล ทำ�การศึกษาวจิ ัยหากระบวนการทเ่ี หมาะสม เรียนร้กู ัน อยา่ งไร ท�ำ แลว้ ส�ำ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ เ่ี ราก�ำ หนดไว้ ไป มกี ารสนับสนนุ ใหท้ ุกหนว่ ยงานทำ�งานวิจัยตลอด หรอื ไม่ หากวา่ ไมบ่ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ แลว้ เกดิ จาก จนได้น�ำ ไปเสนอในเวทคี ุณภาพตา่ งๆ ในระดบั คณะฯ สาเหตอุ ะไร นก่ี เ็ กดิ ค�ำ ถามวจิ ยั แลว้ เมอ่ื เราคดิ หาวธิ ี มหาวิทยาลัย และระดับชาติ ทางในการแกไ้ ขปญั หานน้ั ได้ เรากจ็ ะเกดิ กระบวนการใน การท�ำ วจิ ยั กอ่ เกดิ การพฒั นา ซง่ึ ทกุ คนสามารถมสี ว่ น มองภาพงานวจิ ยั ในรามาธบิ ดวี า่ กา้ วหนา้ รว่ มในการท�ำ งานวจิ ยั ไดแ้ บบ R2R บางครง้ั ค�ำ วา่ “งาน ตอ่ ไปอยา่ งไรบา้ ง วจิ ยั ” อาจจะเปน็ “ศพั ทเ์ ทพ”บคุ ลากรบางคนอาจเขา้ ใจ วา่ ไกลเกนิ เออ้ื ม แตถ่ า้ เรามแี นวคดิ ในการพฒั นางานใหด้ ี ในภาพรวม งานวจิ ยั ของคณะฯ มที ิศทางท่ี ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งกเ็ ปน็ พน้ื ฐานส�ำ คญั ในการวจิ ยั แลว้ เชอ่ื ดเี พิม่ ขนึ้ วดั จากจำ�นวนช้ินงานและคุณภาพ ซ่งึ ไดร้ ับ วา่ ไมเ่ กนิ ความสามารถของเรา หากมคี วามตง้ั ใจจรงิ การตีพมิ พ์ในวารสารที่มีชอื่ เสยี ง หรือวดั จาก Impact นอกจากน้ี หากพิจารณาจากค่านิยมของ Factor ตลอดจนการน�ำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคม ซ่งึ คณะฯ คอื “มุ่งเรยี นรู้ คูค่ ุณธรรม น�ำ สคู่ ณุ ภาพ” ซึ่ง ท่ีผ่านมาก็มีงานวิจัยดีดีหลายเร่ืองท่ีได้นำ�ไปใช้ให้เกิด ในการท่เี รามงุ่ เรยี นรู้ เราตอ้ งเรยี นรจู้ ักตวั เอง เรยี น ประโยชนใ์ นสังคม เช่น งานวจิ ัยเกยี่ วกบั อบุ ัติเหตุ งาน ร้อู งคก์ ร เรียนรหู้ นว่ ยงาน เรยี นรูว้ า่ ท�ำ แล้วดีหรอื ไม่ วจิ ัยเกี่ยวกบั ความรุนแรงในครอบครวั งานวจิ ัยเกย่ี วกับ ส�ำ เร็จหรือไม่ นำ�ไปพฒั นาใหด้ ขี ึ้นไดอ้ ยา่ งไร เหลา่ นี้ เดก็ และวัยร่นุ งานวิจยั เก่ยี วกบั สารตะกวั่ งานวจิ ัยเกย่ี ว เกยี่ วข้องกบั การวจิ ัยที่ท�ำ ขนึ้ กบั สารพษิ ทง้ั หลาย งานวิจยั เกยี่ วกับฮีโมฟเี ลยี งานวิจยั เก่ียวกับการเตมิ สารไอโอดนี ในน้�ำ ปลา งานวจิ ยั เกีย่ ว มองว่าคณะฯ ไดเ้ ปรยี บในด้านการทำ�งาน กบั บหุ รี่ งานวจิ ยั เกย่ี วกับยาบางชนดิ งานวจิ ยั เก่ียวกับ วจิ ยั เม่อื เทยี บกบั ที่อ่ืนหรือไม่ คาเฟอีนที่มอี ยูใ่ นยาแก้ปวด เป็นตน้ เราคงไมบ่ อกวา่ ไดเ้ ปรยี บเสยี เปรยี บ ในคณะฯ จากบทสัมภาษณ์ข้างต้น ผูเ้ ขยี นเองเช่อื ม่ัน มีส่ิงแวดล้อมท่ีสนับสนุนงานวิจัยอยู่แล้วต้ังแต่นโยบาย เหลอื เกนิ ว่า “งานวิจัยเป็นเรือ่ งของทกุ คนในองค์กร” ของมหาวิทยาลัย และของคณะฯ ทีช่ ดั เจน มีกำ�หนด ไม่เฉพาะแคใ่ นรามาธบิ ดบี า้ นของเราเทา่ นน้ั แตย่ ังเปน็ ไวใ้ นขอ้ ตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agree- เรอ่ื งของทกุ คน ทุกสาขาอาชพี ทีม่ องปัญหาใหอ้ อก ment) มีการจัดสรรทรัพยากรให้ ไมว่ ่าจะเปน็ อาคาร แล้วหาทางแก้ไขใหไ้ ด้ดว้ ยกระบวนการความคดิ แลว้ สถานที่ นกั วิจัย งบประมาณ งบวิจัย งบการศกึ ษา ศพั ท์เทพอย่างคำ�ว่า “งานวิจยั ” จะไม่เป็นปญั หาของ เพม่ิ เตมิ และมีการจดั สรรเวลาส�ำ หรบั อาจารยน์ กั วจิ ยั ทกุ คนอีกตอ่ ไป เหล่าน้จี ะเปน็ แรงสนับสนุนทีด่ ีเย่ยี มแกน่ กั วิจัย นับเปน็ โอกาสทีด่ ี เพยี งแต่ขอใหบ้ ุคลากรของคณะฯ มีใจ มี ฉนั ทะทม่ี ีความรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ ทจี่ ะตอ้ งสรา้ งสรรค์ งานวิจยั ผลงานตา่ งๆ จะตามมาเอง



Activities กองบรรณาธกิ าร ประชุมนานาชาตริ างวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหิดล ประจำ�ปี 2014 มลู นธิ ริ างวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหดิ ล จดั การประชมุ นานาชาติ รางวัลสมเด็จเจา้ ฟา้ มหิดล ประจ�ำ ปี 2014 ภายใต้แนวคิด “ Transformative Learning for Health Equity”: การเรยี นรเู้ พ่ือปรับกระบวนทศั น์ส่คู วามเปน็ ธรรมดา้ น สุขภาพ ในการน้ี ได้รับพระมหากรณุ าธคิ ุณจาก สมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ เป็นองคป์ ระธานเปิด การประชุมในคร้ังนี้ เมอ่ื วนั ที่ 29 มกราคม 2557 ณ โรงแรมรอยลั คลฟิ ฟ์ แกรนด์ พทั ยา จ.ชลบุรี มอบกระเช้าแทนคำ�ขอบคณุ รับมอบเงินบริจาค นพ.ประดิษฐ สินธวณรงค์ รฐั มนตรวี ่าการ กระทรวงสาธารณสุข มอบกระเชา้ ของขวญั ในโอกาส ศ.นพ.วินิต พวั ประดษิ ฐ์ คณบดี ข อ บ คุ ณ บุ ค ล า ก ร ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ โ ร ง พ ย า บ า ล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รามาธิบดี ท่ใี ห้การดูแลประชาชนผูบ้ าดเจบ็ จากการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล รบั มอบเงนิ บรจิ าคจำ�นวน ชุมนมุ โดยมีรศ.นพ.สรุ ศักด์ิ ลลี าอุดมลปิ ิ ผ้อู ำ�นวยการ 910,795 บาท จากผแู้ ทน บรษิ ทั บญุ ถาวร จ�ำ กดั โรงพยาบาลรามาธบิ ดี เปน็ ผูแ้ ทนรบั มอบเมือ่ วนั ท่ี 4 เพ่ือสมทบทุนโครงการพัฒนาอาคารและ กมุ ภาพันธ์ 2557 ณ ศูนย์อุบัติเหตุและเวชศาสตร์ฉุกเฉนิ จัดหาเครอ่ื งมอื แพทยเ์ พอ่ื ผู้ปว่ ยยากไร้ เม่ือวัน ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 ณ ส�ำ นกั งานคณบดี อาคารเรยี นรวม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook