Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี)

ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี)

Description: ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี)

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

คณะผู้จดั ทำ� ผู้อุปถมั ภ์โครงการ พระเทพญาณมหามุนี เจา้ อาวาสวดั พระธรรมกาย พระราชภาวนาจารย ์ รองเจา้ อาวาสวดั พระธรรมกาย ทปี่ รึกษา พระมหา ดร. สมชาย ฐานวฑุ ฺโฒ พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.๙ พระมหาบุญชยั จารุทตฺโต พระมหาวรี วฒั น ์ วรี วฑฺฒโก ป.ธ.๙ พระมหา ดร. สุธรรม สุรตโน ป.ธ.๙ พระครูใบฎีกาอำ� นวยศกั ด์ิ มุนิสกฺโก พระมหา ดร. สมบตั ิ อินฺทปญฺโญ ป.ธ.๙ พระมหาวทิ ยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙ เรียบเรียง พระมหาอารีย ์ พลาธิโก ป.ธ.๗ พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย ป.ธ.๘ จดั รูปเล่ม พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย ป.ธ.๘ พระมหาวนั ชนะ ญาตชโย ป.ธ.๕ พระมหาอภิชาติ วชิรชโย ป.ธ.๗ พระมหาเฉลิม ฉนฺทชโย ป.ธ.๔ ผู้ตรวจทาน นายนอ้ ม ดาดขนุ ทด ป.ธ.๖ อาจารยส์ อนบาลีประโยค ป.ธ.๓ สำ� นกั เรียนวดั พระธรรมกาย ออกแบบปก/ภาพวาด พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย และ กองพทุ ธศิลป์ วดั พระธรรมกาย พมิ พ์คร้ังที่ ๑ : กรกฎาคม ๒๕๕๖ จำ� นวน ๑,๕๐๐ เล่ม พิมพท์ ่ี โรงพมิ พ์ โอ เอส พริ้นติ้ง เฮา้ ส์ จำ� กดั พมิ พ์คร้ังที่ ๒ : กรกฎาคม ๒๕๕๗ จำ� นวน ๒,๐๐๐ เล่ม พมิ พท์ ี่ โรงพิมพ์ โอ เอส พริ้นติ้ง เฮา้ ส์ จำ� กดั พมิ พ์คร้ังท่ี ๓ : กรกฎาคม ๒๕๕๘ จำ� นวน ๒,๐๐๐ เล่ม พมิ พท์ ่ี โรงพมิ พเ์ ล่ียงเชียง เพยี รเพือ่ พทุ ธศาสน์ ลขิ สิทธ์ิ : สำ� นกั เรียนพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ผลติ สื่อการเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม วัดพระธรรมกาย 1 www.kalyanamitra.org

คำ� น�ำ ส ามเณรดว้ ยดตรงั คะหำ� กนลกั ่าแวลยะนื เหยนน็ั คขวอางมพสรำ�ะคเญดั ชอพยา่รงะยคง่ิ ุยณวพดรขะอเงทกพารญศากึ ณษมาพหราะมปุนรี ิยตั (ธิ หรลรมวงพขออ่ งธพมั รมะชภโกิ ยษ)ุ ซ่ึงไดก้ ล่าวไวใ้ นโอกาสท่ีไดจ้ ดั งานมุทิตาสกั การะแก่พระภิกษุสามเณร ผสู้ อบไดเ้ ปรียญธรรม ๙ ประโยค เม่ือปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓ อนั เป็นปี ท่ี ๑๓ ของการจดั งานมุทิตาสกั การะแก่พระ ภิกษุสาม“ผเณทู้ ร่ีสผอสูบ้ อไดบเ้ไปดรเ้ียปญรียธญรรธมรรมถือ๙วปา่ เรปะ็นโยคววรี บา่ ุรุษกองทพั ธรรม เป็นผนู้ ำ� ความภาคภมู ิใจ มแศขข ลึกอาอสะษงงผู่คพทาทูอ้ณุรกยี่กะพะทนู่ำ�พสร่าล้ี ะุทนงงัมเฆจธดีคะ์ศชวสหผาพาอสลูจ้มรบนวะะสไงเคาำ�ปพดสณุค็ นต้อ่ืบญัพารกตมมรู้สำ�่อมะาึลกไกเาทงชัปสื่พนแใใ�ำหนชลญคเมะ้อหาญัยยณน็นงนัิใามมคนคดหวีผตีเกาปาคู้”ามม็นนรสนุ อททำ�ี ย้คงำั�(า่หงหญั งาลลยแนวาง่ิลพยแงะรพลรรอะ่อะบั คปธศรอมูัร้วายสาา่มรแนชถสลโาน่ิะงยทป)าจี่ทรเเะจพาา่ ใารน้ื่อหสถทคำ�ก้น้งันวำ�าหาลกัจมลงเัะราใเเียจยหจนกรแ็นิำญ�กลคม่ผยงวัคี ทู่ิง้พาวยี่มสาาืนกสมอเนบยำ�พเนิาไรยี นดด็จรี้ ไเพ สสขปดอานร็ นมงม้ะบั พอเาปณสรรยร่ะวนรา่ิยแภมงทุตนัลยกิปว่ัิธะเ่ิงษปปรไรทสึ็ุกดนรรี่จาษมมะ้กมะเด ีาำ�ท สเณขำล� ศนรเองัพริใบังใทหต่ือพจสว่ั้งจกั้ รปแนดัาอะรตรทุนภีกะพ่ปำ�เิกท ีทฒพั ษ้งัศโทุแนมคุส ลธรารุ่งาวกะศงหมมกขากัเมณรถาอรราศงึาปรยสเึกชป จว่ง ษ็ตนะเา๒สาลรสกรพณอ๕่่ืออิมรดกใา๓สะไหทลน๑ปปาี่จ้เงบกัรตะโใิิยดสรเหดปตักนายค้็ิบธนานุมณรรนสกีวตระ่าาวตัสม่ืนรนนถงศใตเุปฆหทหกึ วั รผน่าษ์ก้ดะนบู่้าึา้งา้สพวารนนิงหหรกคะานใารห์ปนรา้กรลศกาิยกไัึรกาตัปรศษเธิสกึพใารนษ่งพอ่ืรเาทใมสรทหิศะขรว่ัทก้ิปมอสาางรกงัรงพิยฆาสเดตรัรม่งะีศยิธณเภวสึกรฑกกิรรษินษัมมลาุ เโปดรยียเรญ่ิมธตรน้ รจมาก๙กาปรรถะวโายยทคุน กกาารรศจึกดั ษพาิมพกต์ าำ�รรจาดั คงู่มานือมบทุ าลิตีาถสวกัายกแารกะ่สแ�ำกน่พักรเะรภียิกนษทสุ ี่สานมเใณจรแผลสู้ ะออบื่นไๆด้ ท เขแจปาลอ่ีจ็นกะะงตวพไปำทิ�ดรร.ธยร้ะอาหิา.เภน๓รแนทิ่ิกม่ึงลาังนษหจนะส้ีด ัุบสาื อแทกทรูาธกหามพำ�รง่ผในเราคณนศู้จมงัณึกโารสบรอษาือทยจกาผทเ์าสอลาแูร้้งสัอย่มยรหาต่งนโ์กงลภ่อร้ียเเารตงาไงัยิ่ษเมปม็มร าีศยทีกจนบึกาี่ ดั รษพาใพลขหารมิ-ีาภเ้ะไรดพปาทียตขษ์นรยก้นึิยารบบตภูัไ้ เิธกดาพาลครงพ้อ่ื าร่ี ร๑สยม่แอแ่ง-ลงเไล๘สปดะะ ร รผสร้สิมวะสูะ้ ำ�สบกดหนนารวรใรวบกั ับจใมยสทดนงเ่ิ นรว่ัขกัียุนไ้นึเบรปหกียเรารนีรืยอเศบพงมขกึา่ือีข้นึลษออ้ ีชาำ�โเพ้สนันดรนปวยะออยรปปะาแรศโนริยยยั ะะตัคคโทิธวย๑ี่รเาปช-มร๒็นนมรู้ ์ ประโยชน์ ขอความอนุเคราะห์โปรดแจง้ ใหท้ างสำ� นกั เรียนพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย จทดัรพาบิมดพว้ ค์ ยร้ังจตะ่อเไปป็ นพระคุณอยา่ งย่ิง เพื่อจะไดน้ ำ� มาปรับปรุงแกไ้ ขให้บริบูรณ์ย่ิงข้ึน ในการ สำ� นกั เรียนพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย จ.ปทุมธานี 2 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

สารบญั ธรรมบทภาค ๘ หน้า ๑ เร่ือง ๘ ๒๔. ตณั หาวรรค วรรณนา ๑๔ ๑. เร่ืองปลาช่ือกปิ ละ ๑๖ ๒. เรื่องนางลกู สุกร ๒๐ ๓. เรื่องวพิ ภนั ตกภิกษุ ๒๒ ๔. เรื่องเรือนจำ� ๒๙ ๕. เรื่องพระนางเขมา ๓๓ ๖. เร่ืองบุตรเศรษฐีช่ืออุคคเสน ๓๖ ๗. เร่ืองจูฬธนุคคหบณั ฑิต ๓๗ ๘. เร่ืองมาร ๔๒ ๙. เร่ืองอุปกาชีวก ๔๕ ๑๐. เรื่องทา้ วสกั กเทวราช ๑๑. เร่ืองเศรษฐีไม่มีบุตร ๑๒. เรื่ององั กรุ เทพบุตร ๒๕. ภกิ ขุวรรค วรรณนา ๑. เรื่องภิกษุ ๕ รูป ๔๘ ๒. เร่ืองภิกษุฆ่าหงส์ ๕๑ ๓. เร่ืองภิกษุช่ือโกกาลิกะ ๕๖ ๔. เร่ืองพระธรรมารามเถระ ๕๘ ๕. เรื่องภิกษุคบภิกษุฝ่ ายผดิ รูปใดรูปหน่ึง ๖๐ ๖. เรื่องปัญจคั คทายกพราหมณ์ ๖๓ ๗. เรื่องสมั พหุลภิกษุ ๖๖ ๘. เรื่องภิกษุ ๕๐๐ รูป ๗๗ ๙. เร่ืองพระสนั ตกายเถระ ๗๘ ๑๐. เรื่องพระนงั คลกฏู เถระ ๘๐ ๑๑. เรื่องพระวกั กลิเถระ ๘๒ ๑๒. เรื่องสุมนสามเณร ๘๕ ผลิตสอ่ื การเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3 www.kalyanamitra.org

๒๖. พราหมณวรรค วรรณนา ๑. เร่ืองพราหมณ์ผมู้ ีความเลื่อมใสมาก ๑๐๑ ๒. เรื่องภิกษุมากรูป ๑๐๒ ๓. เรื่องมาร ๑๐๓ ๔. เรื่องพราหมณ์คนใดคนหน่ึง ๑๐๔ ๕. เรื่องพระอานนทเถระ ๑๐๕ ๖. เร่ืองบรรพชิตรูปใดรูปหน่ึง ๑๐๗ ๗. เร่ืองพระสารีบุตรเถระ ๑๐๘ ๘. เร่ืองพระนางมหาปชาบดีโคตมี ๑๑๒ ๙. เร่ืองพระสารีบุตรเถระ ๑๑๓ ๑๐. เร่ืองชฎิลพราหมณ์ ๑๑๔ ๑๑. เรื่องกหุ กพราหมณ์ ๑๑๕ ๑๒. เรื่องนางกิสาโคตมี ๑๑๘ ๑๓. เรื่องพราหมณ์คนใดคนหน่ึง ๑๑๙ ๑๔. เรื่องบุตรเศรษฐีชื่ออุคคเสน ๑๒๐ ๑๕. เรื่องพราหมณ์ ๒ คน ๑๒๑ ๑๖. เร่ืองอกั โกสกภารทวาชพราหมณ์ ๑๒๓ ๑๗. เร่ืองพระสารีบุตรเถระ ๑๒๕ ๑๘. เรื่องนางอุบลวรรณาเถรี ๑๒๗ ๑๙. เร่ืองพราหมณ์คนใดคนหน่ึง ๑๒๘ ๒๐. เร่ืองนางเขมาภิกษุณี ๑๒๙ ๒๑. เรื่องพระติสสเถระผอู้ ยใู่ นเง้ือมเขา ๑๓๐ ๒๒. เร่ืองภิกษุรูปใดรูปหน่ึง ๑๓๔ ๒๓. เร่ืองสามเณร ๑๓๖ ๒๔. เร่ืองพระมหาปันถกเถระ ๑๔๐ ๒๕. เรื่องพระปิ ลินทวจั ฉเถระ ๑๔๑ ๒๖. เร่ืองภิกษุรูปใดรูปหน่ึง ๑๔๒ ๒๗. เร่ืองพระสารีบุตรเถระ ๑๔๔ ๒๘. เร่ืองพระมหาโมคคลั ลานเถระ ๑๔๕ ๒๙. เรื่องพระเรวตเถระ ๑๔๖ ๓๐ เร่ืองพระจนั ทาภเถระ ๑๔๗ ๓๑. เรื่องพระสีวลีเถระ ๑๕๑ ๓๒. เร่ืองพระสุนทรสมุทรเถระ ๑๕๓ ๓๓. เร่ืองพระโชติกเถระ ๑๕๘ ๓๔. เรื่องภิกษุเคยเป็นนกั ฟ้ อนรูปท่ี ๑ ๑๘๒ ๓๕. เรื่องภิกษุเคยเป็นนกั ฟ้ อนรูปท่ี ๒ ๑๘๓ ๓๖. เรื่องพระวงั คีสเถระ ๑๘๔ ๓๗. เรื่องพระธรรมทินนาเถรี ๑๘๗ ๓๘. เร่ืองพระองคุลีมาลเถระ ๑๘๙ ๓๙. เรื่องเทวหิตพราหมณ์ ๑๙๐ ๔๐. คำ� นิคม (สรุป) ๑๙๓ 4 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

๒๔. อ.กถอาเันปบ็ นณั เคฑร่ติือกงพำ� หรรนณดแนลา้ซวด่งึ เ้วนยือ้ตคณั วหามาแห่งวรรค ๒๔. ตณฺหาวคคฺ วณฺณนา. (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ ๑. กปิ ลมจฉฺ วตถฺ ุ. [๒๔๐] ๑. อ.เร่ืองแห่งปลาช่ือว่ากปิ ละ (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเชตวนั ทรงปรารภ “มนชุ สสฺ าติ อมิ ํ ธมมฺ เทสนํ สตถฺ า เชตวเน วหิ รนโฺ ต ซง่ึ ปลาชื่อวา่ กปิ ละ ตรัสแล้ว ซง่ึ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ มนุชสฺส กปิ ลมจฺฉํ อารพฺภ กเถส.ิ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ อ.พี่น้องชายในตระกลู ท. ๒ ออกแล้ว บวชแล้ว อตีเต กิร กสฺสปสฺส ภควโต ปรินิพฺพตุ กาเล เทฺว ในส�ำนกั ของพระสาวก ท. ในกาล แหง่ พระผ้มู ีพระภาคเจ้า กลุ ภาตโร นิกฺขมิตฺวา สาวกานํ สนฺตเิ ก ปพฺพชสึ .ุ พระนามวา่ กสั สปะ ปรินิพพานแล้ว ในกาลอนั ไปลว่ งแล้ว ฯ (ในพน่ี ้องชายท.๒)เหลา่ นนั้ หนาอ.พช่ี ายผ้เู จริญทส่ี ดุ เป็นผ้ชู อ่ื วา่ นนาามม..เตมตสาาุปตเิาชภฏปิกฺโนฺขฐนุ เนโีสสสุ ปธํ สโพนาฺพธชนนสึาี น.ุมามอ,โหกนส,ิิฏฺฐกภนคิฏนิฺโฐี ตากปปนิ โลา โสธนะ ได้เป็นแล้ว, อ.น้องชายผ้นู ้อยท่ีสดุ เป็นผ้ชู ่ือวา่ กปิ ละ ได้เป็นแล้ว ฯ ก็ อ.มารดา (ของพน่ี ้องชาย ท. ๒) เหลา่ นนั้ เป็นผ้ชู อื่ วา่ สาธนี (ได้เป็นแล้ว), อ.น้องสาวผ้นู ้อยที่สดุ เป็นผ้ชู ื่อวา่ ตาปนา (ได้เป็นแล้ว) ฯ (อ.หญิง ท). แม้เหลา่ นนั้ บวชแล้ว ในภิกษุณี ท. ฯ (ในชนท.) เหลา่ นนั้ ผ้บู วชแล้ว อยา่ งนี ้หนา อ.พนี่ ้องชาย ท. ทงั้ ๒ เอวํ เตสุ ปพพฺ ชเิ ตส,ุ อโุ ภ ภาตโร อาจริยปุ ชฌฺ ายานํ กระท�ำแล้ว ซง่ึ วตั รและวตั รตอบ แก่อาจารย์และอปุ ัชฌาย์ ท. วตฺตปปฺ ฏิวตฺตํ กตฺวา วหิ รนฺตา เอกทิวสํ “ภนฺเต อยอู่ ยู่ ถามแล้ว วา่ ข้าแตท่ า่ นผ้เู จริญ อ.ธรุ ะ ท. ในศาสนา นี ้เทา่ ไร อิมสฺมึ สาสเน กติ ธรุ านีติ ปจุ ฺฉิตฺวา “คนฺถธรุ ญฺจ ดงั นี ้ ฟังแล้ว วา่ อ.ธรุ ะ ท. ๒ คือ อ.คนั ถธรุ ะ ด้วย อ.วิปัสสนาธรุ ะ วปิ สสฺ นาธรุ ญฺจาติ เทฺว ธรุ านีติ อสาจตุ รฺวยิ าปุ ,ชฌฺ เาชยฏาฺโนฐํ ด้วย ดงั นี ้ ในวนั หนง่ึ , อ.พี่ชายผ้เู จริญท่ีสดุ (คดิ แล้ว) วา่ (อ.เรา) “วปิ สสฺ นาธรุ ํ ปเู รสสฺ ามตี .ิ ปญจฺ วสสฺ านิ คเหตฺวา ยงั วปิ ัสสนาธรุ ะ จกั ให้เตม็ ดงั นี ้ อยแู่ ล้ว ในส�ำนกั ของอาจารย์ สนฺตเิ ก ปววสสิติ ติฺวฺวาายวาาวยมอนรฺโหตตอฺตราหตกฺตมํมฺ ปฏาฺฐปาณุ นิ.ํ และอปุ ัชฌาย์ ท. สนิ ้ ปี ท. ๕ เรียนเอาแล้ว ซงึ่ กมั มฏั ฐาน เพียงใด อรญฺญํ แตพ่ ระอรหตั เข้าไปแล้ว สปู่ ่า พยายามอยู่ บรรลแุ ล้ว ซง่ึ พระอรหตั ฯ อ.น้องชายผ้นู ้อยท่ีสดุ (คดิ แล้ว) วา่ อ.เรา เป็นหนมุ่ (ยอ่ มเป็น) ปเู รสกฺสนาิฏมฺโีตฐิ “อหํ ตาว ตรุโณ, วฑุ ฺฒกาเล วิปสสฺ นาธรุ ํ กอ่ น, (อ.เรา) ยงั วปิ ัสสนาธรุ ะ จกั ให้เตม็ ในกาล (แหง่ เรา) แกแ่ ล้ว ดงั นี ้ อคุ ฺคณฺหิ. คนฺถธรุ ํ ปฏฺฐเปตฺวา ตีณิ ปิ ฏกานิ เริ่มตงั้ แล้ว ซงึ่ คนั ถธรุ ะ เรียนเอาแล้ว ซงึ่ ปิ ฎก ท. ๓ ฯ อ.บริวารหมใู่ หญ่ (ได้เกิดขนึ ้ แล้ว) เพราะอาศยั ซง่ึ ปริยตั ิ ตสสฺ ปริยตฺตึ นิสฺสาย มหาปริวาโร, ปริวารํ (ของน้องชายผ้นู ้อยท่ีสดุ ) นนั้ , อ.ลาภ ได้เกิดขนึ ้ แล้ว เพราะอาศยั นิสสฺ าย ลาโภ อทุ ปาทิ. ซงึ่ บริวาร ฯ ผลติ สือ่ การเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย 1 www.kalyanamitra.org

(อ.ภกิ ษุชอื่ วา่ กปิละ) นนั้ มวั เมาแล้ว ด้วยความเมาในความท-่ี โส พาหสุ จฺจมเทน มตฺโต ลาภตณฺหาย อภิภโู ต แห่งตนเป็ นผู้มีสุตะมาก ผู้ อันความทะยานอยากในลาภ อตปิ ณฺฑิตมานิตาย ปเรหิ วตุ ฺตํ กปปฺ ิ ยํปิ “อกปปฺ ิ ยนฺติ ครอบง�ำแล้ว ยอ่ มกลา่ ว แม้ซงึ่ วตั ถอุ นั เป็นกปั ปิ ยะ อนั (อนั ชน ท.) วทต,ิ อกปปฺ ิ ยํปิ “กปปฺ ิ ยนฺต,ิ สาวชฺชํปิ “อนวชฺชนฺต,ิ เหลา่ อื่น กลา่ วแล้ว วา่ อ.วตั ถอุ นั เป็นอกปั ปิ ยะ ดงั นี,้ (ยอ่ มกลา่ ว) อนวชฺชํปิ “สาวชฺชนฺต.ิ แม้ซ่ึงวัตถุอันเป็ นอกัปปิ ยะ ว่า อ.วัตถุอันเป็ นกัปปิ ยะ ดังนี,้ (ยอ่ มกลา่ ว) แม้ (ซง่ึ กรรม) อนั เป็นไปกบั ด้วยโทษ วา่ (อ.กรรม) อนั ไมม่ ีโทษ ดงั นี,้ (ยอ่ มกลา่ ว) แม้ (ซงึ่ กรรม) อนั ไมม่ ีโทษ วา่ (อ.กรรม) อนั เป็นไปกบั ด้วยโทษ ดงั นี ้ เพราะความที่ (แหง่ ตน) เป็นผ้มู ีมานะวา่ เป็นคนฉลาดย่ิง ฯ (อ.ภกิ ษชุ อ่ื วา่ กปิละ) นนั้ แม้ อนั ภกิ ษ ท. ผ้มู ศี ลี เป็นทร่ี กั กลา่ วแล้ว โส เปสเลหิ ภิกฺขหู ิ “มา อาวโุ ส กปิ ล เอวํ อวจาติ วา่ ดกู ่อนกปิ ละ ผ้มู ีอายุ (อ.ทา่ น) อยา่ ได้กลา่ วแล้ว อยา่ งนี ้ ดงั นี ้ วตฺวา ธมมฺ ญฺจ วนิ ยญฺจ ทสเฺ สตฺวา โอวทิยมาโนปิ แสดงแล้ว ซง่ึ ธรรม ด้วย ซง่ึ วนิ ยั ด้วย กลา่ วสอนอยู่ กลา่ วแล้ว “ตมุ ฺเห กึ ชวามนเฺ ภานถ,ฺโตริตวฺติจมรตฏุ .ิฺฐสิ ทิสาตอิ าทีนิ วตฺวา ภิกฺขู (ซงึ่ ค�ำ ท.) มีค�ำวา่ อ.ทา่ น ท. จะรู้ ซงึ่ อะไร, (อ.ทา่ น ท.) เป็นผ้เู ชน่ ขขเสนฺโต กบั ด้วยก�ำมือเปลา่ (ยอ่ มเป็น) ดงั นีเ้ป็นต้น ยอ่ มเท่ียว ดา่ อยู่ ตวาดอยู่ ซง่ึ ภิกษุ ท. ฯ ครัง้ นนั้ อ.ภิกษุ ท. บอกแล้ว ซง่ึ เนือ้ ความนนั่ แม้แก่พระเถระ อถสสฺ ภาตุ โสธนตฺเถรสฺสาปิ ภิกฺขู เอตมตฺถํ ชื่อวา่ โสธนะ ผ้เู ป็นพี่ชาย (ของภิกษุช่ือวา่ กปิ ละ) นนั้ ฯ อ.พระเถระ อาโรเจสส. โสปิ นํ อปุ สงฺกมิตฺวา “อาวโุ ส กปิ ล แม้นนั้ เข้าไปหาแล้ว (ซงึ่ ภิกษุชื่อวา่ กปิ ละ) นนั้ กลา่ วสอนแล้ว วา่ ตมุ หฺ าทิสานํ หิ สมมฺ าปฏิปตฺติ สาสนสฺส อายุ นาม, ดกู ่อนกปิ ละ ผ้มู ีอายุ ก็ อ.ความปฏิบตั ชิ อบ (แหง่ ภิกษุ ท.) ตสฺมา สมมฺ าปฏิปตฺตึ ปหาย กปปฺ ิ ยาทีนิ ปฏิพาหนฺโต ผู้เช่นเธอ ช่ือว่า เป็ นอายุ ของพระศาสนา (ย่อมเป็ น), มา เอวํ อวจาติ โอวทิ. เพราะเหตนุ นั้ (อ.เธอ) อยา่ ได้ ละแล้ว ซง่ึ ความปฏบิ ตั โิ ดยชอบ กลา่ ว ห้ามอยู่ แล้ว (ซง่ึ วตั ถุ ท.) อนั เป็นกปั ปิ ยะเป็นต้น อยา่ งนี ้ ดงั นี ้ ฯ (อ.ภิกษุช่ือวา่ กปิ ละ) นนั้ ไมเ่ อือ้ เฟื อ้ แล้ว ซงึ่ ค�ำ (ของพระเถระ) โส ตสสฺ าปิ วจนํ นาทยิ. เอวํ สนฺเตปิ , นํ เถโร แม้นนั้ ฯ (ครัน้ เม่ือความเป็น) อยา่ งนนั้ แม้มีอยู่ อ.พระเถระ ทฺวติ ฺตกิ ฺขตฺตํุ โอวทิตฺวา โอวาทํ อคฺคณฺหนฺตํ “นายํ กลา่ วสอนแล้ว (ซง่ึ ภิกษุช่ือวา่ กปิ ละ) นนั้ ๒-๓ ครัง้ รู้แล้ว (ซงึ่ ภิกษุ มม วจนํ กโรตีติ ญตฺวา “เตนหาวโุ ส ปญฺญายิสสฺ สิ ชอื่ วา่ กปิละ) ผ้ไู มร่ บั อยู่ ซงึ่ โอวาท วา่ (อ.กปิละ) นี ้ ยอ่ มกระทำ� ซง่ึ คำ� สเกน กมเฺ มนาติ วตฺวา ปกฺกามิ. ของเรา หามไิ ด้ ดงั นี ้ กลา่ วแล้ว วา่ ดกู อ่ นทา่ นผ้มู อี ายุ ถ้าอยา่ งนนั้ (อ.เธอ) จกั ปรากฏ ด้วยกรรม อนั เป็นของตน ดงั นี ้ หลกี ไปแล้ว ฯ อ.ภกิ ษุ ท. ผ้มู ศี ลี เป็นทรี่ กั แม้เหลา่ อน่ื ทงิ ้ แล้ว (ซงึ่ ภกิ ษชุ อื่ วา่ กปิละ) โส ทตรุ าโตจาปโรฏฺฐหาตุ ยฺวานํทอรุ ญาจฺเญารปปิ รเิวปโุ สตลวาิหภรนิกฺโฺขตู ฉเฑอกฺฑทยิวสึ ส.ุ ํ นนั้ จำ� เดมิ (แตก่ าล) นนั้ ฯ (อ.ภกิ ษชุ อื่ วา่ กปิละ) นนั้ เป็นผ้มู อี าจาระชวั่ เป็น ผ้อู นั ภิกษุมีอาจาระชวั่ แวดล้อมแล้ว อยอู่ ยู่ นง่ั จบั แล้ว ซงึ่ พดั อโุ ปสถคฺเค “ปาฏิโมกฺขํ อทุ ฺทิสสิ สฺ ามีติ วีชนึ อาทาย บนธรรมาสน์ (ด้วยความคดิ ) วา่ อ.เรา จกั สวด ซง่ึ พระปาฏิโมกข์ ธมมฺ าสเน นิสีทิตฺวา “วตฺตตาวโุ ส เอตฺถ สนฺนิปตติ านํ ดงั นี ้ ในโรงแหง่ อโุ บสถ ในวนั หนงึ่ ถามแล้ว วา่ ดกู อ่ นทา่ นผ้มู อี ายุ ท. ภิกฺขนู ํ ปาฏิโมกฺขนฺติ ปจุ ฺฉิตฺวา “โก อตฺโถ อิมสฺส อ.พระปาฏโิ มกข์ ยอ่ มเป็นไป แกภ่ กิ ษุ ท. ผ้ปู ระชมุ กนั แล้ว (ในท)ี่ นี ้ ปฏิวจเนน ทินฺเนนาติ ตณุ ฺหีภเู ต ภิกฺขู ทิสฺวา “อาวโุ ส หรือ ดงั นี ้เหน็ แล้ว ซงึ่ ภิกษุ ท. ผ้เู ป็นคนนิ่งเป็นแล้ว (ด้วยความคดิ ) ธมโฺ ม วา วินโย วา นตฺถิ, ปาฏิโมกฺเขน สเุ ตน วา วา่ อ.ประโยชน์ อะไร ด้วยคำ� ตอบ อนั (อนั เรา ท.) ให้แล้ว (แกภ่ กิ ษ)ุ นี ้ อสสฺ เุ ตน วา โก อตฺโถติ วตฺวา อาสนา วฏุ ฺฐหิ. ดงั นี ้ กลา่ วแล้ว วา่ ดกู อ่ นทา่ นผ้มู อี ายุ ท. อ.ธรรม หรือ หรือวา่ อ.วนิ ยั ยอ่ มไมม่ ี, อ.ประโยชน์ อะไร ด้วยพระปาฏิโมกข์ อนั (อนั ทา่ น ท.) ฟังแล้ว หรือ หรือวา่ อนั (อนั ทา่ น ท.) ไมฟ่ ังแล้ว ดงั นี ้ ลกุ ขนึ ้ แล้ว จากอาสนะ ฯ (อ.ภิกษุชื่อว่ากปิ ละ) นัน้ ยังศาสนาคือปริยัติ ของพระผู้มี- เอวํ โส กสฺสปสฺส ภควโต ปริยตฺติสาสนํ พระภาคเจ้า พระนามวา่ กสั สปะ ให้เสอ่ื มลงแล้ว ด้วยประการฉะนี ้ ฯ โอสกฺกาเปส.ิ โสธนตฺเถโรปิ ตทเหว ปรินิพฺพายิ. แม้ อ.พระเถระชื่อโสธนะ ปรินิพพานแล้ว ในวนั นนั้ นนั่ เทียว ฯ กปิ โล อายปุ ริโยสาเน อวีจิมหฺ ิ มหานิรเย นิพฺพตฺต.ิ อ.ภิกษุชื่อวา่ กปิ ละ บงั เกิดแล้ว ในมหานรกชื่อวา่ อเวจี ในกาล เป็นท่ีสดุ ลงรอบแหง่ อายุ ฯ 2 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

อ.มารดา ด้วย อ.น้องสาว ด้วย (ของภิกษุช่ือว่ากปิ ละ) นัน้ ตาปิ สฺส มาตา จ ภคนิ ี จ ตสฺเสว ปทริฏิภฺฐาาสนติ คุ ฺวตาึ แม้เหลา่ นนั้ ถงึ ทว่ั แล้ว ซง่ึ ทิฏฐานคุ ติ (ของภิกษุชื่อวา่ กปิ ละ) นนั้ อาปชฺชิตฺวา เปสเล ภิกฺขู อกฺโกสติ ฺวา นน่ั เทียว ด่าแล้ว บริภาษแล้ว ซงึ่ ภิกษุ ท. ผ้มู ีศีลเป็ นท่ีรัก ตตฺเถว นิพฺพตฺตสึ .ุ บงั เกิดแล้ว (ในนรกใหญ่ช่ือวา่ อเวจี) นนั้ นนั่ เทียว ฯ ก็ ในกาลนนั้ อ.บรุ ุษ ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณ กระท�ำแล้ว ตสมฺ ึ ปน กาเล ปญฺจสตา ปรุ ิสา คามฆาตกาทีนิ (ซงึ่ ทจุ ริต ท.) มีการฆา่ ซงึ่ ชาวบ้านเป็นต้น เป็นอยอู่ ยู่ (ด้วยกิริยา) กตฺวา โจริกาย ชีวนฺตา ชนปทมนสุ เฺ สหิ อนพุ ทฺธา อนั เป็นของมีอยแู่ หง่ โจร ผู้ อนั มนษุ ย์ในชนบท ท. ตดิ ตามแล้ว ปลายมานา อรญฺญํ ปวสิ ติ ฺวา ตตฺถ กิญฺจิ ปฏิสรณํ หนไี ปอยู่ เข้าไปแล้ว สปู่ ่า ไมเ่ หน็ อยู่ ซงึ่ ทพ่ี ง่ึ อาศยั อะไร ๆ (ในป่า) นนั้ อปสฺสนฺตา อญฺญตรํ อารญฺญกํ ภิกฺขํุ ทิสฺวา วนฺทิตฺวา เหน็ แล้ว ซง่ึ ภิกษุ ผ้มู ีอนั อยใู่ นป่ าเป็นวตั ร รูปใดรูปหนงึ่ ไหว้แล้ว “ปฏิสรณํ โน ภนฺเต โหถาติ วทสึ .ุ กลา่ วแล้ว วา่ ข้าแตท่ า่ นผ้เู จริญ (อ.ทา่ น ท.) เป็นทพ่ี งึ่ อาศยั ของเรา ท. ขอจงเป็นเถิด ดงั นี ้ฯ อ.พระเถระ กลา่ วแล้ว วา่ ชื่อ อ.ที่พงึ่ อาศยั อนั เชน่ กบั ด้วยศีล เถโร “ตมุ หฺ ากํ สลี สทิสํ ปฏิสรณํ นาม นตฺถิ, ของทา่ น ท. ยอ่ มไมม่ ,ี อ.ทา่ น ท. แม้ทงั้ ปวง จงสมาทาน ซงึ่ ศลี ท. ๕ สพฺเพปิ ปญฺจ สีลานิ สมาทยถาติ อาห. เต “สาธตู ิ เถดิ ดงั นี ้ ฯ (อ.บรุ ุษ ท.) เหลา่ นนั้ รับพร้อมแล้ว วา่ อ.ดีละ ดงั นี ้ สมปฺ ฏิจฺฉิตฺวา สีลานิ สมาทยสึ .ุ สมาทานแล้ว ซงึ่ ศีล ท. ฯ ครัง้ นนั้ อ.พระเถระ กลา่ วสอนแล้ว (ซง่ึ บรุ ุษ ท.) เหลา่ นนั้ วา่ อถ เน เถโร โอวทิ “อิทานิ ตมุ เฺ ห สลี วนฺโต; ในกาลนี ้ อ.ทา่ น ท. เป็นผ้มู ีศีล (ยอ่ มเป็น), อ.ศีล อนั ทา่ น ท. ชีวิตเหตปุ ิ โว เนว สลี ํ อตกิ ฺกมิตพฺพํ, น มโนปโทโส ไมพ่ งึ ก้าวลว่ งนน่ั เทียว แม้เพราะเหตแุ หง่ ชีวิต, อ.กิเลสเป็นเหต-ุ กาตพฺโพต.ิ เต “สาธตู ิ สมปฺ ฏิจฺฉึส.ุ เข้าไปประทุษร้ ายในใจ (อันท่าน ท.) ไม่พึงกระท�ำ ดังนี ้ ฯ (อ.บรุ ุษ ท.) เหลา่ นนั้ รับพร้อมแล้ว วา่ อ.ดีละ ดงั นี ้ฯ ครัง้ นนั้ (อ.มนษุ ย์ ท.) ผ้อู ยใู่ นชนบท เหลา่ นนั้ ถงึ แล้ว ซงึ่ ท่ีนนั้ อถ เต ชานปทา ตํ ฐานํ ปตฺวา อิโต จิโต จ แสวงหาอยู่ (โดยข้าง) นี ้ด้วย ๆ เหน็ แล้ว ซง่ึ โจร ท. เหลา่ นนั้ ปลงลงแล้ว ปริเยสมานา เต โจเร ทสิ วฺ า สพเฺ พ ชวี ติ า โวโรเปส.ํุ (ซงึ่ โจร ท.) ทงั้ ปวง จากชีวติ ฯ (อ.โจร ท.) เหลา่ นนั้ กระท�ำแล้ว เต กาลํ กตฺวา เทวโลเก นิพฺพตฺตสึ .ุ โจรเชฏฺ ฐโก ซงึ่ กาละ บงั เกิดแล้ว ในเทวโลก ฯ อ.โจรผ้เู จริญท่ีสดุ เป็นเทพบตุ ร เชฏฺฐกเทวปตุ ฺโต อโหส.ิ ผ้เู จริญท่ีสดุ ได้เป็นแล้ว ฯ (อ.เทพบตุ ร ท.) เหลา่ นนั้ ทอ่ งเทย่ี วไปแลว้ ในเทวโลก สนิ ้ พทุ ธนั ดร ๑ เต อนโุ ลมปปฺ ฏโิ ลมวเสน เอกํ พทุ ธฺ นตฺ รํ เทวโลเก ด้วยสามารถแหง่ อนโุ ลมและปฏิโลม บงั เกิดแล้ว ในบ้านของ- สํสริตฺวา อิมสฺมึ พทุ ฺธปุ ปฺ าเท สาวตฺถีนครทฺวาเร ชาวประมง มีร้อยแหง่ ตระกลู ห้าเป็นประมาณ ใกล้ประตเู มืองแหง่ ปญฺจกลุ สเต เกวฏฺฏคาเม นิพฺพตฺตสึ .ุ ชื่อว่าสาวัตถี ในกาลเป็ นที่เสด็จอุบัติแห่งพุทธเจ้านี ้ ฯ อ.เทพบุตรผู้เจริญท่ีสุด ถือเอาแล้ว ซ่ึงปฏิสนธิ ในเรือน คณฺหเชิ, อฏฺิตฐกเรเทอวิตปเรตุ สฺโ.ุต เกวฏฺฏเชฏฺฐกสสฺ เคเห ปฏิสนฺธึ ของชาวประมงผ้เู จริญทส่ี ดุ , (อ.เทพบตุ ร ท.) เหลา่ นอกนี ้(ถอื เอาแล้ว ซงึ่ ปฏิสนธิ ในเรือน ท.) เหลา่ นอก นี ้ฯ อ.อนั ถอื เอาซงึ่ ปฏสิ นธิ ด้วย อ.อนั ออก จากท้องของมารดา ด้วย เอวํ เตสํ เอกทิวเสเยว ปฏิสนฺธิคฺคหณญฺจ (แหง่ ชน ท.) เหลา่ นนั้ ได้มแี ล้ว ในวนั เดยี วกนั นน่ั เทยี ว ด้วยประการ ม“อาตตฺถกุ ิ จุนฺฉุ โิโขตอิมนสิกฺมฺขึ คมานเญม ฺจอญอฺเญโหปสิ ท.ิ ารกเากวอฏชฺฺชฏเชชาฏตฺฐาโตกิ ฉะนี ้ ฯ อ.ชาวประมงผ้เู จริญทสี่ ดุ (คดิ แล้ว) วา่ อ.เดก็ ท. แม้เหลา่ อนื่ ในบ้านนี ้ ผ้เู กดิ แล้ว ในวนั นี ้ มอี ยู่ หรือ หนอ แล ดงั นี ้ (ยงั บคุ คล) ปริเยสาเปตฺวา เตสํ ชาตภาวํ สตุ ฺวา “เอเต มม ปตุ ฺตสฺส ให้แสวงหาแล้ว ฟังแล้ว ซงึ่ ความท่ี (แหง่ เดก็ ท.) เหลา่ นนั้ เป็นผ้เู กดิ แล้ว สหายกา ภวิสสฺ นฺตีติ เตสํ โปสาวนิกํ ทาเปส.ิ (ยังบุคคล) ให้ให้แล้ว (ซึ่งทรัพย์) อันเป็ นค่าแห่งการเลีย้ งดู (แก่เดก็ ท.) เหลา่ นนั้ (ด้วยความคดิ ) วา่ (อ.เดก็ ท.) เหลา่ นน่ั เป็นสหาย ของบตุ ร ของเรา จกั เป็น ดงั นี ้ฯ ผลติ สื่อการเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยัติธรรม วดั พระธรรมกาย 3 www.kalyanamitra.org

(อ.เด็ก ท.) เหล่านัน้ แม้ทัง้ ปวง เป็ นเพ่ือน ผู้เล่นซ่ึงฝ่ ุน เต สพเฺ พปิ สหปํ สกุ ฬี กา สหายกา หตุ วฺ า อนปุ พุ เฺ พน พร้ อมกัน เป็ น เป็ นผู้ถึงแล้วซ่ึงวัย ตามล�ำดับ ได้เป็ นแล้ว ฯ เวตยชปโปฺตตจฺตอาคอฺคเปหรุสิโ.ํุสเอตโสหํ สเก.ิ วฏฺฏเชฏฺฐกปตุ ฺโต ยสโต จ (แห่งเด็ก ท.) เหล่านัน้ หนา อ.บุตรของชาวประมงผู้เจริญที่สุด เป็นบรุ ุษผ้เู ลศิ โดยยศ ด้วย โดยเดช ด้วย ได้เป็นแล้ว ฯ แม้ อ.ภิกษุชื่อวา่ กปิ ละ แล ไหม้แล้ว ในนรก สนิ ้ พทุ ธนั ดร ๑ กปิโลปิ โขเอกํ พทุ ธฺ นตฺ รํ นริ เยปจติ วฺ าวปิ ากาวเสเสน เป็นปลาตวั ใหญ่ มีสีเพียงดงั สีแหง่ ทอง มีปากมีกลนิ่ เหมน็ เป็น ตสมฺ ึ กาเล อจิรวตยิ า สวุ ณฺณวณฺโณ ทคุ ฺคนฺธมโุ ข บงั เกดิ แล้ว ในแมน่ ำ� ้ ชอื่ วา่ อจริ วดี ในกาลนนั้ ด้วยวบิ ากอนั เหลอื ลง ฯ มหามจฺโฉ หตุ ฺวา นิพฺพตฺต.ิ ครัง้ นนั้ ในวนั หนง่ึ อ.สหาย ท. เหลา่ นนั้ (ปรึกษากนั แล้ว) วา่ อเถกทิวสํ เต สหายกา “มจฺเฉ พนฺธิสฺสามาติ (อ.เรา ท.) จกั จบั ซง่ึ ปลา ท. ดงั นี ้ถอื เอาแล้ว (ซง่ึ วตั ถุ ท.) มแี หเป็นต้น ชาลาทีนิ คเหตฺวา นทิยํ ขิปึส.ุ อถ เนสํ อนฺโตชาลํ เหว่ียงไปแล้ว ในแมน่ �ำ้ ฯ ครัง้ นนั้ อ.ปลานนั้ ได้เข้าไปแล้ว โอสจุ ฺจมาจสฺโทฉฺทปมากวํสิสุ .ิ “ปตํตุ ทฺติสาวฺ าโนสพปฺเพฐมเํ กมวจฏฺฺเฏฉคาพมนวฺธานสฺตโิ นา สภู่ ายในแหง่ แห (ของสหาย ท.) เหลา่ นนั้ ฯ (อ.ชน ท.) ผ้อู ยใู่ นบ้าน ของชาวประมงโดยปกติ ทงั้ ปวง เหน็ แล้ว (ซงึ่ ปลา) นนั้ ได้กระทำ� แล้ว สวุ ณณฺ มจฉฺ ํ พนธฺ สึ ,ุ อทิ านิ โน ราชา ปหตู ํ ธนํ ทสสฺ ตตี .ิ ซง่ึ เสียงสงู วา่ อ.ลกู ท. ของเรา ท. เม่ือจบั ซง่ึ ปลา ท. ครัง้ แรก จับได้แล้ว ซ่ึงปลาสีทอง, ในกาลนี ้ อ.พระราชา ของเรา ท. จกั พระราชทาน ซงึ่ ทรัพย์ อนั มาก ดงั นี ้ฯ อ.สหาย ท. แม้เหล่านัน้ แล ใส่เข้าแล้ว ซ่ึงปลา ในเรือ เตปิ โข สหายกา มจฺฉํ นาวาย ปกฺขิปิ ตฺวา ยกขึน้ แล้ว ซึ่งเรือ ได้ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระราชา ฯ นาวํ อกุ ฺขิปิ ตฺวา รญฺโญ สนฺตกิ ํ อคมํส.ุ รญฺญาปิ (ครัน้ เมื่อพระด�ำรัส) วา่ (อ.วตั ถ)ุ นน่ั อะไร ดงั นี ้ แม้อนั พระราชา ตํ ทิสฺวาว “กึ เอตนฺติ วตุ ฺเต, “มจฺโฉ เทวาติ อาหํส.ุ ทรงเหน็ แล้ว (ซงึ่ ปลา) นนั้ เทียว ตรัสแล้ว, (อ.สหาย ท. เหลา่ นนั้ ) ราชา สวุ ณฺณวณฺณํ มจฺฉํ ทิสวฺ า “สตฺถา เอตสฺส กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.ปลา ดังนี ้ ฯ สวุ ณฺณการณํ ชานิสฺสตีติ มจฺฉํ คาหาเปตฺวา ภควโต อ.พระราชา ทรงเห็นแล้ว ซึ่งปลา ตัวมีสีเพียงดังสีแห่งทอง สนฺตกิ ํ อคมาส.ิ (ทรงดำ� ริแล้ว) วา่ อ.พระศาสดา จกั ทรงทราบ ซง่ึ เหตุ (แหง่ ปลา) นน่ั เป็นทอง ดงั นี ้ (ทรงยงั สหาย ท. เหลา่ นนั้ ) ให้ถือเอาแล้ว ซง่ึ ปลา ได้เสดจ็ ไปแล้ว สสู่ ำ� นกั ของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ฯ ครนั้ เมอ่ื ปาก เป็นอวยั วะสกั วา่ อนั ปลา เปิดแล้วนนั่ เทยี ว (มอี ย)ู่ , มจฺเฉน มเุ ข ววิ ฏมตฺเตเยว, สกลเชตวนํ อตวิ ิย อ.พระเชตวนั ทงั้ สนิ ้ เป็นสถานทมี่ กี ลนิ่ เหมน็ เกนิ เปรียบ ได้เป็นแล้ว ฯ ทคุ คฺ นธฺ ํ อโหส.ิ ราชา สตถฺ ารํ ปจุ ฉฺ ิ “กสมฺ า ภนเฺ ต มจโฺ ฉ อ.พระราชา ทลู ถามแล้ว ซงึ่ พระศาสดา วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ สวุ ณฺณวณฺโณ ชาโต, กสฺมา จสฺส มขุ โต ทคุ ฺคนฺโธ อ.ปลา เป็ นสัตว์มีสีเพียงดังสีแห่งทอง เกิดแล้ว เพราะเหตุไร, วายตีต.ิ อนงึ่ อ.กลนิ่ เหมน็ ยอ่ มฟ้ งุ ออก จากปาก (ของปลา) นนั้ เพราะเหตไุ ร ดงั นี ้ฯ (อ.พระศาสดา ตรสั แล้ว) วา่ ดกู อ่ นมหาบพติ ร (อ.ปลา) นี ้เป็นภกิ ษุ “อยํ มหาราช กสฺสปสฺส ภควโต ปาวจเน กปิ โล ชอื่ วา่ กปิละ ในปาพจน์ ของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า พระนามวา่ กสั สปะ นาม ภิกฺขุ อโหสิ พหสุ สฺ โุ ต มหาปริวาโร, ลาภตณฺหาย เป็นผ้มู สี ตุ ะมาก เป็นผ้มู บี ริวารหมใู่ หญ่ ได้เป็นแล้ว, (อ.กปิละ นนั้ ) อภภิ โู ต อตตฺ โน วจนํ อคคฺ ณหฺ นตฺ านํ อกโฺ กสกปริภาสโก ผู้ อนั ความทะยานอยากในลาภ ครอบง�ำแล้ว ผ้ทู งั้ ดา่ ทงั้ บริภาษ กสสฺ ปภควโต สาสนํ โอสกฺกาเปส.ิ โส เตน กมเฺ มน (ซง่ึ ภกิ ษุ ท.) ผ้ไู มถ่ อื เอาอยู่ ซง่ึ คำ� ของตน ยงั พระศาสนา ของพระผ้มู -ี อวีจิมหฺ ิ นิพฺพตฺตติ ฺวา วิปากาวเสเสน อิทานิ มจฺโฉ พระภาคเจ้าพระนามวา่ กสั สปะ ให้เสอื่ มลงแล้ว, (อ.กปิ ละ) นนั้ ชาโต; ยํ ปน โส ทีฆรตฺตํ พทุ ฺธวจนํ วาเจสิ พทุ ฺธสฺส บงั เกิดแล้ว ในนรกชื่อวา่ อเวจี เพราะกรรม นนั้ เป็นปลา เกิดแล้ว วณฺณํ กเถส,ิ ตสสฺ นิสฺสนฺเทน อิมํ สวุ ณฺณวณฺณํ ในกาลนี ้ ด้วยวิบากอันเหลือลง: ก็ (อ.กปิ ละ) นัน้ บอกแล้ว ปฏิลภิ; ยํ ภิกฺขนู ํ อกฺโกสกปริภาสโก อโหส,ิ เตนสฺส ซึ่งพระพุทธพจน์ กล่าวแล้ว ซ่ึงคุณอันบุคคลพึงพรรณนา มขุ โต ทคุ ฺคนฺโธ วายต;ิ กถาเปมิ นํ มหาราชาติ. ของพระพทุ ธเจ้า ตลอดราตรีนาน ใด, (อ.กปิ ละ นนั้ ) ได้เฉพาะแล้ว ซง่ึ สเี พยี งดงั สแี หง่ ทอง นี ้ ด้วยวบิ ากเป็นเคร่ืองไหลออก (แหง่ กรรม) นนั้ , (อ.กปิ ละ) เป็นผ้ทู งั้ ดา่ ทงั้ บริภาษ ซง่ึ ภิกษุ ท. ได้เป็นแล้ว ใด, อ.กลน่ิ เหมน็ ยอ่ มฟ้ งุ ออก จากปาก (ของปลา) นนั้ (ด้วยกรรม) นนั้ , ดกู ่อนมหาบพิตร (อ.อาตมาภาพ ยงั ปลา) นนั้ จะให้บอก ดงั นี ้ ฯ 4 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.พระราชา กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ “กถาเปถ ภนฺเตต.ิ (อ.พระองค์ ท.) ขอจง (ทรงยงั ปลา นนั้ ) ให้บอกเถิด ดงั นี ้ฯ ครัง้ นนั้ อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว (ซง่ึ ปลา) นนั้ วา่ อ.เจ้า อถ นํ สตฺถา ปจุ ฺฉิ “ตฺวมสิ กปิ โลต.ิ “อาม ภนฺเต เป็นผ้ชู ื่อกปิ ละ ยอ่ มเป็น หรือ ดงั นี ้ ฯ (อ.ปลา นนั้ กราบทลู แล้ว) อหํ กปิ โลต.ิ “กโุ ต อาคโตสตี .ิ “อวีจิมหานิรยโต วา่ ข้าแตพ่ ระองคผ์ ้เู จริญ พระเจ้าข้า อ.ข้าพระองค์ เป็นผ้ชู อื่ วา่ กปิละ ภนฺเตต.ิ “เชฏฺฐภาตโิ ก เต โสธโน กหุ ินฺต.ิ “ปรินิพฺพโุ ต (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ฯ (อ.พระศาสดา ตรสั ถามแล้ว) วา่ (อ.เจ้า) เป็นผ้มู าแล้ว ภนเฺ ตต.ิ (แต่ที่) ไหน ย่อมเป็ น ดังนี ้ฯ (อ.ปลา นัน้ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ (อ.ข้าพระองค์ เป็นผ้มู าแล้ว) แตน่ รกใหญ่ ชื่อวา่ อเวจี (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ ฯ (อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) วา่ อ.โสธนะ ผ้เู ป็นพี่ชายผผ้เู จริญที่สดุ ของเจ้า (ไปแล้ว) (ในที่) ไหน ดังนี ้ ฯ (อ.ปลา นัน้ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ (อ.พระเถระช่ือวา่ โสธนะ นนั้ ) ปรินิพพานแล้ว ดงั นี ้ฯ (อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) วา่ ก็ อ.นางสาธนี ผ้เู ป็นมารดา “มาตา ปน เต สาธนี กหนตฺ .ิ “นริ เย นพิ พฺ ตตฺ า ของเจ้า (บงั เกิดแล้ว) (ในท่ี) ไหน ดงั นี ้ฯ (อ.ปลา นนั้ กราบทลู แล้ว) ภนิพนฺเฺพตตตฺต.ิ า“กภนนิฏฺเตฺฐตภ.ิคนิ ี เต ตาปนา กหนฺต.ิ “มหานิรเย วา่ ข้าแตพ่ ระองคผ์ ้เู จริญ (อ.มารดา นนั้ ) บงั เกดิ แล้ว ในนรก ดงั นี ้ ฯ (อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) วา่ อ.นางตาปนา ผ้เู ป็นน้องสาว ผ้นู ้อยที่สดุ ของเจ้า (บงั เกิดแล้ว) (ในท่ี) ไหน ดงั นี ้ ฯ (อ.ปลา นนั้ กราบทลู แล้ว) วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ (อ.นางตาปนา) นนั้ บงั เกิดแล้ว ในมหานรก ดงั นี ้ฯ (อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) ว่า ในกาลนี ้ อ.เจ้า จักไป “อิทานิ ตฺวํ กหํ คมิสฺสสตี .ิ “อวีจิมหานิรยเมว (ในท)่ี ไหน ดงั นี ้ฯ (อ.ปลา นนั้ กราบทลู แล้ว) วา่ ข้าแตพ่ ระองคผ์ ้เู จริญ ภนฺเตติ วตฺวา วิปปฺ ฏิสาราภิภโู ต นาวํ สเี สน ปหริตฺวา (อ.ข้าพระองค์ จักไป) สู่มหานรกชื่อว่าอเวจีนัน้ เทียว ดังนี ้ ตาวเทว กาลํ กตฺวา นิรเย นิพฺพตฺต.ิ ผ้อู นั ความเดือดร้อนครอบง�ำแล้ว ประหารแล้ว ซงึ่ เรือ ด้วยศีรษะ กระท�ำแล้ว ซง่ึ กาละ ในขณะนนั้ นนั่ เทียว บงั เกิดแล้ว ในนรก ฯ อ.มหาชน เป็ นผู้สลดแล้ว เป็ นผู้มีอันชูชันแห่งขนเกิดแล้ว มหาชโน สํวิคฺโค อโหสิ โลมหฏฺ ฐชาโต. ได้เป็นแล้ว ฯ ครัง้ นนั้ อ.พระผ้มู ีพระภาคเจ้า ทรงตรวจดแู ล้ว ซง่ึ วาระแหง่ จิต อถ ภควา ตสฺมึ ขเณ สนฺนิปติตาย ปริสาย ของบริษัท ผ้ปู ระชมุ กนั แล้ว ในขณะนนั้ ตรัสแล้ว ซงึ่ กปิ ลสตู ร จิตฺตวารํ โอโลเกตฺวา ตํขณานรุ ูปํ ธมมฺ ํ เทเสตํุ ในสตุ ตนิบาต วา่ (อ.บณั ฑิต ท.) กล่าวแลว้ (ซ่ึงหมวด ๒ แห่งจริยา) นน่ั “ธมฺมจริยํ พรฺ หฺมจริยํ เอตทาหุ วสตุ ฺตมนตฺ ิ คือซึ่งความประพฤติซ่ึงธรรม คือซึ่งความประพฤติ- อันประเสริ ฐ ว่าเป็ นแก้วอันสูงสุด ดังนี้เป็ นต้น เพื่ออันทรงแสดง ซึ่งธรรม อันสมควรแก่ขณะนัน้ ได้ตรัสแล้ว สตุ ฺตนิปาเต กปิ ลสตุ ฺตํ กเถตฺวา อิมา คาถา อภาสิ ซง่ึ พระคาถา ท. เหลา่ นี ้วา่ อ.ตณั หา ย่อมเจริญ (แก่บุคคล) ผู้เกิดแล้วแต่มนู “ มนชุ สสฺ ปมตฺตจาริโน ผูป้ ระพฤติประมาทแลว้ โดยปกติ ราวกะ อ.เถาย่านทราย ตณฺหา วฑฺฒติ มาลวุ า วิย. (เจริญอยู่) ฯ (อ.บคุ คล) นนั้ ย่อมเร่ร่อนไป สู่ภพนอ้ ยและ โส ปริปลฺ วติ หรุ าหรุ ํ ภพใหญ่ เพียงดงั อ.ลิง ตวั ตอ้ งการอยู่ ซ่ึงผลไม้ (เร่ร่อนไปอย)ู่ ผลมิจฺฉํว วนสมฺ ึ วานโร. ในป่า ฯ ผลิตส่อื การเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย 5 www.kalyanamitra.org

อ.ตณั หา นนั่ อนั ลามก อนั ซ่านไปในอารมณ์มีอย่าง ยํ เอสา สหเต ชมฺมี ตณฺหา โลเก วิสตฺติกา, ต่าง ๆ ในโลก ย่อมครอบง�ำ (ซึ่งบคุ คล) ใด, อ.ความโศก ท. โสกา ตสฺส ปวฑฺฒนตฺ ิ, ตอณภิวฺหฏุ ํ ฺโฐลวํ เก วีรณํ, ยอ่ มเจริญทว่ั (แกบ่ คุ คล) นนั้ , เพยี งดงั อ.หญา้ คมบาง อนั อนั ฝน โย เจตํ สหเต ชมฺมึ ทรุ จฺจยํ, ตกรดแลว้ (เจริญอยู่), แต่ว่า (อ.บคุ คล) ใด ย่อมครอบง�ำ โสกา ตมฺหา ปปตนตฺ ิ อทุ วินทฺ วุ โปกฺขรา. ซึ่งตณั หา นน่ั อนั ลามก อนั บคุ คลไปล่วงไดโ้ ดยยาก ในโลก, ตํ โว วทามิ: ภทฺทํ โว, ยาวนเฺ ตตฺถ สมาคตา. อ.ความโศก ท. ย่อมตกไป (จากบคุ คล) นน้ั เพียงดงั ตมณา ฺหโาวยนฬมํวูลํ ขนถ, อสุ ีรตฺโถว วีรณํ. อ.หยาดแห่งน้�ำ (ตกไปอยู่) จากใบบวั ฯ เพราะเหตนุ น้ั (อ.เรา) โสโตว มาโร ภญฺชิ ปนุ ปปฺ นุ นตฺ ิ. จะกล่าว กะท่าน ท. ว่า (อ.ท่าน ท.) มีประมาณเพียงใด เป็นผูม้ าพร้อมกนั แลว้ (ในที)่ นี้ (ย่อมเป็น), อ.ความเจริญ (จงมี) แก่ท่าน ท. (มีประมาณเพียงนน้ั ) เถิด (ดงั นี)้ ฯ อ.ท่าน ท. จงขดุ ซ่ึงราก ของตณั หา, เพียงดงั (อ.บรุ ุษ) ผูม้ ีความตอ้ งการดว้ ยแฝก (ขดุ อยู่) ซ่ึงหญา้ คมบาง ฯ อ.มาร อยา่ ระรานแลว้ ซึ่งทา่ น ท. บอ่ ย ๆ เพียงดงั อ.กระแสน�้ำ (ระรานอยู่) ซ่ึงไมอ้ อ้ เทียว ดงั นี้ ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อ.ฌาน (ยอ่ มเจริญ) หามิได้นนั่ เทียว อ.วปิ ัสสนา ตตฺถ “ปมตตฺ จาริโนต:ิ สตโิ วสสฺ คฺคลกฺขเณน และมรรคและผล ท. ยอ่ มไมเ่ จริญ แก่บคุ คล ช่ือวา่ ผ้ปู ระพฤต-ิ ปมาเทน ปมตฺตจาริสฺส ปคุ ฺคลสฺส เนว ฌานํ น ประมาทแล้วโดยปกติ เพราะความประมาท มีอนั ปลอ่ ยลงซงึ่ สติ วิปสสฺ นามคฺคผลานิ วฑฺฒนฺต.ิ เป็ นลักษณะ (ดังนี ้ ในบท ท.) เหล่านัน้ หนา (แห่งบท) ว่า ปมตตฺ จาริโน ดงั นี ้ฯ อ.อธิบาย วา่ เหมือนอยา่ งวา่ อ.เถายา่ นทราย คือวา่ ยถา ปน รุกฺขํ สํสพิ ฺพนฺตี ปริโยนทฺธนฺตี ตสสฺ อ.เถาวลั ย์ ร้อยรดั อยู่ รงึ รดั อยู่ ซงึ่ ต้นไม้ ยอ่ มเจรญิ เพอ่ื ความพนิ าศ วินาสาย มาลวุ า ลตา วฑฺฒต,ิ เอวมสฺส ฉ ทฺวารานิ (แหง่ ต้นไม้) นนั้ ฉนั ใด, อ.ตณั หา ชอื่ วา่ ยอ่ มเจริญ เพราะอนั อาศยั แล้ว นิสฺสาย ปนุ ปปฺ นุ ํ อปุ ปฺ ชฺชนโต ตณฺหา วฑฺฒตีติ อตฺโถ. ซง่ึ ทวาร ท. ๖ (ของบคุ คล) นนั้ เกิดขนึ ้ บอ่ ย ๆ ฉนั นนั้ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ) วา่ อ.บคุ คล นนั้ คอื วา่ ผ้มู ตี ณั หาเป็นคติ ยอ่ มเร่ร่อนไป โส ปริปลฺ วติ หรุ าหรุ นฺต:ิ โส ตณฺหาคตโิ ก คือวา่ ยอ่ มแลน่ ไป ในภพๆ (ดงั นี ้ แหง่ บาทแหง่ พระคาถา) วา่ ปคุ ฺคโล ภเว ภเว ปริปลฺ วติ ธาวต.ิ โส ปริปลฺ วติ หรุ าหรุ ํ ดงั นี ้ฯ (อ.อนั ถาม วา่ ) อ.บคุ คล นนั้ ยอ่ มเรร่ อ่ นไป สภู่ พน้อยและภพใหญ)่ ยถา กึ วยิ าต.ิ ผลมิจฺฉํว วนสฺมึ วานโรต:ิ เหมือน ราวกะ อ.อะไร ดังนี ้ ฯ (อ.อันแก้) ว่า (อ.บุคคล นัน้ ยอ่ มเร่ร่อนไป สภู่ พน้อยและภพใหญ)่ เพยี งดงั อ.ลงิ ตวั ต้องการอยู่ ซงึ่ ผลไม้ (เร่ร่อนไปอย)ู่ ในป่ า ดงั นี ้ฯ (อ.อธบิ าย วา่ ) อ.ลงิ ตวั ต้องการอยู่ ซงึ่ ผลของต้นไม้ ยอ่ มแลน่ ไป ยถา รุกฺขผลํ อิจฺฉนฺโต วานโร วนสฺมึ ธาวติ, ตสฺส ในป่า, ยอ่ มจบั ซงึ่ กงิ่ ของต้นไม้ นนั้ ๆ , ปลอ่ ยแล้ว (ซง่ึ กง่ิ ) นนั้ ยอ่ มจบั ตสฺส รุกฺขสสฺ สาขํ คณฺหาต,ิ ตํ มญุ ฺจิตฺวา อญฺญํ (ซง่ึ กงิ่ ) อน่ื , ปลอ่ ยแล้ว (ซงึ่ กง่ิ ) แม้นนั้ ยอ่ มจบั (ซง่ึ กง่ิ ) อน่ื ยอ่ มไมถ่ งึ คณหฺ าต,ิ ตปํ ิ มญุ จฺ ติ วฺ า อญญฺ ํ คณหฺ าติ “สาขํ อลภติ วฺ า ซงึ่ ความที่ (แหง่ ตน อนั ใคร ๆ) พงึ กลา่ ว วา่ (อ.ลงิ นี)้ ไมไ่ ด้แล้ว สนนฺ สิ นิ โฺ นติ วตตฺ พพฺ ตํ นาปชชฺ ต;ิ เอวเมว ตณหฺ าคตโิ ก ซงึ่ ก่ิง นง่ั ดีแล้ว ดงั นี ้ ฉนั ใด, อ.บคุ คล ผ้มู ีตณั หาเป็นคติ แลน่ ไปอยู่ ปคุ ฺคโล หรุ าหรุ ํ ธาวนฺโต “อารมมฺ ณํ อลภิตฺวา สภู่ พน้อยและภพใหญ่ ยอ่ มไมถ่ งึ ซง่ึ ความท่ี (แหง่ ตน อนั ใคร ๆ) ตณฺหาย อปปฺ วตฺตํ ปตฺโตติ วตฺตพฺพตํ นาปชฺชติ. พึงกล่าว ว่า (อ.บุคคล นี)้ ไม่ได้แล้ว ซ่ึงอารมณ์ ถึงแล้ว ซงึ่ ความไมเ่ ป็นไปทว่ั ตามตณั หา ดงั นี ้ ฉนั นนั้ นนั่ เทียว (ดงั นี)้ ฯ 6 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

อ.อรรถ วา่ อ.ตณั หาอนั เป็นไปในทวาร ๖ นนั่ อนั ช่ือวา่ ลามก ยนฺติ: ยํ ปุคฺคลํ เอสา ลามกภาเวน ชมฺมี เพราะความทแ่ี หง่ ตณั หาเป็นธรรมชาตลิ ามก อนั ถงึ แล้ว ซงึ่ อนั นบั วา่ วิสาหารตาย วิสปปุ ผฺ ตาย วสิ ผลตาย วิสปริโภคตาย วสิ ตฺตกิ า ดงั นี ้ เพราะความที่ แหง่ ตณั หาเป็นธรรมชาตซิ า่ นไปแล้ว รูปาทสี ุ วสิ ตตฺ ตาย อาสตตฺ ตาย วสิ ตตฺ กิ าติ สงขฺ ยฺ ํ คตา คือว่า เพราะความท่ีแห่งตัณหาเป็ นธรรมชาติข้องอยู่แล้ว ฉทฺวาริกตณฺหา อภิภวต;ิ ยถา นาม วเน ปนุ ปปฺ นุ ํ (ในอารมณ์ ท.) มรี ูปเป็นต้น โดยความทแ่ี หง่ ตณั หาเป็นเพยี งดงั - ปวสคุ ฺสคฺ นลฺสเตสฺ นอเนทโฺเตวนวฏอฺฏภมิวฏลุู ฺกฐาํ วีรโสณกตาณิ อํภววิฑฑฺฒฒฺ ตน;ิ ตฺ เตีอิวอํ ตตสโฺ ถสฺ . อาหารอนั เจือด้วยยาพิษ โดยความที่แห่งตณั หาเป็ นเพียงดงั - ดอกไม้อนั เจือด้วยยาพิษ โดยความที่แห่งตณั หาเป็ นเพียงดงั - ผลไม้อันเจือด้วยยาพิษ โดยความที่แห่งตัณหาเป็ นเพียงดัง- เคร่ืองบริโภคอันเจือด้วยยาพิษ ย่อมครอบง�ำ ซึ่งบุคคล ใด, อ.หญ้าคมบาง อนั อนั ฝน อนั ตกอยู่ บอ่ ย ๆ ในป่ า ตกรดแล้ว ยอ่ มเจริญ ในป่ า ช่ือ ฉนั ใด, อ.ความโศก ท. อนั มีวฏั ฏะเป็นมลู ในภายใน ยอ่ มเจริญ แก่บคุ คล นนั้ ฉนั นนั้ ดงั นี ้ (แหง่ บท) วา่ ยํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ อ.อรรถ วา่ ก็ อ.บคุ คลใด ยอ่ มขม่ คือวา่ ยอ่ มครอบง�ำ ทรุ จจฺ ยนฺต:ิ โย ปน ปคุ ฺคโล เอตํ วตุ ฺตปปฺ การํ ซึ่งตัณหา น่ัน คือว่า อันมีประการอันข้าพเจ้ากล่าวแล้ว อตกิ ฺกมิตํุ ปชหิตํุ ทกุ ฺกรตาย ทรุ จฺจยํ ตณฺหํ สหติ อนั ชื่อว่าอนั บคุ คลไปล่วงได้โดยยาก เพราะความที่แห่งตณั หา ยอภถาิภวนตา,ิ มตมโหฺปากฺขปเรคุ ฺคปลทามุ วปฏตฺฏฺเตมลู ปกาตติ โํสอกทุากปพปินตฺทนุ ฺตน;ิ เป็นธรรมชาตอิ นั บคุ คลกระท�ำได้โดยยาก เพื่ออนั ก้าวลว่ ง คือวา่ ปตฏิ ฺฐาต,ิ เอวํ น ปตฏิ ฺฐหนฺตีติ อตฺโถ. เพ่ืออนั ละขาด, อ.ความโศก ท. อนั มีวฏั ฏะเป็นมลู ยอ่ มตกไป จากบคุ คล นนั้ , คือวา่ อ.หยาดแหง่ น�ำ้ อนั ตกไปแล้ว บนใบบวั คือว่า บนใบแห่งดอกปทุม ย่อมไม่ตัง้ อยู่เฉพาะ ชื่อ ฉันใด, ยอ่ มไมต่ งั้ อยเู่ ฉพาะ ฉนั นนั้ ดงั นี ้ (แหง่ บท) วา่ ทรุ จจฺ ยํ ดงั นเี ้ป็นต้น ฯ (อ.อรรถ ว่า) เพราะเหตนุ นั้ อ.เรา จะกล่าว กะท่าน ท. ตํ โว วทามีต:ิ เตน การเณน อหํ ตมุ เฺ ห วทามิ. (ดงั นี ้แหง่ บท ท.) วา่ ตํ โว วทามิ ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ ) อ.ความเจริญ จงมี แก่ทา่ น ท. เถิด,(แหง่ หมวด ภททฺ ํ โวต:ิ ภทฺทํ ตมุ หฺ ากํ โหต,ุ มา อยํ กปิ โล วิย สองแหง่ บท) วา่ ภททฺ ํ โว ดงั นีเ้ป็นต้น ,อธิบาย วา่ (อ.ทา่ น ท.) วนิ าสํ ปาปณุ ิตฺถาติ อตฺโถ. อยา่ ถงึ แล้ว ซง่ึ ความพินาศ ราวกะ อ.ภิกษุชื่อวา่ กปิ ละ นี ้ ดงั นี ้ , (อ.อรรถ วา่ อ.ทา่ น ท.) จงขดุ ซง่ึ ราก ของตณั หาอนั เป็นไป มูลนฺต:ิ อิมิสสฺ า ฉทฺวาริกตณฺหาย อรหตฺต- ในทวาร ๖ ด้วยญาณอันประกอบพร้ อมแล้วด้วยอรหัตตมรรค มคฺคญฺญาเณน มลู ํ ขนถ. (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ มูลํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ (อ.อนั ถาม) วา่ (อ.ทา่ น ท. จงขดุ ซง่ึ ราก ของตน) ราวกะ อ.อะไร กึ วยิ าต.ิ อสุ รี ตฺโถว วีรณนฺต:ิ ยถา อสุ เี รน อตฺถิโก ดงั นี ้ ฯ (อ.อนั แก้) วา่ (อ.ทา่ น ท. จงขดุ ซง่ึ ราก ของตน) เพียงดงั ปรุ ิโส มหนฺเตน กทุ ฺทาเลน วีรณํ ขนต,ิ เอวมสฺสา มลู ํ (อ.บรุ ุษ) ผ้มู ีความต้องการด้วยแฝก (ขดุ อย)ู่ ซง่ึ หญ้าคมบาง ดงั นี,้ ขนถาติ อตฺโถ. อ.อธบิ าย วา่ อ.บรุ ษุ ผ้มู คี วามต้องการด้วยแฝก ยอ่ มขดุ ซงึ่ หญ้าคมบาง ด้วยจอบ เลม่ ใหญ่ ฉนั ใด, (อ.ทา่ น ท.) จงขดุ ซงึ่ ราก (ของตณั หา) นนั้ ฉนั นนั้ ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ อ.กเิ ลสมาร ด้วย อ.มรณมาร ด้วย อ.เทพบตุ รมาร มา มา โว นนทฬีโํวสเโตสโตชาวตมํ านโฬรํ ภญชฺ ิ ปุนปปฺ ุนนฺต:ิ ด้วย จงอยา่ ระราน ซง่ึ ทา่ น ท. บอ่ ย ๆ ราวกะ อ.กระแสแหง่ แมน่ �ำ้ ตมุ เฺ ห มหาเวเคน อาคโต อนั มาแล้ว ด้วยความเร็วมาก (ระรานอย)ู่ ซงึ่ ไม้อ้อ อนั เกิดแล้ว นทีโสโต วิย กิเลสมาโร มรณมาโร เทวปตุ ฺตมาโร จ ในกระแสแหง่ แมน่ ำ� ้ ดงั นี ้ (แหง่ หมวดสองแหง่ บาทแหง่ พระคาถา) ปนุ ปปฺ นุ ํ ภญฺชตตู ิ อตฺโถ. วา่ มา โว นฬํว โสโตว มาโร ภญชฺ ิ ปุนปปฺ ุนํ ดงั นี ้ฯ ผลิตสอ่ื การเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม วดั พระธรรมกาย 7 www.kalyanamitra.org

ในกาลเป็ นที่สุดลงแห่งเทศนา อ.บุตรของชาวประมง ท. ปอาพปฺพชเชทฺชิตสิตฺวนฺวาาานวทสจกุ าิรฺขสเนสฺเสฺสวปนญทฺตกกุ ฺจฺิขรสิยสตํสฺปานฏปฺตฺิฐํยเกกมตวาฺวฏนาฺฏาสปสตตุ ตฺถฺตฺถาาุรสานสสฺตเํ ทวเิ คกฺธึํ แม้มีร้อยห้าเป็นประมาณ ถงึ แล้ว ซง่ึ ความสลด ปรารถนาอยู่ ซงึ่ อนั กระท�ำซง่ึ ท่ีสดุ แหง่ ทกุ ข์ บวชแล้ว ในส�ำนกั ของพระศาสดา กระท�ำแล้ว ซึ่งที่สุดแห่งทุกข์ ต่อกาลไม่นานน่ันเทียว อเนญฺชวิหารสมาปตฺตธิ มฺมปริโภเคน เอกปริโภคา เป็ นผู้มีธรรมเป็ นเครื่องบริโภคอย่างเดียว กับ ด้วยพระศาสดา อเหสนุ ฺต.ิ โดยธรรมเป็ นเคร่ืองบริโภคคืออเนญชวิหารสมาบตั ิ ได้เป็ นแล้ว ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งปลาช่ือว่ากปิ ละ (จบแล้ว) ฯ กปิ ลมจฉฺ วตถฺ ุ. ๒. อ.(เอรัน่ือขง้แาพห่เงจน้าางจสะุกกรลต่าวัวล) ูกฯน้อย ๒. สูกรโปตกิ าวตถฺ ุ. (๒๔๑) อ.พระศาสดา เม่ือประทบั อยู่ ในพระเวฬวุ นั ทรงปรารภ “ยถาปิ มูเลติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เวฬวุ เน ซ่ึงนางสุกรตัวลูกน้อยตัวเคีย้ วกินซึ่งคูถ ตัวหนึ่ง ตรัสแล้ว วิหรนฺโต เอกํ คถู สกู รโปตกิ ํ อารพฺภ กเถส.ิ ซงึ่ พระธรรมเทศนา นี ้วา่ ยถาปิ มูเล ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ ในวนั หนง่ึ อ.พระศาสดา เสดจ็ เข้าไปอยู่ สเู่ มือง เอกสมฺ ึ กริ ทวิ เส สตถฺ า ราชคหํ ปิณฑฺ าย ปวสิ นโฺ ต ช่ือวา่ ราชคฤห์ เพ่ือก้อนข้าว ทรงเหน็ แล้ว ซง่ึ นางสกุ รผ้ลู กู น้อย เอกํ สกู รโปตกิ ํ ทิสฺวา สติ ํ ปาตฺวากาส.ิ ตวั หนง่ึ ได้ทรงกระท�ำแล้ว ซงึ่ อนั แย้ม ให้ปรากฏ ฯ (เม่ือพระศาสดา) พระพระองค์ นนั้ ทรงกระท�ำอยู่ ซงึ่ อนั แย้ม ตสสฺ สติ ํ กโรนฺตสฺส มขุ ววิ รวนิ ิคฺคตํ ทสสฺ โนภาส- อ.พระเถระช่ือว่าอานนท์ เห็นแล้ว ซึ่งมณฑลแห่งพระรัศมี- มณฺฑลํ ทิสฺวา อานนฺทตฺเถโร “โก นุ โข ภนฺเต เหต,ุ เป็นท่ีปรากฏ อนั เปลง่ ออกแล้วจากชอ่ งแหง่ พระโอษฐ์ ทลู ถามแล้ว โก ปจฺจโย สติ สสฺ ปาตกุ มมฺ ายาติ สติ การณํ ปจุ ฺฉิ. ซงึ่ เหตแุ หง่ อนั แย้ม วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ อ.อะไร หนอ แล เป็นเหตุ (ยอ่ มเป็น), อ.อะไร เป็นปัจจยั แหง่ อนั ทรงกระทำ� ซง่ึ อนั แย้ม ให้ปรากฏ (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ฯ ครัง้ นัน้ อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว (กะพระเถระ) นัน้ ว่า อถ นํ สตถฺ า อาห “ปสสฺ เสตํ อานนทฺ สกู รโปตกิ นตฺ .ิ ดกู อ่ นอานนท์ อ.เธอ ยอ่ มเหน็ ซง่ึ นางสกุ รตวั ลกู น้อย นน่ั หรือ ดงั นี ้ฯ “อาม ภนฺเตต.ิ (อ.พระเถระ กราบทลู แล้ว) วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ พระเจ้าข้า (อ.อยา่ งนนั้ ) ดงั นี ้ฯ (อ.พระศาสดา ตรสั แล้ว) วา่ (อ.นางสกุ รตวั ลกู น้อย) นน่ั เป็นแมไ่ ก่ “เอสา กกสุ นฺธสฺส ภควโต สาสเน เอกาย ได้มีแล้ว ในที่ใกล้ แหง่ โรงเป็นท่ีฉนั หลงั หนงึ่ ในพระศาสนา อาสนสาลาย สามนฺตา กกุ ฺกฏุ ี อโหส,ิ สา เอกสฺส ของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า พระนามวา่ กกสุ นั ธะ, (อ.แมไ่ ก)่ นนั้ ฟังแล้ว ธโยมคมฺ าโวฆจสรํสสฺสตุ ฺวาวิปตสโฺสตนาจกตุมามฺ ฏรฺฐาาชนกํ เุ ลสชนฺฌิพฺพายตนฺตฺตติ สฺวฺสา ซง่ึ อนั ประกาศซงึ่ ธรรม แหง่ ภิกษุผ้โู ยคาวจร รูปหนงึ่ ผ้สู าธยายอยู่ ซง่ึ วิปัสสนากมั มฏั ฐาน เคลอ่ื นแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ บงั เกิดแล้ว อพุ ฺพรี นาม ราชธีตา อโหส,ิ ในราชตระกลู เป็นพระราชธิดา พระนามวา่ อพุ พรี ได้เป็นแล้ว, 8 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.พระราชธดิ า) นนั้ เสดจ็ เข้าไปแล้ว สทู่ เี่ ป็นทถี่ า่ ยซงึ่ วลญั ชะในสรีระ ทสาิสวฺ อาปตรภตาฺถเคปสฬุ รวีรกวสลญญฺญฺชนํ ฏอฺฐปุ าปฺ นาํ เปทวตฏิ ฺวฺฐาาปปฐฬุมวชกฺฌราานสํึ ในกาลอันเป็ นส่วนอ่ืนอีก เห็นแล้ว ซ่ึงกองแห่งหนอน ยงั ความสำ� คญั วา่ หนอน ให้เกิดขนึ ้ แล้ว (ในท่ี) นนั้ ได้เฉพาะแล้ว ปฏิลภิ, สา ตตฺถ ยาวตายกุ ํ ฐตฺวา ตโต จตุ า พฺรหฺมโลเก ซงึ่ ปฐมฌาน, (อ.พระราชธดิ า) นนั้ ทรงดำ� รงอยแู่ ล้ว (ในอตั ภาพ) นนั้ นิพฺพตฺต,ิ ตโต จวิตฺวา จ ปน คตวิ เสน อาลลุ มานา สนิ ้ การก�ำหนดเพียงเทา่ ใดแหง่ อายุ เคลอื่ นแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ อิทานิ สกู รโยนิยํ นิพฺพตฺต;ิ อิทํ การณํ ทิสฺวา มยา บงั เกิดแล้วในพหรมโลก,ก็แล(อ.พระราชธิดานนั้ )ครัน้ เคล่ือนแล้ว สติ ํ ปาตกุ ตนฺต.ิ (จากอตั ภาพ) นนั้ สบั สนอยู่ ด้วยอ�ำนาจแหง่ คติ บงั เกิดแล้ว ในก�ำเนิดแหง่ สกุ ร ในกาลนี,้ อ.อนั แย้ม อนั เรา เหน็ แล้ว ซงึ่ เหตนุ ี ้ กระท�ำให้ปรากฏแล้ว ดงั นี ้ฯ อ.ภิกษุ ท. มีพระเถระช่ือวา่ อานนท์เป็นประมขุ ฟังแล้ว ตํ สตุ ฺวา อานนฺทตฺเถรปปฺ มขุ า ภิกฺขู มหนฺตํ สํเวคํ (ซง่ึ พระด�ำรัส) นนั้ ได้เฉพาะแล้ว ซงึ่ ความสงั เวช อนั ใหญ่ ฯ ปฏิลภสึ .ุ อ.พระศาสดา ทรงยงั ความสงั เวช ให้เกิดขนึ ้ แล้ว (แก่ภิกษุ ท.) สตฺถา เตสํ สํเวคํ อปุ ปฺ าเทตฺวา ราคตณฺหาย เหลา่ นนั้ เม่ือทรงประกาศ ซงึ่ โทษ แหง่ ความทะยานอยาก อาทีนวํ ปกาเสนฺโต อนฺตรวีถิยํ ติ โกว อิมา คาถา ด้วยอ�ำนาจแหง่ ราคะ ผ้ปู ระทบั ยืนแล้ว ในระหวา่ งแหง่ ถนน เทียว อภาสิ ได้ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา ท. เหลา่ นี ้วา่ ครน้ั เมือ่ รากไม้ เป็นของไม่มีอนั ตราย เป็นของมน่ั คง (มีอยู่) “ยถาปิ มูเล อนปุ ทฺทเว ทฬเฺ ห อ.ตน้ ไม้ แมอ้ นั อนั บคุ คลตดั แลว้ ย่อมงอกได้ อีกนนั่ เทียว ฉินโฺ นปิ รุกฺโข ปนุ เรว รูหติ, แมฉ้ นั ใด, ครนั้ เมือ่ อนสุ ยั แห่งตณั หา (อนั อรหตั มรรคญาณ) เอวมฺปิ ตณฺหานสุ เย อนหู เต ไม่ขจดั แลว้ อ.ทกุ ข์ นี้ ย่อมบงั เกิด บ่อย ๆ แมฉ้ นั นน้ั ฯ นิพพฺ ตฺตตี ทกุ ฺขมิทํ ปนุ ปปฺ นุ ํ. (อ.ตณั หา) มีกระแส ๓๖ อนั ไหลไปในอารมณ์เป็ นที่ยงั ใจ ยสฺส ฉตฺตึสติโสตา มนาปสสฺ วนา ภสุ า, ใหเ้ อิบอาบ เป็นธรรมชาติกลา้ (ย่อมมี) (แก่บคุ คล) ใด, มสวหนาตฺ วิ หสนพตฺ พฺ ิ ทธีทุ โฺทสิฏตฺฐาึ สงฺกปปฺ า ราคนิสสฺ ิตา. อ.ความด�ำริ ท. เป็นสภาพใหญ่ (เป็น) อนั อาศยั แลว้ ซึ่งราคะ ตญฺจ ทิสวฺ า ลตํ ชาตํ ลตา อพุ ภฺ ิชฺช ตฉิินฏฺ ทฺฐตถิ,. ย่อมน�ำไป (ซ่ึงบคุ คล นน้ั ) ผูม้ ีความเห็นชว่ั ฯ อ.กระแส ท. มูลํ ปญฺญาย ยอ่ มไหลไป (ในอารมณ์ ท.) ทง้ั ปวง, อ.ตณั หาเพียงดงั เถาวลั ย์ แตกข้ึนแลว้ ยอ่ มตงั้ อย,ู่ ก็ (อ.เธอ ท.) เหน็ แลว้ (ซ่ึงตณั หา) นนั้ อนั เพียงดงั เถาวลั ย์ อนั เกิดแล้ว (ในป่ า) จงตดั ซ่ึงราก ดว้ ยปัญญา ฯ อ.ความโสมนสั ท. อนั ซา่ นไปแลว้ ดว้ ย อนั เป็นไปแลว้ ดว้ ยความรกั สริตานิ สิเนหิตานิ จ ดว้ ย ย่อมมี แก่สตั ว์เกิด, (อ.สตั ว์ ท.) เหล่านนั้ เป็นผูอ้ าศยั แลว้ โสมนสสฺ านิ ภวนตฺ ิ ชนตฺ โุ น, ซ่ึงความส�ำราญ เป็นผูแ้ สวงหาซ่ึงสขุ โดยปกติ (ย่อมเป็น), เต สาตสิตา สเุ ขสิโน, อ.นระ ท. เหล่านนั้ แล เป็นผเู้ ขา้ ถึงซ่ึงชาติและชรา (ย่อมเป็น) ฯ เต เว ชาติชรูปคา นรา. ผลิตส่ือการเรียนรู้ โดยโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย 9 www.kalyanamitra.org

อ.หมู่สตั ว์ ท. เป็ นผู้ อนั ตณั หาอนั กระท�ำซึ่งความสะดุ้ง ตสิณาย ปรุ กฺขตา ปชา กระทำ� ไวใ้ นเบือ้ งหนา้ แลว้ (เป็น) ยอ่ มดิ้นรน เพยี งดงั อ.กระตา่ ย ปริสปปฺ นตฺ ิ สโสว พาธิโต , ตวั อนั นายพรานดกั ได้แล้ว (ด้ินรนอยู่) ฯ (อ.สตั ว์ ท.) สํโยชนสงฺคสตฺตา เป็นผูข้ อ้ งแลว้ ดว้ ยสงั โยชน์และกิเลสเป็นเครื่องขอ้ ง (เป็น) ทกุ ฺขมเุ ปนตฺ ิ ปนุ ปปฺ นุ ํ จิราย. ย่อมเข้าถึง ซ่ึงทุกข์ บ่อย ๆ สิ้นกาลนาน ฯ อ.หมู่สตั ว์ ท. ตสิณาย ปรุ กฺขตา ปชา เป็นผู้ อนั ตณั หาอนั กระทำ� ซงึ่ ความสะดงุ้ กระทำ� ไวใ้ นเบอื้ งหนา้ แลว้ ปริสปปฺ นตฺ ิ สโสว พาธิโต . (เป็น) ย่อมดิ้นรน เพียงดงั อ.กระต่าย ตวั อนั นายพรานดกั - ตสฺมา ตสิณํ วิโนทเย ภิกฺขุ ไดแ้ ลว้ (ดิ้นรนอย)ู่ ฯ เพราะเหตนุ นั้ อ.ภิกษุ หวงั อยู่ (ซึ่งธรรม) อากงฺขํ วิราคมตฺตโนติ. มีราคะไปปราศแลว้ เพอื่ ตน พงึ บรรเทา ซึ่งตณั หาอนั กระทำ� ซ่ึงความสะดงุ้ ดงั นี้ ฯ อ.อรรถ วา่ ครนั้ เมอื่ ราก อนั มอี ยา่ ง ๕ (ของต้นไม้ ใด) อนั ไปแล้ว ตตฺถ “มูเลต:ิ [ยสฺส รมุกเฺูขลสสฺเฉ]ทจนตผสู าุ ทลิสนาวสิชุ เฺฌหนฏฺาฐาทีนจํ ตรงนน่ั เทยี ว ในทศิ ท. ๔ ด้วย ในภายใต้ ด้วย ชอื่ วา่ เป็นของไมม่ อี นั ตราย อชุ กุ เมว คเต ปญฺจวเิ ธ (แหง่ อนั ตราย ท.) มีการตดั และการผา่ และการเจาะเป็นต้นหนา เกนจิ อปุ ทฺทเวน อนปุ ทฺทเว ถิรปตฺตตาย ทฬฺเห [โส] เพราะอนั ตราย อะไร ๆ ชอ่ื วา่ เป็นของมน่ั คง เพราะความท่ี (แหง่ ราก นนั้ ) รุกฺโข อปุ ริจฺฉินฺโนปิ สาขานสุ าขานํ วเสน ปนุ เทว เป็นของถงึ แล้วซงึ่ ความมนั่ คง (มีอย)ู่ อ.ต้นไม้ (นนั้ ) แม้อนั บคุ คล รุหติ; เอวเมว ฉทฺวาริกาย ตณฺหาย อนุสเย ตดั แล้วในเบือ้ งบน ยอ่ มงอก อีกนนั่ เทียว ด้วยอ�ำนาจแหง่ กิ่งใหญ่- อรหตฺตมคฺคญฺญาเณน อนูหเต อสมุจฺฉินฺเน, กง่ิ น้อย ท. (ฉนั ใด), ครนั้ เมอ่ื อนสุ ยั แหง่ ตณั หา อนั เป็นไปในทวาร ๖ ตสมฺ ึ ตสมฺ ึ ภเว ชาตอิ าทิเภทํ อิทํ ทกุ ฺขํ ปนุ ปปฺ นุ ํ อันอรหัตตมรรคญาณ ไม่ขจัดแล้ว คือวา่ ไมต่ ดั ขาดด้วยดีแล้ว, นิพฺพตฺตตเิ ยวาติ อตฺโถ. อ.ทกุ ข์ นี ้ อนั ตา่ งโดยทกุ ขม์ ชี าตเิ ป็นต้น ยอ่ มบงั เกดิ บอ่ ย ๆ นน่ั เทยี ว ในภพ นนั้ นนั้ ฉนั นนั้ นน่ั เทียว ดงั นี ้ (ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ บท) วา่ มูเล ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ อ.อรรถ วา่ อ.ตณั หา อนั มาตามพร้อมแล้ว ด้วยกระแส ท. ๓๖ ยสสฺ าต:ิ ยสสฺ ปคุ คฺ ลสสฺ อติ ิ อชฌฺ ตตฺ กิ สสฺ ปุ าทาย ด้วยอ�ำนาจแหง่ ตณั หาวจิ ริต ท. เหลา่ นี ้ คือ อ.ตณั หาวิจริต ท. ๑๘ ตอฏณฺฐฺหาราสวิจตริตณาฺหนาีตวิิจรอิติเามนสิ ํ พาตหณิรสฺหสฺ าปุวิาจทริตายานอํ ฏฺวฐเาสรนส เข้าไปถือเอา (ซงึ่ อายตนะ) อนั เป็นไปในภายใน อ.ตณั หาวิจริต ท. ๑๘ เข้าไปถือเอา (ซง่ึ อายตนะ) อนั มีในภายนอก ด้วยประการฉะนี ้ ฉตตฺ สึ ตยิ า โสเตหิ สมนนฺ าคตา มนาเปสุ รูปาทสี ุ อาสวติ ช่ือวา่ มนาปสสฺ วนา (เพราะวเิ คราะห์) วา่ (อ.ตณั หา) ยอ่ มไหลไป ปวตฺตตีติ มนาปสฺสวนา ตณฺหา ภสุ า พลวตี โหต,ิ คือวา่ ยอ่ มเป็นไปทว่ั (ในอารมณ์ ท.) มีรูปเป็นต้น อนั เป็นท่ียงั ใจ ตํ ปคุ ฺคลํ วปิ นฺนญฺญาณตาย ทหทุ ตุ ฺทฺวิฏาฺฐึ ปนุ ปปฺ นุ ํ ให้เอิบอาบ ดงั นี ้ เป็นธรรมชาตกิ ล้า คือวา่ เป็นธรรมชาตมิ ีก�ำลงั อปุ ปฺ ชฺชนโต มหนฺตภาเวน มหา ฌานํ วา ยอ่ มมี แก่บคุ คล ใด, อ.ความด�ำริ ท. ช่ือวา่ เป็นสภาพใหญ่ วิปสฺสนํ วา อนิสสฺ าย ราคนิสสฺ ติ า สงฺกปปฺ า วหนฺตีติ เพราะความท่ี (แหง่ ดำ� ริ ท. เหลา่ นนั้ ) เป็นสภาพใหญ่ โดยอนั เกดิ ขนึ ้ อตฺโถ. บ่อย ๆ อัน ไม่อาศัยแล้ว ซึ่งฌาน หรือ หรือว่า ซึ่งวิปัสสนา อาศยั แล้วซงึ่ ราคะ ยอ่ มน�ำไป ซง่ึ บคุ คล นนั้ ช่ือวา่ ผ้มู ีความเหน็ ชว่ั เพราะความท่ีแหง่ ตนเป็นผ้มู ีญานอนั วิบตั แิ ล้ว ดงั นี ้ (แหง่ บท) วา่ ยสสฺ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ 10 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.อรรถ วา่ ) อ.กระแสแหง่ ตณั หา ท. เหลา่ นี ้ ชอื่ วา่ ยอ่ มไหลไป สวนฺติ สพพฺ ธี โสตาต:ิ อิเม ตณฺหาโสตา (ในอารมณ์ ท.) ทงั้ ปวง เพราะอนั ไหลไป ในอารมณ์ ท. มีรูปเป็นต้น จกฺขทุ ฺวาราทีนํ วเสน สพฺเพสุ รูปาทีสุ อารมมฺ เณสุ ทงั้ ปวง ด้วยอ�ำนาจ (แหง่ ทวาร ท.) มีจกั ษุทวารเป็นต้น หรือ หรือวา่ สวนโต สพฺพาปิ รูปตณฺหา ฯเปฯ ธมมฺ ตณฺหาติ เพราะอนั ไหลไป ในภพทงั้ ปวง ท. (แหง่ ตณั หา ท.) คือ อ.รูปตณั หา สพฺพภเวสุ วา สวนโต สพฺพธิ สวนฺติ นาม. ฯลฯ อ.ธรรมตณั หา แม้ทงั้ ปวง (ดงั นี ้ แหง่ บาทแหง่ พระคาถา) วา่ สวนฺติ สพพฺ ธี โสตา ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.ตณั หา ใด) ราวกะวา่ เถาวลั ย์ เพราะอรรถ ลตาต:ิ ปลเิ วฐนตฺเถน สํสพิ ฺพนตฺเถน จ ลตา คืออนั พวั พนั ด้วย เพราะอรรถคืออนั ร้อยรัด ด้วย เพราะเหตนุ นั้ วิยาติ ลตา. (อ.ตณั หา นนั้ ) ชื่อวา่ ลตา (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ ลตา ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.ตณั หาเพยี งดงั เถาวลั ย)์ เกดิ ขนึ ้ แล้ว โดยทวาร ท. ๖ รูปาทอีสุพุ อภฺ าชิ รชฺมมฺ เตณฏิ สฺ ฐุ ตตฏิตี ฺฐ:ิ ตฉ.ิ หิ ทฺวาเรหิ อปุ ปฺ ชฺชิตฺวา ยอ่ มตงั้ อยู่ ในอารมณ์ ท. มีรูปเป็นต้น (ดงั นี ้แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ อุพภฺ ชิ ชฺ ตฏิ ฺ ฐติ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) ก็ (อ.บคุ คล) เหน็ แล้ว ซง่ึ ตณั หาเพยี งดงั เถาวลั ย์ นนั้ ตญจฺ ทสิ วฺ าต:ิ ตํ ปน ตณหฺ าลตํ “เอตเฺ ถสา ตณหฺ า ด้วยสามารถแหง่ ท่ี (แหง่ ตณั หา นนั้ ) เกดิ แล้ว วา่ อ.ตณั หา นนั่ เมอื่ เกดิ ขนึ ้ อปุ ปฺ ชฺชมานา อปุ ปฺ ชฺชตีติ ชาตฏฺฐานวเสน ทิสวฺ า. ยอ่ มเกิดขนึ ้ (ในที่) นี ้ดงั นี ้(ดงั นี ้แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ ตญเฺ จ ทสิ ฺวา ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ (อ.เธอ ท.) จงตดั ท่ีราก ด้วยปัญญาอนั ประกอบ ปญญฺ ายาต:ิ สตฺเถน วเน ชาตํ ลตํ วยิ พร้อมแล้วด้วยมรรค ราวกะ (อ.บคุ คล ผ้ตู ดั อย)ู่ ซงึ่ เถาวลั ย์ มคฺคปปฺ ญฺญาย มเู ล ฉินฺทถาติ อตฺโถ. อนั เกิดแล้ว ในป่ า ด้วยศสั ตรา ดงั นี ้(แหง่ บท) วา่ ปญญฺ าย ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ ว่า) อันซ่านไปแล้ว คือว่า อันซึมซาบแล้ว สริตานีต:ิ อนสุ ฏานิ ปยาตานิ. (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ สริตานิ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อนั เป็นไปแล้วด้วยความรกั ด้วยอำ� นาจแหง่ ความรกั สเิ นหติ านตี :ิ จวี ราทสี ุ ปวตตฺ สเิ นหวเสน สเิ นหติ านิ อนั เป็นไปทว่ั แล้ว (ในบริขาร ท.) มีจีวรเป็นต้น ด้วย (ดงั นี ้แหง่ บท) จ, ตณฺหาสเิ นหมกฺขิตานีติ อตฺโถ. วา่ สิเนหติ านิ ดงั นี ้ , อ.อธิบาย วา่ ผ้อู นั ความรักคือตณั หา แปดเปื อ้ นแล้ว ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อ.ความโสมนสั ท. อนั มีอยา่ งนีเ้ป็นรูป ยอ่ มมี โสมนสสฺ านีต:ิ ตณฺหาวสกิ สฺส ชนฺตโุ น เอวรูปานิ แก่สัตว์เกิด ผู้เป็ นไปในอ�ำนาจแห่งตัณหา (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า โสมนสฺสานิ ภวนฺติ. โสมนสฺสานิ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อ.บคุ คล ท. เหลา่ นนั้ คือวา่ ผ้เู ป็นไปในอ�ำนาจ เต สาตสติ าต:ิ เต ตณหฺ าวสกิ า ปคุ คฺ ลา สาตนสิ สฺ ติ า แหง่ ตณั หา เป็นผ้อู าศยั แล้วซง่ึ ความสำ� ราญ คอื วา่ เป็นผ้อู าศยั แล้ว สขุ นิสฺสติ าว หตุ ฺวา สเุ ขสโิ น สขุ ปริเยสโิ น ภวนฺต.ิ ซง่ึ ความสขุ เทียว เป็น เป็นผ้แู สวงหาซงึ่ ความสขุ โดยปกติ คือวา่ เป็นผ้เู สาะหาซง่ึ ความสขุ โดยปกติ ยอ่ มเป็น (ดงั นี ้ แหง่ หมวดสอง แหง่ บท) วา่ เต สาตสิตา ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ (อ.อรรถ) วา่ อ.นระ ท. ผ้มู ีอยา่ งนีเ้ป็นรูป เหลา่ ใด, (อ.นระ ท.) เต เวต:ิ เย เอวรูปา นรา, เต ชาตชิ ราพยฺ าธมิ รณานิ เหลา่ นนั้ ยอ่ มเข้าถงึ ซงึ่ ชาตแิ ละชราและพยาธิและมรณะ ท. อปุ คจฺฉนฺตเิ ยวาติ ชาตชิ รูปคา นาม โหนฺต.ิ นน่ั เทียว เพราะเหตนุ นั้ (อ.นระ ท. เหลา่ นนั้ ) ชื่อวา่ เป็นผ้เู ข้าถงึ ซง่ึ ชาตแิ ละชรา ยอ่ มเป็น (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ เต เว ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ผลิตส่ือการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย 11 www.kalyanamitra.org

(อ.อรรถ วา่ ) อ.สตั ว์ ท. เหลา่ นี ้ เป็นผ้อู นั ตณั หา อนั ถงึ แล้ว ปชาต:ิ อิเม สตฺตา ตาสกรเณน ตสณิ าติ สงฺขํ ซงึ่ อนั นบั วา่ ตสณิ า ดงั นี ้ เพราะอนั กระท�ำซง่ึ ความสะด้งุ กระท�ำไว้ คตาย ตณฺหาย ปรุ กฺขตา ปริวาริตา หตุ ฺวา. ในเบือ้ งหน้าแล้ว คือวา่ แวดล้อมแล้ว เป็น (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ ปชา ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) (อ.หมสู่ ตั ว์ ท.) ยอ่ มดนิ ้ รน คือวา่ ยอ่ มกลวั พาธิโตต:ิ ลทุ ฺทเกน อรญฺเญ พทฺโธ สโส วิย ราวกะ อ.กระตา่ ย ตวั อนั นายพราน ดกั ได้แล้ว ในป่ า (กลวั อยู่ ปริสปปฺ นฺติ ภายนฺต.ิ ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ พาธิโต ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ) วา่ (อ.สตั ว์ ท.) เป็นผ้ขู ้องแล้ว ด้วยสงั โยชน์อนั มี สโํ ยชนสงคฺ สตตฺ าต:ิ ทสวิเธน สโํ ยชเนน เจว อยา่ ง ๑๐ ด้วยนน่ั เทียว (ด้วยกิเลสเป็นเคร่ืองข้อง) มีกิเลสเป็น สตฺตวเิ ธน ราคสงฺคาทินา จ สตฺตา พทฺธา ตสฺมึ วา เคร่ืองข้องคือราคะเป็นต้น อนั มีอยา่ ง ๗ ด้วย คือวา่ เป็นผ้อู นั ลคฺคา หตุ ฺวา. สงั โยชน์อนั มีอยา่ ง ๑๐ ด้วยนนั่ เทียว อนั กิเลสเป็นเคร่ืองข้อง มีกิเลสเป็นเคร่ืองข้องคือราคะเป็นต้น อนั มีอยา่ ง ๗ ด้วย ผกู แล้ว หรือ หรือวา่ เป็นผ้ตู ดิ แล้ว (ในสงั โยชน์และกิเลสเป็นเครื่องข้อง) นนั้ เป็น (ดงั นี ้แหง่ บาทแหง่ พระคาถา) วา่ สโํ ยชนสงคฺ สตตฺ า ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ (อ.สตั ว์ ท.) ยอ่ มเข้าถงึ ซง่ึ ทกุ ข์ มีชาตเิ ป็นต้น จริ ายาต:ิ จิรํ ทีฆมทฺธานํ ปนุ ปปฺ นุ ํ ชาตอิ าทิกํ บอ่ ย ๆ สนิ ้ กาลนาน คือวา่ สนิ ้ กาลยืดยาวนาน ดงั นี ้ (แหง่ บท) วา่ ทกุ ฺขํ อปุ คจฺฉนฺตีติ อตฺโถ. จริ าย ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ อ.สตั ว์ ท. ผู้ อนั ตณั หาอนั กระท�ำซง่ึ ความสะด้งุ ตสมฺ าต:ิ ยสฺมา ตสณิ าย ปรุ กฺขตา ปลเิ วฐติ า กระท�ำไว้ในเบือ้ งหน้าแล้ว คือวา่ พวั พนั แล้ว (ยอ่ มดนิ ้ รน) เหตใุ ด, สตฺตา, ตสมฺ า อตฺตโน วิราคํ ราคาทิวิคมนํ นิพฺพานํ เพราะเหตนุ นั้ อ.ภิกษุ ผ้ปู รารถนาอยู่ ช่ือวา่ ผ้หู วงั อยู่ (ซงึ่ ธรรม) ตปํฏฺตเฐสนณิ ฺโตํ อากงฺขมาโน ภิกฺขุ อรหตฺตมคฺเคเนว มีราคะไปปราศแล้ว คือวา่ ซง่ึ พระนิพพาน อนั เป็นที่ไปปราศ วโิ นทเย ปนทุ ิตฺวา นีหริตฺวา ฉฑฺเฑยฺยาติ แหง่ กิเลสมีราคะเป็นต้น เพ่ือตน พงึ บรรเทา คือวา่ บรรเทาแล้ว อตฺโถ. น�ำออกแล้ว พงึ ทิง้ ซงึ่ ตณั หาอนั กระท�ำซงึ่ ความสะด้งุ นนั้ ด้วยอรหตั ตมรรคนน่ั เทียว ดงั นี ้(แหง่ บท) วา่ ตสฺมา ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ในกาลเป็นท่ีสดุ ลงแหง่ เทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลแุ ล้ว เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ ปาปณุ ึส.ุ (ซง่ึ อริยผล ท.) มีโสดาปัตตผิ ลเป็นต้น ฯ อ.นางสกุ รตวั ลกู น้อย แม้นนั้ แล เคลื่อนแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ สาปิ โข สกู รโปตกิ า ตโต จวติ ฺวา สวุ ณฺณภมู ิยํ บงั เกดิ แล้ว ในราชตระกลู ในสวุ รรณภมู ,ิ เคลอื่ นแล้ว (จากอตั ภาพ) ราชกเุ ล นิพฺพตฺต,ิ ตโต จตุ า ตเถว พาราณสยิ ํ นนั้ บงั เกิดแล้ว ในเมืองพาราณสี อยา่ งนนั้ นนั่ เทียว เคลื่อนแล้ว นิพฺพตฺต,ิ ตโต จวติ ฺวา จตุจสาตุ ปุ าปฺคาาอรวนกริ ปปรุ าฏฏธฺฺฏฏปเเเุนนร (จากอตั ภาพ) นนั้ บงั เกิดแล้ว ในเรือนของบคุ คลผ้ขู ายซงึ่ ม้า อสสฺ วาณิชเคเห นิพฺพตฺต,ิ ตโต ในทา่ ช่ือวา่ สปุ ปารกะ, เคลือ่ นแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ บงั เกิดแล้ว นาวิกสสฺ เคเห นิพฺพตฺต,ิ ตโต ในเรือน (ของบคุ คล) ผ้ขู ้ามด้วยเรือ ในทา่ ชื่อวา่ คาวิระ, เคล่ือนแล้ว อิสสฺ รเคเห นิพฺพตฺต,ิ ตโต จตุ า ตสฺเสว ทกฺขิณาย (จากอตั ภาพ) นนั้ บงั เกดิ แล้ว ในเรือนของอสิ รชน ในเมอื งอนรุ าชปรุ ะ, ทธีติสาายนาเภเมกนฺกนสฺตมุ คนาาเมนาสมมุ หนตุสฺวฺสานนาิพมฺพกตฏุ ฺตมุ.ิ พฺ ิกสฺส เคเห เคลอื่ นแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ เป็นธิดา ชื่อวา่ สมุ นา โดยชื่อ เป็น ใบนงั ทเกิศิดเแบลือ้้วงขวในาเ(รแือหนง่ เมขือองงอกนฎุ รุ มุาพธปี รุ ชะื่อ) วนา่ นั้สนมุ นนั่ เะทียใวนฯเภกกนั ตคาม 12 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

ครงั้ นนั้ อ.บดิ า (ของกลุ ธดิ า) นนั้ ครนั้ เมอื่ บ้าน นนั้ (อนั มหาชน) อถสฺสา ปิ ตา, ตสมฺ ึ คาเม ฉฑฺฑิเต, ทีฆวาปี รฏฺฐํ ทงิ ้ แล้ว ไปแล้ว สแู่ วน่ แคว้นชอ่ื วา่ ทฆี วาปี อยแู่ ล้ว ชอ่ื ในมหามนุ คิ าม ฯ คนฺตฺวา มหามนุ ิคาเม นาม วส.ิ อ.อ�ำมาตย์ ของพระราชาพระนามว่าทุฏฐคามณี นามตเตกถฺ นนจิเํ ททฏุวฺฐคการมณณีเยรี นญโฺ คญโตอมทจิสโฺ จวฺ าลกมณุ หฏฺ นกฺตอํ ตมมิ งพฺ ฺคโลรํ ช่ือวา่ ลกณุ ฏกอตมิ พระ ไปแล้ว (ในบ้าน) นนั้ ด้วยกิจอนั บคุ คล พงึ กระท�ำ อะไร ๆ นนั่ เทียว เหน็ แล้ว (ซง่ึ กลุ ธิดา) นนั้ กระท�ำแล้ว กตฺวา ตํ อาทาย มหาปณุ ฺณคามํ คโต. ซง่ึ มงคล อนั ใหญ่ พาเอา (ซงึ่ กลุ ธดิ า) นนั้ ไปแล้ว สมู่ หาปณุ ณคาม ฯ ครัง้ นนั้ ช่ือ อ.พระเถระช่ือวา่ มหาอตลุ ะ ผ้อู ยใู่ นมหาวหิ าร อถ นํ โกฏิปพฺพตมหาวิหารวาสี มหาอตลุ ตฺเถโร ชื่อวา่ โกฏิบรรพตโดยปกติ เท่ียวไปอยู่ เพื่อก้อนข้าว (ในบ้าน) นนั้ นาม ตตฺถ ปิ ณฺฑาย จรนฺโต ตสสฺ า เคหทฺวาเร โิ ต ยืนแล้ว ณ ประตแู หง่ เรือน (ของกลุ ธิดา) นนั้ เหน็ แล้ว (ซงึ่ กลุ ธิดา) ทิสฺวา ภิกฺขหู ิ สทฺธึ กเถสิ “อาวโุ ส สกู รโปตกิ า นาม นนั้ กลา่ วแล้ว กบั ด้วยภกิ ษุ ท. วา่ ดกู อ่ นทา่ นผ้มู อี ายุ ท. ชอ่ื อ.นางสกุ ร ลกณุ ฺฏกอตมิ พฺ รมหามตฺตสฺส ภริยาภาวํ ปตฺตา, ตวั ลกู น้อย ถงึ แล้ว ซง่ึ ความเป็นแหง่ ภรรยา ของมหาอ�ำมาตย์ชื่อวา่ อโห อจฺฉริยนฺต.ิ ลกณุ ฏกอตมิ พระ, โอ! อ.เหตนุ า่ อศั จรรย์ ดงั นี ้ฯ (อ.กลุ ธดิ า) นนั้ ฟังแล้ว ซงึ่ วาจาเป็นเครื่องกลา่ ว นนั้ เพกิ ขนึ ้ แล้ว สา ตํ กถํ สตุ ฺวา อตีตภเว อคุ ฺฆาเฏตฺวา ซ่ึงภพอันไปล่วงแล้ว ท. กลับได้แล้ว ซ่ึงญาณเป็ นเหตุระลกึ ชาตสิ ฺสรญฺญาณํ ปฏิลภิ. ซงึ่ ชาติ ฯ (อ.กลุ ธิดา นนั้ ) มคี วามสลดอนั เกดิ ขนึ ้ แล้ว ในขณะนนั้ นน่ั เทยี ว ตขํ ณเํ ยว อปุ ปฺ นนฺ สเํ วคา สามกิ ํ ยาจติ วฺ า มหนเฺ ตน อ้อนวอนแล้ว ซง่ึ สามี บวชแล้ว ในสำ� นกั ของพระเถรีผ้มู ีก�ำลงั ๕ ท. อิสฺสริเยน ปญฺจพลกตฺเถรีนํ สนฺตเิ ก ปพฺพชิตฺวา ด้วยอสิ ริยยศ อนั ใหญ่ ฟังแล้ว ซงึ่ กถาอนั แสดงซงึ่ มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร ตมโตสสติาตตฺสฺถาามปวปหสติ ตานฺตนูวฺตผิหิํ เี าลกวเรลสลฺปนกตฏมฺฏิฐมฺาหฐหนหาาํวิ,สิหตเปาภปิเจกรฏฺฉฺกฺอฐานาาฺตนสทคสีวมาสิตุ ิฬมปฺูตมเมกมทถสวฺทํตุ เฺตนคํ นสสกฺตตตุุ เฺฺฺวววตาาา, ในมหาวิหารชื่อวา่ ตสิ สะ ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว ในโสดาปัตตผิ ล, ครัน้ เม่ืออนั ย่�ำยีซง่ึ ทมิฬ (อนั พระราชาพระนามวา่ ทฏุ ฐคามณี) ทรงกระท�ำแล้ว ไปแล้ว สเู่ ภกกนั ตคาม อนั เป็นที่เป็นที่อยู่ ของมารดาและบดิ า ท. นน่ั เทียว อยอู่ ยู่ (ในเภกกนั ตคาม) นนั้ อรหตฺตํ ปาปณุ ิ. ฟังแล้ว ซง่ึ อาสวิ ิสปู มสตู ร ในมหาวหิ ารช่ือวา่ กลั ลกะ บรรลแุ ล้ว ซง่ึ พระอรหตั ในภายหลงั ฯ (อ.ภกิ ษณุ )ี นนั้ ผ้อู นั ภกิ ษณุ ี ท. ถามแล้ว ในวนั เป็นทป่ี รินพิ พาน สา ปรินพิ พฺ านทวิ เส ภกิ ขฺ นุ หี ิ ปจุ ฉฺ ติ า ภกิ ขฺ นุ สี งฆฺ สสฺ บอกแล้ว ซึ่งความเป็ นไปท่ัว นี ้ ทัง้ ปวง แก่หมู่แห่งภิกษุณี สพฺพํ อิมํ ปวตฺตึ นิรนฺตรํ กเถตฺวา สนฺนิปตติ สฺส มีระหวา่ งออกแล้ว สนทนาแล้ว กบั ด้วยพระเถระชื่อวา่ มหาตสิ สะ ภิกฺขสุ งฺฆสสฺ มชฺเฌ มณฺฑลารามวาสนิ า ผ้กู ลา่ วซงึ่ บทแหง่ ธรรม ผ้อู ยใู่ นมณั ฑลารามโดยปกติ ในทา่ มกลาง ธมมฺ ปทภาณกมหาตสิ ฺสตฺเถเรน สทฺธึ สสํ นฺเทตฺวา แหง่ หมแู่ หง่ ภิกษุ ผ้ปู ระชมุ กนั แล้ว กลา่ วแล้ว วา่ อ.ข้าพเจ้า “อหํ ปพุ ฺเพ มนสุ สฺ โยนิโต จตุ า กกุ ฺกฏุ ี หตุ ฺวา ตตฺถ เคลอื่ นแล้ว จากก�ำเนิดแหง่ มนษุ ย์ ในกาลก่อน เป็นแมไ่ ก่ เป็น เสนสสฺ สนฺตกิ า สสี จฺเฉทํ ปตฺวา ราชคเห นิพฺพตฺตา ถงึ แล้ว ซงึ่ อนั ตดั ซง่ึ ศีรษะ จากส�ำนกั ของเหยี่ยว (ในอตั ภาพ) นนั้ ปริพฺพาชิกาสุ ปพฺพชิตฺวา ปฐมชฺฌานภมู ิยํ นิพฺพตฺตา บงั เกิดแล้ว ในเมืองราชคฤห์ บวชแล้ว ในปริพาชิกา ท. บงั เกิดแล้ว ในภมู ิแหง่ ปฐมฌาน ผลิตสือ่ การเรียนรู้ โดยโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม วัดพระธรรมกาย 13 www.kalyanamitra.org

เคลื่อนแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ บงั เกิดแล้ว ในตระกลู ของเศรษฐี สตกโู ตรโยจนตุ ึ าคนเฺตสฺวฏาฺฐตกิ โเุ ลต นิพฺพตฺตา นจิรสเฺ สว จวติ ฺวา เคล่ือนแล้ว ตอ่ กาลไมน่ านนนั่ เทียว ไปแล้ว สกู่ �ำเนิดแหง่ สกุ ร จตุ า สวุ ณฺณภมู ึ ตโต พาราณสึ เคลอ่ื นแล้ว (จากอตั ภาพ) นนั้ (ไปแล้ว) สสู่ วุ รรณภมู ิ (เคลอื่ นแล้ว) ตโต สเภปุ กปฺ ฺกานรกฺตปคฏาฺมฏนนฺตํ ติ โเตอวคํ าสวมิรวปสิ ฏเฺมฏนเํตตรโสต อนรุ าธปรุ ํ (จากอตั ภาพ) นนั้ (ไปแล้ว) สเู่ มืองพาราณสี (เคล่ือนแล้ว) ตโต อตฺตภาเว (จากอตั ภาพ) นนั้ (ไปแล้ว) สทู่ า่ ช่ือวา่ สปุ ปารกะ (เคลือ่ นแล้ว) ปตฺวา อิทานิ อวกุ ตฺกฺวฏาฺเฐ ชาตา, สพฺเพปิ อปปฺ มาเทน (จากอตั ภาพ) นนั้ (ไปแล้ว) สทู่ า่ ชื่อวา่ คาวิระ (เคลอื่ นแล้ว) สมปฺ าเทถาติ จตสโฺ ส ปริสา สํเวเชตฺวา (จากอตั ภาพ) นนั้ (ไปแล้ว) สเู่ มืองอนรุ าธปรุ ะ (เคลื่อนแล้ว) ปรินิพฺพายีต.ิ (จากอตั ภาพ) นนั้ (ไปแล้ว) สเู่ ภกกนั ตคาม ถงึ แล้ว ซงึ่ อตั ภาพ ท. ๑๓ อันเสมอและมีความเสมอไปปราศแล้ว อย่างนี ้ ด้วยประการฉะนี ้ เป็นผ้เู กิดแล้ว (ในอตั ภาพ) อนั อกุ ฤษฏ์ ในกาลนี ้ (ยอ่ มเป็น), (อ.ทา่ น ท.) แม้ทงั้ ปวง ยงั ความไมป่ ระมาท จงให้ถงึ พร้อมเถดิ ดงั นี ้ ยงั บริษทั ท. ๔ ให้สลดแล้ว ปรินพิ พานแล้ว ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งนางสุกรตวั ลูกน้อย (จบแล้ว) ฯ สูกรโปตกิ าวตถฺ ุ. ๓. อ(อ.เรัน่ือขง้าแพหเ่จงภ้ากิ จษะุผกู้หล่ามวุน)ไฯปผดิ ๓. วพิ ภฺ นฺตกวตถฺ ุ. (๒๔๒) อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเวฬวุ นั ทรงปรารภ “โย เนอิพกํพฺ วิพนฺภฏนฺ โฐฺตตกํิ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เวฬวุ เน (ซงึ่ ภิกษุ) ผ้หู มนุ ไปผิด รูปหนง่ึ ตรัสแล้ว ซงึ่ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ วิหรนฺโต อารพฺภ กเถส.ิ โย นิพพฺ นฎฺ โฐ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ (อ.ภิกษุ) รูปหนงึ่ เป็นสทั ธิวหิ าริก ของพระเถระ เอโก กิร มหากสสฺ ปตฺเถรสสฺ สทฺธิวิหาริโก หตุ ฺวา ชื่อวา่ มหากสั สปะ เป็น แม้ ยงั ฌาน ท. ๔ ให้เกิดขนึ ้ แล้ว เหน็ แล้ว จตฺตาริ ฌานานิ อปุ ปฺ าเทตฺวาปิ อตฺตโน มาตลุ สฺส ซงึ่ รูปารมณ์อนั เป็นข้าศกึ ในเรือน (ของบคุ คล) ผ้กู ระท�ำซงึ่ ทอง สวุ ณฺณการสฺส เคเห วสิ ภาครูปารมมฺ ณํ ทิสฺวา ตตฺถ ผ้เู ป็นลงุ ของตน มีจิตเน่ืองเฉพาะแล้ว (ในรูปารมณ์อนั เป็นข้าศกึ ) ปฏิพทฺธจิตฺโต วิพฺภมิ. นนั้ สกึ แล้ว ฯ ครัง้ นัน้ อ.มนุษย์ ท. น�ำออกแล้ว (ซึ่งบุรุษ) นัน้ อถ นํ มนสุ ฺสา อลสภาเวน กมมฺ ํ กาตํุ อนิจฺฉนฺตํ ผ้ไู มป่ รารถนาอยู่ เพอื่ อนั กระทำ� ซงึ่ การงาน เพราะความท่ี (แหง่ ตน) เคหา นีหรึส.ุ โส ปาปมิตฺตสํสคฺเคน โจรกมเฺ มน ชีวติ ํ เป็นคนเกียจคร้าน จากเรือน ฯ (อ.บรุ ุษ) นนั้ เท่ียวสำ� เร็จอยแู่ ล้ว กปเฺ ปนฺโต วิจริ. ซง่ึ ชีวติ ด้วยโจรกรรม เพราะอนั เก่ียวข้องด้วยมิตรผ้ชู วั่ ฯ ครัง้ นนั้ ในวนั หนงึ่ (อ.ราชบรุ ุษ ท.) จบั แล้ว (ซง่ึ บรุ ุษ) นนั้ อถ นํ เอกทิวสํ คเหตฺวา ปจฺฉาพาหํุ คาฬฺหพนฺธนํ มดั แล้ว มดั มน่ั คง (กระท�ำ) ให้เป็นผ้มู ีแขนในภายหลงั เฆี่ยนอยู่ พนฺธิตฺวา จตกุ ฺเก จตกุ ฺเก กสาหิ ตาเลนฺตา อาฆาตํ ด้วยหวาย ท. ในเพราะหมวดสแ่ี หง่ หนทาง ในเพราะหมวดสแ่ี หง่ หนทาง นยสึ .ุ น�ำไปแล้ว สทู่ ่ีเป็นท่ีน�ำมาฆา่ ฯ อ.พระเถระ เข้าไปอยู่ เพ่ืออนั เท่ียวไป เพื่อก้อนข้าว เหน็ แล้ว เถโร ปิ ณฺฑาย จริตํุ ปวสิ นฺโต ตํ ทกฺขิณทฺวาเรน (ซงึ่ บรุ ุษ) นนั้ ผู้ (อนั ราชบรุ ุษ ท.) น�ำออกไปอยู่ โดยประตเู บือ้ งขวา นีหริยมานํ ทิสฺวา พนฺธนํ สถิ ิลํ กาเรตฺวา “ปพุ ฺเพ ตยา (ยงั ราชบรุ ุษ) ให้กระท�ำแล้ว ซง่ึ เครื่องจองจ�ำ ให้เป็นของหยอ่ น ปริจิตํ กมมฺ ฏฺฐานํ ปนุ อาวชฺเชหีติ อาห. กลา่ วแล้ว วา่ (อ.ทา่ น) จงนกึ ถงึ ซง่ึ กมั มฏั ฐาน อนั (อนั ทา่ น) สงั่ สมแล้ว ในกาลก่อน อีก ดงั นี ้ฯ 14 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.บรุ ุษ) นนั้ ได้แล้ว ซงึ่ ความเกิดขนึ ้ แหง่ สติ เพราะโอวาท โส เตน โอวาเทน สตปุ ปฺ าทํ ลภิตฺวา ปนุ นนั้ ยงั จตตุ ถฌาน ให้บงั เกิดแล้ว อีก ฯ จตตุ ฺถชฺฌานํ นิพฺพตฺเตส.ิ ครงั้ นนั้ อ.ราชบรุ ุษ ท. นำ� ไปแล้ว (ซง่ึ บรุ ุษ) นนั้ สทู่ เี่ ป็นทนี่ ำ� มาฆา่ อถ นํ อาฆาตนํ เนตฺวา “ฆาเตสสฺ ามาติ สเู ล (ยงั บรุ ุษ นนั้ ) ให้ตกใจแล้ว บนหลาว (ด้วยความคดิ ) วา่ อตุ ฺตาเสสํ.ุ โส น ภายติ น สนฺตสต.ิ (อ.เรา ท.) จกั ฆา่ ดงั นี ้ ฯ (อ.บรุ ุษ) นนั้ ยอ่ มไมก่ ลวั ยอ่ มไมส่ ะด้งุ ฯ ครัง้ นนั้ อ.มนษุ ย์ ท. ผ้ยู ืนแล้ว ในสว่ นแหง่ ทิศ นนั้ ๆ อถสฺส ตสมฺ ึ ตสฺมึ ทิสาภาเค ติ า มนสุ สฺ า แม้ยกขนึ ้ แล้ว ซงึ่ อาวธุ ท. มดี าบและหอกและโตมรเป็นต้น (แกบ่ รุ ุษ) อสสิ ตฺตโิ ตมราทีนิ อาวธุ านิ อกุ ฺขิปิ ตฺวาปิ ตํ นนั้ เหน็ แล้ว (ซงึ่ บรุ ุษ) นนั้ ผ้ไู มส่ ะด้งุ อยนู่ น่ั เทียว (กลา่ วแล้ว) วา่ อสนฺตสนฺตเมว ทิสวฺ า “ปสฺสถ โภนฺโต อิมํ ปรุ ิสํ, แนะ่ ทา่ นผ้เู จริญ ท. (อ.ทา่ น ท.) จงดู (ซง่ึ บรุ ุษ) นี,้ (อ.บรุ ุษ) นี ้ อเนกสตานปํ ิ อาวธุ หตถฺ านํ ปรุ ิสานํ มชเฺ ฌ เนวจฉฺ มภฺ ติ ยอ่ มไมห่ วนั่ ไหวนน่ั เทียว ยอ่ มไมส่ นั่ ในทา่ มกลาง แหง่ บรุ ุษ ท. น เวธต,ิ อโห อจฺฉริยนฺติ อจฺฉริยพฺภตู ชาตา มหานาทํ ผ้มู ีอาวธุ ในมือ แม้มีร้อยมิใชห่ นง่ึ , โอ อ.เหตนุ า่ อศั จรรย์ ดงั นี ้ นทิตฺวา รญฺโญ ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสํ.ุ ผ้มู ีความอศั จรรย์เป็นแล้วและเกิดแล้ว บนั ลอื แล้ว บนั ลือใหญ่ กราบทลู แล้ว ซง่ึ ความเป็นไปทวั่ นนั้ แก่พระราชา ฯ อ.พระราชา ทรงสดบั แล้ว ซงึ่ เหตุ นนั้ ตรัสแล้ว วา่ (อ.เจ้า ท.) ราชา ตํ การณํ สตุ ฺวา “วิสสฺ ชฺเชถ นนฺติ วตฺวา สตฺถุ จงปลอ่ ย (ซง่ึ บรุ ุษ) นนั้ ดงั นี ้เสดจ็ ไปแล้ว แม้สสู่ ำ� นกั ของพระศาสดา สนฺตกิ ํปิ คนฺตฺวา ตมตฺถํ อาโรเจส.ิ กราบทลู แล้ว ซงึ่ เนือ้ ความ นนั้ ฯ อ.พระศาสดา ทรงแผไ่ ปแล้ว ซงึ่ พระรัศมี เมื่อทรงแสดง สตฺถา โอภาสํ ผริตฺวา ตสฺส ธมมฺ ํ เทเสนฺโต อิมํ ซงึ่ ธรรม (แก่บรุ ุษ) นนั้ ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา นี ้วา่ คาถมาห. (อ.บคุ คล) ใด เป็นผูอ้ าลยั เพียงดงั หมู่ไมอ้ นั ตง้ั อยู่ในป่า “วโยนมนตุิพฺโพฺตนฏวฺโนฐเวมนวาธิธมาตุ วฺโตติ, ออกแลว้ เป็นผนู้ อ้ มไปแลว้ ในป่า เป็นผพู้ น้ แลว้ จากป่า (เป็น) ตํ ปคุ ฺคลเมว ปสฺสถ : ย่อมแล่นไป สู่ป่านนั่ เทียว, (อ.ท่าน ท.) จงดู ซึ่งบคุ คล นนั้ มตุ ฺโต พนธฺ นเมว ธาวตีติ. นนั่ เทียว. (อ.บคุ คล นน่ั ) พน้ แลว้ (จากเครื่องผกู ) ยอ่ มแลน่ ไป สู่เครื่องผูกนนั่ เทียว ดงั นี้ ฯ อ.เนือ้ ความ (แหง่ ค�ำอนั เป็นพระคาถา) นนั้ วา่ อ.บคุ คล ใด ตสฺสตฺโถ: “โย ปคุ ฺคโล คหิ ิภาเว อาลยสงฺขาตํ ชื่อว่าเป็ นผู้อาลัยเพียงดังหมู่ไม้ อันตัง้ อยู่ในป่ าออกแล้ ว ตวนโปฏฺวฐเํ ฉนฑอเฺ ธฑิมตตุ วฺ ฺโาตปฆพรพฺ าชวติาตสาพยนนฺธนพิ สพฺ งนฺขฏาฺโตฐาวหิตาณรสฺหงาขฺ วานเตา เพราะความที่ (แห่งตน) เป็ นผู้ ทิง้ แล้ว ซ่ึงหมู่ไม้อันตัง้ อยู่ในป่ า อนั บณั ฑิตนบั พร้อมแล้ววา่ ความอาลยั ในความเป็นแหง่ คฤหสั ถ์ มตุ ฺโต หตุ ฺวา ปนุ ตํ ฆราวาสพนฺธนํ ตณฺหาวนเมว บวชแล้ว เป็นผ้นู ้อมไปแล้ว ในป่ าคือตบะ อนั บณั ฑิตนบั พร้อมแล้ว ธาวต,ิ เอวนฺตํ ปคุ ฺคลํ ปสฺสถ; เอโส ฆราวาสพนฺธนโต ว่าธรรมเป็ นเครื่องอยู่ เป็ นผู้พ้นแล้ว จากป่ าคือตัณหา มตุ ฺโต ปนุ ฆราวาสพนฺธนเมว ธาวตีต.ิ อนั บณั ฑิตนบั พร้อมแล้ววา่ เครื่องผกู คือการอยคู่ รองซง่ึ เรือน เป็น ยอ่ มแลน่ ไป สปู่ ่าคอื ตณั หา อนั เป็นเคร่ืองผกู คอื การอยคู่ รองซงึ่ เรือน นนั้ อีก นน่ั เทียว, (อ.ทา่ น ท.) จงดู ซง่ึ บคุ คล นนั้ อยา่ งนี,้ (อ.บคุ คล) นนั่ พ้นแล้ว จากเครื่องผกู คือการอยคู่ รองซงึ่ เรือน ยอ่ มแลน่ ไป สเู่ คร่ืองผกู คือการอยคู่ รองซงึ่ เรือน อีก นน่ั เทียว ดงั นี ้ (อนั บณั ฑิต พงึ ทราบ) ฯ ผลติ สอ่ื การเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย 15 www.kalyanamitra.org

(อ.บุรุษ) นัน้ ฟังแล้ว ซ่ึงพระธรรมเทศนา นี ้ ผู้น่ังแล้ว อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตุ ฺวา โส ราชปรุ ิสานมนฺตเร บนปลายแหง่ หลาว ในระหวา่ ง แหง่ ราชบรุ ุษ ท. เทียว เร่ิมตงั้ แล้ว อสาลู โครฺเเคปตฺวนาิสนิ สฺโงนฺขวาเรอสทุ มยมฺพสฺพนยฺโํ ตปโฏสฺฐตเปาปตตฺวาฺตผิ ลตํลิ ปกตฺขฺวณาํ ซง่ึ ความเกิดขนึ ้ และความเสอื่ มไป พิจารณาอยู่ ซงึ่ สงั ขาร ท. ยกขนึ ้ สลู่ กั ษณะ ๓ บรรลแุ ล้ว ซงึ่ โสดาปัตตผิ ล เสวยอยู่ ซง่ึ ความสขุ สมฺ าปตตฺ สิ ขุ ํ อนภุ วนโฺ ต เวหาสํ อปุ ปฺ ตติ วฺ า อากาเสเนว อนั เกิดแล้วแตส่ มาบตั ิ เหาะขนึ ้ ไปแล้ว สฟู่ ้ า มาแล้ว สสู่ ำ� นกั สตฺถุ สนฺตกิ ํ อาคนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา ปพฺพชิตฺวา ของพระศาสดา โดยอากาศนน่ั เทยี ว ถวายบงั คมแล้ว ซง่ึ พระศาสดา สราชิกาย ปริสาย มชฺเฌเยว อรหตฺตํ ปาปณุ ีต.ิ บวชแล้ว บรรลแุ ล้ว ซง่ึ พระอรหตั ในทา่ มกลาง แหง่ บริษัท อนั เป็นไปกบั ด้วยพระราชา นนั่ เทียว ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งภกิ ษุผู้หมุนไปผดิ (จบแล้ว) ฯ วพิ ภฺ นฺตกวตถฺ ุ. ๔. อ.เร่ืองแห่งเรือนเป็ นท่จี องจำ� ๔. พนฺธนาคารวตถฺ ุ. (๒๔๓) (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเชตวนั ทรงปรารภ “น ตํ ทฬฺหนฺติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เชตวเน ซงึ่ เรือนเป็นที่จองจ�ำ ตรัสแล้ว ซงึ่ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ น ตํ วหิ รนฺโต พนฺธนาคารํ อารพฺภ กเถส.ิ ทฬฺหํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ ในกาล หนงึ่ (อ.ราชบรุ ุษ ท.) น�ำมาแล้ว ซง่ึ โจร ท. เอกสมฺ ึ กิร กาเล พหู สนฺธิจฺเฉทกปนฺถฆาตก- ผู้ตัดซึ่งที่ต่อและผู้ฆ่าในทางเปลี่ยวและผู้ฆ่าซึ่งมนุษย์ มาก มนสุ สฺ ฆาตเก โจเร อาเนตฺวา โกสลรญฺโญ ทสฺเสส.ํุ แสดงแล้ว แก่พระราชาพระนามวา่ โกศล ฯ อ.พระราชา (ทรงยงั ราชบรุ ุษ ท.) ให้จองจ�ำแล้ว (ซงึ่ โจร ท.) เต ราชา อนฺทพุ นฺธนรชฺชพุ นฺธนสงฺขลกิ พนฺธเนหิ เหล่านัน้ ด้วยเครื่องจองจ�ำคือข่ือและเครื่องจองจ�ำคือเชือก พนฺธาเปส.ิ และเคร่ืองจองจ�ำคือตรวน ท. ฯ อ.ภิกษุ ท. ผ้อู ยใู่ นชนบท แม้มี ๓๐ รูป เป็นประมาณ แล ตสึ มตฺตาปิ โข ชานปทา ภิกฺขู สตฺถารํ ทฏสฺ าฐวุกตาฺถมิยาํ เป็นผ้ใู คร่เพื่ออนั เฝ้ า ซงึ่ พระศาสดา (เป็น) มาแล้ว เฝ้ าแล้ว อาคนฺตฺวา ทิสฺวา วนฺทิตฺวา ปนุ ทิวเส ถวายบงั คมแล้ว เทย่ี วไปอยู่ เพอื่ ก้อนข้าว ในเมอื งสาวตั ถี ในวนั รุ่งขนึ ้ ปิ ณฺฑาย จรนฺตา พนฺธนาคารํ คนฺตฺวา เต โจเร ไปแล้ว สเู่ รือนเป็นทจ่ี องจำ� เหน็ แล้ว ซงึ่ โจร ท. เหลา่ นนั้ ผ้กู ้าวกลบั แล้ว ทิสฺวา ปิ ณฺฑปาตปปฺ ฏิกฺกนฺตา สายณฺหสมเย ตถาคตํ จากบณิ ฑบาต เข้าไปเฝ้ าแล้ว ซงึ่ พระตถาคตเจ้า ในสมยั อปุ สงฺกมิตฺวา “ภนฺเต อชฺช อมเฺ หหิ ปิ ณฺฑาย จรนฺเตหิ คือเวลาเยน็ แหง่ วนั ทลู ถามแล้ว วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ ในวนั นี ้ พนฺธนาคาเร พหู โจรา อนฺทพุ นฺธนาทีหิ พทฺธา อ.โจร ท. มาก ในเรือนเป็นท่ีจองจ�ำ ผู้ (อนั ราชบรุ ุษ ท.) จองจ�ำแล้ว มหาทกุ ฺขํ ปอลนาภุยิตวนํุ นฺตาสกฺทโกิฏนฺฐฺตา;ิ, เต ตานิ พนฺธนานิ (ด้วยเครื่องจองจ�ำ ท.) มีเคร่ีองจองจ�ำคือข่ือเป็นต้น ผ้เู สวยอยู่ ฉินฺทิตฺวา อตฺถิ นุ โข ภนฺเต เตหิ ซงึ่ ความทกุ ข์อนั มาก อนั ข้าพระองค์ ท. ผ้เู ท่ียวไปอยู่ เพ่ือบณิ ฑะ พนฺธเนหิ ถิรตรํ อญฺญํ พนฺธนํ นามาติ ปจุ ฺฉึส.ุ เหน็ แล้ว, (อ.โจร ท.) เหลา่ นนั้ ยอ่ มไมอ่ าจ เพ่ืออนั ตดั แล้ว ซง่ึ เคร่ืองจองจ�ำ ท. เหลา่ นนั้ หนีไป, ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ ชอื่ อ.เคร่ืองจองจำ� อน่ื อนั มนั่ คงกวา่ กวา่ เคร่ืองจองจำ� ท. เหลา่ นนั้ มีอยู่ หรือ หนอ แล ดงั นี ้ฯ 16 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

อ.พระศาสดา ตรสั แล้ว วา่ ดกู อ่ นภกิ ษุ ท. (อ.เคร่ืองจองจำ� ท.) สตฺถา “ภิกฺขเว กพึ นฺธนานิ นาเมตานิ: ยํ ปเนตํ เหลา่ นนั่ ชื่อวา่ เป็นเคร่ืองจองจ�ำอะไร (ยอ่ มเป็น), สว่ นวา่ ธนธญฺญปตุ ฺตทาราทีสุ ตณฺหาสงฺขาตํ กิเลสพนฺธนํ, อ.เคร่ืองจองจ�ำคือกิเลส อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้วว่าตัณหา เอตํ เอเตหิ สตคเุ ณน สหสฺสคเุ ณน สตสหสสฺ คเุ ณน (ในสวิญญาณกทรัพย์และอวิญญาณกทรัพย์ ท.) มีทรัพย์และ ถิรตรํ, เอวํ มหนฺตํปิ ปเนตํ ทจุ ฺฉินฺทิยํ พนฺธนํ ข้าวเปลอื กและลกู และเมยี เป็นต้น นน่ั ใด, (อ.เคร่ืองจองจำ� คอื กเิ ลส) โปราณกปณฺฑิตา ฉินฺทิตฺวา หิมวนฺตํ ปวิสติ ฺวา นนั่ เป็นของมนั่ คงกวา่ (กวา่ เคร่ืองจองจ�ำ ท.) เหลา่ นนั่ โดยอนั คณู ปพฺพชสึ ตู ิ วตฺวา อตีตํ อาหริ: ด้วยร้อย โดยอนั คณู ด้วยพนั โดยอนั คณู ด้วยแสน (ยอ่ มเป็น), แตว่ า่ อ.บณั ฑิตผ้มู ีในกาลก่อน ท. ตดั แล้ว ซง่ึ เครื่องจองจ�ำ อนั บคุ คลตดั ได้โดยยาก นนั่ แม้อนั ใหญ่ อยา่ งนี ้ เข้าไปแล้ว สปู่ ่าหมิ พานต์ บวชแล้ว ดงั นี ้ ทรงนำ� มาแล้ว ซง่ึ เร่ืองอนั ไปลว่ งแล้ว วา่ ในกาลอนั ไปลว่ งแล้ว ครนั้ เมอ่ื พระเจ้าพรหมทตั (ทรงยงั บคุ คล) “อตีเต พาราณสยิ ํ พฺรหฺมทตฺเต รชฺชํ กาเรนฺเต, ให้กระท�ำอยู่ ซงึ่ ความเป็นแหง่ พระราชา ในเมืองพาราณสี โพธิสตฺโต เอกสมฺ ึ ทคุ ฺคตคหปตกิ เุ ล นิพฺพตฺต.ิ อ.พระโพธิสตั ว์ บงั เกดิ แล้ว ในตระกลู ของคฤหบดผี ้ถู งึ แล้วซงึ่ ยาก ฯ ตสสฺ วยปปฺ ตฺตสฺส ปิ ตา กาลมกาส.ิ โส ภตึ กตฺวา (เมอื่ พระโพธสิ ตั ว)์ นนั้ เป็นผ้ถู งึ แล้วซงึ่ วยั (มอี ย)ู่ อ.บดิ า ได้กระทำ� แล้ว มาตรํ โปเสส.ิ ซงึ่ กาละ ฯ (อ.พระโพธสิ ตั ว)์ นนั้ กระทำ� แล้ว ซงึ่ การรบั จ้าง เลยี ้ งแล้ว ซงึ่ มารดา ฯ ครัง้ นนั้ อ.มารดา กระท�ำแล้ว ซงึ่ กลุ ธิดา คนหนง่ึ ในเรือน อถสฺส มาตา อนิจฺฉมานสฺเสว เอกํ กลุ ธีตรํ เคเห (เพื่อพระโพธิสตั ว์) นนั้ ผ้ไู มป่ รารถนาอยนู่ น่ั เทียว ได้กระท�ำแล้ว กตฺวา อปรภาเค กาลมกาส.ิ ภริยายปิ สฺส กจุ ฺฉิยํ ซง่ึ กาละ ในกาลอนั เป็นสว่ นอ่ืนอีก ฯ อ.สตั ว์ผ้เู กิดแล้วในครรภ์ คพฺโภ ปตฏิ ฺฐหิ. ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว ในท้อง แม้ของภรรยา (ของพระโพธิสตั ว์) นนั้ ฯ (อ.พระโพธิสตั ว์) นนั้ ไมร่ ู้อยู่ ซงึ่ ความท่ี แหง่ สตั ว์ผ้เู กิดแล้ว ภตึ กโตสฺวคาพชฺภีวส, อฺสหปํ ปตพฏิ ฺฺพฐติชภิสาฺสวาํมอีตชิ าอนานหฺโ.ตว “ภทฺเท ตฺวํ ในครรภ์ เป็นผ้ตู งั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว เทยี ว กลา่ วแล้ว วา่ แนะ่ นางผ้เู จริญ อ.เธอ กระท�ำแล้ว ซง่ึ การรับจ้าง จงเป็นอยเู่ ถิด, อ.เรา จกั บวช ดงั นี ้ฯ (อ.ภรรยา กลา่ วแล้ว) วา่ ข้าแตน่ าย อ.สตั ว์ผ้เู กิดแล้ว ทารก“ํสทาิสมฺวิ านปนพุ ฺพคชพิสฺโภฺสสเีตมิ อาปหต.ฏิ ฺฐโิ ต, มยิ วิชาตาย, ในครรภ์ ของดฉิ นั ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว มิใชห่ รือ, ครัน้ เมื่อดฉิ นั คลอดแล้ว, (อ.ทา่ น) เหน็ แล้ว ซง่ึ เดก็ จกั บวช ดงั นี ้ฯ (อ.พระโพธิสตั ว์) นนั้ รับพร้อมแล้ว วา่ อ.ดีละ ดงั นี ้อ�ำลาแล้ว โส “สาธตู ิ สมปฺ ฏิจฺฉิตฺวา ตสสฺ า วิชาตกาเล วา่ แนะ่ นางผ้เู จริญ อ.เธอ เป็นผ้คู ลอดแล้ว โดยความสวสั ดี “ภทเฺ ท ตวฺ ํ โสตถฺ นิ า วชิ าตา, อทิ านาหํ ปพพฺ ชสิ สฺ ามตี ิ (ยอ่ มเป็น), ในกาลนี ้ อ.เรา จกั บวช ดงั นี ้ ในกาล (แหง่ ภรรยา) นนั้ อาปจุ ฺฉิ. คลอดแล้ว ฯ ครัง้ นนั้ (อ.ภรรยา) นนั้ กลา่ วแล้ว (กะพระโพธิสตั ว์) นนั้ วา่ อถ นํ สา “ปตุ ฺตกสฺส เต ตาว ถนปานโต (อ.ทา่ น) ขอจง ยงั กาลเป็นท่ีไปปราศ จากการด่ืมซง่ึ น�ำ้ นม อปคมนกาลํ อาคเมหีติ วตฺวา ปนุ คพฺภํ คณฺหิ. แหง่ ลกู น้อย ของทา่ น ให้มา ก่อน ดงั นี ้ ถือเอาแล้ว ซงึ่ ครรภ์ อีก ฯ (อ.พระโพธิสตั ว์) นนั้ คดิ แล้ว วา่ (อนั เรา) ไมอ่ าจ เพื่ออนั โส จินฺเตสิ “อิมํ สมปฺ ฏิจฺฉาเปตฺวา คนฺตํุ น สกฺกา, (ยงั ภรรยา) นี ้ ให้รบั พร้อมแล้ว ไป, (อ.เรา) ไมบ่ อกแล้ว (แกภ่ รรยา) อิมิสฺสา อนาจิกฺขิตฺวาว ปลายิตฺวา ปพฺพชิสสฺ ามีติ. นี ้เทยี ว หนไี ปแล้ว จกั บวช ดงั นี ้ฯ (อ.พระโพธสิ ตั ว)์ นนั้ ไมบ่ อกแล้ว โส ตสสฺ า อนาจิกฺขิตฺวาว รตฺตภิ าเค อฏุ ฺฐาย ปลายิ. (แก่ภรรยา) นนั้ เทียว ลกุ ขนึ ้ แล้ว ในสว่ นแหง่ ราตรี หนีไปแล้ว ฯ อถ นํ นครคตุ ฺตกิ า อคฺคเหสํ.ุ ครัง้ นนั้ (อ.บรุ ุษ ท.) เป็นผ้ปู ระกอบแล้วในอนั ค้มุ ครองซง่ึ เมือง ได้จบั แล้ว (ซงึ่ พระโพธิสตั ว์) นนั้ ฯ ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม วดั พระธรรมกาย 17 www.kalyanamitra.org

(อ.พระโพธสิ ตั ว)์ นนั้ (กลา่ วแล้ว) วา่ ข้าแตน่ าย อ.ข้าพเจ้า ชอื่ วา่ โส “อหํ สามิ มาตโุ ปสโก นาม, วสิ สฺ ชฺเชถ มนฺติ เป็นผ้เู ลยี ้ งซงึ่ มารดา (ยอ่ มเป็น), (อ.ทา่ น ท.) ขอจงปลอ่ ย อตฺตานํ วิสฺสชฺเชตฺวา เอกสมฺ ึ ฐาเน วสติ ฺวา หิมวนฺตํ ซึ่งข้าพเจ้า เถิด ดังนี ้ (ยังบุรุษ ท.) ให้ปล่อยแล้ว ซ่ึงตน ปวสิ ติ วฺ า อสิ ปิ พพฺ ชชฺ ํ ปพพฺ ชติ วฺ า อภญิ ญฺ า จ สมาปตตฺ โิ ย อยแู่ ล้ว ในท่ี แหง่ หนงึ่ เข้าไปแล้ว สปู่ ่ าหิมพานต์ บวชแล้ว จ นิพฺพตฺเตตฺวา ฌานกีฬาย กีฬนฺโต วิหาส.ิ บวชเป็นฤาษี ยงั อภญิ ญา ท. ด้วย ยงั สมาบตั ิ ท. ด้วย ให้บงั เกดิ แล้ว เลน่ อยู่ ด้วยอนั เลน่ ด้วยฌาน อยแู่ ล้ว ฯ (อ.พระโพธิสตั ว์) นนั้ อยอู่ ยู่ (ในท่ี) นนั้ นน่ั เทียว เปลง่ แล้ว โส ตตฺถ วสนฺโตเยว “เอวรูปํ ปิ นาม เม ทจุ ฺฉินฺทิยํ ซงึ่ อทุ าน วา่ อ.เคร่ืองจองจำ� คอื ลกู และเมยี อ.เคร่ืองจองจำ� คอื กเิ ลส ปตุ ฺตทารพนฺธนํ กิเลสพนฺธนํ ฉินฺนนฺติ อทุ านํ อทุ าเนส.ิ อนั บคุ คลตดั ได้โดยยาก ช่ือ แม้มีอยา่ งนีเ้ป็นรูป อนั เรา ตดั ได้แล้ว ดงั นี ้ฯ อ.พระศาสดา ครัน้ ทรงน�ำมาแล้ว ซงึ่ เร่ืองอนั ไปลว่ งแล้ว นี ้ สตฺถา อิมํ อตีตํ อาหริตฺวา เตน อทุ านิตํ อทุ านํ เมื่อทรงประกาศ ซง่ึ อทุ าน อนั (อนั พระโพธิสตั ว์) นนั้ เปลง่ แล้ว ปกาเสนฺโต อิมา คาถา อภาส.ิ ได้ตรัสแล้ว ซงึ่ พระคาถา ท. เหลา่ นี ้วา่ (อ.เครื่องจองจ�ำ) ใด เป็ นของเกิดแล้วแต่เหล็ก ด้วย “น ตํ ทฬหฺ ํ พนธฺ นมาหุ ธีรา, เป็นของเกิดแลว้ แต่ไมแ้ ละเกิดแลว้ แต่หญา้ มงุ กระต่าย ดว้ ย ยทายสํ ทารุชปพพฺ ชญฺจ. (ย่อมเป็น), อ.นกั ปราชญ์ ท. ไม่กล่าวแลว้ ซึ่งเครื่องจองจ�ำ สารตฺตรตฺตา มณิกณุ ฺฑเลสุ นน้ั วา่ เป็นของมนั่ คง ฯ (อ.ชน ท. เหลา่ ใด) เป็นผกู้ �ำหนดั หนกั แลว้ ปตุ ฺเตสุ ทาเรสุ จ ยา อเปกฺขา, ก�ำหนดั แลว้ ในแกว้ มณีและตมุ้ หู ท. ยอ่ มเป็น (อ.ความก�ำหนดั เอตํ ทฬหฺ ํ พนธฺ นมาหุ ธีรา นนั้ แห่งชน ท. เหล่านนั้ ) ดว้ ย อ.ความเยือ่ ใย ในลูก ท. ดว้ ย โอหารินํ สิถิลทปุ ปฺ มญุ ฺจํ. ในเมีย ท. ดว้ ย ใด (อ.ความเยือ่ ใย นน้ั ) ดว้ ย. อ.นกั ปราชญ์ ท. เอตํปิ เฉตฺวาน ปริพพฺ ชนตฺ ิ กลา่ วแลว้ ซึ่งเครื่องจองจ�ำ นน่ั อนั เหนีย่ วลง อนั หยอ่ นและ- อนเปกฺขิโน กามสขุ ํ ปหายาติ. อนั บคุ คลเปลือ้ งไดโ้ ดยยาก วา่ เป็นของมนั่ คง ฯ (อ.นกั ปราชญ์ ท.) ตดั แลว้ (ซ่ึงเครื่องจองจ�ำ) แมน้ นั่ เป็นผูไ้ ม่มีความเยือ่ ใย (เป็น) ละแลว้ ซึ่งความสขุ ในกาม ย่อมเวน้ รอบ ดงั นี้ ฯ อ.อรรถ วา่ อ.บรุ ุษผ้เู ป็นบณั ฑิต ท. มีพระพทุ ธเจ้าเป็นต้น ตตฺถ “ธีราต:ิ พทุ ฺธาทโยปณฺฑิตปรุ ิสาอยสงฺขลกิ - ยอ่ มไมเ่ รียก (ซง่ึ เครื่องจองจ�ำ) อนั บณั ฑิตนบั พร้อมแล้ววา่ - สงฺขาตํ อยสา นิพฺพตฺตํ อายสํ อนฺทพุ นฺธนสงฺขาตํ ตรวนอนั เป็นวิการแหง่ เหลก็ อนั บงั เกิดแล้ว แตเ่ หลก็ ชื่อวา่ ทารุชํ ปพฺพชตเิ ณหิ วา อญฺเญหิ วา วากาทีหิ รชฺชํุ อนั บงั เกิดแล้วแตเ่ หลก็ อนั บณั ฑิตนบั พร้อมแล้ววา่ เครื่องจองจ�ำ กตวฺ า กตํ รชชฺ พุ นธฺ นํ อสอิ าทหี ิ ฉนิ ทฺ ติ ํุ สกกฺ เุ ณยยฺ ภาเวน คือข่ือ ชื่อวา่ อนั เกิดแล้วแตไ่ ม้ ซงึ่ เคร่ืองจองจ�ำคือเชือก `ถิรนฺติ น วทนฺตีติ อตฺโถ. อนั (อนั บคุ คล) กระท�ำแล้ว ด้วยหญ้ามงุ กระตา่ ย ท. หรือ หรือวา่ (ด้วยวตั ถุ ท.) มีปอเป็นต้น เหลา่ อ่ืน กระท�ำ ให้เป็นเชือก วา่ เป็นของมน่ั คง ดงั นี ้ เพราะความท่ี (แหง่ เคร่ืองจองจ�ำ นนั้ ) เป็นของอนั บคุ คลพงึ อาจ เพื่ออนั ตดั (ด้วยอาวธุ ท.) มีดาบเป็นต้น ดงั นี ้ (ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ บท) วา่ ธีรา ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ 18 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.อรรถ วา่ ) ผ้เู ป็นผ้กู �ำหนดั หนกั แล้ว เป็น ก�ำหนดั แล้ว สารตตฺ รตตฺ าต:ิ สารตฺตา หตุ ฺวา รตฺตา. (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ สารตตฺ รตตฺ า ดงั นี ้ ฯ อ.อธิบาย วา่ พหลราครตฺตาติ อตฺโถ. ผ้กู �ำหนดั แล้วด้วยราคะจดั ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) ในแก้วมณี ท. ด้วย ในต้มุ หู ท. ด้วย, อกี อยา่ งหนงึ่ มณิกุณฺฑเลสูต:ิ มณีสุ จ กณุ ฺฑเลสุ จ, ในต้มุ หู ท. อนั งดงามด้วยแก้วมณี (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ มณกิ ณุ ฑฺ เลสุ มณิจิตฺเตสุ วา กณุ ฺฑเลส.ุ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) (อ.ชน ท.) เหลา่ ใด เป็นผ้กู �ำหนดั หนกั แล้ว เอตํ ทฬฺหนฺต:ิ เย มณิกณุ ฺฑเลสุ สารตฺตรตฺตา, ก�ำหนดั แล้ว ในแก้วมณีและต้มุ หู ท. (ยอ่ มเป็น), อ.ความก�ำหนดั เตสํเยว โส ราโค, ยา จ ปตุ ฺตทาเรสุ อเปกฺขา ตณฺหา, นนั้ (แหง่ ชน ท.) เหลา่ นนั้ นนั่ เทียว ด้วย, อ.ความเย่ือใย คือวา่ เอตํ กิเลสมยํ พนฺธนํ ปณฺฑิตปรุ ิสา ทฬฺหนฺติ วทนฺติ. อ.ความทะยานอยาก ในลกู และเมีย ท. ใด, (อ.ความเยื่อใย นนั้ ) ด้วย, อ.บรุ ุษผ้เู ป็นบณั ฑติ ท. ยอ่ มกลา่ ว ซงึ่ เครื่องจองจำ� นนั่ คอื วา่ อนั บงั เกิดแล้วแตก่ ิเลส วา่ เป็นของมนั่ คง ดงั นี ้ (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ ทฬฺหํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.เคร่ืองจองจำ� ใด) ยอ่ มเหนย่ี วลง คอื วา่ ยอ่ มนำ� ไป โอหารินนฺต:ิ อากฑฺฒิตฺวา จตสู ุ อปาเยสุ ในภายใต้ เพราะอนั คร่ามาแล้ว ให้ตกไป ในอบาย ท. ๔ เพราะเหตนุ นั้ ปาตนโต อวหรติ เหฏฺฐา หรตีติ โอหารินํ. (อ.เคร่ืองจองจำ� นนั้ ) ชอื่ วา่ อนั เหนยี่ วลง (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ โอหารินํ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.เครื่องจองจ�ำ ใด) ยอ่ มไมต่ ดั ซงึ่ ผิวและ โลหิตสํ ิถลิ นนฺต:ิ นพีหนรตฺธนิ ฏฺฐพานเนฺธนฉภวาิจวมํปฺมิ มํสอาชนาิ นนาเฉปินตฺทฺวตาิ หนงั และเนือ้ ท. คือวา่ ยอ่ มไมน่ �ำออก ซง่ึ เลอื ด ในที่เป็นที่ผกู คือวา่ ไม่ (ยงั บคุ คล) ให้รู้แล้ว แม้ซงึ่ ความเป็นคืออนั ผกู ยอ่ มให้ ถลปถชลปถาทีสุ กมฺมานิ กาตํุ เทตีติ สถิ ิล.ํ เพ่ืออนั กระท�ำซงึ่ การงานท.(ในทางท.)มีทางบนบกและทางในน�ำ้ เป็นต้น เพราะเหตนุ นั้ (อ.เครื่องจองจ�ำ นนั้ ) ช่ือวา่ อนั หยอ่ น (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ สิถลิ ํ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ) วา่ ก็ อ.เครื่องจองจ�ำคือกิเลส อนั เกิดขนึ ้ แล้ว ทปุ ปฺ มุญจฺ นฺต:ิ โลภวเสน หิ เอกวารํปิ อปุ ปฺ นฺนํ แม้สิน้ วาระหนึ่ง ด้วยอ�ำนาจแห่งความโลภ เป็ นกิเลสชาต- โกหิเลตสีตพิ ทนปุ ฺธปฺนมํ ญุ พฺจนํ.ฺธนฏฺฐานโต กจฺฉโป วิย ทมุ โฺ มจิยํ อนั บคุ คลเปลอื ้ งได้โดยยาก ยอ่ มเป็น ราวกะ อ.เตา่ (เป็นสตั ว์ อนั บคุ คลเปลอื ้ งได้โดยยาก) จากทเี่ ป็นทจี่ องจำ� (มอี ย)ู่ เพราะเหตนุ นั้ (อ.เคร่ืองจองจ�ำคือกิเลส นนั้ ) ช่ือวา่ อนั บคุ คลเปลอื ้ งได้โดยยาก (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ ทปุ ปฺ มุญจฺ ํ ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ (อ.นกั ปราชญ์ ท.) ตดั แล้ว ซงึ่ เครื่องจองจ�ำ เอตปํ ิ เฉตวฺ านาต:ิ เอตํ เอวํ ทฬฺหํปิ กิเลสพนฺธนํ คือกิเลส นน่ั แม้อนั มน่ั คง อยา่ งนี ้ ด้วยพระขรรค์คือญาณ ญาณขคฺเคน ฉินฺทิตฺวา อนเปกฺขิโน หตุ ฺวา กามสขุ ํ เป็นผ้ไู มม่ คี วามเยอ่ื ใย เป็น ละแล้ว ซง่ึ ความสขุ ในกาม ยอ่ มเว้นรอบ ปหาย ปริพฺพชนฺติ ปกฺกมนฺต,ิ ปพฺพชนฺตีติ อตฺโถ. คอื วา่ ยอ่ มหลกี ไป, คอื วา่ ยอ่ มบวช ดงั นี ้ (แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ เอตปํ ิ เฉตวฺ าน ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ในกาลเป็นท่ีสดุ ลงแหง่ เทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลแุ ล้ว เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ ปาปณุ สึ ตู .ิ (ซงึ่ อริยผล ท.) มีโสดาปัตตผิ ลเป็นต้น ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งเรือนเป็ นท่จี องจำ� (จบแล้ว) ฯ พนฺธนาคารวตถฺ ุ. ผลติ สื่อการเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย 19 www.kalyanamitra.org

๕.(ออัน.เขร่ื้อาพงแเจห้า่งพจระะกนล่าางวเ)ขฯมา ๕. เขมาวตถฺ ุ. (๒๔๔) พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเวฬวุ นั ทรงปรารภ “เย ราครตตฺ าติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เวฬวุ เน ซงึ่ พระอคั รมเหสี ของพระราชา พระนามวา่ พมิ พสิ าร พระนามวา่ เขมา วหิ รนฺโต เขมนฺนาม รญฺโญ พิมพฺ ิสารสฺส อคฺคมเหสึ ตรัสแล้ว ซงึ่ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ เย ราครตตฺ า ดงั นี ้ เป็นต้น ฯ อารพฺภ กเถส.ิ ได้ยนิ วา่ (อ.พระนางเขมา) นนั้ เป็นผ้มู คี วามปรารถนาอนั ตงั้ ไว้แล้ว สา กิร ปทมุ ตุ ฺตรปาทมเู ล ปตฺถิตปปฺ ตฺถนา อตวิ ยิ ในท่ีใกล้แห่งพระบาทของพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ อภิรูปา ปาสาทิกา อโหส.ิ เป็นผ้มู รี ูปงาม เป็นผ้ยู งั ความเลอื่ มใสให้เกดิ เกนิ เปรียบ ได้เป็นแล้ว ฯ ก็ (อ.พระนางเขมา) ทรงสดบั แล้ว วา่ ได้ยินวา่ อ.พระศาสดา “สตฺถา กิร รูปสฺส โทสํ กเถตีติ สตุ ฺวา ปน สตฺถุ ยอ่ มตรสั ซง่ึ โทษ แหง่ รูป ดงั นี ้ ไมท่ รงปรารถนาแล้ว เพอื่ อนั เสดจ็ ไป สนฺตกิ ํ คนฺตํุ น อิจฺฉิ. ราชา ตสสฺ า รูปมทมตฺตภาวํ สู่ส�ำนัก ของพระศาสดา ฯ อ.พระราชา ทรงทราบแล้ว ญตฺวา เวฬวุ นวณฺณปปฺ ฏิสยํ ตุ ฺตานิ คีตานิ กาเรตฺวา ซงึ่ ความท่ี (แหง่ พระนางเขมา) นนั้ เป็นผ้มู วั เมาแล้วด้วยความเมาในรปู นฏาทีนํ ทาเปส.ิ เตสํ ตานิ คายนฺตานํ สตุ ฺวา ตสสฺ า (ทรงยงั บคุ คล) ให้กระทำ� แล้ว ซงึ่ เพลงขบั ท. อนั ประกอบพร้อมเฉพาะแล้ว เวฬวุ นํ อทิฏฺฐปพุ ฺพํ วยิ อสสฺ ตุ ปพุ ฺพํ วยิ จ อโหส.ิ ด้วยการพรรณนาซง่ึ พระเวฬวุ นั (ทรงยงั ราชบรุ ุษ) ให้พระราชทานแล้ว (แก่ชน ท.) มีนกั ฟ้ อนเป็นต้น ฯ อ.พระเวฬวุ นั เป็นราวกะวา่ (อนั พระนางเขมา) นนั้ ไมเ่ คยทรงเหน็ แล้ว ด้วย เป็นราวกะวา่ (อนั พระนางเขมา นนั้ ) ไมเ่ คยทรงสดบั แล้ว ด้วย ได้เป็นแล้ว เพราะทรงสดบั (ซง่ึ เสยี ง ของชน ท.) เหลา่ นนั้ ผ้ขู บั อยู่ (ซงึ่ เพลงขบั ท.) เหลา่ นนั้ ฯ (อ.พระนางเขมา) นนั้ ตรัสถามแล้ว วา่ (อ.ทา่ น ท.) ยอ่ มขบั สา “กตรํ อยุ ฺยานํ สนฺธาย คายถาติ ปจุ ฺฉิตฺวา, หมายเอา ซงึ่ อทุ ยาน แหง่ ไหน ดงั น,ี ้ (ครัน้ เมอื่ คำ� ) วา่ ข้าแตพ่ ระเทวี “เทวิ ตมุ หฺ ากํ เวฬวุ นยุ ฺยานเมวาติ วตุ ฺเต, อยุ ฺยานํ (อ.ข้าพระองค์ ท. ยอ่ มขบั หมายเอา) ซงึ่ อทุ ยานชื่อวา่ เวฬวุ นั คนฺตกุ ามา อโหส.ิ ของพระองค์ ท. นนั่ เทียว ดงั นี ้ (อนั ชน ท. เหลา่ นนั้ ) กราบทลู แล้ว, เป็นผ้ทู รงต้องการเพื่ออนั เสดจ็ ไป สอู่ ทุ ยาน ได้เป็นแล้ว ฯ อ.พระศาสดา ทรงทราบแล้ว ซงึ่ อนั เสดจ็ มา (แหง่ พระเทว)ี นนั้ สตถฺ า ตสสฺ า อาคมนํ ญตวฺ า ปริสมชเฺ ฌ นสิ ที ติ วฺ า ประทับนั่งแล้ว ในท่ามกลางแห่งบริษัท เม่ือทรงแสดง ธมมฺ ํ เทเสนฺโตว ตาลวณฺฏํ อาทาย อตฺตโน ปสเฺ ส ซง่ึ ธรรม เทียว ทรงเนรมิตแล้ว ซง่ึ หญิง ผ้มู ีรูปงาม ผู้ ถือเอา ฐตฺวา วีชมานํ อภิรูปํ อิตฺถึ นิมมฺ ินิ. ซง่ึ ขวั้ แหง่ ตาล ยืนพดั อยู่ ในพระปรัศว์ ของพระองค์ ฯ อ.พระเทวี แม้พระนามวา่ เขมา เสดจ็ เข้าไปอยเู่ ทยี ว ทรงเหน็ แล้ว เขมาปิ เทวี ปวิสมานาว ตํ อิตฺถึ ทิสฺวา ซึ่งหญิง นัน้ ทรงด�ำริแล้ว ว่า (อ.ชน ท.) ย่อมกล่าว ว่า “สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺโธ รูปสฺส โทสํ กเถตีติ วทนฺต,ิ อยญฺจสสฺ อ.พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ยอ่ มตรสั ซง่ึ โทษ แหง่ รูป ดงั น,ี ้ ก็ อ.หญงิ นี ้ สนฺตเิ ก อิตฺถี วีชมานา ติ า, อหํ อิมิสสฺ า กลภาคํปิ ยืนพดั อยแู่ ล้ว ในท่ีใกล้ (แหง่ พระสมั มาพทุ ธเจ้า) นนั้ , อ.เรา น อเุ ปมิ, นอพมฺภยาาจอิกีทฺขนิสฺํตอิ ิตฺถีรมูปญํ ฺทเญิฏฺตฐปิ พุ ฺพจํ,ินสฺเตตตฺถฺวาารํ ยอ่ มไมเ่ ข้าถงึ แม้สว่ นแหง่ เสยี ้ ว (ของหญงิ ) น,ี ้ อ.รูปแหง่ หญงิ อนั เชน่ นี ้ อภเู ตน เป็นรูป อนั เรา ไมเ่ คยเหน็ แล้ว (ยอ่ มเป็น), (อ.ชน ท.) เหน็ จะ จะกลา่ วตู่ ตถาคตสสฺ กถาสทฺทํปิ อนิสาเมตฺวา ตเมว อิตฺถึ ซงึ่ พระศาสดา (ด้วยค�ำ) อนั ไมม่ ีแล้ว ดงั นี ้ ไมท่ รงพิจารณาแล้ว โอโลกยมานา อฏฺฐาส.ิ แม้ซงึ่ เสยี งแหง่ พระวาจาเป็นเคร่ืองตรัส ของพระตถาคตเจ้า ได้ประทบั ยืน ทรงแลดอู ยู่ แล้ว ซงึ่ หญิง นนั้ นนั่ เทียว ฯ 20 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

อ.พระศาสดา ทรงทราบแล้ว ซง่ึ ความท่ี (แหง่ พระเทวี) นนั้ สตฺถา ตสฺสา ตสฺมึ รูเป อปุ ปฺ นฺนพหมุ านตํ ญตฺวา เป็นผ้มู ีมานะมากอนั เกิดขนึ ้ แล้ว ในรูปนนั้ เม่ือทรงแสดง ซง่ึ รูปนนั้ ปตํรริโูปยํ สปาฐเนมวอยฏาฺฐทมิ ิวตเสฺตนาวทสสาฺเนสํ นกตฺโตฺวาเหทฏสฺฐเฺ าสสว.ิตุ ฺตนเยเนว ด้วยสามารถแหง่ วยั มีปฐมวยั เป็นต้น ทรงแสดงแล้ว กระท�ำ ให้เป็นอวยั วะมีกระดกู เป็นประมาณเป็นท่ีสดุ ลง ในกาลเป็นที่สดุ ลงรอบ ตามนยั (อนั ข้าพเจ้า) กลา่ วแล้ว ในภายใต้ นน่ั เทียว ฯ อ.พระนางเขมา ทรงเหน็ แล้ว (ซง่ึ รูป) นนั้ ทรงดำ� ริแล้ว วา่ อ.รูป เขมา ตํ ทิสวฺ า “เอวรูปํ ปิ นาม ตํ รูปํ มหุ ตุ ฺเตเนว นนั้ ชอ่ื แม้มอี ยา่ งนเี ้ป็นรูป ถงึ แล้ว ซง่ึ ความสนิ ้ ไปและความเสอื่ มไป ขยวยํ ปตฺตํ, นตฺถิ วต อิมสฺมึ รูเป สาโรติ จินฺเตส.ิ โดยกาลครู่หนงึ่ นน่ั เทยี ว, อ.สาระ ในรูป นี ้ ยอ่ มไมม่ ี หนอ ดงั นี ้ ฯ อ.พระศาสดา ทรงตรวจดูแล้ว ซึ่งวาระแห่งพระทัย สตฺถา ตสสฺ า จิตฺตวารํ โอโลเกตฺวา “เขเม ตฺวํ (ของพระนางเขมา) นนั้ ตรัสแล้ว วา่ ดกู ่อนเขมา อ.เธอ คดิ แล้ว `อิมสฺมึ รูเป สาโร อตฺถีติ จินฺเตสิ ปสฺสทานิสฺส วา่ อ.สาระ ในรูป นี ้ มีอยู่ ดงั นี,้ ในกาลนี ้ (อ.เธอ) จงดู ซง่ึ ความที่ นิสสฺ ารภาวนฺติ วตฺวา อิมํ คาถมาห (แหง่ รูป) นนั้ เป็นรูปมสี าระออกแล้ว ดงั นี ้ตรสั แล้ว ซงึ่ พระคาถา นี ้วา่ ดูก่อนเขมา (อ.เธอ) จงดู ซึ่งร่างกาย อนั กระสบั กระส่าย “อาตรุ ํ อสจุ ึ ปตู ึ ปสสฺ เขเม สมสุ ฺสยํ อนั ไม่สะอาด อนั เน่า อนั ไหลเขา้ อยู่ อนั ไหลออกอยู่ อคุ ฺฆรนตฺ ํ ปคฺฆรนตฺ ํ พาลานํ อภิปตฺถิตนตฺ ิ. อนั อนั คนพาล ท. ปรารถนาย่ิงแลว้ ดงั นี้ ฯ ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา (อ.พระนางเขมา) นนั้ สา คาถาปริโยสาเน โสตาปตฺตผิ เล ปตฏิ ฺฐหิ. ทรงตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว ในโสดาปัตตผิ ล ฯ ครัง้ นัน้ อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว (กะพระนางเขมา) นัน้ ว่า โมหมอฬูถฺหนาํ สอตตถฺ ฺตาโ“นเขตเมณอฺหเิ ามโสสตตํตฺ สามรตากิ คฺกรมติตตฺ าํุ นโทสสกทฺโกฏุ นฺฐฺตาิ ดกู อ่ นเขมา อ.สตั ว์ ท. เหลา่ นี ้ เป็นผ้อู นั ราคะย้อมแล้ว เป็นผ้อู นั โทสะ ประทษุ ร้ายแล้ว เป็นผ้หู ลงแล้วเพราะโมหะ (เป็น) ยอ่ มไมอ่ าจ ตตฺเถว ลคฺคนฺตีติ วตฺวา ธมมฺ ํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห เพื่ออนั ก้าวลว่ งด้วยดี ซง่ึ กระแสแหง่ ตณั หา ของตน ยอ่ มข้อง (ในกระแสแหง่ ตณั หา) นนั้ นน่ั เทียว ดงั นี ้ เม่ือทรงแสดง ซงึ่ ธรรม ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา นี ้วา่ (อ.สตั ว์ ท.) เหล่าใด เป็นผูอ้ นั ราคะยอ้ มแลว้ (ย่อมเป็น) “เย ราครตฺตานปุ ตนตฺ ิ โสตํ (อ.สตั ว์ ท. เหล่านน้ั ) ย่อมตกไปตาม ซึ่งกระแส อนั อนั ตน สยํ กตํ มกฺกฏโกว ชาลํ. กระท�ำแลว้ เอง เพียงดงั อ.แมงมมุ (ตกไปตามอย)ู่ ซึ่งข่าย เอตมฺปิ เฉตฺวาน วชนตฺ ิ ธีรา (อนั อนั ตนกระท�ำแลว้ เอง) ฯ อ.นกั ปราชญ์ ท. ตดั แลว้ อนเปกฺขิโน สพพฺ ทกุ ฺขํ ปหายาติ. (ซ่ึงกระแสแห่งตณั หา) แมน้ น่ั เป็นผูไ้ ม่มีความเยือ่ ใย (เป็น) ละแลว้ ซึ่งความทกุ ข์ทง้ั ปวง ย่อมไป ดงั นี้ ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อ.แมงมมุ กระท�ำแล้ว ซงึ่ ขา่ ยคือใย ตวั นอนแล้ว ตตฺถ “มกกฺ ฏโกว ชาลนฺต:ิ ยถา นาม มกฺกฏโก ที่มณฑลแหง่ สะดือ ในที่อนั เป็นทา่ มกลาง ไปแล้ว โดยเร็ว สตุ ฺตชาลํ ปกตตติ ฺวํ าปฏมงชฺคฺฌํ ฏวฺาฐามเนกฺขนิกาํ ภวาิมณเวฺฑเคเลน นิปนฺโน เจาะแล้ว ซ่ึงตั๊กแตน หรือ หรือว่า ซ่ึงแมลงวัน ตัวตกไปแล้ว ปริยนฺเต คนฺตฺวา ในทส่ี ดุ รอบ ดม่ื แล้ว ซง่ึ รส (ของตก๊ั แตน หรือ หรือวา่ ของแมลงวนั ) วิชฺฌิตฺวา ตสสฺ รสํ ปิ วิตฺวา ปนุ าคนฺตฺวา ตสฺมเึ ยว นนั้ มาแล้ว อีก ยอ่ มนอน (ในที่) นนั้ นนั่ เทียว ชื่อ ฉนั ใด, อ.สตั ว์ ท. ฐาเน นิปชฺชต;ิ เอวเมว เตยณสฺหตาฺตโาสตราํ คอรนตปุ ฺตตานโฺตทิสทเตฏุ ฺฐตาํ เหลา่ ใด เป็นผ้อู นั ราคะย้อมแล้ว เป็นผ้อู นั โทสะประทษุ ร้ายแล้ว โมหมฬู ฺหา, สยํ กตํ เป็นผ้หู ลงแล้วเพราะโมหะ (ยอ่ มเป็น), (อ.สตั ว์ ท.) เหลา่ นนั้ สมตกิ ฺกมิตํุ น สกฺโกนฺต;ิ เอวํ ทรุ ตกิ ฺกมํ. ยอ่ มตกไปตาม ซง่ึ กระแสแหง่ ตณั หา อนั อนั ตนกระท�ำแล้ว เอง คอื วา่ ยอ่ มไมอ่ าจ เพอื่ อนั ก้าวลว่ งด้วยดี (ซงึ่ กระแสแหง่ ตณั หา) นนั้ ฉนั นนั้ นน่ั เทียว, (อ.นกั ปราชญ์ ท. ตดั แล้ว ซงึ่ กระแสแหง่ ตณั หา) อนั บคุ คลพงึ ก้าวลว่ งได้โดยยาก อยา่ งนี ้ (ยอ่ มไป ดงั นี ้ ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ มกกฺ ฏโกว ชาลํ ดงั นี ้ เป็นต้น ฯ ผลติ สื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย 21 www.kalyanamitra.org

อ.อรรถ วา่ อ.บณั ฑิต ท. ตดั แล้ว (ซงึ่ กระแสแหง่ ตณั หา) นน่ั เอตมปฺ ิ เฉตวฺ าน วชนฺติ ธีราต:ิ ปณฺฑิตา เอตํ คือว่า อันเป็ นเครื่องผูก เป็ นผู้ไม่มีความเยื่อใย คือว่า พนฺธนํ ฉินฺทิตฺวา อนเปกฺขิโน นิราลยา หตุ ฺวา เป็นผ้มู ีความอาลยั ออกแล้ว เป็น ละแล้ว ซง่ึ ความทกุ ข์ทงั้ ปวง อรหตฺตมคฺเคน สพฺพทกุ ฺขํ ปหาย วชนฺติ คจฺฉนฺตีติ ด้วยอรหตั ตมรรค ยอ่ มไป คือวา่ ยอ่ มด�ำเนินไป ดงั นี ้ (แหง่ บาท อตฺโถ. แหง่ พระคาถา) วา่ เอตมปฺ ิ เฉตวฺ าน วชนฺติ ธีรา ดงั นี ้ฯ ในกาลเป็นทส่ี ดุ ลงแหง่ เทศนา อ.พระนางเขมา ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว เทสนาวสาเน เขมา อรหตฺเต ปติฏฺ ฐหิ. ในพระอรหตั ฯ อ.เทศนา เป็นเทศนาเป็นไปกบั ด้วยวาจามปี ระโยชน์ มหาชนสสฺ าปิ สาตฺถิกา เทสนา อโหส.ิ ได้มีแล้ว แม้แก่มหาชน ฯ อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว กะพระราชา วา่ ดกู ่อนมหาบพิตร สตฺถา ราชานํ อาห “มหาราช เขมาย ปพฺพชิตํุ วา อ.อนั อนั พระนางเขมา ผนวช หรือ หรือวา่ อ.อนั (อนั พระนางเขมา) ปรินิพฺพายิตํุ วา วสฏาฺฏปตพีตฺพ.ิ ช“ิตภฺวนาฺเตอคปฺคพสฺพาาวเิกชาถอนโหํ, สอตี ล.ิ ํ ปรินิพพาน ยอ่ มควร ดงั นี ้ ฯ (อ.พระราชา กราบทลู แล้ว) วา่ ปรินิพฺพาเนนาติ. ข้าแตพ่ ระองคผ์ ้เู จริญ (อ.พระองค์ ท.) ขอจง (ทรงยงั พระนางเขมา) นนั้ ให้ผนวชเถดิ , อ.อยา่ เลย ด้วยอนั ปรินพิ พาน ดงั นี ้ฯ (อ.พระนางเขมา) นนั้ ผนวชแล้ว เป็นอคั รสาวิกา ได้เป็นแล้ว ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งพระนางเขมา (จบแล้ว) ฯ เขมาวตถฺ ุ. ๖. อ.เร่ืองแ(อหัน่งขบ้าุตพรเขจอ้างจเศะรกษล่ฐาีชว)่ือฯว่าอุคคเสน ๖. อุคคฺ เสนเสฏฺ ฐิปุตตฺ วตถฺ ุ. (๒๔๕) อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเวฬวุ นั ทรงปรารภ “มุญจฺ ปุเรติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เวฬวุ เน ซง่ึ บตุ รของเศรษฐีช่ือว่าอคุ คเสน ตรัสแล้ว ซง่ึ พระธรรมเทศนา วหิ รนฺโต อคุ ฺคเสนํ อารพฺภ กเถส.ิ นี ้วา่ มุญจฺ ปุเร ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ อ.นกั ฟ้ อน ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณ ครัน้ เม่ือปี หรือ ปญฺจสตา กิร นาฏกา สํวจฺฉเร วา ฉมมฺ าเส วา หรือวา่ ครัน้ เมื่อเดือน ๖ ถงึ พร้อมแล้ว ไปแล้ว สเู่ มืองราชคฤห์ สมปฺ ตฺเต, ราชคหํ คนฺตฺวา รญฺโญ สตฺตาหํ สมชฺชํ กระท�ำแล้ว ซงึ่ มหรสพ แก่พระราชา ตลอดวนั ๗ ยอ่ มได้ กตฺวา พหํุ หิรญฺญสวุ ณฺณํ ลภนฺต,ิ อนฺตรนฺตเร ซงึ่ เงินและทอง อนั มาก ฯ อ.ที่สดุ รอบ แหง่ รางวลั อนั บคุ คล อกุ ฺเขปทายานํ ปริยนฺโต นตฺถิ. มหาชโน มญฺจาทีสุ พงึ ยกขนึ ้ ท. ในระหวา่ ง ๆ ยอ่ มไมม่ ี ฯ อ.มหาชน ยืนแล้ว ฐตฺวา สมชฺชํ โอโลเกส.ิ (บนท่ีรองรับ ท.) มีเตียงเป็นต้น แลดแู ล้ว ซง่ึ มหรสพ ฯ ครัง้ นนั้ อ.ธิดาของนกั หกคะเมน คนหนง่ึ ขนึ ้ เฉพาะแล้ว อเถกา ลงฆฺ ธตี า วสํ ํ อภริ ุยหฺ ตสสฺ อปุ ริ ปริวตตฺ ติ วฺ า สไู่ ม้แป้ น เป็นไปรอบแล้ว ในเบือ้ งบน (แหง่ ไม้แป้ น) นนั้ เดนิ วนอยู่ ตสสฺ ปริยนฺเต อากาเส จงฺกมมานา นจฺจติ เจว บนอากาศ ในท่ีสดุ รอบ (แหง่ ไม้แป้ น) นนั้ ยอ่ มฟ้ อน ด้วยนน่ั เทียว คายติ จ. ยอ่ มขบั ด้วย ฯ 22 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

ในสมัย นัน้ อ.บุตรของเศรษฐี ชื่อว่าอุคคเสน ยืนแล้ว ตสมฺ ึ สมเย อคุ ฺคเสโน นาม เสโฏอฺฐโปลิ เตุ กฺโตตฺวสาหาตยสเกฺสนา บนเตียงและเตียงซ้อน กบั ด้วยสหาย แลดแู ล้ว (ซง่ึ หญิง) นนั้ สทฺธึ มญฺจาตมิ ญฺเจ โิ ต ตํ มีความรักอนั เกิดขนึ ้ แล้ว (ในอาการ ท.) มีอนั แกวง่ ซงึ่ มือ- หตฺถปาทวิกฺเขปาทีสุ อปุ ปฺ นฺนสเิ นโห เคหํ คนฺตฺวา และเท้าเป็นต้น (ของหญิง) นนั้ ไปแล้ว สเู่ รือน (คดิ แล้ว) วา่ (อ.เรา) “ตํ ลภนฺโต ชีวสิ ฺสามิ, อลภนฺตสสฺ เม, อิเธว มรณนฺติ เมอ่ื ได้ (ซงึ่ หญงิ ) นนั้ จกั เป็นอย,ู่ เมอื่ เรา ไมไ่ ด้อย,ู่ อ.ความตาย (จกั ม)ี อาหารุปจฺเฉทํ กตฺวา มญฺจเก นิปชฺชิ; มาตาปิ ตหู ิ (ในท่ี) นีน้ น่ั เทียว ดงั นี ้ กระท�ำแล้ว ซงึ่ การเข้าไปตดั ซง่ึ อาหาร “ตาต กินฺเต รุชฺชตีติ ปจุ ฺฉิโตปิ “ตํ เม นฏธีตรํ ลภนฺตสสฺ , นอนแล้ว บนเตียงน้อย; แม้ผู้ อนั มารดาและบดิ า ท. ถามแล้ว วา่ ชีวิตํ อตฺถิ, อลภนฺตสสฺ เม, อิเธว มรณนฺติ วตฺวา, แนะ่ พอ่ อ.อะไร ยอ่ มเสียดแทง แก่เจ้า ดงั นี ้ กลา่ วแล้ว วา่ “ตาต มา เอวํ กริ, อญฺญํ เต อมหฺ ากํ กลุ สสฺ จ เมื่อกระผม ได้อยู่ ซง่ึ ธิดาของนกั ฟ้ อนนนั้ อ.ชีวติ มีอย,ู่ เมื่อกระผม โภคานญฺจ อนรุ ูปํ กมุ าริกํ อาเนสฺสามาติ วตุ ฺเตปิ , ไมไ่ ด้อย,ู่ อ.ความตาย (จกั มี) (ในท่ี) นีน้ นั่ เทียว ดงั นี,้ (ครัน้ เม่ือค�ำ) ตเถว วตฺวา นิปชฺชิ. วา่ แนะ่ พอ่ (อ.เจ้า) อยา่ กระท�ำแล้ว อยา่ งนี,้ (อ.เรา ท.) จกั น�ำมา ซงึ่ เดก็ หญิงผ้สู มควร แก่ตระกลู ของเรา ท. ด้วย แก่โภคะ ท. (ของเรา ท.) ด้วย คนอ่ืน แก่เจ้า ดงั นี ้ (อนั มารดาและบดิ า ท.) แม้กลา่ วแล้ว, นอนกลา่ วแล้ว อยา่ งนนั้ นนั่ เทียว ฯ ครงั้ นนั้ อ.บดิ า (ของอคุ คเสน) นนั้ แม้อ้อนวอนแล้ว มาก ไมอ่ าจอยู่ อถสฺส ปิ ตา พหํุ ยาจิตฺวาปิ ตํ สญฺญาเปตํุ เพ่ืออนั (ยงั อคุ คเสน) นนั้ ให้รู้พร้อม ยงั บคุ คล ให้ร้องเรียกแล้ว อสกฺโกนฺโต นฏกสฺส สหายกํ ปกฺโกสาเปตฺวา ซงึ่ สหาย ของนกั ฟ้ อน ให้แล้ว ซง่ึ พนั แหง่ กหาปณะ สง่ ไปแล้ว กหาปณสหสฺสํ ทตฺวา “อิเม กหาปเณ คเหตฺวา (ด้วยค�ำ) วา่ (อ.นกั ฟ้ อน) รับแล้ว ซง่ึ กหาปณะ ท. เหลา่ นี ้ จงให้ อตฺตโน ธีตรํ มยฺหํ ปตุ ฺตสฺส เทตตู ิ ปหิณิ. ซง่ึ ธิดา ของตน แก่บตุ ร ของเรา เถิด ดงั นี ้ฯ (อ.นกั ฟ้ อน) นนั้ (กลา่ วแล้ว) วา่ อ.เรา รับแล้ว ซง่ึ กหาปณะ ท. โส “นาหํ กหาปเณ คเหตวฺ า เทม;ิ สเจ ปน โส อมิ ํ จะให้ หามไิ ด้, ก็ ถ้าวา่ (อ.บตุ รของเศรษฐี) นนั้ ไมไ่ ด้แล้ว (ซง่ึ ธดิ า) อลภิตฺวา ชีวิตํุ น สกฺโกต,ิ เตนหิ อมฺเหหิ สทฺธึเยว นี ้ จะไมอ่ าจ เพอ่ื อนั เป็นอยู่ ไซร้, ถ้าอยา่ งนนั้ (อ.บตุ รของเศรษฐี วจิ รต,ุ ทสฺสามิสสฺ ธีตรนฺต.ิ มาตาปิ ตโร ปตุ ฺตสฺส นนั้ ) จงเที่ยวไป กบั ด้วยเรา ท. นนั่ เทียว, (อ.เรา) จกั ให้ ซง่ึ ธิดา ตมตฺถํ อาโรเจส.ํุ (แก่บตุ รของเศรษฐี) นนั้ ดงั นี ้ ฯ อ.มารดาและบดิ า ท. บอกแล้ว ซงึ่ เนือ้ ความ นนั้ แก่บตุ ร ฯ (อ.บตุ ร) นนั้ กลา่ วแล้ว วา่ อ.กระผม จกั เที่ยวไป กบั โส “อหํ เตหิ สทฺธึ วจิ ริสฺสามีติ วตฺวา ยาจนฺตานํปิ (ด้วยนักฟ้ อน ท.) เหล่านัน้ ดังนี ้ ไม่เอือ้ เฟื ้อแล้ว เตสํ กถํ อนาทยิตฺวา นิกฺขมิตฺวา นฏกสฺส สนฺตกิ ํ ซ่ึงวาจาเป็ นเคร่ืองกล่าว (ของมารดาและบิดา ท.) เหล่านัน้ อคมาส.ิ แม้ผ้อู ้อนวอนอยู่ ออกแล้ว ได้ไปแล้ว สสู่ �ำนกั ของนกั ฟ้ อน ฯ (อ.นักฟ้ อน) นัน้ ให้แล้ว ซ่ึงธิดา (แก่บุตรของเศรษฐี) นัน้ โส ตสสฺ ธีตรํ ทตฺวา เตน สทฺธึเยว เที่ยวแสดงอยแู่ ล้ว ซง่ึ ศลิ ปะ ในบ้านและนิคมและราชธานี ท. คามนิคมราชธานีสุ สปิ ปฺ ํ ทสเฺ สนฺโต วิจริ. กบั (ด้วยบตุ รของเศรษฐี) นนั้ นน่ั เทียว ฯ (อ.ธิดาของนกั ฟ้ อน) แม้นนั้ อาศยั แล้ว ซง่ึ การอยดู่ ้วยกนั กบั สาปิ เตน สทฺธึ สํวาสมนฺวาย นจิรสฺเสว ปตุ ฺตํ (ด้วยบตุ รของเศรษฐี) นนั้ ได้แล้ว ซง่ึ บตุ ร ตอ่ กาลไมน่ านนน่ั เทียว ลภิตฺวา ตํ กีฬาปยมานา “สกฏโคปกสฺส ปตุ ฺต เมื่อ (ยงั บตุ ร) นนั้ ให้เลน่ ยอ่ มกลา่ ววา่ แนะ่ ลกู (ของบคุ คล) ผ้เู ฝ้ า ภณฺฑหารกสสฺ ปตุ ฺต กิญฺจิ อชานนกสฺส ปตุ ฺตาติ วทติ. ซ่ึงเกวียน แน่ะลูก (ของบุคคล) ผู้น�ำไปซึ่งภัณฑะ แน่ะลูก (ของบคุ คล) ผ้ไู มร่ ู้ (ซงึ่ เร่ือง) อะไร ๆ ดงั นี ้ฯ ผลติ สื่อการเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม วัดพระธรรมกาย 23 www.kalyanamitra.org

(อ.บุตรของเศรษฐี) แม้นัน้ ย่อมน�ำมา ซึ่งหญ้า เพื่อโค ท. ตอกุณิ ฺขํ ิปโสิ ตปอฺวิ าาเนหหสรรตํตส.ิ ,ิกฏปสรปิ ิวปฺ ตทฺตสกสฺํ กนตฏฺวฺฐาาเนติ ฏฺฐาลเทนฺธโภคณณฺฑานกํํ ในที่ (แหง่ ชน ท.) เหลา่ นนั้ กระท�ำแล้ว ซงึ่ อนั เป็นไปรอบแหง่ เกวียน หยดุ อยแู่ ล้ว, ยกขนึ ้ แล้ว ซง่ึ สง่ิ ของอนั ตนได้แล้ว ในท่ีเป็นที่แสดง ซง่ึ ศิลปะ ยอ่ มน�ำไป ฯ ได้ยินวา่ (อ.หญิง) นนั้ เมื่อ (ยงั บตุ ร) ให้เลน่ ยอ่ มกลา่ ว ตเทว กิร สนฺธาย สา อิตฺถี ปตุ ฺตํ กีฬาปยมานา อยา่ งนนั้ นน่ั เทียว หมายเอา (ซงึ่ บตุ รของเศรษฐี) นนั้ นนั่ เทียว ฯ ตเถว วทต.ิ โส อตฺตานํ อารพฺภ ตสสฺ า คายนภาวํ (อ.บตุ รของเศรษฐี) นนั้ รู้แล้ว ซงึ่ ความเป็นคืออนั ขบั ปรารภ ซงึ่ ตน ญตฺวา ปจุ ฺฉิ “มํ สนฺธาย กเถสีต.ิ “อาม ตํ สนฺธายาต.ิ (แหง่ หญงิ ) นนั้ ถามแล้ว วา่ (อ.เธอ) กลา่ วแล้ว หมายเอา ซงึ่ เรา หรือ “เอวํ สนฺเต อหํ ปลายิสสฺ ามีต.ิ สา “กึ ปน มยฺหํ ดงั นี ้ฯ (อ.หญิงนนั้ กลา่ วแล้ว) วา่ จ๊ะ (อ.ดฉิ นั กลา่ วแล้ว) หมายเอา ตยา ปลายิเตน วา อาคเตน วาติ ปนุ ปปฺ นุ ํ ตเทว ตีตํ ซง่ึ ทา่ น ดงั นี ้ ฯ (อ.บตุ รของเศรษฐี กลา่ วแล้ว) วา่ (ครนั้ เมอ่ื ความเป็น) คายต.ิ อยา่ งนนั้ มีอยู่ อ.เรา จกั หนีไป ดงั นี ้ ฯ (อ.หญิง)นนั้ (กลา่ วแล้ว) วา่ ก็ (อ.ประโยชน์) อะไร แก่ดฉิ นั ด้วยทา่ น ผ้หู นีไปแล้ว หรือ หรือวา่ ผ้มู าแล้ว ดงั นี ้ ยอ่ มขบั ซงึ่ เพลงขบั นนั้ นน่ั เทียว บอ่ ย ๆ ฯ ได้ยินวา่ (อ.ธิดาของนกั ฟ้ อน) นนั้ อาศยั แล้ว ซงึ่ ความ สา กิร อตฺตโน รูปสมปฺ ตฺตญิ ฺเจว ธนลาภญฺจ ถงึ พร้อมแหง่ รูป แหง่ ตน ด้วยนน่ั เทียว ซง่ึ อนั ได้ซง่ึ ทรัพย์ (แหง่ ตน) นิสสฺ าย ตํ กิสมฺ ิญฺจิ น มญฺญต.ิ ด้วย ยอ่ มไมส่ ำ� คญั (ซง่ึ บตุ รของเศรษฐี) นนั้ (ในเร่ือง) ไหน ๆ ฯ (อ.บตุ รของเศรษฐี) นนั้ คดิ อยู่ วา่ อ.มานะนี ้(ของหญงิ ) นี ้(ยอ่ มม)ี โส “กึ นุ โข นิสสฺ าย อิมิสฺสา อยํ มาโนติ เพราะอาศยั ซงึ่ อะไรหนอ แล ดงั นี ้รู้แล้ว วา่ (อ.มานะนี ้(ของหญงิ ) นี ้ จินฺเตนฺโต “สปิ ปฺ ํ นิสสฺ ายาติ ญตฺวา “โหต,ุ สปิ ปฺ ํ ยอ่ มม)ี เพราะอาศยั ซง่ึ ศลิ ปะ ดงั นี ้(คดิ แล้ว) วา่ (อ.เหตุ นนั่ ) จงมเี ถดิ คณฺหิสฺสามีติ สสฺสรุ ํ อปุ สงฺกมิตฺวา ตสฺส ชานนสปิ ปฺ ํ (อ.เรา) จกั เรียนเอา ซง่ึ ศลิ ปะ ดงั นี ้เข้าไปหาแล้ว ซงึ่ พอ่ ตา เรียนเอาแล้ว อคุ ฺคณฺหิตฺวา คามนิคมาทีสุ สปิ ปฺ ํ ทสเฺ สนฺโต ซงึ่ ศลิ ปะคอื ความรู้ (ของพอ่ ตา) นนั้ แสดงอยู่ ซงึ่ ศลิ ปะ (ในประเทศ ท.) อนปุ พุ ฺเพน ราชคหํ อาคนฺตฺวา “อิโต สตฺตเม ทิวเส มีบ้านและนิคมเป็ นต้น มาแล้ว ส่เู มืองราชคฤห์ ตามล�ำดบั ออคาุ โฺครเจสาโเนปสเ.ิสฏฺฐปิ ตุ ฺโต นครวาสนี ํ สปิ ปฺ ํ ทสฺเสสฺสตีติ (ยงั บคุ คล) ให้บอกแล้ว วา่ อ.บตุ รของเศรษฐี ชอ่ื วา่ อคุ คเสน จกั แสดง ซงึ่ ศิลปะ (แก่ชน ท.) ผ้อู ยใู่ นเมืองโดยปกติ ในวนั ที่๗ (แตว่ นั ) นี ้ ดงั นี ้ฯ (อ.ชน ท.) ผ้อู ยใู่ นเมืองโดยปกติ (ยงั กนั และกนั ) ให้ผกู แล้ว นครวาสโิ น มญฺจาตมิ ญฺจาทโย พนฺธาเปตฺวา (ซงึ่ ที่รองรับ ท.) มีเตียงและเตียงซ้อนเป็นต้น ประชมุ กนั แล้ว ในวนั สตฺตเม ทิวเส สนฺนิปตสึ .ุ โสปิ สฏฺฐหิ ตฺถํ วํสํ อภิรุยฺห ที่ ๗ ฯ (อ.บตุ รของเศรษฐี) แม้นนั้ ขนึ ้ เฉพาะแล้ว สไู่ ม้แป้ น มีศอก ตสฺส มตฺถเก อฏฺฐาส.ิ ๖๐ เป็นประมาณ ได้ยืนแล้ว บนท่ีสดุ (แหง่ ไม้แป้ น) นนั้ ฯ ในวนั นนั้ อ.พระศาสดา ทรงตรวจดอู ยู่ ซงึ่ โลก ในกาล ตทํ วิ สํ สตถฺ า ปจจฺ สู กาเล โลกํ โวโลเกนโฺ ต ตํ อนั ขจดั เฉพาะซง่ึ มืด ทรงเห็นแล้ว (ซง่ึ บตุ รของเศรษฐี) นนั้ ภทอตสวิสฺตเฺ สสฺโสนตสฺ ีตญาิ มาีตอณิ าชววาชํสลฺชมสนตฺสฺโตถฺ อเกน“ฺโเตสฐสฺวปสฺ วตฏิ เ,ิ สฺฐฏํ ตฺทฐสปิสิ สฺ วฺตุ าฺโตท“กสึสฺ`นสนุปิตโปฺถฺขํ ํ ผ้เู ข้าไปแล้ว ในภายใน แหง่ ขา่ ยคือพระญาณ ของพระองค์ ทรงร�ำพงึ อยู่ วา่ อ.อะไร หนอ แล จกั มี ดงั นี ้ ได้ทรงทราบแล้ว วา่ ในวนั พรุ่งนี ้ อ.บตุ รของเศรษฐี จกั ยืน บนท่ีสดุ แหง่ ไม้เเป้ น มหาชโน สนนฺ ปิ ตสิ สฺ ต,ิ ตตฺถ อหํ จตปุ ปฺ ทิกํ คาถํ (ด้วยความหวงั ) วา่ (อ.เรา) จกั แสดง ซงึ่ ศลิ ปะ ดงั นี,้ อ.มหาชน เทสสิ สฺ ามิ; ตํ สตุ ฺวา จตรุ าสีตยิ า ปาณสหสสฺ านํ จกั ประชมุ กนั เพื่ออนั เหน็ (ซงึ่ ศลิ ปะ) นนั้ , อ.เรา จกั แสดง ซงึ่ คาถา ธมมฺ าภิสมโย ภวสิ สฺ ต,ิ อคุ ฺคเสโนปิ อรหตฺเต อนั ประกอบแล้วด้วยบท ๔ (ในสมาคม) นนั้ , อ.อนั ร้ตู ลอดเฉพาะซงึ่ ธรรม ปตฏิ ฺฐหิสสฺ ตีติ อญฺญาส.ิ จกั มี แกพ่ นั แหง่ สตั วม์ ปี ราณ ท. ๘๔ เพราะฟัง (ซง่ึ พระคาถา) นนั้ , แม้ อ.อคุ คเสน จกั ตงั้ อยเู่ ฉพาะ ในพระอรหตั ดงั นี ้ฯ ในวนั รุ่งขนึ ้ (อ.พระศาสดา) พระองคน์ นั้ ทรงกำ� หนดแล้ว ซง่ึ กาล โส ปนุ ทิวเส กาลํ สลลฺ กฺเขตฺวา ภิกฺขสุ งฺฆปริวโุ ต ผ้อู นั หมแู่ หง่ ภิกษุแวดล้อมแล้ว ได้เสดจ็ เข้าไปแล้ว สเู่ มืองราชคฤห์ ราชคหํ ปิ ณฺฑาย ปาวิส.ิ เพื่อก้อนข้าว ฯ 24 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

แม้ อ.อุคคเสน ครัน้ เมื่อพระศาสดา ไม่เสด็จเข้าไปแล้ว อคุ ฺคเสโนปิ , มสหตาฺถชรนิ สอฺสนฺโตอนงคฺครลุํ ีสอญปฺญปฺ วํ ฏิ ฺเทฐเตยฺววา, สภู่ ายในแหง่ เมอื ง นน่ั เทยี ว ให้แล้ว ซงึ่ สญั ญาด้วยนวิ ้ มอื แกม่ หาชน อนุ ฺนาทนตฺถาย วาเร เพื่อประโยชน์แก่อนั บนั ลือขนึ ้ ยืนเฉพาะแล้ว บนท่ีสดุ แหง่ ไม้แป้ น วํสมตฺถเก โอปรตุยฏิ ฺหฺฐาวยํสมตอฺถาเกกาอเฏสฺฐเยาวส.ิ สตฺต เป็นไปรอบแล้ว ในอากาศนนั่ เทียว สนิ ้ วาระ ท. ๗ ลงแล้ว ปริวตฺตติ ฺวา ได้ยืนแล้ว บนท่ีสดุ แหง่ ไม้แป้ น ฯ ในขณะ นนั้ อ.พระศาสดา เสดจ็ เข้าไปอยู่ สเู่ มอื ง, อ.บริษทั ท. ตสมฺ ึ ขเณ สตฺถา นครํ ปวสิ นฺโต, ยถา ตํ ปริสา ไมแ่ ลดแู ล้ว (ซงึ่ อคุ คเสน) นนั้ โดยประการใด, ทรงกระท�ำแล้ว น โอโลเกส,ิ เอวํ กตฺวา อตฺตานเมว โอโลกาเปส.ิ โดยประการนนั้ (ทรงยงั บริษัท) ให้แลดแู ล้ว ซง่ึ พระองค์นนั่ เทียว ฯ อ.อคุ คเสน แลดแู ล้ว ซง่ึ บริษัท ผ้ถู งึ แล้วซงึ่ ความโทมนสั วา่ อคุ ฺคเสโน ปริสํ โอโลเกตฺวา “น มํ ปริสา โอโลเกตีติ อ.บริษัท ยอ่ มแลดู ซง่ึ เรา หามิได้ ดงั นี ้ คดิ แล้ว วา่ (อ.ศลิ ปะ) นี ้ โทมนสสฺ ปปฺ ตฺโต “อิทํ มยา สํวจฺฉเร กตฺตพฺพํ สปิ ปฺ ํ , เป็นศลิ ปะ อนั อนั เรา พงึ กระทำ� ในปี (ยอ่ มเป็น), ก็ ครนั้ เมอ่ื พระศาสดา สตฺถริ จ นครํ ปวิสนฺเต, ปริสา มํ อโนโลเกตฺวา เสดจ็ เข้าไปอยู่ สเู่ มือง, อ.บริษัท ไมแ่ ลดแู ล้ว ซงึ่ เรา ยอ่ มแลดู สตฺถารเมว โอโลเกติ; โมฆํ วต เม สปิ ปฺ ทสสฺ นํ ซงึ่ พระศาสดานนั่ เทียว, อ.อนั แสดงซงึ่ ศลิ ปะ แหง่ เรา เป็นของเปลา่ ชาตนฺติ จินฺเตส.ิ หนอ เกิดแล้ว ดงั นี ้ฯ อ.พระศาสดา ทรงทราบแล้ว ซงึ่ จติ (ของอคุ คเสน) นนั้ ตรสั เรียก สตฺถา ตสฺส จิตฺตํ ญตฺวา มหาโมคฺคลลฺ านํ มาแล้ว ซง่ึ พระมหาโมคคลั ลานะ ตรัสแล้ว วา่ ดกู ่อนโมคคลั ลานะ อามนฺเตตฺวา “คจฺฉ โมคฺคลลฺ าน เสฏฺฐปิ ตุ ฺตํ วเทหิ (อ.เธอ) จงไป อ.เธอ จงกลา่ ว กะบตุ รของเศรษฐี วา่ ได้ยินวา่ `สปิ ปฺ ํ กิร ทสเฺ สตตู ิ อาห. (อ.บตุ รของเศรษฐี) จงแสดง ซงึ่ ศลิ ปะ เถิด (ดงั นี)้ ดงั นี ้ฯ อ.พระเถระ ไปแล้ว ผ้ยู ืนแล้ว ในภายใต้ แหง่ ไม้แป้ น เทียว เถโร คนฺตฺวา วํสสสฺ เหฏฺ ฐา โิ ตว เสฏฺฐปิ ตุ ฺตํ เรียกมาแล้ว ซงึ่ บตุ รของเศรษฐี กลา่ วแล้ว ซง่ึ คาถา นี ้วา่ อามนฺเตตฺวา อิมํ คาถมาห ดูก่อนอุคคเสน ผู้เป็ นบุตรของนกั ฟ้ อน ผู้มีก�ำลงั มาก “อิงฺฆ ปสสฺ นฏปตุ ฺต อคุ ฺคเสน มหพพฺ ล เชิญเถิด (อ.ทา่ น) จงดเู ถิด (อ.ทา่ น) จงกระท�ำ ซ่ึงความยินดี กโรหิ ราคํ ปริสาย หาสยสฺสุ มหาชนนตฺ ิ. แก่บริษัท เถิด, (อ.ท่าน) ยงั มหาชน จงใหร้ ่าเริงเถิด ดงั นี้ ฯ (อ.อคุ คเสน) นนั้ ฟังแล้ว ซงึ่ วาจาเป็นเคร่ืองกลา่ ว ของพระเถระ สปิ ปฺ ํ โสปเสถสฺ รติสสกฺุ ากโถมํตสิตุ ววฺ ํสามตตฏุ ฺถฺฐเมกานตโิ สโกหวตุ วฺอาิม“ํ สคตาถฺ ถามมามห เป็นผ้มู ใี จยนิ ดแี ล้ว เป็น (คดิ แล้ว) วา่ อ.พระศาสดา เป็นผ้ทู รงประสงค์ เพอื่ อนั ทรงเหน็ ซง่ึ ศลิ ปะ ของเรา (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ผ้ยู นื แล้ว บนทสี่ ดุ แหง่ ไม้แป้ น เทียว กลา่ วแล้ว ซง่ึ คาถา นี ้วา่ ข้าแต่ท่านโมคคลั ลานะ ผูม้ ีปัญญามาก ผูม้ ีฤิทธิ์มาก “อิงฺฆ ปสฺส มหาปญฺญ โมคฺคลฺลาน มหิทฺธิก เชิญเถิด (อ.ทา่ น) จงดเู ถิด, (อ.ขา้ พเจา้ ) จะกระทำ� ซึ่งความยินดี กโรมิ ราคํ ปริสาย หาสยามิ มหาชนนตฺ ิ. แก่บริษัท, (อ.ขา้ พเจ้า) ยงั มหาชน จะใหร้ ่าเริง ดงั นี้ ฯ ก็ แล อ.อคุ คเสน ครัน้ กลา่ วแล้ว อยา่ งนี ้ กระโดดขนึ ้ ไปแล้ว เอวญฺจ ปน วตฺวา วํสมตฺถกโต เวหาสํ สฟู่ ้ า จากที่สดุ แหง่ ไม้แป้ น เป็นไปรอบแล้ว ๑๔ ครัง้ ในอากาศ อพฺภคุ ฺคนฺตฺวา อากาเส จทุ ฺทสกฺขตฺตํุ ปริวตฺตติ ฺวา ลงแล้ว ได้ยืนแล้ว บนที่สดุ แหง่ ไม้แป้ น ฯ โอรุยฺห วํสมตฺถเก อฏฺฐาส.ิ ผลิตส่อื การเรยี นรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม วดั พระธรรมกาย 25 www.kalyanamitra.org

ครัง้ นัน้ อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว (กะอุคคเสน) นัน้ ว่า อถ นํ สตฺถา “อคุ ฺคเสน ปณฺฑิเตน นาม ดกู ่อนอคุ คเสน อ.อนั ช่ือ อนั บณั ฑิต ละแล้ว ซง่ึ ความอาลยั อตีตานาคตปปฺ จฺจปุ ปฺ นฺเนสุ ขนฺเธสุ อาลยํ นิกนฺตึ ซงึ่ ความรักใคร่ ในขนั ธ์ ท. อนั ไปลว่ งแล้วและไมม่ าแล้วและเกดิ ขนึ ้ ปหาย ชาตอิ าทหี ิ มจุ จฺ ติ ํุ วฏฺฏตตี ิ วตวฺ า อมิ ํ คาถมาห เฉพาะแล้ว พ้น (จากทกุ ข์ ท.) มชี าตเิ ป็นต้น ยอ่ มควร ดงั นี ้ ตรสั แล้ว ซง่ึ พระคาถา นี ้วา่ (อ.ท่าน) จงเปลือ้ ง (ซึ่งความอาลยั ) ในเบือ้ งหนา้ “มญุ ฺจ ปเุ ร มญุ ฺจ ปจฺฉโต (อ.ทา่ น) จงเปลือ้ ง (ซ่ึงกิเลสชาต ท. มีอาลยั เป็นตน้ ) ในเบือ้ งหลงั มชฺเฌ มญุ ฺจ ภวสสฺ ปารคู (อ.ทา่ น) จงเปลือ้ ง (ซึ่งกิเลสชาต ท. มีอาลยั เป็นตน้ ) ในทา่ มกลาง สพพฺ ตฺถ วิมตุ ฺตมานโส (อ.ท่าน) เป็นผูถ้ ึงซ่ึงฝ่ัง แห่งภพ (เป็น) มีใจอนั พน้ วิเศษแลว้ น ปนุ ชาติชรํ อเุ ปหิสีติ. (ในธรรม) ทงั้ ปวง จกั ไม่เขา้ ถึง ซึ่งชาติและชรา อีก ดงั นี้ ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.ทา่ น) จงเปลอื ้ ง ซงึ่ ความอาลยั คอื วา่ ซง่ึ ความรกั ใคร่ ตตฺถ “มุญจฺ ปุเรต:ิ อตีเตสุ ขนฺเธสุ อาลยํ นิกนฺตึ คือวา่ ซง่ึ ความหมกมนุ่ คือวา่ ซง่ึ ความปรารถนา คือวา่ อชฺโฌสานํ ปตฺถนํ ปริยฏุ ฺฐานํ คาหํ ปรามาสํ ตณฺหํ ซงึ่ ความขลกุ ขลยุ่ คอื วา่ ซง่ึ ความยดึ ถอื คอื วา่ ซง่ึ การลบู คลำ� คอื วา่ มญุ ฺจ. ซงึ่ ความทะยานอยาก ในขนั ธ์ ท. อนั ไปลว่ งแล้ว (ดงั นี ้ ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ มุญจฺ ปุเร ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.ทา่ น) จงปลอ่ ย (ซง่ึ กเิ ลสชาต ท.) มอี าลยั เป็นต้น ปจฉฺ โตต:ิ อนาคเตสปุ ิ ขนฺเธสุ อาลยาทีนิ มญุ ฺจ. ในขนั ธ์ ท. แม้อนั ไมม่ าแล้ว (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ ปจฉฺ โต ดงั นเี ้ป็นต้น ฯ (อ.อรรถ วา่ อ.ทา่ น) จงปลอ่ ย (ซงึ่ กเิ ลสชาต ท. มรี าคะเป็นต้น) มชเฺ ฌต:ิ ปจฺจปุ ปฺ นฺเนสปุ ิ ตานิ มญุ ฺจ. เหลา่ นนั้ (ในขนั ธ์ ท.) แม้อนั เกิดขนึ ้ เฉพาะแล้ว (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ มชเฺ ฌ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ อ.อรรถ วา่ (ครัน้ เม่ือความเป็น) อยา่ งนนั้ มีอยู่ (อ.ทา่ น) ภวสฺส ปารคูต:ิ เอวํ สนฺเต, ตวิ ธิ สสฺ าปิ เป็นผ้ถู งึ ซงึ่ ฝ่ัง คือวา่ เป็นผ้ถู งึ แล้วซง่ึ ฝั่ง แหง่ ภพ แม้มีอยา่ ง ๓ ภวสสฺ อภญิ ฺญาปริญฺญาปหานภาวนาสจฉฺ กิ ริ ิยาวเสน ด้วยสามารถแห่งการก�ำหนดรู้และการละและการให้เจริญและ ปารคู ปารคโต หตุ ฺวา ขนฺธธาตอุ ายตนาทิเภเท การกระทำ� ให้แจ้งด้วยความรู้ยงิ่ เป็น มใี จอนั พ้นวเิ ศษแล้ว (ในธรรม) สพพฺ สงขฺ เต วมิ ตุ ตฺ มานโส วหิ รนโฺ ต ปนุ ชาตชิ รามรณานิ อนั ปัจจยั ปรุงแตง่ แล้วทงั้ ปวง อนั ตา่ งโดยธรรมมีขนั ธ์และธาตแุ ละ น อปุ คจฺฉสีติ อตฺโถ. อายตนะเป็นต้น อยอู่ ยู่ จะไมเ่ ข้าถงึ ซงึ่ ชาตแิ ละชราและมรณะ ท. อีก ดงั นี ้ (แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ ภวสสฺ ปารคู ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ในกาลเป็นท่ีสดุ ลงแหง่ เทศนา อ.อนั รู้ตลอดเฉพาะซงึ่ ธรรม เทสนาวสาเน จตุราสีติยา ปาณสหสฺสานํ ได้มีแล้ว แก่พนั แหง่ สตั ว์มีปราณ ท. ๘๔ ฯ ธมมฺ าภิสมโย อโหส.ิ แม้ อ.บตุ รของเศรษฐี ผ้ยู ืนแล้ว บนที่สดุ แหง่ ไม้แป้ น เทียว อรหตเสฺตฏํ ฺปฐปิตตฺุวาฺโตวปํสิ วโตํสมโตอฺถรุยเกฺหสติ ตโกฺถวุ สสนหฺตปกิ ฏํ อิสามคภฺ นิทฺตาฺวหาิ บรรลแุ ล้ว ซง่ึ พระอรหตั กบั ด้วยปฏิสมั ภิทา ท. ลงแล้ว จากไม้แป้ น มาแล้ว สสู่ ำ� นกั ของพระศาสดา ถวายบงั คมแล้ว ปญฺจปปฺ ตฏิ ฺฐเิ ตน วนฺทิตฺวา สตฺถารํ ปพฺพชฺชํ ยาจิ. ด้วยอันตัง้ ไว้เฉพาะแห่งองค์ ๕ ทูลขอแล้ว ซึ่งการบรรพชา กะพระศาสดา ฯ 26 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

ครงั้ นนั้ อ.พระศาสดา ทรงเหยยี ดออกแล้ว ซงึ่ พระอรหตั เบอื ้ งขวา อถ นํ สตฺถา ทกฺขิณหตฺถํ ปสาเรตฺวา ตรัสแล้ว (กะบตุ รของเศรษฐี) นนั้ วา่ (อ.ทา่ น) เป็นภิกษุ (เป็น) “เอหิ ภิกฺขตู ิ อาห. จงมาเถิด ดงั นี ้ฯ (อ.บตุ รของเศรษฐี) นนั้ เป็นผ้ทู รงไว้ซง่ึ บริขาร ๘ เป็นราวกะวา่ โส ตาวเทว อฏฺ ฐปริกฺขารธโร สฏฺฐวิ สสฺ ตฺเถโร พระเถระมีพรรษา ๖๐ ได้เป็นแล้ว ในขณะนนั้ นน่ั เทียว ฯ วยิ อโหส.ิ ครัง้ นนั้ อ.ภิกษุ ท. ถามแล้ว (ซงึ่ ภิกษุ) นนั้ วา่ ดกู ่อนอคุ คเสน อถ นํ ภิกฺขู “โออาตวรโุ นสฺตสอฺสคุ ฺคภเสยนํ นาสมฏฺฐนหิ าตโหฺถสสตีฺสิ ผ้มู ีอายุ ช่ือ อ.ความกลวั ไมไ่ ด้มีแล้ว แก่ทา่ น ผ้ขู ้ามลงอยู่ เต วํสสสฺ มตฺถกโต จากที่สุด แห่งไม้แป้ น มีศอก ๖๐ เป็ นประมาณ หรือ ดังนี,้ ปจุ ฉฺ ติ วฺ า, “นตถฺ ิ เม อาวโุ ส ภยนตฺ ิ วตุ เฺ ต, สตถฺ ุ อาโรเจสํุ (ครัน้ เม่ือค�ำ) วา่ ดกู ่อนทา่ นผ้มู ีอายุ ท. อ.ความกลวั ยอ่ มไมม่ ี “ภนฺเต อคุ ฺคเสโน `น ภายามีติ วทต,ิ อภตู ํ วตฺวา อญฺญํ แก่เรา ดงั นี ้ (อนั ภิกษุนนั้ ) กลา่ วแล้ว, กราบทลู แล้ว แก่พระศาสดา พฺยากโรตีต.ิ วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ อ.พระอคุ คเสน ยอ่ มกลา่ ว วา่ (อ.เรา) ยอ่ มไมก่ ลวั ดงั นี,้ อ.พระอคุ คเสน กลา่ วแล้ว (ซง่ึ ค�ำ) อนั ไมม่ ีแล้ว ยอ่ มพยากรณ์ ซงึ่ พระอรหตั ผลอนั บคุ คลพงึ รู้ย่ิง ดงั นี ้ฯ อ.พระศาสดา ตรสั แล้ว วา่ ดกู อ่ นภกิ ษุ ท. อ.ภกิ ษุ ท. ผ้มู สี งั โยชน์ สตฺถา “น ภิกฺขเว มม ปตุ ฺเตน อคุ ฺคเสเนน อนั ตดั ได้แล้ว ผ้เู ชน่ กบั ด้วยอคุ คเสน ผ้เู ป็นบตุ ร ของเรา ยอ่ มกลวั สทิสา ฉินฺนสํโยชนา ภิกฺขู ภายนฺติ น สนฺตสนฺตีติ หามิได้ ยอ่ มไมส่ ะด้งุ ด้วยดี ดงั นี ้ ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา นี ้ วตฺวา พฺราหฺมณวคฺเค อิมํ คาถมาห ในพราหมณวรรค วา่ (อ.บคุ คล) ใด แล ตดั แลว้ ซึ่งสงั โยชน์ทง้ั ปวง ย่อมไม่สะดงุ้ , “สพพฺ สํโยชนํ เฉตฺวา โย เว น ปริตสฺสติ, (อ.เรา) ย่อมเรียก (ซึ่งบคุ คล) ผูไ้ ปล่วงซ่ึงกิเลสเป็นเหตขุ อ้ ง สงฺคาติคํ วิสํยตุ ฺตํ ตมหํ พรฺ ูมิ พรฺ าหฺมณนตฺ ิ. ผูพ้ รากแลว้ นนั้ ว่าเป็นพราหมณ์ ดงั นี้ ฯ ในกาลเป็ นที่สดุ ลงแห่งเทศนา อ.อนั รู้ตลอดเฉพาะซงึ่ ธรรม เทสนาวสาเน พหนู ํ ธมฺมาภิสมโย อโหสิ. ได้มีแล้ว (แก่ชน ท.) มาก ฯ ในวันรุ่งขึน้ อ.ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็ นเคร่ืองกล่าว ว่า “กึ นปุเุ นโกขทิวอสาํวโุ ภสิกฺขเอู วธํ มอมฺ รสหภตาฺตยปุ ํ นกิสถฺสํ ยสสมมฏุปฺ ฺฐนาฺนเปสสฺสํุ ดกู ่อนทา่ นผ้มู ีอายุ ท. อ.อะไร หนอ แล เป็นเหตแุ หง่ การเที่ยวไป กบั ด้วยนกั ฟ้ อน ท. เพราะอาศยั ซง่ึ ธิดาของนกั ฟ้ อน แห่งภิกษุ ภิกฺขโุ น นฏธีตรํ นิสฺสาย นเฏหิ สทฺธึ วจิ รณการณํ, ผ้ถู ึงพร้อมแล้วด้วยอปุ นิสยั แห่งพระอรหตั อย่างนี ้ (ย่อมเป็ น), กึ อรหตฺตสฺส อปุ นิสสฺ ยการณนฺต.ิ อ.อะไร เป็นเหตแุ หง่ อปุ นิสยั แหง่ พระอรหตั (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ ให้ตงั้ ขนึ ้ พร้อมแล้ว ในโรงเป็นท่ีกลา่ วกบั ด้วยการแสดงซงึ่ ธรรม ฯ อ.พระศาสดา เสดจ็ มาแล้ว ตรัสถามแล้ว วา่ ดกู ่อนภิกษุ ท. สตฺถา อาคนฺตฺวา “กาย นตุ ฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ (อ.เธอ ท.) เป็นผ้นู ง่ั พร้อมกนั แล้ว ด้วยวาจาเป็นเครื่องกลา่ ว อะไร กถาย สนฺนิสนิ ฺนาติ ปจุ ฺฉิตฺวา, `อิมาย นามาติ วตุ ฺเต, หนอ ยอ่ มมี ในกาลนี ้ ดงั นี,้ (ครัน้ เม่ือค�ำ) วา่ (อ.ข้าพระองค์ ท. “ภิกฺขเว อภุ ยมเฺ ปตํ อิมินาเอว กตนฺติ วตฺวา ตมตฺถํ เป็นผ้นู ง่ั พร้อมกนั แล้ว ด้วยวาจาเป็นเคร่ืองกลา่ ว) ชื่อ นี ้ (ยอ่ มมี ปกาเสตํุ อตีตํ อาหริ: ในกาลนี)้ ดงั นี ้ (อนั ภิกษุ ท. เหลา่ นนั้ ) กราบทลู แล้ว, ตรัสแล้ว วา่ ดูก่อนภิกษุ ท. (อ.เหตุ) นั่น แม้ทัง้ สอง (อันอุคคเสน) นีน้ ่ันเทียว กระท�ำแล้ว ดงั นี ้ทรงน�ำมาแล้ว ซงึ่ เรื่องอนั ไปลว่ งแล้ว วา่ ได้ยินวา่ ในกาลอนั ไปลว่ งแล้ว ครัน้ เมื่อพระเจดีย์อนั เป็น “อตีเต กิร กสฺสปทสพลสฺส สวุ ณฺณเจตเิ ย วกิ ารแหง่ ทอง ของพระทศพลพระนามวา่ กสั สปะ (อนั มหาชน) กริยมาเน, พาราณสวี าสโิ น กลุ ปตุ ฺตา ปหตู ํ ขาทนียํ กระท�ำอยู่ อ.กลุ บตุ ร ท. ผ้อู ยใู่ นเมืองพาราณสีโดยปกติ ยกขนึ ้ แล้ว โภชนียํ ยานเกสุ อาโรเปตฺวา “หตฺถกมมฺ ํ กริสสฺ ามาติ ซงึ่ ของอนั บคุ คลพงึ เคีย้ ว ซงึ่ ของอนั บคุ คลพงึ บริโภค อนั เพียงพอ ปเจวติสยิ นฏฺตฺฐํ าปนสํ ฺสคสึจ.ฺุฉนฺตา อนฺตรามคฺเค เอกํ เถรํ ปิ ณฺฑาย บนยานน้อย ท. ไปอยู่ สทู่ แี่ หง่ พระเจดยี ์ (ด้วยความคดิ ) วา่ (อ.เรา ท.) จกั กระท�ำ ซง่ึ หตั ถกรรม ดงั นี ้ เหน็ แล้ว ซง่ึ พระเถระ รูปหนงึ่ ผ้เู ข้าไปอยู่ เพ่ือก้อนข้าว ในระหวา่ งแหง่ หนทาง ฯ ผลติ ส่ือการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัตธิ รรม วดั พระธรรมกาย 27 www.kalyanamitra.org

ครัง้ นนั้ อ.กลุ ธิดา คนหนงึ่ แลดแู ล้ว ซงึ่ พระเถระ กลา่ วแล้ว อเถกา กลุ ธีตา เถรํ โอโลเกตฺวา สามิกํ อาห กะสามี วา่ ข้าแตน่ าย อ.พระผ้เู ป็นเจ้า ของเรา ท. ยอ่ มเข้าไป “สามิ อยฺโย โน ปิ ณฺฑาย ปวสิ ต,ิ ยานเก จ โน ปหตู ํ เพื่อก้อนข้าว, อนง่ึ อ.ของบคุ คลพงึ เคีย้ ว อ.ของอนั บคุ คลพงึ บริโภค ขาทนียํ โภชนียํ, ปตฺตมสสฺ อาหร, ภิกฺขํ ทสฺสามาต.ิ อนั เพียงพอ (มีอย)ู่ บนยานน้อย ของเรา ท., (อ.ทา่ น) จงน�ำมา ซงึ่ บาตร (ของพระเถระ) นนั้ , (อ.เรา ท.) จกั ถวาย ซงึ่ ภิกษา ดงั นี ้ฯ (อ.สามี) นนั้ น�ำมาแล้ว ซงึ่ บาตร ฯ (อ.เมียและผวั ท.) แม้ทงั้ ๒ โส ปตฺตํ อาหริ. ตํ ขาทนียโภชนียสฺส ปเู รตฺวา (ยงั บาตร) นนั้ ให้เตม็ แล้ว ด้วยของอนั บคุ คลพงึ เคยี ้ วและของอนั บคุ คล เถรสฺส หตฺเถ ทปิฏตฺฐฏิ ธฺฐมามฺเปสตฺเสฺวาว อโุ ภปิ ปตฺถนํ กรึสุ พงึ บริโภค ให้ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว ในมือ ของพระเถระ กระท�ำแล้ว “ภนฺเต ตมุ เฺ หหิ ภาคโิ น ภเวยฺยามาต.ิ ซง่ึ ความปรารถนา วา่ ข้าแตท่ า่ นผ้เู จริญ (อ.เรา ท.) เป็นผ้มู ีสว่ น แหง่ ธรรม อนั ทา่ น ท. เหน็ แล้วนนั่ เทียว พงึ เป็น ดงั นี ้ฯ อ.พระเถระ แม้นนั้ เป็นพระขณี าสพ (ยอ่ มเป็น), เพราะเหตนุ นั้ โสปิ เถโร ขีณาสโว; ตสฺมา โอโลเกนฺโต เตสํ (อ.พระเถระ นนั้ ) ตรวจดอู ยู่ รู้แล้ว ซง่ึ ความเป็นคืออนั ส�ำเร็จ ปตฺถนาย สมิชฺฌนภาวํ ญตฺวา สติ ํ อกาส.ิ แหง่ ความปรารถนา (แหง่ เมียและผวั ท. ๒) เหลา่ นนั้ ได้กระท�ำแล้ว ซง่ึ อนั แย้ม ฯ อ.หญิง นนั้ เหน็ แล้ว (ซงึ่ กิริยา) นนั้ กลา่ วแล้ว กะสามี วา่ ตํ ทสิ วฺ า สา อติ ถฺ ี สามกิ ํ อาห “สามิ อมหฺ ากํ อยโฺ ย ข้าแตน่ าย อ.พระผ้เู ป็นเจ้า ของเรา ท. ยอ่ มกระท�ำ ซง่ึ อนั แย้ม, สติ ํ กโรต,ิ เอโส นฏทารโก ภวสิ สฺ ตีต.ิ (อ.พระผ้เู ป็นเจ้า) นนั่ เป็นเดก็ ของนกั ฟ้ อน จกั เป็น ดงั นี ้ฯ แม้ อ.สามี (ของหญิง) นนั้ กลา่ วแล้ว วา่ แนะ่ นางผ้เู จริญ สามิโกปิ สฺสา“เอวํภวิสฺสติภทฺเทติวตฺวาปกฺกามิ. (อ.พระผ้เู ป็นเจ้า เป็นเดก็ ของนกั ฟ้ อน) จกั เป็น อยา่ งนนั้ ดงั นี ้หลกี อิทํ เตสํ ปพุ ฺพกมมฺ ํ. ไปแล้ว ฯ อ.บรุ พกรรม (ของชน ท.) เหลา่ นนั้ นี ้ฯ (อ.ชน ท.) เหลา่ นนั้ ดำ� รงอยแู่ ล้ว (ในอตั ภาพ) นนั้ สนิ ้ การกำ� หนด เต ตตฺถ ยาวตายกุ ํ ฐตฺวา เทวโลเก นิพฺพตฺตติ ฺวา เพยี งใดแหง่ อายุ บงั เกดิ แล้ว ในเทวโลก เคลอื่ นแล้ว (จากเทวโลก) นนั้ , ตโต จวิตฺวา, สา อิตฺถี นฏเคเห นิพฺพตฺต,ิ ปรุ ิโส อ.หญิง นนั้ บงั เกิดแล้ว ในเรือนของนกั ฟ้ อน, อ.บรุ ุษ (บงั เกิดแล้ว) เสฏฺฐเิ คเห. ในเรือนของเศรษฐี ฯ (อ.บรุ ุษ) นนั้ เที่ยวไปแล้ว กบั ด้วยนกั ฟ้ อน ท. เพราะความที่ โส “เอวํ ภทฺเท ภวิสสฺ ตีติ ตสฺสา ปฏิวจนสฺส แหง่ คำ� ตอบ วา่ แนะ่ นางผ้เู จริญ (อ.พระผ้เู ป็นเจ้า เป็นเดก็ ของนกั ฟ้ อน) ทินฺนตฺตา นเฏหิ สทฺธึ วจิ ริ, ขีณาสวตฺเถรสฺส จกั เป็น อยา่ งนนั้ ดงั นี ้ เป็นคำ� อนั ตนให้แล้ว (แกห่ ญงิ ) นนั้ , บรรลแุ ล้ว ทินฺนปิ ณฺฑปาตํ นิสสฺ าย อรหตฺตํ ปาปณุ ิ. ซ่ึงพระอรหัต เพราะอาศัย ซึ่งบิณฑบาตอันตนถวายแล้ว แก่พระเถระผ้ขู ีณาสพ ฯ อ.ธิดาของนกั ฟ้ อน แม้นนั้ (คดิ แล้ว) วา่ (อ.คต)ิ ใด เป็นคติ สาปิ นฏธีตา “ยา เม สามิกสฺส คต,ิ มยฺหํปิ ของสามี ของเรา (ยอ่ มเป็น), (อ.คต)ิ นนั้ นนั่ เทยี ว เป็นคติ แม้ของเรา สา เอว คตีติ ภิกฺขนุ ีนํ สนฺตเิ ก ปพฺพชิตฺวา อรหตฺเต (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้บวชแล้ว ในส�ำนกั ของภิกษุณี ท. ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว ปตฏิ ฺฐหีต.ิ ในพระอรหตั ดงั นี ้เพ่ืออนั ทรงประกาศ ซงึ่ เนือ้ ความ นนั้ ฯ อ.เร่ืองแห่งบตุ รของเศรษฐีช่อื ว่าอคุ คเสน (จบแล้ว) ฯ อุคคฺ เสนเสฏฺ ฐิปุตตฺ วตถฺ ุ. 28 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

๗. อ.เร่ือ(องันแหข้่างบพณัเจฑ้า ติ จชะ่ือกลว่า่าจวฬู) ฯธนุคคหะ ๗. จฬู ธนุคคฺ หปณฺฑติ วตถฺ ุ. (๒๔๖) อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเชตวนั ทรงปรารภ “วติ กกฺ มถติ สฺสาติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เชตวเน ซึ่งภิกษุหนุ่ม รูปหนึ่ง ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี ้ ว่า วิหรนฺโต เอกํ ทหรภิกฺขํุ อารพฺภ กเถส.ิ วติ กกฺ มถติ สฺส ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ อ.ภิกษุหนมุ่ รูปหนงึ่ จบั แล้ว ซง่ึ ฉลาก ของตน เอโก กิร ทหรภิกฺขุ สลากคฺเค อตฺตโน สลากํ ในโรงแหง่ ฉลาก ถือเอา ซงึ่ ข้าวต้มอนั บคุ คลพงึ ถวายตามสลาก คเหตฺวา สลากยาคํุ อาทาย อาสนสาลํ คนฺตฺวา ปิ วติ. ไปแล้ว สโู่ รงเป็นที่ฉนั ดื่มอยู่ ฯ (อ.ภิกษุ นนั้ ) ไมไ่ ด้แล้ว ซงึ่ น�ำ้ ตตฺถ อทุ กํ อลภิตฺวา อทุ กตฺถาย เอกํ ฆรํ อคมาส.ิ (ในท่ี) นนั้ ได้ไปแล้ว สเู่ รือน หลงั หนงึ่ เพื่อประโยชน์แก่น�ำ้ ฯ อ.เดก็ หญิง คนหนง่ึ (ในเรือน) นนั้ เหน็ แล้ว (ซงึ่ ภิกษุ) นนั้ เทียว ตตฺร ตํ เอกา กมุ าริกา ทิสวฺ าว อปุ ปฺ นฺนสเิ นหา มีความรักอันเกิดขึน้ แล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ “ภนเฺ ต ปนุ ปิ ปานเี ยน อตเฺ ถ สต,ิ อเิ ธว อาคจเฺ ฉยยฺ าถาติ ครัน้ เม่ือความต้องการ ด้วยน�ำ้ อนั บคุ คลพงึ ด่ืม มีอย,ู่ (อ.ทา่ น ท.) อาห. พงึ มา (ในที่) นีน้ นั่ เทียว แม้อีก ดงั นี ้ฯ (อ.ภิกษุ) นัน้ ย่อมไม่ได้ ซ่ึงน�ำ้ อันบุคคลพึงด่ืม ในกาลใด, โส สตาโตปิ สปฺสฏฺปฐาตยฺตยํ คทเาหตปฺวาานปียํานนลียภํ เทตต,ิ ต.ิ ทา ตตฺเถว ย่อมไป (ในที่) นัน้ น่ันเทียว ในกาลนัน้ จ�ำเดิม (แต่กาล) นัน้ ฯ คจฺฉต.ิ (อ.เดก็ หญิง) แม้นนั้ รับแล้ว ซง่ึ บาตร (ของภิกษุ) นนั้ ยอ่ มถวาย ซง่ึ น�ำ้ อนั บคุ คลพงึ ด่ืม ฯ ครัน้ เม่ือกาล ไปอยู่ อยา่ งนี ้ (อ.เดก็ หญิง) นนั้ ถวายแล้ว เอวํ คจฺฉนฺเต กาเล, ยาคํปุ ิ ทตฺวา ปเุ นกทิวสํ แม้ซงึ่ ข้าวต้ม (ยงั ภกิ ษุ นนั้ ) ให้นง่ั แล้ว (ในท)ี่ นนั้ นนั่ เทยี ว ได้ถวายแล้ว ตตฺเถว นิสีทาเปตฺวา ภตฺตํ อทาส.ิ สนฺตเิ ก จสสฺ ซงึ่ ภตั ร ในวนั รุ่งขนึ ้ ฯ ก็ (อ.เดก็ หญิง นนั้ ) นงั่ แล้ว ในท่ีใกล้ นิสีทิตฺวา “ภนฺเต อิมสฺมึ เคเห น กิญฺจิ นตฺถิ นาม, เกวลํ (ของภิกษุ) นนั้ ยงั วาจาเป็นเครื่องกลา่ ว วา่ ข้าแตท่ า่ นผ้เู จริญ มยํ วจิ ารณกมนสุ ฺสเมว น สลตุภฺวาามอาตกุ ิฺกกณถฺํฐส.ิ มฏุ ฺฐาเปส.ิ (อ.ของ) อะไร ๆ ชอ่ื วา่ ยอ่ มไมม่ ี ในเรือน นี ้หามไิ ด้, อ.เรา ท. ยอ่ มไมไ่ ด้ โส กตปิ าเหเนว ตสสฺ า กถํ ซง่ึ มนษุ ยผ์ ้จู ดั การ นน่ั เทยี ว อยา่ งเดยี ว ดงั นี ้ ให้ตงั้ ขนึ ้ พร้อมแล้ว ฯ (อ.ภิกษุ) นนั้ ฟังแล้ว ซงึ่ วาจาเป็นเครื่องกลา่ ว (ของเดก็ หญิง) นนั้ กระสนั ขนึ ้ แล้ว โดยวนั เลก็ น้อยนน่ั เทียว ฯ ครัง้ นนั้ ในวนั หนง่ึ อ.ภิกษุ ท. ผ้จู รมา เหน็ แล้ว (ซงึ่ ภิกษุ) นนั้ อถ นํ เอกทิวสํ อาคนฺตกุ า ภิกฺขู ทิสวฺ า ถามแล้ว วา่ ดกู อ่ นทา่ นผ้มู อี ายุ อ.ทา่ น เป็นผ้ผู อม เป็นผ้มู อี นั เหลอื งขนึ ้ ๆ “กสฺมา ตฺวํ อาวโุ ส กีโส อปุ ปฺ ณฺฑปุ ปฺ ณฺฑกุ ชาโตสีติ เกิดแล้ว ยอ่ มเป็น เพราะเหตไุ ร ดงั นี,้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) วา่ ดกู ่อน ปจุ ฺฉิตฺวา, “อกุ ฺกณฺฐโิ ตสฺมิ อาวโุ สติ วตุ ฺเต, ทา่ นผ้มู ีอายุ ท. อ.เรา เป็นผ้กู ระสนั ขนึ ้ แล้ว ยอ่ มเป็น ดงั นี ้ อาจริยปุ ชฺฌายานํ สนฺตกิ ํ นยสึ .ุ เตปิ ตํ สตฺถุ สนฺตกิ ํ (อนั ภิกษุ นนั้ ) กลา่ วแล้ว, น�ำไปแล้ว สสู่ �ำนกั ของอาจารย์และ เนตฺวา ตมตฺถํ อาโรเจสํ.ุ อปุ ัชฌาย์ ท. ฯ (อ.อาจารย์และอปุ ัชฌาย์ ท.) แม้เหลา่ นนั้ น�ำไปแล้ว (ซง่ึ ภิกษุ) นนั้ สสู่ ำ� นกั ของพระศาสดา กราบทลู แล้ว ซง่ึ เนือ้ ความ นนั้ ฯ อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ว วา่ ดกู ่อนภิกษุ ได้ยินวา่ อ.เธอ สตฺถา “สจฺจํ กิร ตฺวํ ภิกฺขุ อกุ ฺกณฺฐโิ ตสีติ เป็นผ้กู ระสนั ขนึ ้ แล้ว ยอ่ มเป็น จริงหรือ ดงั นี ้ (ครัน้ เม่ือค�ำ) วา่ ปจุ ฺฉิตฺวา, “สจฺจนฺติ วตุ ฺเต, “กสฺมา ตฺวํ ภิกฺขุ มาทิสสฺส (อ.ข้าพระองค์ เป็นผ้กู ระสนั ขนึ ้ แล้ว ยอ่ มเป็น) จริง ดงั นี ้(อนั ภกิ ษุ นนั้ ) อารทฺธวิริยสฺส พทุ ฺธสสฺ สาสเน ปพฺพชิตฺวา กราบทลู แล้ว , ตรัสแล้ว วา่ ดกู ่อนภิกษุ อ.เธอ บวชแล้ว ในศาสนา `โสตาปนโฺ นติ วา `สกทาคามตี ิ วา อตตฺ านํ อวทาเปตวฺ า ของพระพุทธเจ้า ผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว ผู้เช่นเรา ไม่ (ยังบุคคล) ให้เรียกแล้ว ซ่ึงตน ว่า อ.พระโสดาบัน ดังนี ้ หรือ หรือวา่ วา่ อ.พระสกทาคามี ดงั นี ้ ผลิตสอ่ื การเรียนรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย 29 www.kalyanamitra.org

(ยงั บคุ คล) ให้เรียกแล้ว วา่ อ.ภกิ ษุ ผ้กู ระสนั ขนึ ้ แล้ว ดงั นี ้เพราะเหตไุ ร, `อกุ ฺกณฺฐโิ ตติ วทาเปส;ิ ภาริยํ เต กมมฺ ํ กตนฺติ วตฺวา อ.กรรม อนั หนกั อนั เธอ กระท�ำแล้ว ดงั นี ้ตรัสถามแล้ว วา่ (อ.เธอ) “กกึ ารณา อกุ ฺกณฺฐโิ ตสีติ ปจุ ฺฉิตฺวา, “ภนฺเต เอกา มํ เป็นผ้กู ระสนั ขนึ ้ แล้ว ยอ่ มเป็น เพราะเหตไุ ร ดงั นี ้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) วา่ อิตฺถี เอวมาหาติ วตุ ฺเต, “ภิกฺขุ อนจฺฉริยํ เอตํ ตสฺสา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.หญิง คนหนึ่ง กล่าวแล้ว อย่างนี ้ กิริยํ: สา หิ ปพุ ฺเพ สกลชมพฺ ทุ ีเป อคฺคปณฺฑิตํ ปหาย กะข้าพระองค์ ดงั นี ้ (อนั ภิกษุ นนั้ ) กราบทลู แล้ว, ตรัสแล้ว วา่ ชตีวํมิตหุ กตุ ฺขฺตยทํ ิฏปฺฐาเเกปสตี เอิ กวสตฺมฺวาึ สเิ นหํ อปุ ปฺ าเทตฺวา ตํ ดกู ่อนภิกษุ อ.กิริยา (ของหญิง) นนั้ นนั่ เป็นกิริยาไมน่ า่ อศั จรรย์ ตสฺส วตฺถสุ ฺส ปกาสนตฺถํ (ยอ่ มเป็น), เพราะวา่ ในกาลกอ่ น (อ.หญงิ ) นนั้ ละแล้ว ซงึ่ บณั ฑติ ผ้เู ลศิ ภิกฺขหู ิ ยาจิโต อตีเต จฬู ธนคุ ฺคหปณฺฑิตกาเล ในชมพทู วีปทงั้ สนิ ้ ยงั ความรัก (ในบรุ ุษ) คนหนง่ึ ผ้อู นั ตนเหน็ แล้ว ตกฺกสลิ ายํ ทิสาปาโมกฺขสสฺ อาจริยสฺส สนฺตเิ ก สปิ ปฺ ํ ในกาลครู่หนง่ึ นนั้ ให้เกิดขนึ ้ แล้ว (ยงั บณั ฑิตผ้เู ลศิ ) นนั้ ให้ถงึ แล้ว อคุ ฺคเหตฺวา เตเนอกตสฏุ ฺมฺเึฐนอทฏินวฺนีมํ เุธขีตรํ อาทาย พาราณสึ ซงึ่ ความสนิ ้ ไปแหง่ ชีวติ ดงั นี ้ ผู้ อนั ภิกษุ ท. ทลู วิงวอนแล้ว คจฺฉนฺตสสฺ เอกนู ปญฺญาสาย เพ่ืออันทรงประกาศ ซึ่งเรื่อง นัน้ ทรงกระท�ำให้แจ้งแล้ว กณเฺ ฑหิ เอกนู ปญญฺ าส โจเร ฆาเตตวฺ า, กณเฺ ฑสุ ขเี ณส,ุ ซง่ึ ความท่ีแหง่ บณั ฑิตช่ือวา่ จฬู ธนคุ คหะ ผู้ เรียนเอาแล้ว ซง่ึ ศลิ ปะ กอโจาตรหฺวเชาราฏตฺฐิกโจํ รวคสตุเฺสหฺเตต,ฺวหาตตฺเภถามู ยิยํอสปตถิ าํขรเณํุตตํทฐฺวิฏเาฺปฐ,โตจฺว“เภารทฺเทโสจเิ เนอรนหสํึ ในสำ� นกั ของอาจารย์ ผ้ทู ิศาปาโมกข์ ในเมืองตกั สลิ า พาเอา ซงึ่ ธดิ า ผู้ (อนั อาจารย)์ นนั้ ผ้ยู นิ ดแี ล้ว ให้แล้ว ไปอยู่ สเู่ มอื งชอื่ วา่ พาราณสี ฆา่ แล้ว ซงึ่ โจร ท. ๔๙ ด้วยลกู ศร ท. ๔๙ ใกล้ปากแหง่ ดง จฬู ธนคุ ฺคหปณฺฑิตสฺส มาริตภาวํ โจเรน จ ตํ อาทาย แหง่ หนง่ึ , ครัน้ เม่ือลกู ศร ท. สนิ ้ แล้ว, จบั แล้ว ซง่ึ โจรผ้เู จริญท่ีสดุ คจฺฉนฺเตน “มํปิ เอสา อญฺญํ ทิสฺวา อตฺตโน สามิกํ (ยงั โจรผ้เู จริญท่ีสดุ นนั้ ) ให้ล้มลงแล้ว บนแผน่ ดนิ , (ครัน้ เมื่อค�ำ) วา่ วิย มาราเปสสฺ ต,ิ กึ เม อิมายาติ เอกํ นทึ ทิสฺวา แนะ่ นางผ้เู จริญ (อ.เธอ) จงน�ำมา ซง่ึ ดาบ ดงั นี ้ (อนั บณั ฑิตชื่อวา่ โอริมตเี ร ตํ ฐเปตวฺ า ตสสฺ า ภณฑฺ กํ อาทาย “ตวฺ ํ อเิ ธว จฬู ธนคุ คหะ) กลา่ วแล้ว, (อนั หญิง) นนั้ กระท�ำแล้ว ซงึ่ ความรัก โหหิ, ยาวาหํ ภณฺฑกํ อตุ ฺตาเรมีติ ตตฺเถว ตํ ปหาย ในโจรผ้อู นั ตนเห็นแล้วในขณะนนั้ วางไว้แล้ว ซงึ่ ด้ามแห่งดาบ คมนภาวญฺจ อาวกิ ตฺวา ในมอื ของโจร ยงั โจร ให้ฆา่ แล้ว ด้วย ซงึ่ ความเป็นคอื อนั อนั โจร ผ้พู าเอา (ซง่ึ หญิง) นนั้ ไปอยู่ (คดิ แล้ว) วา่ (อ.หญิง) นนั่ เหน็ แล้ว (ซง่ึ บรุ ษุ ) อน่ื แม้ยงั เรา จกั ให้ตาย ราวกะวา่ ยงั สามี ของตน (ให้ตายอย)ู่ , (อ.ประโยชน์) อะไร แก่เรา (ด้วยหญิง) นี ้ ดงั นี ้ เหน็ แล้ว ซงึ่ แมน่ �ำ้ สายหนง่ึ พกั ไว้แล้ว (ซงึ่ หญิง) นนั้ ทฝี่ ั่งข้างนี ้ ถอื เอาแล้ว ซงึ่ สง่ิ ของ (ของหญงิ ) นนั้ (กลา่ วแล้ว) วา่ อ.เรา ยงั สง่ิ ของ จะให้ข้ามขนึ ้ เพยี งใด อ.เธอ จงมี (ในที่) นีน้ นั่ เทียว (เพียงนนั้ ) ดงั นี ้ละแล้ว (ซงึ่ หญิง) นนั้ (ในท่ี) นนั้ นนั่ เทียว ไป ด้วย ทรงยงั จฬู ธนคุ คหชาดก ในปัญจก นิบาต นี ้วา่ (อ.หญิง นนั้ กลา่ วแล้ว ซงึ่ คาถาที่๑ วา่ ) ขา้ แต่พราหมณ์ (อ.ท่าน) ถือเอาดว้ ยดีแลว้ ซ่ึงส่ิงของ “สพพฺ ํ ภณฺฑํ สมาทาย ปารํ ติณฺโณสิ พรฺ าหฺมณ, ทง้ั ปวง เป็นผูข้ า้ มแลว้ ซึ่งฝั่ง ย่อมเป็น, (อ.ท่าน) จงกลบั มา ปจฺจาคจฺฉ ลหํุ ขิปปฺ ํ มํปิ ตาเรหิทานิ โภ” เร็ว, ขา้ แต่ท่านผูเ้ จริญ (อ.ท่าน) แมย้ งั ดิฉนั จงใหข้ า้ ม พลนั ในกาลนี้ เถิด (ดงั นี)้ ฯ (อ.โจร กลา่ วแล้ว ซง่ึ คาถาที่ ๒ วา่ ) อ.นางผูเ้ จริญ ย่อมแลก ซึ่งเรา ผูอ้ นั ตนไม่เชยชิดแลว้ “อสนถฺ ตุ ํ มํ จิรสนถฺ เุ ตน ผูม้ ิใช่ผวั ดว้ ยผวั ผูอ้ นั ตนเชยชิดแลว้ สิ้นกาลนาน, มินาติ โภตี อธวุ ํ ธเุ วน, อ.นางผเู้ จริญ พงึ แลก (ซ่ึงบรุ ุษ) อืน่ แมด้ ว้ ยเรา, อ.เรา จกั ไป มยาปิ โภตี นิมิเนยฺย อญฺญํ, (สู่ที)่ อนั ไกลกว่า (กว่าที)่ นี้ (ดงั นี)้ ฯ อิโต อหํ ทูรตรํ คมิสฺสํ.” 30 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.สนุ ขั จิง้ จอก กลา่ วแล้ว ซง่ึ คาถาที่ ๓ วา่ ) (อ.หญิง) นี้ เป็นใคร (เป็น) ย่อมกระท�ำ ซึ่งอนั หวั เราะใหญ่ “กายํ เอฬคณิคมุ ฺเพ กตโารฬตํ ิ มหหาสิยํ, ในพมุ่ แห่งตะไคร้น�้ำ, อ.อนั ฟ้ อน หรือ หรือว่า อ.อนั ขบั นยิธ นจฺจํ วา คีตํ วา วา สสุ มาหิตํ. หรือว่า อ.อนั ประโคม อนั อนั บคุ คลตง้ั ไวด้ ว้ ยดีแลว้ (มีอยู่) อนมฺหิกาเล สสุ โฺ สณิ กึ นุ ชคฺฆสิ โสภเน ?” (ในที)่ นี้ หามิได,้ แน่ะหญิงงาม ผูม้ ีสะโพกงาม (อ.เธอ) ย่อมซิกซี้ ในกาลเป็นทีร่ ้องไห้ เพราะเหตไุ ร หนอ (ดงั นี)้ ฯ (อ.หญิง นนั้ กลา่ วแล้ว ซงึ่ คาถาท่ี ๔ วา่ ) แน่ะสนุ ขั จิ้งจอก ผูเ้ ขลา ผูม้ ีปัญญาทราม ชือ่ ว่าชมั พกุ ะ “สิคาล พาล ทมุ ฺเมธ อปปฺ ปญฺโญสิ ชมฺพกุ , (อ.เจ้า) เป็นผูม้ ีปัญญานอ้ ย ย่อมเป็น, (อ.เจ้า) เสือ่ มแลว้ ฉินโฺ น มจฺฉญฺจ เปสิญฺจ กปโณ วิย ฌายสิ.” จากปลา ดว้ ย จากช้ินเนือ้ ดว้ ย ย่อมซบเซา ราวกะ อ.คนก�ำพร้า (ดงั นี้ ) ฯ (อ.สนุ ขั จิง้ จอก กลา่ วแล้ว ซงึ่ คาถาที่ ๕ วา่ ) อ.โทษ (ของชน ท.) เหล่าอืน่ เป็นโทษอนั บคุ คลเห็นได้ “สทุ สฺสํ วชฺชมญฺเญสํ, อตฺตโน ปน ททุ ฺทสํ; โดยง่าย (ย่อมเป็น), ส่วนว่า (อ.โทษ) ของตน เป็นโทษ ฉินนฺ า ปติญฺจ ชารญฺจ มํปิ ตฺวญฺเญว ฌายสิ.” อนั บคุ คลเห็นไดโ้ ดยยาก (ย่อมเป็น), อ.ท่านนน่ั เทียว เสือ่ มแลว้ จากผวั ดว้ ย จากชายชู้ ดว้ ย ย่อมซบเซา แมก้ ว่าเรา (ดงั นี)้ ฯ (อ.หญิง นนั้ กลา่ วแล้ว ซงึ่ คาถาที่ ๖ ) วา่ แน่ะมิคราช ชือ่ ว่าชมั พกุ ะ (อ.เจ้า) ย่อมกล่าว ฉนั ใด “เอวเมตํ มิคราช, ยถา ภาสสิ ชมฺพกุ . (อ.ค�ำ) นน่ั (ย่อมเป็น) ฉนั นน้ั , อ.เรา นน้ั ไปแลว้ (จากที)่ นี้ สา นนู าหํ อิโต คนตฺ ฺวา ภตฺตุ เหสสฺ ํ วสานคุ า.” เป็นผูไ้ ปตามซ่ึงอ�ำนาจ ของผวั จกั เป็น แน่ (ดงั นี)้ ฯ (อ.ท้าวสกั กะ ตรัสแล้ว ซงึ่ พระคาถาอนั เป็นที่สดุ ลง วา่ ) (อ.บคุ คล) ใด พึงน�ำไป ซึ่งถาด อนั เป็นดิน, (อ.บคุ คล) “โย หเร มตฺติกํ ถาลํ, กํสถาลํปิ โส หเร; นนั้ พึงน�ำไป แมซ้ ่ึงภาชนะอนั เป็นส�ำริด, อ.บาป อนั อนั เจ้า กตํเยว ตยา ปาปํ ปนุ เปวํ กริสฺสสีติ กระท�ำแลว้ นน่ั เทียว (อ.เจ้า) จกั กระท�ำ อย่างนี้ แมอ้ ีก (ดงั นี)้ ดงั นี้ ให้พิสดารแล้ว ตรัสแล้ว วา่ อ.บณั ฑิตช่ือวา่ จฬู ธนคุ คหะ ในกาลนนั้ อิมํ ปญฺจกนิปาเต จฬู ธนคุ ฺคหชาตกํ วิตฺถาเรตฺวา เป็นเธอ ได้เป็นแล้ว (ในกาลน)ี ้, อ.หญงิ นนั้ (ในกาลนนั้ ) เป็นเดก็ หญงิ นี ้ “ตทา จฬู ธนคุ ฺคหปณฺฑิโต ตฺวํ อโหส,ิ สา อิตฺถี (ได้เป็นแล้ว) ในกาลน,ี ้ อ.ท้าวสกั กะ ผ้พู ระราชาแหง่ เทพ ผู้ เสดจ็ มาแล้ว อยํ เอตรหิ กมุ าริกา, สคิ าลรูเปน อาคนฺตฺวา ตสฺสา ด้วยรูปของสนุ ขั จงิ ้ จอก กระทำ� ซง่ึ การขม่ ข่ี (ซงึ่ หญงิ ) นนั้ (ในกาลนนั้ ) นิคฺคหการโก สกฺโก เทวราชา อหเมวาติ วตฺวา เป็นเรานน่ั เทยี ว (ได้เป็นแล้ว ในกาลน)ี ้ ดงั นี ้ ตรสั สอนแล้ว (ซง่ึ ภกิ ษุ) “สเกอลวํชมสพฺ าทุ ีเอปิตอฺถคี ฺคตปํมณหุ ฺฑตุ ฺติตทํ ชิฏฺีวฐิตเกา เอกสมฺ ึ สเิ นเหน นนั้ วา่ อ.หญงิ นนั้ ปลงลงแล้ว ซง่ึ บณั ฑติ ผ้เู ลศิ ในชมพทู วปี ทงั้ สนิ ้ โวโรเปส;ิ ตํ อิตฺถึ จากชีวติ เพราะความรัก (ในบรุ ุษ) คนหนงึ่ ผ้อู นั ตนเหน็ แล้ว อารพฺภ อปุ ปฺ นฺนํ ตว ตณฺหํ ฉินฺทิตฺวา วิหร ภิกฺขตู ิ ในกาลครู่หน่ึงนัน้ อย่างนี,้ ดูก่อนภิกษุ (อ.เธอ) ตัดแล้ว ตํ โอวทิตฺวา อตุ ฺตรึ ธมมฺ ํ เทเสนฺโต อิมา คาถา อภาสิ ซง่ึ ความทะยานอยาก แหง่ เธอ อนั ปรารภ ซงึ่ หญงิ นนั้ เกดิ ขนึ ้ แล้ว จงอยู่เถิด ดังนี ้ เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม ย่ิง ได้ตรัสแล้ว ซงึ่ พระคาถา ท. เหลา่ นี ้วา่ ผลิตสอื่ การเรยี นรู้ โดยโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย 31 www.kalyanamitra.org

อ.ตณั หา ย่อมเจริญทวั่ ยิ่ง แก่สตั ว์เกิด ผูอ้ นั วิตกย่�ำยีแลว้ “วติ กฺกมถิตสสฺ ชนฺตโุ น ผู้มีราคะกล้า ผู้ตามเห็นซ่ึงอารมณ์ว่างามโดยปกติ, ตพิ ฺพราคสฺส สภุ านปุ สสฺ โิ น (อ.บคุ คล) นนั่ แล ย่อมกระท�ำ ซึ่งเครื่องผูก ใหเ้ ป็นของมนั่ คง ฯ ภิยฺโย ตณฺหา ปวฑฺฒต,ิ ส่วนว่า (อ.ภิกษุ) ใด เป็นผูย้ ินดีแลว้ ในธรรมเป็นทีเ่ ขา้ ไปสงบ- เอส โข ทฬฺหํ กโรติ พนฺธนํ. แห่งวิตก (เป็น) มีสติ ในกาลทกุ เมือ่ ยงั อสภุ ฌาน ใหเ้ จริญอยู่, วิตกฺกปู สเม จ โย รโต (อ.ภิกษุ) นนั่ แล จกั กระท�ำ (ซึ่งตณั หา) ใหเ้ ป็นกิเลสชาติมีทีส่ ดุ อสภุ ํ ภาวยตี สทา สโต ไปปราศแลว้ (อ.ภิกษุ) นน่ั ย่อมตดั ซึ่งเครื่องผูกของมาร ดงั นี้ ฯ เอโส โข พฺยนฺตกิ าหติ เอสจฺฉินฺทติ มารพนฺธนนฺต.ิ (อ.อรรถ วา่ ) ผ้อู นั วติ ก ท. ๓ มีกามวิตกเป็นต้น ย่�ำยีแล้ว ตตฺถ “วติ กกฺ มถติ สสฺ าต:ิ กามวติ กฺกาทีหิ ตีหิ (ดังนี ้ ในบท ท.) เหล่านัน้ หนา (แห่งบท) ว่า วิตกฺกมถิตสฺส วติ กฺเกหิ นิมมฺ ถิตสฺส. ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ ) ผ้มู รี าคะหนา (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ ตพิ พฺ ราคสสฺ ดงั นี ้ฯ ตพิ พฺ ราคสสฺ าต:ิ พหลราคสฺส. (อ.อรรถ วา่ ) ชื่อวา่ ผ้ตู ามเหน็ อยู่ (ซงึ่ อารมณ์) วา่ งาม ดงั นี ้ คาหาสทุภวิ เาสนนุปวสสิ ฺสสฺ ิโฏนฺฐตมิ:านอสิฏตฺาฐยารมสภฺุมนเณตฺ ิสอุ นสปุ ภุสนสฺ นิมตฺิตสฺตสฺ ค.ฺ เพราะความที่ (แห่งตน) เป็ นผู้มีใจอันปล่อยไปแล้ว ในอารมณ์ อันบุคคลปรารถนาแล้ว ท. ด้วยอ�ำนาจแห่งการถือเอา มกี ารถอื เอาโดยนมิ ติ วา่ งามเป็นต้น (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ สภุ านปุ สสฺ โิ น ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) (ในคณุ ท.) มีฌานเป็นต้น หนา (อ.ฌาน) ตณฺหาต:ิ เอวรูปสฺส ฌานาทีสุ เอกํปิ น วฑฺฒต,ิ แม้อยา่ งหนง่ึ ยอ่ มไมเ่ จริญ (แก่สตั ว์เกิด) ผ้มู ีอยา่ งนีเ้ป็นรูป, อถโข ฉทฺวาริกตณฺหา ภิยฺโย วฑฺฒต.ิ อ.ตณั หาอนั เป็นไปในทวาร ๖ ยอ่ มเจริญ ยงิ่ โดยแท้แล (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ ตณฺหา ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อ.บคุ คล นน่ั แล จะกระทำ� ซงึ่ เครื่องผกู คอื ตณั หา เอส โขต:ิ เอโส โข ปคุ ฺคโล ตณฺหาพนฺธนํ ชื่อวา่ ให้เป็นของมน่ั คง (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ เอส โข ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ถิรํ นาม กโรต.ิ (อ.อรรถ วา่ ) ในอสภุ ะ ท. ๑๐ หนา ในปฐมฌาน อนั บณั ฑิต วติ กกฺ ูปสเมต:ิ มิจฺฉาวติ กฺกานํ วปู สมสงฺขาเต นบั พร้อมแล้วว่าธรรมเป็ นท่ีเข้าไปสงบวิเศษ แห่งมิจฉาวิตก ท. ทสสุ อสเุ ภสุ ปฐมชฺฌาเน. (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ วติ กกฺ ูปสเม ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) (อ.ภิกษุ) ใด เป็นผ้ยู ินดียิ่งแล้ว (ในปฐมฌาน) นี ้ สทา สโตต:ิ โย เอตฺถ อภิรโต หตุ ฺวา นิจฺจํ เป็ น ช่ือว่ามีสติ เพราะความท่ี (แห่งตน) เป็ นผู้มีสติตัง้ มั่นแล้ว อปุ ฏฺฐติ สฺสตติ าย สโต ตํ อสภุ ชฺฌานํ ภาเวต.ิ เนืองนิตย์ ยงั อสภุ ฌาน นนั้ ให้เจริญอยู่ (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ สทา สโต ดงั นีฯ้ 32 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.อรรถ วา่ ) อ.ภกิ ษุ นน่ั จกั กระทำ� ซงึ่ ตณั หา อนั เป็นเหตเุ กดิ ขนึ ้ พยฺ นฺตกิ าหตตี :ิ เอส ภิกฺขุ ตีสุ ภเวสุ ในภพ ท. ๓ ให้เป็นกิเลสชาตไิ ปปราศแล้ว (ดงั นี ้ แหง่ บท) วา่ อปุ ปฺ ชฺชนกํ ตณฺหํ วิคตํ กริสสฺ ต.ิ พยฺ นฺตกิ าหติ ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ (อ.ภิกษุ) นนั่ จกั ตดั แม้ซง่ึ เคร่ืองผกู ของมาร มารพนฺธนนฺต:ิ เอส เตภมู ิกวฏฺฏสงฺขาตํ อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้วว่าวัฏฏะอันเป็ นไปในภูมิ ๓ ดังนี ้ มารพนฺธนํปิ ฉินฺทิสฺสตีติ อตฺโถ. (แหง่ บท) วา่ มารพนฺธนํ ดงั นี ้ฯ ในกาลเป็นท่ีสดุ ลงแหง่ เทศนา อ.ภิกษุ นนั้ ตงั้ อยเู่ ฉพาะแล้ว เทสนาวสาเน โส ภิกฺขุ โสตาปตฺตผิ เล ปตฏิ ฺฐหิ, ในโสดาปัตตผิ ล, อ.เทศนา เป็นเทศนาเป็นไปกบั ด้วยวาจามปี ระโยชน์ สมปฺ ตฺตานํปิ สาตฺถิกา เทสนา อโหสตี .ิ ได้มีแล้ว (แก่ชน ท.) แม้ผ้ถู งึ พร้อมแล้ว ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งบณั ฑติ ช่ือว่าจฬู ธนุคคหะ (จบแล้ว) ฯ จฬู ธนุคคฺ หปณฺฑติ วตถฺ ุ. ๘. อ.เร่ืองแห่งมาร (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ ๘. มารวตถฺ ุ. (๒๔๗) อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเชตวนั ทรงปรารภ วหิ รน“นฺโติฏฺมฐาํ รคํ อโาตรตพิฺภอกิมเํถสธม.ิ มฺ เทสนํ สตฺถา เชตวเน ซง่ึ มาร ตรสั แล้ว ซง่ึ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ นฏิ ฺฐํ คโต ดงั นเี ้ป็นต้น ฯ ดงั จะกลา่ วโดยพิสดาร ในวนั หนงึ่ อ.พระเถระ ท. ผ้มู าก เอกทวิ สํ หิ วกิ าเล สมพฺ หลุ า เถรา เชตวนมหาวหิ ารํ เข้าไปแล้ว สมู่ หาวิหารช่ือวา่ เชตวนั ในสมยั มีกาลไปปราศแล้ว ปวสิ ติ ฺวา ราหลุ ตฺเถรสฺส วสนฏฺ ฐานํ คนฺตฺวา ตํ ไปแล้ว สทู่ ี่เป็นที่อยู่ ของพระเถระชื่อวา่ ราหลุ (ยงั พระเถระ วฏุ ฺฐาเปส.ํุ ชื่อวา่ ราหลุ ) นนั้ ให้ลกุ ขนึ ้ แล้ว ฯ (อ.พระเถระ) นนั้ ไมเ่ หน็ อยู่ ซงึ่ ท่ีเป็นท่ีอยู่ (ในที่) อื่น ไปแล้ว ตถาคโตสสสฺ อญคนฺญธฺ ตกฏฺุถยิ าวสปนมฏเุ ขฺฐานนปิ ํ ชชฺอ.ิปตสทฺสานฺโโตส คนฺตฺวา นอนแล้ว ท่ีหน้ามขุ แหง่ พระคนั ธกฎุ ี ของพระตถาคตเจ้า ฯ อายสมฺ า ในกาลนนั้ (อ.พระเถระ) ผ้มู ีอายุ นนั้ ผ้บู รรลแุ ล้ว ซง่ึ พระอรหตั อรหตฺตํ ปตฺโต อวสฺสโิ กว อโหส.ิ เป็นผ้ไู มม่ ีพรรษาเทียว ได้เป็นแล้ว ฯ อ.มาร ชื่อวา่ วสวดั ดี ผ้ดู �ำรงอยแู่ ล้ว ในภพ นนั่ เทียว เหน็ แล้ว มาโร วสวตฺตี ภวเน โิ ตเยว ตํ อายสมฺ นฺตํ (ซง่ึ พระเถระ) ผ้มู ีอายุ นนั้ ผ้นู อนแล้ว ท่ีหน้ามขุ แหง่ พระคนั ธกฎุ ี คนฺธกฏุ ิปปฺ มเุ ข นิปนฺนํ ทิสฺวา จินฺเตสิ “สมณสสฺ คดิ แล้ว วา่ อ.พระหนอ่ น้อย ผ้เู สียดแทง ของพระสมณะ ผ้โู คดม โคตมสสฺ รอุชงนฺคกลุ ายิ อางปคฺ ี ฬลุ ีิยพมหาิ นนปาิ ยน,นฺ สา,ยสํ ปยี ฬํ อิโนตโฺ ตภควนสิ ธฺสฺ กตฏุ ีตยิ .ิ ํ นอนแล้ว ในภายนอก, อ.พระสมณะ ผู้โคดม บรรทมแล้ว นิปนฺโน; ในภายในแหง่ พระคนั ธกฎุ ี เอง; ครัน้ เมื่อพระหนอ่ น้อย (อนั เรา) บีบคนั้ อยู่(อ.พระสมณะ ผ้โู คดม) นนั้ เป็นผู้(อนั เรา) บีบคนั้ แล้ว เอง จกั เป็น ดงั นี ้ฯ ผลิตสือ่ การเรียนรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม วัดพระธรรมกาย 33 www.kalyanamitra.org

(อ.มาร) นนั้ เนรมิตเฉพาะแล้ว ซง่ึ เพศแหง่ ช้างผ้พู ระราชา โส มหนฺตํ หตฺถิราชวณฺณํ อภินิมมฺ ินิตฺวา อาคมมฺ อนั ใหญ่ มาแล้ว รัดแล้ว ซง่ึ กระหมอ่ ม ของพระเถระ ด้วยงวง โสณฺฑาย เถรสสฺ มตฺถกํ ปริกฺขิปิ ตฺวา มหนฺเตน สทฺเทน ร้องแล้ว ร้องเพียงดงั นกกระเรียน ด้วยเสียง อนั ดงั ฯ โกญฺจรวํ รวิ. อ.พระศาสดา ผ้บู รรทมแล้ว ในพระคนั ธกฎุ ี ทรงทราบแล้ว สตฺถา คนฺธกฏุ ิยํ นิปนฺโน ตสสฺ มารภาวํ ญตฺวา ซงึ่ ความท่ีแหง่ ช้างนนั้ เป็นมาร ตรัสแล้ว วา่ ดกู ่อนมาร แม้อนั แสน “มาร ตาทิสานํ สตสหสเฺ สนาปิ มม ปตุ ฺตสฺส ภยํ (แห่งชน ท.) ผู้เช่นท่าน ไม่อาจ เพ่ืออัน ยังความกลัว อปุ ปฺ าเทตํุ น สกฺกา, ปตุ ฺโต หิ เม อสนฺตาสี วีตตณฺโห ให้เกิดขนึ ้ แก่บตุ ร ของเรา, เพราะวา่ อ.บตุ ร ของเรา เป็นผ้ไู มส่ ะด้งุ มหาวริ ิโย มหาปญฺโญติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ โดยปกติ เป็ นผ้มู ีตณั หาไปปราศแล้ว เป็ นผ้มู ีความเพียรมาก เป็นผ้มู ีปัญญามาก (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ ได้ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา ท. เหลา่ นี ้วา่ (อ.บุคคล) ใด ผู้ถึงแล้ว ซ่ึงความส�ำเร็จ ผู้ไม่สะดุ้ง- อ“นจิฏฺฉฺฐินํ ทฺคิ โตภวอสสลนฺลตฺ าานสิ,ี วีตตณฺโห อนงฺคโณ โดยปกติ ผูม้ ีตณั หาไปปราศแลว้ ผูม้ ีกิเลสเพียงดงั เนิน- อนตฺ ิโมยํ สมสุ สฺ โย หามิได้ ไดต้ ดั แลว้ ซ่ึงลกู ศรอนั ยงั สตั ว์ใหไ้ ปสภู่ พโดยปกติ ท., วีตตณฺโห อนาทาโน นิรุตฺติปทโกวิโท อ.กาย อนั มีในทีส่ ดุ (ของบคุ คล นนั้ ) นี,้ (อ.บคุ คล ใด) อกฺขรานํ สนนฺ ิปาตํ ชญฺญา ปพุ พฺ าปรานิ จ ผูม้ ีตณั หาไปปราศแลว้ ผูไ้ ม่มีความยึดถือ ผูฉ้ ลาดในนิรุตติ- ส เว อนตฺ ิมสารีโร มหาปญโฺ ญ [มหาปรุ ิโส] ติ วจุ จฺ ตีติ. และบท พึงรู้ ซ่ึงอนั ประชมุ แห่งอกั ษร ท. ดว้ ย ซ่ึงเบือ้ งตน้ - และเบือ้ งปลาย ท. (แห่งอกั ษร ท.) ดว้ ย (อ.บคุ คล) นน้ั แล ผูม้ ีสรีระมีในทีส่ ดุ (อนั เรา) ย่อมเรียก ว่า ผูม้ ีปัญญามาก (ผูเ้ ป็นมหาบรุ ุษ) ดงั นี้ ดงั นี้ ฯ อ.อรรถ วา่ อ.พระอรหตั ชอ่ื วา่ เป็นความสำ� เร็จ แหง่ บรรพชติ ท. ตตฺถ อร“นหิฏตฺฺตฐํํ คโตต:ิ อิมสฺมึ สาสเน ในพระศาสนา นี ้ (ยอ่ มเป็น), ผ้ถู งึ แล้ว คือวา่ ผ้บู รรลแุ ล้ว ปพฺพชิตานํ นิฏฺฐํ นาม, ตํ คโต ปตฺโตติ อตฺโถ. (ซงึ่ พระอรหตั ) นนั้ ดงั นี ้(ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ หมวดสอง แหง่ บท) วา่ นิฏฺ ฐํ คโต ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ ว่า) ช่ือว่าผู้ไม่สะดุ้ง เพราะความไม่มี อสนฺตาสีต:ิ อพฺภนฺตเร ราคสนฺตาสาทีนํ (แหง่ ความสะด้งุ ท.) มีความสะด้งุ คือราคะเป็นต้น ในภายใน อภาเวน อสนฺตสโก. (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ อสนฺตาสี ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ ว่า) ได้ตัดแล้ว ซ่ึงลูกศรอันยังสัตว์ให้ไปสู่ภพ อจฉฺ นิ ทฺ ิ ภวสลลฺ านตี :ิ สพพฺ านปิ ิ ภวคามสิ ลลฺ านิ โดยปกติ ท. แม้ทัง้ ปวง (ดังนี ้ แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า อจฺเฉชฺชิ. อจฉฺ ินฺทิ ภวสลฺลานิ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) อ.กาย อนั มีในท่ีสดุ (ของบคุ คล) นนั้ นี ้ สมุสฺสโยต:ิ อยํ ตสสฺ อนฺตโิ ม เทโห. (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ สมุสฺสโย ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) ผ้มู ีความยดึ ถือ (ในธรรม ท.) มีขนั ธ์เป็นต้น อนาทาโนต:ิ ขนฺธาทีสุ นิคฺคหโณ. ออกแล้ว (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ อนาทาโน ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ ผ้ฉู ลาด ในปฏิสมั ภิทา ท. แม้ ๔ คือ ในนิรุตติ ด้วย นิรุตตฺ ปิ ทโกวโิ ทต:ิ นิรุตฺตยิ ญฺจ เสสปเทสุ จาติ ในบทที่เหลอื ท. ด้วย ดงั นี ้ (แหง่ บท) วา่ นิรุตตฺ ปิ ทโกวโิ ท ดงั นี ้ ฯ จตสู ปุ ิ ปฏิสมภฺ ิทาสุ เฉโกติ อตฺโถ. 34 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.อรรถ วา่ ) (อ.บคุ คล ใด) ยอ่ มรู้ ซงึ่ กลมุ่ แหง่ อกั ษร อนั บณั ฑติ อกขฺ รานํ สนนฺ ปิ าตํ ชญญฺ า ปพุ พฺ าปรานิ จาต:ิ นับพร้ อมแล้วว่าการประชุม แห่งอักษร ท. ด้วย ย่อมรู้ อกฺขรานํ สนฺนิปาตสงฺขาตํ อกฺขรปิ ณฺฑญฺจ ชานาติ ซง่ึ อกั ษรเบือ้ งปลาย ด้วยอกั ษรเบือ้ งต้น ด้วย ซงึ่ อกั ษรเบือ้ งต้น ปพุ ฺพกฺขเรน อปรกฺขรํ อปรกฺขเรน ปพุ ฺพกฺขรญฺจ ด้วยอกั ษรเบือ้ งปลาย ด้วย ฯ ช่ือวา่ ยอ่ มรู้ ซงึ่ อกั ษรเบือ้ งปลาย ชานาต.ิ ปพุ ฺพกฺขเรน อปรกฺขรํ ชานาติ นาม: อาทิมหฺ ิ ด้วยอักษรเบือ้ งต้น, คือว่า ครัน้ เมื่อเบือ้ งต้น ปรากฏอยู่, ปญญฺ ายมาเน, มชฌฺ ปริโยสาเนสุ อปปฺ ญญฺ ายมาเนสปุ ิ, ครัน้ เมื่อทา่ มกลางและที่สดุ ลงรอบ ท. แม้ไมป่ รากฏอย,ู่ ยอ่ มรู้ วา่ “อิเมสํ อกฺขรานํ อิทํ มชฺฌํ, อิทํ ปริโยสานนฺติ ชานาติ. (อ.อกั ษร) นี ้ เป็นทา่ มกลาง ของอกั ษร ท. เหลา่ นี ้ (ยอ่ มเป็น), อปรกฺขเรน ปพุ ฺพกฺขรํ ชานาติ นาม: อนฺเต (อ.อกั ษร) นี ้ เป็นท่ีสดุ รอบ (ของอกั ษร ท. เหลา่ นี ้ ยอ่ มเป็น) ปญฺญายมาเน, อาทิมชฺเฌสุ อปปฺ ญฺญายมาเนสปุ ิ , ดังนี ้ ฯ ช่ือว่า ย่อมรู้ ซ่ึงอักษรเบือ้ งต้ น ด้วยอักษร “อิเมสํ อกฺขรานํ อิทํ มชฺฌํ, อยํ อาทีติ ชานาติ, เบือ้ งปลาย, คือว่า ครัน้ เม่ือที่สุด ปรากฏอยู่, ครัน้ เม่ือ- มชฺเฌ ปญฺญายมาเน, อาทิปริโยสาเนสุ เบือ้ งต้นและท่ามกลาง ท. แม้ไม่ปรากฏอยู่ ย่อมรู้ ว่า อปปฺ ญฺญายมาเนสปุ ิ , “อิเมสํ อกฺขรานํ อยํ อาทิ, (อ.อกั ษร) นี ้ เป็นทา่ มกลาง ของอกั ษร ท. เหลา่ นี ้ (ยอ่ มเป็น), อยํ อนฺโตติ ชานาตเิ อว. (อ.อกั ษร) นี ้ เป็นเบือ้ งต้น (ของอกั ษร ท. เหลา่ นี ้ ยอ่ มเป็น) ดงั นี,้ ครนั้ เมอื่ ทา่ มกลาง ปรากฏอยู่ ครนั้ เมอื่ เบอื ้ งต้นและทสี่ ดุ ลงรอบ ท. แม้ไมป่ รากฏอยู่ ยอ่ มรู้นนั่ เทียว วา่ (อ.อกั ษร นี)้ เป็นเบือ้ งต้น ของอกั ษร ท. เหลา่ นี ้ (ยอ่ มเป็น), (อ.อกั ษร) นี ้ เป็นท่ีสดุ (ของอกั ษร ท. เหลา่ นี ้ ยอ่ มเป็น) (ดงั นี ้ แหง่ หมวดสองแหง่ บาท แหง่ พระคาถา) วา่ อกขฺ รานํ สนนฺ ปิ าตํ ชญญฺ า ปพุ พฺ าปรานิ จ ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ (อ.บคุ คล) ผ้มู ีสรีระอนั ตงั้ อยแู่ ล้ว ในท่ีสดุ นนั่ มหาปญโฺ ญต:ิ เอส โกฏิยํ ติ สรีโร มหนฺตานํ (อนั พระผ้มู พี ระภาคเจ้า ยอ่ มตรัสเรียก วา่ ) ผ้มู ปี ัญญามาก อตฺถธมฺมนิรุตฺติปฏิภานานํ สีลกฺขนฺธาทีนญฺจ (ดงั นี)้ เพราะความที่ (แหง่ ตน) เป็นผ้มู าตามพร้อมแล้ว ด้วยปัญญา ปริคฺคาหิกาย ปญฺญาย สมนฺนาคตตฺตา มหาปญฺโญ อนั ก�ำหนดถือเอา ซงึ่ อรรถและธรรมและนิรุตตแิ ละปฏิภาณ ท. “วมิ ตุ ฺตจิตฺตํ ขฺวาหํ สารีปตุ ฺต มหาปรุ ิโสติ วทามีติ ด้วย (ซง่ึ ขนั ธ์ ท.) มีกองแหง่ ศีลเป็นต้น ด้วย อนั ใหญ่ (ด้วย) วจนโต วิมตุ ฺตจิตฺตตาย จ มหาปรุ ิโสติ วจุ ฺจตีติ อตฺโถ. (อันพระผู้มีพระภาคเจ้า) ย่อมตรัสเรียก ว่า ผู้เป็ นมหาบุรุษ ดงั นี ้ เพราะความท่ี (แหง่ ตน) เป็นผ้มู จี ติ พ้นวเิ ศษแล้ว ตามพระดำ� รสั วา่ ดกู ่อนสารีบตุ ร อ.เรา ยอ่ มเรียก (ซงึ่ บคุ คล) ผ้มู จี ติ พ้นวเิ ศษแล้ว แล วา่ มหาบรุ ุษ ดงั นี ้ ดงั นี ้ ด้วย ดงั นี ้ (แหง่ บท) วา่ มหาปญโฺ ญ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ในกาลเป็นท่ีสดุ ลงแหง่ เทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลแุ ล้ว เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ ปาปณุ สึ .ุ (ซงึ่ อริยผล ท.) มีโสดาปัตตผิ ลเป็นต้น ฯ แม้ อ.มาร ผ้มู ีบาป มาโรปิ ปาปิ มา “ชานาติ มํ สมโณ โคตโมติ ตตฺเถว (คดิ แล้ว) วา่ อ.พระสมณะ ผ้โู คดม ยอ่ มรู้ ซง่ึ เรา ดงั นี ้ หายไปแล้ว อนฺตรธายีต.ิ (ในท่ี) นนั้ นน่ั เทียว ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งมาร (จบแล้ว) ฯ มารวตถฺ ุ. ผลิตสอื่ การเรยี นรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย 35 www.kalyanamitra.org

๙. อ(.อเรัน่ือขง้าแพหเ่งจอ้าาชจีวะกกชล่่ือาวว)่าอฯุปกะ ๙. อุปกาชีวกวตถฺ ุ. (๒๔๘) อ.พระศาสดา ทรงปรารภ ซง่ึ อาชีวก ชื่อวา่ อปุ กะ ในระหวา่ ง “สพพฺ าภภิ ตู ิ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา อนฺตรามคฺเค แหง่ หนทาง ตรัสแล้ว ซง่ึ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ สพพฺ าภภิ ู อปุ กํ อาชีวกํ อารพฺภ กเถส.ิ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ดังจะกล่าวโดยพิสดาร ในสมัยหน่ึง อ.พระศาสดา เอกสมฺ ึ หิ สมเย สตฺถา ปตฺตสพฺพญฺญตุ ญฺญาโณ มีพระสัพพัญญุตญาณอันทรงบรรลุแล้ว ทรงยังสัปดาห์ ๗ โพธิมณฺเฑ สตฺตสตฺตาหํ วีตนิ าเมตฺวา อตฺตโน ให้น้อมไปลว่ งวิเศษแล้ว ท่ีควงแหง่ ต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้ ทรงถือเอา ปตฺตจีวรมาทาย ธมมฺ จกฺกปปฺ วตฺตนตฺถํ พาราณสึ ซงึ่ บาตรและจวี ร ของพระองค์ เสดจ็ ดำ� เนนิ ไปแล้ว สนิ ้ หนทางมโี ยชน์ สอปนุ ฺธกาํ อยาชีวอกฏํฺฐอาทรฺทสสโย. ชนมคฺคํ ปฏิปนฺโน อนฺตรามคฺเค ๑๘ เป็นประมาณ ทรงหมายเอา ซงึ่ เมืองพาราณสี เพื่ออนั ทรง ยงั ธรรมจกั รให้เป็นทว่ั ไป ได้ทรงเหน็ แล้ว ซง่ึ อาชีวก ชื่อวา่ อปุ กะ ในระหวา่ งแหง่ หนทาง ฯ (อ.อาชีวก) แม้นนั้ เหน็ แล้ว ซงึ่ พระศาสดา ถามแล้ว วา่ โสปิ สตฺถารํ ทิสฺวา “วิปปฺ สนฺนานิ โข เต อาวโุ ส ข้าแตท่ า่ นผ้มู ีอายุ อ.อินทรีย์ ท. ของทา่ น ผอ่ งใสแล้ว แล, อินฺทฺริยานิ, ปริสทุ ฺโธ ฉววิ ณฺโณ ปริโยทาโต: กํสิ ตฺวํ อ.สีแหง่ ผิว หมดจดรอบแล้ว ผดุ ผอ่ งรอบแล้ว, ข้าแตท่ า่ นผ้มู ีอายุ อาวโุ ส อทุ ฺทิสสฺ ปพฺพชิโต, โก วา เต สตฺถา, กสฺส วา อ.ทา่ น เป็นผ้บู วชแล้ว เจาะจง ซง่ึ ใคร ยอ่ มเป็น, อ.ใคร เป็นครู ตฺวํ ธมมฺ ํ โรเจสตี ิ ปจุ ฺฉิ. ของทา่ น (ยอ่ มเป็น) หรือ, หรือวา่ อ.ทา่ น ยอ่ มชอบใจ ซง่ึ ธรรม ของใคร ดงั นี ้ฯ ครัง้ นัน้ อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว (แก่อาชีวก) นัน้ ว่า อถสฺส สตฺถา “มยฺหํ อปุ ชฺฌาโย วา อาจริโย วา อ.อปุ ัชฌาย์ หรือ หรือวา่ อ.อาจารย์ ของเรา ยอ่ มไมม่ ี ดงั นี ้ นตฺถีติ วตฺวา อิมํ คาถมาห ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา นี ้วา่ อ.เรา เป็นผูค้ รอบง�ำซ่ึงธรรมทง้ั ปวง เป็นผูร้ ู้ซึ่งธรรมทงั้ ปวง “สพพฺ าภิภู สพพฺ วิทูหมสมฺ ิ เป็นผูอ้ นั ตณั หาและทิฏฐิ ท. ไม่ฉาบทาแลว้ ในธรรม ท. สพเฺ พสุ ธมฺเมสุ อนูปลิตฺโต ทงั้ ปวง เป็ นผู้ละซ่ึงธรรมทง้ั ปวง เป็ นผู้พ้นวิเศษแล้ว สพพฺ ญฺชโห ตณฺหกฺขเย วิมตุ ฺโต ในเพราะธรรมเป็นทีส่ ้ินไปแห่งตณั หา ย่อมเป็น รู้ยิ่งแลว้ สยํ อภิญฺญาย กมทุ ฺทิเสยฺยนตฺ ิ. เอง พึงแสดงอา้ ง ซ่ึงใคร ดงั นี้ ฯ (อ.อรรถ วา่ ) เป็นผ้คู รอบง�ำ ซงึ่ ธรรมอนั เป็นไปในภมู ิ ๓ ท. ตตฺถ “สพพฺ าภภิ ตู :ิ สพฺเพสํ เตภมู ิกธมมฺ านํ ทงั้ ปวง (ดงั นี ้ ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ บท) วา่ สพพฺ าภภิ ู อภิภวติ า. ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ ว่า) เป็ นผู้มีธรรมอันเป็ นไปในภูมิ ๔ ทัง้ ปวง สพพฺ วทิ ตู :ิ วทิ ิตสพฺพจตภุ มู ิกธมโฺ ม. อนั ทราบแล้ว (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ สพพฺ วทิ ู ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) เป็นผ้อู นั ตณั หาและทิฏฐิ ท. ไมฉ่ าบทาแล้ว สพเฺ พสุ ธมเฺ มสูต:ิ สพฺเพสปุ ิ เตภมู ิกธมเฺ มสุ ในธรรมอนั เป็นไปในภมู ิ ๓ ท. แม้ทงั้ ปวง (ดงั นี ้ แหง่ หมวดสอง ตณฺหาทิฏฺฐหี ิ อนปู ลติ ฺโต. แหง่ บท) วา่ สพเฺ พสุ ธมเฺ มสุ ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) เป็นผ้ลู ะแล้ว ซงึ่ ธรรมอนั เป็นไปในภมู ิ ๓ ท. สพพฺ ญชฺ โหต:ิ สพฺเพ เตภมู ิกธมเฺ ม ชหิตฺวา โิ ต. ทงั้ ปวง ด�ำรงอยแู่ ล้ว (ดงั นี ้แหง่ บท) วา่ สพพฺ ญชฺ โห ดงั นี ้ฯ 36 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.อรรถ วา่ ) ผ้พู ้นวเิ ศษแล้ว ในเพราะพระอรหตั อนั บณั ฑิต ตณฺหกขฺ เย วมิ ุตโฺ ตต:ิ ตณฺหกฺขยนฺเต อปุ ปฺ าทิเต นบั พร้อมแล้ววา่ ความสนิ ้ ไปแหง่ ตณั หา อนั (อนั ตน) ให้เกิดขนึ ้ แล้ว ตณฺหกฺขยสงฺขาเต อรหตฺเต อเสขาย วมิ ตุ ฺติยา ในทสี่ ดุ แหง่ ความสนิ ้ ไปแหง่ ตณั หา ด้วยวมิ ตุ ติ อนั เป็นของพระอเสขะ วิมตุ ฺโต. (ดงั นี ้ แหง่ หมวดสองแหง่ บท) วา่ ตณฺหกขฺ เย วมิ ุตโฺ ต ดงั นี ้ ฯ (อ.อรรถ วา่ ) รู้แล้ว ซงึ่ ธรรม ท. อนั ตา่ งโดยธรรมมีธรรม สยํ อภญิ ญฺ ายาต:ิ อภิญฺเญยฺยาทิเภเท ธมเฺ ม อนั ควรแกอ่ นั รู้ยงิ่ เป็นต้น เองนน่ั เทยี ว (ดงั นี ้ แหง่ หมวดสองแหง่ บท) สยเมว ชานิตฺวา. วา่ สยํ อภญิ ญฺ าย ดงั นี ้ฯ (อ.อรรถ วา่ ) (อ.เรา) พงึ เจาะจง ช่ือ ซงึ่ ใคร วา่ (อ.บคุ คล) นี ้ กมุททฺ เิ สยยฺ นฺต:ิ “อยํ เม อปุ ชฺฌาโย วา อาจริโย เป็นอปุ ัชฌาย์ หรือ หรือวา่ เป็นอาจารย์ ของเรา (ยอ่ มเป็น) วาติ กํ นาม อทุ ฺทิเสยฺยนฺต.ิ ดงั นี ้ดงั นี ้(แหง่ บท) วา่ กมุททฺ เิ สยยฺ ํ ดงั นี ้ฯ ในกาลเป็ นท่ีสุดลงแห่งเทศนา อ.อาชีวก ช่ือว่าอุปกะ เทสนาวสาเน อปุ โก อาชีวโก ตถาคตสฺส วจนํ ไม่ยินดียิ่งแล้วนั่นเทียว ไม่คัดค้านแล้ว ซึ่งพระด�ำรัส เนวาภินนฺทิ นปปฺ ฏิกฺโกส,ิ สีสํ ปน จาเลตฺวา ชิวฺหํ ของพระตถาคตเจ้า, แตว่ า่ (อ.อาชีวก นนั้ ) ยงั ศีรษะ ให้ไหวแล้ว นิลลฺ าเลตฺวา เอกปทิกํ มคฺคํ คเหตฺวา อญฺญตรํ แลบแล้ว ซงึ่ ลนิ ้ ยดึ เอา ซงึ่ หนทาง มีรอยเท้ารอยเดียว ได้ไปแล้ว ลทุ ฺทกนิวาสนฏฺฐานํ อคมาสตี .ิ สทู่ ่ีเป็นท่ีอยอู่ าศยั ของนายพราน แหง่ ใดแหง่ หนงึ่ ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งอาชีวกช่ือว่าอุปกะ (จบแล้ว) ฯ อุปกาชีวกวตถฺ ุ. ๑๐. อ.เร่ือง(แอหัน่งขท้า้าพวเสจ้ักากจะะผกู้พลร่าะวร)าฯชาแห่งเทพ ๑๐. สกกฺ เทวราชวตถฺ ุ. (๒๔๙) อ.พระศาสดา เมื่อประทบั อยู่ ในพระเชตวนั ทรงปรารภ “สพพฺ ทานนฺติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา เชตวเน ซงึ่ ท้าวสกั กะ ผ้พู ระราชาแหง่ เทพ ตรัสแล้ว ซง่ึ พระธรรมเทศนา นี ้ วิหรนฺโต สกฺกํ เทวราชํ อารพฺภ กเถส.ิ วา่ สพพฺ ทานํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ดงั จะกลา่ วโดยพิสดาร ในสมยั หนง่ึ อ.เทวดา ท. ในเทวโลก เอกสฺมึ หิ สมเย ตาวตสึ เทวโลเก เทวตา ช่ือวา่ ดาวดงึ ส์ ประชมุ กนั แล้ว ยงั ปัญหา ท. ๔ วา่ ในทาน ท. สนฺนิปตติ ฺวา จตฺตาโร ปญฺเห วสกจุมตฺจฏรุ ตาฺฐีตาร.ิเตปิ รสตํุ ีส“กุ เตชรฏํ ฺฐทกาาน,ํ หนา อ.ทาน อนั ไหน หนอ แล (เป็นทานประเสริฐที่สดุ ยอ่ มเป็น), นุ โข ทาเนส,ุ กตโร รโส รเสส,ุ ในรส ท. หนา อ.รส อนั ไหน (เป็นรสประเสริฐท่ีสดุ ยอ่ มเป็น), ตณฺหกฺขโยว กสฺมา เชฏฺฐโกติ ในความยนิ ดี ท. หนา อ.ความยนิ ดี อนั ไหน เป็นธรรมชาตปิ ระเสริฐทส่ี ดุ (ยอ่ มเป็น), อ.ความสนิ ้ ไปแหง่ ตณั หาเทียว (อนั บณั ฑิต) ยอ่ มเรียก วา่ เป็นสภาพประเสริฐท่ีสดุ ดงั นี ้เพราะเหตไุ ร ดงั นี ้ฯ แม้ อ.เทวดา องคห์ นงึ่ ไมไ่ ด้อาจแล้ว เพอื่ อนั ตดั สนิ ซง่ึ ปัญหา ท. เต ปญฺเห เอกา เทวตาปิ วนิ ิจฺฉิตํุ นาสกฺขิ. เหลา่ นนั้ ฯ ผลติ สอ่ื การเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม วดั พระธรรมกาย 37 www.kalyanamitra.org

ก็ อ.เทพ องคห์ นงึ่ ยอ่ มถาม ซง่ึ เทพ องคห์ นงึ่ , (อ.เทพ) แม้นนั้ เอโก ปน เทโว เอกํ เทวํ ปจุ ฺฉต,ิ โสปิ อปรนฺติ (ยอ่ มถาม ซงึ่ เทพ) อ่ืนอีก, (อ.เทพ ท.) ถามอยู่ ซงึ่ กนั และกนั เอวํ อญฺญมญฺญํ ปจุ ฺฉนฺตา ทสสุ จกฺกวาฬสหสเฺ สสุ อยา่ งนี ้ ด้วยประการฉะนี ้ เที่ยวไปแล้ว สนิ ้ ปี ท. ๑๒ ในพนั ทฺวาทส สวํ จฺฉรานิ วจิ รึส.ุ แหง่ จกั รวาล ท. ๑๐ ฯ อ.เทวดาในจกั รวาลหมื่นหน่ึง ท. ไม่เห็นแล้ว ซง่ึ เนือ้ ความ เอตฺตเกนาปิ กาเลน ปญฺหานํ อตฺถํ อทิสฺวา แหง่ ปัญหา ท. โดยกาล แม้มีประมาณเทา่ นี ้ประชมุ กนั แล้ว ไปแล้ว ทสสหสสฺ จกฺกวาฬเทวตา สนฺนิปตติ ฺวา จตนุ ฺนํ สสู่ �ำนกั ของท้าวมหาราช ท. ๔ (ครัน้ เม่ือค�ำ) วา่ แนะ่ พอ่ ท. มหาราชานํ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา, “กึ ตาตา อ.อันประชุมแห่งเทพใหญ่ (ได้มีแล้ว) เพราะเหตุไร ดังนี ้ มหาเทวสนฺนิปาโตติ วตุ ฺเต, “จตฺตาโร ปญฺเห (อนั ท้าวมหาราช ท. ๔ เหลา่ นนั้ ) กลา่ วแล้ว, (กลา่ วแล้ว) วา่ (อ.เรา ท.) อสามคฏุ ตฺฐมาเหฺ ปาตตฺว.ิ า วินิจฺฉิตํุ อสกฺโกนฺตา ตมุ หฺ ากํ สนฺตกิ ํ ยงั ปัญหา ท. ๔ ให้ตงั้ ขนึ ้ พร้อมแล้ว ไมอ่ าจอยู่ เพ่ืออนั ตดั สนิ เป็ นผู้มาแล้ว สู่ส�ำนัก ของท่าน ท. ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ (อ.ท้าวมหาราช ท. ๔ เหลา่ นนั้ ถามแล้ว) วา่ แนะ่ พอ่ ท. ช่ือ “กึ ปญฺหา นาม ตาตาต.ิ “ทานรสรตีสุ อ.ปัญหา ท. อะไร ดงั นี ้ ฯ (อ.เทวดา ท. เหลา่ นนั้ บอกแล้ว [เกสตตฏมรฺโตทฐฺถาตํนิออราิเสมโรรตเปจิ ญสนํ]ฺุเ.ุหโวขนิ ิจเสฺฉิฏตฺํฐุ อาส, กตฺโกณนฺหฺตกาฺขอโายควตมกหฺสามฺ ตาิ ซงึ่ เนอื ้ ความนนั้ ) วา่ (อ.เรา ท.) ไมอ่ าจอยู่ เพอื่ อนั ตดั สนิ ซง่ึ ปัญหา ท. เหลา่ นี ้ วา่ ในทานและรสและความยินดี ท. หนา อ.ทานและรส และความยินดีอยา่ งไหน หนอ แล เป็นธรรมชาตปิ ระเสริฐที่สดุ (ยอ่ มเป็น), อ.ความสนิ ้ ไปแหง่ ตณั หาเทยี ว เป็นสภาพประเสริฐทสี่ ดุ (ยอ่ มเป็น) เพราะเหตไุ ร ดงั นี ้เป็นผ้มู าแล้ว ยอ่ มเป็น ดงั นี ้ฯ (อ.ท้าวมหาราช ท. ๔ เหลา่ นนั้ กลา่ วแล้ว) วา่ แนะ่ พอ่ ท. “ตาตา มยํปิ อิเมสํ อตฺถํ น ชานาม; อมหฺ ากํ ปน แม้ อ.เรา ท. ยอ่ มไมร่ ู้ ซงึ่ เนือ้ ความ (แหง่ ปัญหา ท.) เหลา่ นี,้ ราชา ชนสหสเฺ สน จินฺตเิ ต อตฺเถ จินฺเตตฺวา ขเณเนว ก็ อ.พระราชา ของเรา ท. ทรงดำ� ริแล้ว ซง่ึ อรรถ ท. อนั อนั พนั แหง่ ชน ชานาต,ิ โส อมเฺ หหิ ปญฺญาย จ ปญุ ฺเญน จ วอสิ าฏิทฺ โาฐย, คดิ แล้ว ยอ่ มทรงทราบ โดยขณะนนั่ เทียว, (อ.พระราชา) นนั้ เอตสสฺ สนฺตกิ ํ คจฺฉามาติ ตเมว เทวคณํ เป็นผ้ทู รงประเสรฐิ โดยวเิ ศษ กวา่ เรา ท. โดยปัญญา ด้วย โดยบญุ ด้วย สกฺกสสฺ เทวรญฺโญ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา, เตนาปิ “กึ ตาตา (ยอ่ มเป็น), (อ.เรา ท.) จงไป สสู่ �ำนกั (ของพระราชา) นนั่ เถิด ดงั นี ้ มหนฺโต เทวสนฺนิปาโตติ วตุ ฺเต, ตมตฺถํ อาโรเจสํ.ุ พาเอา ซงึ่ หมแู่ หง่ เทพ นนั้ นนั่ เทียว ไปแล้ว สสู่ ำ� นกั ของท้าวสกั กะ ผ้พู ระราชาแหง่ เทพ, (ครนั้ เมอื่ คำ� ) วา่ แนะ่ พอ่ ท. อ.อนั ประชมุ แหง่ เทพ อนั ใหญ่ (ได้มีแล้ว) เพราะเหตไุ ร ดงั นี ้ (อนั ท้าวสกั กะ) แม้นนั้ ตรัสแล้ว, กราบทลู แล้ว ซง่ึ เนือ้ ความ นนั้ ฯ อ.ท้าวสกั กะ ตรสั แล้ว วา่ แนะ่ พอ่ ท. (อ.บคุ คล) อนื่ ยอ่ มไมอ่ าจ สกฺโก “ตาตา อิเมสํ ปญฺหานํ อญฺโญ อตฺถํ ชานิตํุ เพ่ืออนั รู้ ซง่ึ เนือ้ ความ แหง่ ปัญหา ท. เหลา่ นี,้ (อ.ปัญหา ท.) น สกฺโกต,ิ พทุ ฺธวิสยา เอเตติ วตฺวา “สตฺถา ปเนตรหิ เหลา่ นน่ั เป็นวิสยั ของพระพทุ ธเจ้า (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ ตรัสถามแล้ว กหํ วสตีติ ปจุ ฺฉิตฺวา “เชตวเนติ สตุ ฺวา “เอถ ตสฺส วา่ ก็ อ.พระศาสดา ยอ่ มประทบั อยู่ (ในที่) ไหน ในกาลนี ้ ดงั นี ้ สนฺตกิ ํ คมิสสฺ ามาติ เทวคเณน สทฺธึ รตฺตภิ าเค ทรงสดบั แล้ว วา่ (อ.พระศาสดา ยอ่ มประทบั อย)ู่ ในพระเชตวนั สกลํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา สตฺถารํ อปุ สงฺกมิตฺวา ดงั นี ้(ตรัสแล้ว) วา่ (อ.ทา่ น ท.) จงมาเถิด (อ.เรา ท.) จกั ไป สสู่ ำ� นกั วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ  ิโต, “กึ มหาราช มหตา เทวคเณน (ของพระศาสดา) นนั้ ดงั นี ้ ทรงยงั พระเชตวนั ทงั้ สนิ ้ ให้สวา่ งแล้ว สทฺธึ อาคโตสตี ิ วตุ ฺเต, “ภนฺเต เทวคเณน อิเม นาม ในสว่ นแหง่ ราตรี เข้าไปเฝ้ าแล้ว ซงึ่ พระศาสดา กบั ด้วยหมแู่ หง่ เทพ ปญฺหา นสามมฏุ ฺนฐาตปฺถิ ติ, าอ,ิเมอสญํ โนฺโญอตอฺถิเํ มปสกํ าเอสตถฺถาํ ติชอาานหิต.ํุ ถวายบงั คมแล้ว ประทบั ยนื แล้ว ณ สว่ นข้างหนง่ึ (ครนั้ เมอื่ พระดำ� รสั ) สมตฺโถ ว่า ดูก่อนมหาบพิตร (อ.พระองค์) เป็ นผู้เสด็จมาแล้ว กับ ด้วยหมแู่ หง่ เทพ หมใู่ หญ่ ยอ่ มเป็น เพราะเหตไุ ร ดงั นี ้(อนั พระศาสดา) ตรัสแล้ว, กราบทลู แล้ว วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ อ.ปัญหา ท. ชอื่ เหลา่ นี ้ อนั หมแู่ หง่ เทพ ให้ตงั้ ขนึ ้ พร้อมแล้ว, (อ.บคุ คล) อนื่ ชอ่ื วา่ ผ้สู ามารถ เพอื่ อนั รู้ ซง่ึ เนอื ้ ความ (แหง่ ปัญหา ท.) เหลา่ นี ้ ยอ่ มไมม่ ,ี (อ.พระองค์ ท.) ขอจงทรงประกาศ ซงึ่ เนือ้ ความ (แหง่ ปัญหา ท.) เหลา่ นี ้แก่ข้าพระองค์ ท. เถิด ดงั นี ้ฯ 38 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ.ดีละ สตฺถา “สาธุ มหาราช มยา ตสึ ปารมิโย อ.พระสัพพัญญุตญาณ อันอาตมภาพ ยังบารมี ท. ๓๐ ปเู รตฺวา มหาปริจฺจาเค ปริจฺจชิตฺวา ตมุ ฺหาทิสานํ ให้เตม็ แล้ว บริจาคแล้ว ซง่ึ การบริจาคใหญ่ ท. รู้ตลอดแล้ว เพอื่ อนั ตดั กงฺขาเฉทนตฺถเมว สพฺพญฺญตุ ญฺญาณํ ปฏิวทิ ฺธํ, ซึ่งความสงสัย (แห่งชน ท.) ผู้เช่นพระองค์ น่ันเทียว, ตยา ปจุ ฺฉิตปญฺเห สณุ าหิ: สพฺพทานานํ ธมมฺ ทานํ (อ.พระองค)์ จงทรงสดบั ซงึ่ ปัญหา อนั พระองค์ ตรสั ถามแล้ว ท. เถดิ , เธเสสมฏฏมฺ ฺฺโฐรฐ,ํตเยิ เวสสาฏพตฺฐฺพิาวร,ตสตฺวาณานํอหฺ ิมกธขฺํ คมโยามฺ ถรปมโนสาหอรเหสตฏตฺฺโฐํ ส, มปฺ สาพปฺพกรตตตฺ ีนาํ แหง่ ทานทงั้ ปวง ท. หนา อ.การให้ซงึ่ ธรรม เป็นทานประเสริฐทสี่ ดุ (ยอ่ มเป็น), แหง่ รสทงั้ ปวง ท. หนา อ.รสแหง่ ธรรม เป็นรสประเสริฐทสี่ ดุ (ยอ่ มเป็น), แหง่ ความยินดีทงั้ ปวง ท. หนา อ.ความยินดีในธรรม เป็นธรรมชาตปิ ระเสริฐทสี่ ดุ (ยอ่ มเป็น),สว่ นวา่ อ.ความสนิ ้ ไปแหง่ ตณั หา ช่ือวา่ เป็นสภาพประเสริฐท่ีสดุ เพราะความท่ี (แหง่ ความสนิ ้ ไป แหง่ ตณั หา นนั้ ) เป็นสภาพยงั สตั วใ์ ห้ถงึ พร้อม ซง่ึ พระอรหตั นน่ั เทยี ว (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา นี ้วา่ อ.การใหซ้ ่ึงธรรม ย่อมชนะ ซ่ึงการใหท้ ง้ั ปวง, “สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ, อ.รสแห่งธรรม ย่อมชนะ ซึ่งรสทงั้ ปวง, สพพฺ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ, อ.ความยินดีในธรรม ย่อมชนะ ซ่ึงความยินดีทงั้ ปวง, สพพฺ รตึ ธมฺมรติ ชินาติ, อ.ความสิ้นไปแหง่ ตณั หา ยอ่ มชนะ ซึ่งความทกุ ข์ทง้ั ปวง ดงั นี้ ฯ ตณฺหกฺขโย สพพฺ ทกุ ฺขํ ชินาตีติ. (อ.อรรถ วา่ ) ก็ ถ้าวา่ (อ.บคุ คล) พงึ ถวาย ซง่ึ จีวร ๓ ผืน ท. ตตฺถ “สพพฺ ทานนฺต:ิ สเจ หิ จกฺกวาฬคพฺเภ อนั เชน่ กบั ด้วยห้องแหง่ กล้วย แกพ่ ระพทุ ธเจ้าและพระปัจเจกพทุ ธเจ้า ยาว พฺรหฺมโลกา นิรนฺตรํ กตฺวา นิสนิ ฺนานํ และพระขีณาสพ ท. ผ้นู ง่ั แล้ว กระท�ำ ซงึ่ ห้องแหง่ จกั รวาล ท. พทุ ฺธปจฺเจกพทุ ฺธขีณาสวานํ กทลคิ พฺภสทิสานิ ให้เป็ นที่มีระหว่างออกแล้ว เพียงใด แต่พรหมโลก ไซร้ ฯ ตจิ ีวรานิ ทเทยฺย. ตสฺมึ สมาคเม จตปุ ปฺ ทิกาย คาถาย อ.อนั อนโุ มทนาเทียว อนั (อนั พระพทุ ธเจ้าและพระปัจเจกพทุ ธเจ้า กโสตฬาสอึ กนลโุ มํ นทนอาควฺฆตเส;ิ ฏเฺอฐวาํ;ธตมํ มฺ หสิ ฺสทาเทนสํ ตนสาปสฺ ิาวาคจานถาาปยิ และพระขณี าสพ ท. เหลา่ นนั้ ) กระทำ� แล้ว ด้วยคาถา อนั ประกอบแล้ว ด้วยบท ๔ ในสมาคม นนั้ เป็นธรรมชาตปิ ระเสริฐท่ีสดุ (ยอ่ มเป็น), สวนมปฺ ิ มหนฺตํ, เยน จ ปคุ ฺคเลน ธมมฺ สฺสวนํ การิตํ, ก็ อ.ทาน นนั้ ยอ่ มไมถ่ งึ คา่ ซง่ึ เสยี ้ ว ท่ี ๑๖ แหง่ พระคาถา นนั้ , ตสเฺ สว มหานิสโํ ส. อ.อันแสดง ก็ดี อ.อันบอก ก็ดี อ.อันฟัง ก็ดี ซ่ึงธรรม เป็นธรรมชาตประเสริฐ (ยอ่ มเป็น) อยา่ งนี ้ฯ อนงึ่ อ.อนั ฟังซงึ่ ธรรม อนั บคุ คล ใด ให้กระท�ำแล้ว, อ.อานิสงส์ใหญ่ (ยอ่ มมี แก่บคุ คล) นนั้ นน่ั เทียว ฯ อ.ธรรมทานนนั่ เทียว อนั (อนั พระพทุ ธเจ้าและพระปัจเจก ตถารูปายเอว ปริสาย ปณีตปิ ณฺฑปาตสฺส พุทธเจ้าและพระขีณาสพ ท. เหล่านัน้ ) ให้เป็ นไปท่ัวแล้ว ปตฺเต ปเู รตฺวา ทินฺนทานโตปิ สปปฺ ิ เตลาทีนํ ปตฺเต แม้ด้วยสามารถแหง่ การอนโุ มทนา ด้วยคาถา อนั ประกอบแล้ว ปเู รตฺวา ทินฺนเภสชฺชทานโตปิ มหาวิหารสทิสานํ ด้วยบท ๔ โดยก�ำหนดอันมีในที่สุด เป็ นทานประเสริฐท่ีสุด วหิ ารานํ โลหปาสาทสทิสานญฺจ ปาสาทานํ อเนกานิ แม้กวา่ ทาน (อนั ทายก) ยงั บาตร ท. ให้เตม็ แล้ว ด้วยบณิ ฑบาต สตสหสฺสานิ กาเรตฺวา ทินฺนเสนาสนทานโตปิ อันประณีต ถวายแล้ว แก่บริษัท อันมีรูปอย่างนัน้ น่ันเทียว อนาถปิ ณฺฑิกาทีหิ วหิ าเร อารพฺภ กตปริจฺจาคโตปิ แม้กวา่ การถวายซง่ึ เภสชั (อนั ทายก) ยงั บาตร ท. ให้เตม็ แล้ว อนฺตมโส จตปุ ปฺ ทิกาย คาถาย อนโุ มทนวเสนาปิ (ด้วยเภสชั ท.) มเี นยใสและนำ� ้ มนั เป็นต้น ถวายแล้ว แม้กวา่ การถวาย ปวตฺตติ ํ ธมมฺ ทานเมว เสฏฺฐ.ํ ซงึ่ เสนาสนะ (อนั ทายก ยงั บคุ คล) ให้กระท�ำแล้ว ซงึ่ แสน ท. มใิ ชห่ นงึ่ แหง่ วหิ าร ท. อนั เชน่ กบั ด้วยมหาวหิ าร ด้วย แหง่ ปราสาท ท. อนั เชน่ กบั ด้วยโลหปราสาท ด้วย ถวายแล้ว แม้กวา่ การบริจาค (อนั ชน ท.) มเี ศรษฐีชอื่ วา่ อนาถบณิ ฑกิ ะเป็นต้น ปรารภ ซงึ่ วหิ าร ท. กระท�ำแล้ว (ยอ่ มเป็น) ฯ ผลติ สือ่ การเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม วดั พระธรรมกาย 39 www.kalyanamitra.org

(อ.อนั ถาม วา่ อ.การให้ซงึ่ ธรรม ยอ่ มชนะ ซง่ึ การให้ทงั้ ปวง) กกึ ารณา? เอวรูปานิ หิ ปญุ ฺญานิ กโรนฺตา ธมมฺ ํ เพราะเหตไุ ร (ดงั นี)้ ฯ (อ.อนั แก้ วา่ ) เพราะวา่ (อ.ชน ท.) เมื่อกระท�ำ สตุ ฺวาว กโรนฺต,ิ โน อสสฺ ตุ ฺวา; สเจ หิ อิเม สตฺตา ธมมฺ ํ ซงึ่ บญุ ท. มีอยา่ งนีเ้ป็นรูป ฟังแล้ว ซงึ่ ธรรม เทียว ยอ่ มกระท�ำ, น สเุ ณยฺยย, อฬุ งุ ฺกมตฺตํ ยาคํปุ ิ กฏจฺฉมุ ตฺตํ ภตฺตํปิ ไมฟ่ ังแล้ว (ยอ่ มกระท�ำ) หามิได้, ก็ ถ้าวา่ อ.สตั ว์ ท. เหลา่ นี ้ น ทเทยฺยํ;ุ อิมินา การเณน สพฺพทาเนหิ ไมพ่ งึ ฟัง ซงึ่ ธรรม ไซร้, (อ.สตั ว์ ท. เหลา่ นี)้ ไมพ่ งึ ถวาย แม้ซง่ึ ข้าวต้ม ธมมฺ ทานเมว เสสกฏลฺฐก,ํ ปปฺ อํ ปเทิ จเว ฐเปตฺวา พทุ ฺเธ จ มีกระบวยเป็นประมาณ แม้ซงึ่ ข้าวสวย มีทพั พีหนงึ่ เป็นประมาณ, ปจฺเจกพทุ ฺเธ จ วสฺสนฺเต อทุ กพินฺทนู ิ อ.ธรรมทานนนั่ เทียว เป็นทานประเสริฐท่ีสดุ กวา่ ทานทงั้ ปวง ท. คเณตํุ สมตถฺ าย ปญญฺ าย สมนนฺ าคตา สารีปตุ ตฺ าทโยปิ (ยอ่ มเป็น) เพราะเหตนุ ี,้ อีกอยา่ งหนง่ึ แม้ (อ.พระสาวก ท.) อตตฺ โน ธมมฺ ตาย โสตาปตตฺ ผิ ลาทนี ิ อธคิ นตฺ ํุ นาสกขฺ สึ ;ุ มีพระสารีบตุ รเป็นต้น ผ้มู าตามพร้อมแล้ว ด้วยปัญญา อนั สามารถ อสสฺ ชิตฺเถราทีหิ กถิตํ ธมมฺ ํ สตุ ฺวาว โสตาปตฺตผิ ลํ เพอื่ อนั ครนั้ เมอื่ ฝน ตกอยู่ ตลอดกปั ป์ ทงั้ สนิ ้ นบั ซงึ่ หยาดแหง่ นำ� ้ ท. สจฺฉิกรึส,ุ สตฺถุ ธมมฺ เทสนาย สาวกปารมีญาณญฺจ เว้น ซง่ึ พระพทุ ธเจ้า ท. ด้วย ซง่ึ พระปัจเจกพทุ ธเจ้า ท. ด้วย สจฉฺ กิ รสึ ;ุ อมิ นิ าปิ การเณน มหาราช ธมมฺ ทานเมว เสฏฺฐ.ํ ไมไ่ ด้อาจแล้ว เพื่ออนั บรรลุ (ซงึ่ อริยผล ท.) มีโสดาปัตตผิ ลเป็นต้น เตน วตุ ฺตํ “สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าตตี .ิ ตามธรรมดา ของตน, ฟังแล้ว ซงึ่ ธรรม อนั (อนั พระเถระ ท.) มีพระเถระช่ือวา่ อสั สชิเป็นต้น กลา่ วแล้ว เทียว กระท�ำให้แจ้งแล้ว ซงึ่ โสดาปัตตผิ ล ด้วย, กระท�ำให้แจ้งแล้ว ซงึ่ สาวกบารมีญาณ ด้วยพระธรรมเทศนา ของพระศาสดา ด้วย, ดกู ่อนมหาบพิตร อ.ธรรมทานนนั่ เทียว เป็นทานประเสริฐท่ีสดุ เพราะเหตุ แม้นี ้ ยอ่ มเป็น (ดงั นี)้ ฯ เพราะเหตนุ นั้ (อ.พระด�ำรัส) วา่ สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าติ ดงั นี ้ (อนั พระผ้มู ีพระภาคเจ้า) ตรัสแล้ว ฯ อนง่ึ อ.รส ท. มีรสอนั เกิดแล้วแตล่ ำ� ต้นเป็นต้น ทงั้ ปวง สพฺเพ ปน ขนฺธรสาทโย รสา อกุ ฺกํสโต เทวตานํ แม้ อ.รสแหง่ โภชนะอนั หมดจด ของเทวดา ท. โดยอกุ ฤษฏ์ ปสธุจาฺจโโภยช;นโรยโสปปเิ นสสสํ าสรตวฺตฏฺตเฏฺตสึปโาพเตธติปวฺกาฺขิยทธกุ มขฺ ามฺ นสภุงวฺขนาสโตเฺ สจว เป็นปัจจยั แหง่ อนั (ยงั สตั ว์ ท.) ให้ตกไปแล้ว ในสงั สารวฏั ฏ์ เสวยซงึ่ ความทกุ ข์นนั่ เทียว (ยอ่ มเป็น), สว่ นวา่ อ.รสแหง่ ธรรม นวโลกตุ ตฺ รธมมฺ สงขฺ าโต จ ธมมฺ รโส, อยเมว สพพฺ รสานํ อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้วว่าโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ด้วย เสฏฺ โฐ. เตน วตุ ฺตํ “สพพฺ รสํ ธมมฺ รโส ชนิ าตตี .ิ อนั บณั ฑิตนบั พร้อมแล้ววา่ โลกตุ ตรธรรม ๙ อยา่ ง ด้วย นน่ั ใด, (อ.รสแหง่ ธรรม) นีน้ นั่ เทียว เป็นรสประเสริฐที่สดุ กวา่ รสทงั้ ปวง ท. (ยอ่ มเป็น) ฯ เพราะเหตนุ นั้ (อ.พระด�ำรัส) วา่ สพพฺ รสํ ธมมฺ รโส ชนิ าติ ดงั นี ้(อนั พระผ้มู ีพระภาคเจ้า) ตรัสแล้ว ฯ อนึ่ง อ.ความยินดีในบุตร อ.ความยินดีในธิดา ยา ปเนสา ปตุ ฺตรติ ธีตรุ ติ ธนรติ อิตฺถีรติ อ.ความยินดีในทรัพย์ อ.ความยินดีในหญิง อ.ความยินดี นจฺจคีตวาทิตาทิรตปิ ปฺ เภทา จ อเนกปปฺ เภทา รติ, มีประเภทมิใชห่ นงึ่ มีความยินดีในกิริยามีการฟ้ อนและการขบั สาปิ ปสเํสนาสราวฏฺเธฏมปมฺ าํ เตกตเถฺวนาฺตทสกุ สฺ ฺขานวาภุ วนสสณุ ฺเสนวฺตสปฺสจฺจโวยา; และการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท นน่ั ใด, (อ.ความยนิ ด)ี แม้นนั้ ยา เป็ นปัจจัย แห่งอัน (ยังสัตว์ท.) ให้ตกไปแล้ว ในสังสารวัฏฏ์ วาเจนฺตสฺส วา อนฺโต อปุ ปฺ ชฺชมานา ปี ติ อทุ คฺคภาวํ เสวยซง่ึ ความทกุ ข์ นนั่ เทยี ว (ยอ่ มเป็น), สว่ นวา่ อ.ปิติ อนั เกดิ ขนึ ้ อยู่ ชเนติ อสสฺ นู ิ ปวตฺเตติ โลมหํสํ ชเนต,ิ ในภายใน (ของบคุ คล) ผ้กู ลา่ วอยู่ หรือ หรือวา่ ผ้ฟู ังอยู่ หรือวา่ ผ้บู อกอยู่ ซึ่งธรรม น่ัน ใด ยังความเป็ นแห่งบุคคลผู้มีอารมณ์ ในเบอื ้ งบน ยอ่ มให้เกดิ ยงั นำ� ้ ตา ท. ยอ่ มให้เป็นไปทว่ั ยงั ความชชู นั แหง่ ขน ยอ่ มให้เกิด, 40 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยญั ชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

(อ.ปี ต)ิ นนั้ กระท�ำแล้ว ซง่ึ ท่ีสดุ แหง่ สงั สารวฏั ฏ์ เป็นธรรมชาต-ิ “สสสาพพฺพสพฺํสรตารีนรตวํึ ฏธเฺอฏมวสมฺ รสฺูปรตอานิ ชธฺตนิมํ กมฺาตตรฺวตตี าเิ .ิยอวรหเตสฺตฏฺปฐาริ.โยสเาตนนา โหต;ิ มพี ระอรหตั เป็นทส่ี ดุ ลงรอบ ยอ่ มเป็น, อ.ความยนิ ดใี นธรรม มอี ยา่ งนี ้ วตุ ฺตํ เป็นรูป นน่ั เทยี ว เป็นธรรมชาตปิ ระเสริฐทสี่ ดุ กวา่ ความยนิ ดที งั้ ปวง ท. (ยอ่ มเป็น) ฯ เพราะเหตนุ นั้ (อ.พระด�ำรัส) วา่ สพพฺ รตึ ธมมฺ รติ ชนิ าติ ดงั นี ้(อนั พระผ้มู ีพระภาคเจ้า) ตรัสแล้ว ฯ ส่วนว่า อ.ความสิน้ ไปแห่งตัณหา คือ อ.พระอรหัต ตณหฺ กขฺ โย ปน ตณหฺ าย ขยนเฺ ต อปุ ปฺ นนฺ ํ อรหตตฺ ,ํ อนั เกิดขนึ ้ แล้ว ในท่ีสดุ แหง่ ความสนิ ้ ไปแหง่ ตณั หา, (อ.พระอรหตั ) ตเตํ นสกวลตุ สฺตสฺ ํ “าตปณิ วฺหฏฺกฏขฺทโกุ ยฺขสสสฺ พอพฺ ภทิภกุ วขฺ นํ โชตนิ สาพตฺพตี เ.ิ สฏฺฐเมว. นัน้ เป็ นคุณชาตประเสริฐที่สุดกว่าคุณทัง้ ปวงน่ันเทียว เพราะอนั ครอบง�ำ ซง่ึ ทกุ ข์ในวฏั ฏะ แม้ทงั้ สนิ ้ (ยอ่ มเป็น) ฯ เพราะเหตนุ นั้ (อ.พระด�ำรัส) วา่ ตณฺหกขฺ โย สพพฺ ทกุ ขฺ ํ ชนิ าติ ดงั นี ้(อนั พระผ้มู ีพระภาคเจ้า) ตรัสแล้ว (ดงั นี)้ (ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา แหง่ บท วา่ สพพฺ ทานํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ครัน้ เมื่อพระศาสดา ตรัสอยู่ ซง่ึ เนือ้ ความ แหง่ พระคาถา นี ้ เอวํ สตฺถริ อิมิสสฺ า คาถาย อตฺถํ กเถนฺเตเยว, อย่างนี ้ น่ันเทียว อ.อันรู้ตลอดเฉพาะซึ่งธรรม ได้มีแล้ว จตรุ าสีตยิ า ปาณสหสสฺ านํ ธมมฺ าภิสมโย อโหส.ิ แก่พนั แหง่ สตั ว์มีปราณ ท. ๘๔ ฯ แม้ อ.ท้าวสกั กะ ทรงสดบั แล้ว สกฺโกปิ สตฺถุ ธมมฺ กถํ สตุ ฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา อาห ซง่ึ พระธรรมกถา ของพระศาสดา ถวายบงั คมแล้ว ซงึ่ พระศาสดา ปป“ภตตนตฺฺตฺเึึตนทาเทเอปาวเถปํ เถภชฏน?ฺฐฺเอตเกโิตต.ิ นปาฏมฺฐาธยมโมฺ นทภาเกิ นขฺ สุ กงิมฆฺ ตสฺถสฺ ํ อมหฺ ากํ กราบทลู แล้ว วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ (อ.พระองค์ ท.) ยอ่ มไม่ กเถตวฺ า (ทรงยงั หมแู่ หง่ ภกิ ษ)ุ ให้ให้ ซง่ึ สว่ นบญุ ในธรรมทาน ชอ่ื อนั เจริญทส่ี ดุ อยา่ งนี ้ แกข่ ้าพระองค์ ท. เพอ่ื ประโยชนอ์ ะไร ? ข้าแตพ่ ระองคผ์ ้เู จริญ (อ.พระองค์ ท.) ตรสั บอกแล้ว แกห่ มแู่ หง่ ภกิ ษุ ขอจง (ทรงยงั หมแู่ หง่ ภกิ ษ)ุ ให้ให้ ซงึ่ สว่ นบญุ แก่ข้าพระองค์ ท. จ�ำเดมิ (แตก่ าล) นี ้ ดงั นี ้ ฯ อ.พระศาสดา ทรงสดบั แล้ว ซง่ึ พระด�ำรัส (ของท้าวสกั กะ) สตถฺ า ตสสฺ วจนํ สตุ วฺ า ภกิ ขฺ สุ งฆฺ ํ สนนฺ ปิ าตาเปตวฺ า นนั้ ทรงยังหมู่แห่งภิกษุ ให้ ประชุมกันแล้ว ตรัสแล้ว ว่า “ภิกฺขเว อชฺช อาทึ กตฺวา มหาธมฺมสฺสวนํ วา ดกู อ่ นภกิ ษุ ท. (อ.เธอ ท.) กลา่ วแล้ว ซงึ่ การฟังซงึ่ ธรรมอนั ใหญ่ หรือ ปกตธิ มมฺ สฺสวนํ วา อปุ นิสนิ ฺนกถํ วา อนฺตมโส หรือวา่ ซงึ่ การฟังซงึ่ ธรรมตามปกติ หรือวา่ ซงึ่ วาจาเป็นเครื่องกลา่ ว อนโุ มทนํปิ กเถตฺวา สพฺพสตฺตานํ ปตฺตึ ทเทยฺยาถาติ กะบคุ คลผ้นู งั่ ใกล้แล้ว แม้ซง่ึ การอนโุ มทนา โดยกำ� หนดอนั มใี นทสี่ ดุ อาหาต.ิ พงึ ให้ ซงึ่ สว่ นบญุ แกส่ ตั วท์ งั้ ปวง ท. กระทำ� ซง่ึ วนั นี ้ ให้เป็นต้น ดงั นี ้ ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งท้าว(สจักบกแะลผ้วู้พ) ฯระราชาแห่งเทพ สกกฺ เทวราชวตถฺ ุ. ผลิตสือ่ การเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม วดั พระธรรมกาย 41 www.kalyanamitra.org

๑๑. (ออ.เันรข่ือ้างพแเหจ่ง้าเศจระษกฐลีผ่าู้ไวม)่มฯีบุตร ๑๑. อปุตตฺ กเสฏฺ ฐิวตถฺ ุ. (๒๕๐) อ.พระศาสดา เม่ือประทบั อยู่ ในพระเชตวนั ทรงปรารภ “หนนฺติ โภคา ทมุ เฺ มธนฺติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา ชื่อ ซึ่งเศรษฐีผู้ไม่มีบุตร ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี ้ ว่า เชตวเน วิหรนฺโต อปตุ ฺตกเสฏฺฐึ นาม อารพฺภ กเถส.ิ หนนฺติ โภคา ทุมเฺ มธํ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ ได้ยินวา่ อ.พระราชา พระนามวา่ ปเสนทิโกศล ทรงสดบั แล้ว ตสสฺ กิร กาลกิริยํ สตุ ฺวา ราชา ปเสนทิโกสโล ซึ่งการกระท�ำซึ่งกาละ (แห่งเศรษฐี) นัน้ ตรัสถามแล้ว “อปตุ ฺตกํ สาปเตยฺยํ กสฺส ปาปณุ าตีติ ปจุ ฺฉิตฺวา ว่า อ.สมบัติ อันไม่มีบุตร ย่อมถึง แก่ใคร ดังนี ้ “รญฺโญติ สตุ ฺวา สตฺตหิ ทิวเสหิ ตสสฺ เคหโต ธนํ ทรงสดับแล้ว ว่า (อ.สมบัติ ย่อมถึง) แก่พระราชา ดังนี ้ ราชกลุ ํ อภิหราเปตฺวา สตฺถุ สนฺตกิ ํ อปุ สงฺกมิตฺวา, (ทรงยงั ราชบรุ ุษ) ให้น�ำไปแล้ว ซงึ่ ทรัพย์ จากเรือน (ของเศรษฐี) “หนฺท กโุ ต นุ ตฺวํ มหาราช อาคจฺฉสิ ทิวาทิวสสฺ าติ นนั้ สรู่ าชตระกลู โดยวนั ท. ๗ เสดจ็ เข้าไปหาแล้ว ซง่ึ ส�ำนกั วตุ ฺเต, “อิธ ภนฺเต สาวตฺถิยํ เรสาฏชฺฐนี ฺเตคปหปรุ ํ ติอกภาิหลรกิตโฺวตา, ของพระศาสดา, (ครัน้ เม่ือพระด�ำรัส) วา่ ดกู ่อนมหาบพิตร เชิญเถิด ตมหํ อปตุ ฺตกํ สาปเตยฺยํ อ.พระองค์ ยอ่ มเสดจ็ มา (แตท่ ี่) ไหน หนอ ตอ่ วนั ในวนั ดงั นี ้ อาคจฺฉามีติ อาห. สพฺพํ สตุ ฺเต อาคตนเยเนว (อนั พระศาสดา) ตรัสแล้ว, กราบทลู แล้ว วา่ ข้าแตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ เวทิตพฺพํ. อ.คฤหบดี ผ้เู ป็นเศรษฐี ในเมอื งสาวตั ถี นี ้ เป็นผ้มู กี าละอนั กระทำ� แล้ว (ยอ่ มเป็น), อ.หมอ่ มฉนั น�ำไปแล้ว ซง่ึ สมบตั ิ อนั ไมม่ ีบตุ ร นนั้ สู่ภายในแห่งวังของพระราชา ย่อมมา ดังนี ้ ฯ (อ.เร่ือง) ทัง้ ปวง (อันบัณฑิต) พึงทราบ ตามนัยอันมาแล้ว ในพระสตู ร นน่ั เทียว ฯ (ครัน้ เม่ือเนือ้ ความ) อย่างนี ้ ว่า ได้ยินว่า (อ.เศรษฐี) นัน้ “โส กิร, สวุ ณฺณปาฏิยา นานคฺครสโภชเน ครัน้ เมอื่ โภชนะอนั ประกอบแล้วด้วยรสอนั เลศิ ตา่ ง ๆ (อนั มนษุ ย์ ท.) อปุ นีเต, `เอวรูปํ นาม มนสุ สฺ า ภญุ ฺชนฺต,ิ กึ ตมุ เฺ ห น�ำเข้าไปแล้ว ด้วยถาดอนั เป็นวิการแหง่ ทอง (กลา่ วแล้ว) วา่ มยา สทฺธึ อิมสมฺ ึ เคเห เกลึ กโรถาติ โภชเน มอนปุ สุฏฺสฺฐเิาตน,ํ อ.มนษุ ย์ ท. ยอ่ มบริโภค (ซง่ึ โภชนะ) ช่ือ มีอยา่ งนีเ้ป็นรูป หรือ, เลฑฺฑทุ ณฺฑาทีหิ ปหริตฺวา ปลาเปตฺวา `อิทํ อ.ทา่ น ท. ยอ่ มกระทำ� ซง่ึ การเยาะเย้ย ในเรือน นี ้ กบั ด้วยเรา หรือ โภชนนฺติ กาณาชกํ พิลงฺคทุติยํ ภุญฺชติ, ดงั นี ้ ครนั้ เมอื่ โภชนะ (อนั มนษุ ย์ ท.) เข้าไปตงั้ ไว้แล้ว, ประหารแล้ว วตฺถยานจฺฉตฺเตสปุ ิ มนาเปสุ อปุ ปฏลฺฐาาเปปิ เตตฺวสา,ุ (ด้วยวตั ถุ ท.) มกี ้อนดนิ และทอ่ นไม้เป็นต้น (ยงั มนษุ ย์ ท. เหลา่ นนั้ ) มนสุ ฺเส เลฑฺฑทุ ณฺฑาทีหิ ปหรนฺโต ให้หนไี ปแล้ว ยอ่ มบริโภค ซงึ่ ข้าวปลายเกรียน มนี ำ� ้ ผกั ดองเป็นที่ ๒ สาณานิ ธาเรต,ิ ชชฺชรรถเกน ยาติ ปณฺณจฺฉตฺเตน (ด้วยอนั กลา่ ว) วา่ (อ.โภชนะ) นี ้เป็นโภชนะ ของมนษุ ย์ ท. (ยอ่ มเป็น) ธาริยมาเนนาติ เอวํ รญฺญา อาโรจิเต, สตฺถา ตสฺส ดังนี,้ แม้ครัน้ เมื่อผ้าและยานและร่ม ท. อันยังใจให้เจริญ ปพุ ฺพกมมฺ ํ กเถส:ิ (อนั มนษุ ย์ ท. เหลา่ นนั้ ) ให้เข้าไปตงั้ ไว้แล้ว, ประหารอยู่ (ด้วยวตั ถุ ท.) มกี ้อนดนิ และทอ่ นไม้เป็นต้น (ยงั มนษุ ย์ ท. เหลา่ นนั้ ) ให้หนไี ปแล้ว ยอ่ มทรงไว้ ซงึ่ ผ้าป่ าน ท., มีร่มอนั บคุ คลกระท�ำแล้วด้วยใบไม้ อนั (อนั ตน) ทรงไว้อยู่ ยอ่ มไป ด้วยรถน้อยอนั เก่า ดงั นี ้อนั พระราชา กราบทลู แล้ว, อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว ซง่ึ บรุ พกรรม (ของเศรษฐี) นนั้ วา่ 42 ธรรมบทภาคท่ี ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

ดกู ่อนมหาบพิตร อ.เรื่องเคยมีแล้ว อ.คฤหบดี ผ้เู ป็นเศรษฐี นนั้ ภปตจู ฺเปจพุกฺพพํทุ โฺธสํ ปิมณหฺฑาปราาชเตนเสปฏฺฏฐีิปคาหเทปสต,ิ ิ ตครสขิ ึ นาม ต้อนรับแล้ว ซงึ่ พระปัจเจกพทุ ธเจ้า ช่ือวา่ ตครสขิ ี ด้วยบณิ ฑบาต, “เทถ สมณสสฺ กลา่ วแล้ว วา่ (อ.ทา่ น ท.) จงถวาย ซงึ่ ก้อนข้าว แก่สมณะ เถิด ปิ ณฺฑนฺติ วตฺวา อฏุ ฺฐายาสนา ปกฺกามิ. ดงั นี ้ ลกุ ขนึ ้ แล้ว จากอาสนะ หลกี ไปแล้ว ฯ ได้ยินวา่ (ครัน้ เมื่อเศรษฐี) นนั้ ผ้ไู มม่ ีศรัทธา ผ้เู ป็นพาล ตสฺมึ กิร อสสฺ ทฺเธ พาเล เอวํ วตฺวา ปกฺกนฺเต, กลา่ วแล้ว อยา่ งนี ้ หลกี ไปแล้ว, อ.ภรรยา (ของเศรษฐี) นนั้ ผ้มู ศี รทั ธา ตสฺส ภริยา สทฺธา ปสนฺนา “จิรสสฺ ํ วต เม อิมสฺส มขุ โต ผ้เู ลื่อมใสแล้ว (คดิ แล้ว) วา่ อ.ค�ำ วา่ (อ.ทา่ น) จงให้ ดงั นี ้ อนั เรา `เทหีติ วจนํ สตุ ํ, อชฺช มม มโนรโถ ปเู รต,ิ ปิ ณฺฑปาตํ ฟังแล้ว จากปาก (ของเศรษฐี) นี ้ สิน้ กาลนานหนอ, ในวันนี ้ ทสสฺ ามตี ิ ปจเฺ จกพทุ ธฺ สสฺ ปตตฺ ํ คเหตวฺ า ปณตี โภชนสสฺ อ.มโนรถ ของเรา จะเตม็ , (อ.เรา) จกั ถวาย ซง่ึ บณิ ฑบาต ดงั นี ้ ปเู รตฺวา อทาส.ิ โสปิ นิวตฺตมาโน ตํ ทิสวฺ า “กึ สมณ รับแล้ว ซง่ึ บาตร ของพระปัจเจกพทุ ธเจ้า (ยงั บาตร) ให้เตม็ แล้ว กิญฺจิ เต ลทฺธนฺติ ปตฺตํ คเหตฺวา ปณีตปิ ณฺฑปาตํ ด้วยโภชนะอนั ประณีต ได้ถวายแล้ว ฯ (อ.เศรษฐี) แม้นนั้ กลบั อยู่ ทิสฺวา วิปปฺ ฏิสารี หตุ ฺวา เอวํ จินฺเตติ “วรเมตํ เหน็ แล้ว (ซง่ึ พระปัจเจกพทุ ธเจ้า) นนั้ (ถามแล้ว) วา่ แนะ่ สมณะ ปิ ณฺฑปาตํ ทาสา วา กมมฺ กรา วา ภญุ ฺเชยฺยํ,ุ (อ.โภชนะ) อะไร ๆ อนั ทา่ น ได้แล้ว หรือ ดงั นี ้ จบั แล้ว ซงึ่ บาตร เต หิ อิมํ ภญุ ฺชิตฺวา มยฺหํ กมมฺ ํ กริสสฺ นฺต;ิ อยํ ปน เหน็ แล้ว ซงึ่ บณิ ฑบาตอนั ประณีต เป็นผ้มู ีความเดือดร้อน เป็น [คโนสตฺ] วฺภาาภตญุุ ปชฺนติ เวฺ อากนปทิตุ ทฺฺตากยํ สสิ สฺาตป;ิเตนยฏฺยฺโฐสฺสเมกปาิณรณฑฺ าปาชโีวติตตา.ิ ยอ่ มคดิ อยา่ งนี ้ วา่ อ.ทาส ท. หรือ หรือวา่ อ.กรรมกร ท. พงึ บริโภค ซงึ่ บณิ ฑบาต, (อ.อนั บริโภค ซงึ่ บณิ ฑบาต แหง่ ทาส ท. หรือ หรือวา่ โวโรเปส.ิ แหง่ กรรมกร ท.) นนั่ เป็นกิริยาประเสริฐ (ยอ่ มเป็น), เพราะวา่ (อ.ชน ท.) เหลา่ นนั้ บรโิ ภคแล้ว (ซงึ่ บณิ ฑบาต) นี ้จกั กระทำ� ซงึ่ การงาน ของเรา, สว่ นวา่ (อ.สมณะ) นี ้ ไปแล้ว บริโภคแล้ว จกั นอนหลบั , อ.บณิ ฑบาต ของเรา ฉิบหายแล้ว ดงั นี ้ ฯ อนง่ึ (อ.เศรษฐี นนั้ ) ปลงลงแล้ว ซึ่งลูกน้ อยคนเดียว ของพ่ีชาย จากชีวิต เพราะเหตุ แหง่ สมบตั ิ ฯ ได้ยนิ วา่ (อ.เดก็ ) นนั้ จบั แล้ว ซงึ่ นวิ ้ มอื (ของเศรษฐี) นนั้ เทยี่ วไปอยู่ โส กิรสฺส องฺคลุ ึ คเหตฺวา วิจรนฺโต “อิทํ มยฺหํ ปิ ตุ กลา่ วแล้ว วา่ (อ.ยานน้อย) นี ้ เป็นยานน้อย อนั เป็นของมีอยู่ สนฺตกํ ยานกํ, อยํ ตสฺส โคโณติ อาห. ของบดิ า ของเรา (ยอ่ มเป็น), (อ.โค) นี ้ เป็นโค (ของบดิ า) นนั้ (ยอ่ มเป็น) ดงั นี ้ฯ ครงั้ นนั้ อ.เศรษฐี (คดิ แล้ว) วา่ (อ.เดก็ ) นน่ั ยอ่ มกลา่ ว อยา่ งนี ้ วฑุ ฺฒอิปถปฺ นตํ ฺตเสกฏาฺฐเลี “ออิทิมาสนฺมิ ตึ เาคเเวหสโเภอเวคํ วโเกทตร,ิกอฺขิมิสสฺสตฺสีตปิ นตํ ในกาลนี ้ ก่อน, ก็ อ.ใคร จกั รักษา ซงึ่ โภคะ ท. ในเรือน นี ้ ในกาล (แหง่ เดก็ ) นี ้ ถงึ แล้วซงึ่ ความเจริญ ดงั นี ้ นำ� ไปแล้ว (ซง่ึ เดก็ ) นนั้ สปู่ ่า อรญฺญํ เนตฺวา เอกสมฺ ึ คจฺฉมเู ล คีวายํ คเหตฺวา จบั แล้ว (ซงึ่ เดก็ นนั้ ) ท่ีคอ บีบแล้ว ซงึ่ คอ ราวกะ (อ.บคุ คล บีบอย)ู่ มลู กนฺทํ วิย คีวํ ปี เฬตฺวา มาเรตฺวา ตตฺเถว ฉฑฺเฑส.ิ ซงึ่ เหง้าแหง่ มนั (ยงั เดก็ นนั้ ) ให้ตายแล้ว ทโ่ี คนแหง่ กอไม้ แหง่ หนงึ่ อิทมสสฺ ปพุ ฺพกมมฺ ํ. ทิง้ แล้ว (ในท่ี) นนั้ นนั่ เทียว ฯ อ.บรุ พกรรม (ของเศรษฐี) นนั้ นี ้ ฯ เพราะเหตุนัน้ (อ.พระด�ำรัส) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร ปจฺเจเกตพนทุ วฺธตุ ํ ตฺ ปํ ิ“ณยฺฑํ โขปาโสเตมนหปารฏาิปชาเเสทฏสฺฐ,ิ ี คหปติ ตครสขิ ึ อ.คฤหบดี ผ้เู ป็นเศรษฐี นนั้ ต้อนรับแล้ว ซง่ึ พระปัจเจกพทุ ธเจ้า ตสสฺ กมมฺ สฺส ช่ือวา่ ตครสขิ ี ด้วยบณิ ฑบาต ใด แล , (อ.คฤหบดี นนั้ ) เข้าถงึ แล้ว วปิ าเกน สตฺตกฺขตฺตํุ สคุ ตึ สคฺคํ โลกํ อปุ ปชฺชิ; ซง่ึ โลก อนั เป็นสคุ ติ อนั เป็นสววรค์ สนิ ้ ๗ ครงั้ เพราะวบิ าก แหง่ กรรม ตสเฺ สว กมมฺ สสฺ วปิ ากาวเสเสน อมิ สิ สฺ าเยว สาวตถฺ ยิ า นนั้ , (อ.คฤหบดี นนั้ ยงั บคุ คล) ให้กระทำ� แล้ว ซงึ่ ความเป็นแหง่ เศรษฐี สตฺตกฺขตฺตํุ เสฏฺฐติ ฺตํ กาเรส.ิ ในเมืองสาวัตถี นีน้ ั่นเทียว สิน้ ๗ ครัง้ เพราะวิบากอันเหลือลง แหง่ กรรมนนั้ นน่ั เทียว ฯ ผลติ ส่ือการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย 43 www.kalyanamitra.org

ดกู ่อนมหาบพิตร อ.คฤหบดี ผ้เู ป็นเศรษฐี นนั้ ถวายแล้ว ซงึ่ ทาน ยวิปํ โปฺ ขฏโิสสารมี อหโาหรสาิ ช`วรเเสมฏตฺฐํ ปี ิคณหฑฺ ปปตาิ ตทํ ทานาสํ าทตวาฺวากมปมฺ จกฺฉราา เป็นผ้มู ีความเดือดร้อน วา่ อ.ทาส ท. หรือ หรือวา่ อ.กรรมกร ท. พงึ บริโภค ซง่ึ บณิ ฑบาต, (อ.อนั บริโภค ซง่ึ บณิ ฑบาต แหง่ ทาส ท. วา ภญุ เฺ ชยยฺ นุ ตฺ ,ิ ตสสฺ กมมฺ สสฺ วปิ าเกน นาสสฺ ฬู าราย หรือ หรือวา่ แหง่ กรรมกร ท.) นน่ั เป็นกิริยาประเสริฐ (ยอ่ มเป็น) ภตฺตโภคาย จิตฺตํ นมติ นาสฺสฬู าราย วตฺถโภคาย ดงั นี ้ ได้เป็นแล้ว ในภายหลงั ใด แล, อ.จิต (ของคฤหบดี) นนั้ นาสสฺ ฬู าราย ยานโภคาย นาสสฺ ฬู ารานํ ปญฺจนฺนํ ยอ่ มไมน่ ้อมไป เพ่ืออนั บริโภคซง่ึ ภตั ร อนั ย่ิง (อ.จิต ของคฤหบดี) กามคณุ านํ โภคาย จิตฺตํ นมต.ิ นัน้ (ย่อมไม่น้อมไป) เพื่ออันใช้สอยซึ่งผ้า อันย่ิง (อ.จิต ของคฤหบดี) นัน้ (ย่อมไม่น้อมไป) เพื่ออันใช้สอยซ่ึงยาน อนั ยิ่ง อ.จิต (ของคฤหบดี) นนั้ ยอ่ มไมน่ ้อมไป เพื่ออนั บริโภค ซง่ึ กามคณุ ท. ๕ อนั ยิ่ง เพราะวิบาก แหง่ กรรม นนั้ , ดกู ่อนมหาบพิตร อ.คฤหบดี ผ้เู ป็นเศรษฐี นนั้ ปลงลงแล้ว ยํ โข โส มกาหราณราาชชเีวสิตฏาฺ ฐี คหปติ ภาตุ เอกปตุ ฺตกํ ซงึ่ ลกู น้อยคนเดยี ว ของพชี่ าย จากชวี ติ เพราะเหตุ แหง่ สมบตั ิ ใด แล, สาปเตยฺยสสฺ โวโรเปส,ิ ตสสฺ กมมฺ สฺส (อ.คฤหบดี นนั้ ) ไหม้แล้ว ในนรก สนิ ้ ปี ท. มาก สนิ ้ ร้อยแหง่ ปี ท. มาก วปิ าเกน พหนู ิ วสฺสานิ พหนู ิ วสฺสสตานิ พหนู ิ สนิ ้ พนั แหง่ ปี ท. มาก สนิ ้ แสนแหง่ ปี ท. มาก เพราะวบิ าก แหง่ กรรม นนั้ , วสฺสสหสฺสานิ พหนู ิ วสฺสสตสหสสฺ านิ นิรเย ปจฺจิตฺถ; (อ.ราชบุรุษ ท.) ยังสมบัติ อันไม่มีบุตร ท่ี ๗ นี ้ ให้เข้าไปอยู่ ตสเฺ สว กมมฺ สฺส วปิ ากาวเสเสน อิทํ สตฺตมํ อปตุ ฺตกํ สู่พระคลังของพระราชา เพราะวิบากอันเหลือลง แห่งกรรม สาปเตยฺยํ ราชโกสํ ปเวเสนฺต.ิ นนั้ นนั่ เทียว ฯ ดูก่อนมหาบพิตร ก็ อ.บุญ อันมีในกาลก่อน ของคฤหบดี ตสฺส ปโขญุ ฺญปํนปรมิกฺขหีณารํ านชวญเสฺจฏฺปฐสิญุ ฺสฺญํ คหปตสิ สฺ ผ้เู ป็นเศรษฐี นนั้ แล สนิ ้ รอบแล้ว ด้วย อ.บญุ อนั ใหม่ (อนั คฤหบดี ปรุ าณญฺจ อนปุ จิตํ, ผ้เู ป็นเศรษฐี นนั้ ) ไมเ่ ข้าไปสงั่ สมแล้ว ด้วย , ดกู ่อนมหาบพิตร ก็แล อชฺช จ ปน มหาราช เสฏฺ ฐี คหปติ มหาโรรุเว นิรเย อ.คฤหบดี ผ้เู ป็นเศรษฐี (อนั ไฟ) ยอ่ มไหม้ ในนรก ชื่อวา่ มหาโรรุวะ ปจฺจตีต.ิ ในวนั นี ้ดงั นี ้(อนั พระผ้มู ีพระภาคเจ้า ตรัสแล้ว) ฯ อ.พระราชา ทรงสดบั แล้ว ซง่ึ พระด�ำรัส ของพระศาสดา ราชา สตฺถุ วจนํ สตุ ฺวา “อโห ภนฺเต ภาริยํ กมมฺ ํ, กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โอ อ.กรรม อันหนัก, เอตฺตเก นาม โภเค วิชฺชมาเน, เนว อตฺตนา ปริภญุ ฺชิ, ครนั้ เมอื่ โภคะ ชอ่ื มปี ระมาณเทา่ นี ้ มอี ยู่ (อ.เศรษฐี นนั้ ) ไมใ่ ช้สอยแล้ว น ตมุ หฺ าทิเส พทุ ฺเธ ธรุ วหิ าเร วหิ รนฺเต, ปญุ ฺญกมมฺ ํ ด้ วยตน น่ันเทียว, ครัน้ เมื่อพระพุทธเจ้ า ผู้เช่นพระองค์ อกาสีติ อาห. ประทบั อยอู่ ยู่ ในวหิ ารอนั ใกล้ ไมไ่ ด้กระทำ� แล้ว ซงึ่ กรรมอนั เป็นบญุ ดงั นี ้ฯ อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว วา่ ดกู ่อนมหาบพิตร อ.อยา่ งนนั้ สตฺถา “เอวเมวํ มหาราช ทมุ เฺ มธปคุ ฺคลา นาม ชอ่ื อ.บคุ คลผ้มู ปี ัญญาทราม ท. ได้แล้ว ซง่ึ โภคะ ท. ยอ่ มไมแ่ สวงหา โภเค ลภิตฺวา นิพฺพานํ น คเวสนฺต,ิ ซง่ึ พระนิพพาน, 44 ธรรมบทภาคที่ ๘ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี www.kalyanamitra.org

อนงึ่ อ.ตณั หา อนั อาศยั แล้ว ซงึ่ โภคะ ท. เกิดขนึ ้ แล้ว ยอ่ มฆา่ โภเค นิสฺสาย อปุ ปฺ นฺนตณฺหา ปเนเต ทีฆรตฺตํ หนตีติ (ซง่ึ บคุ คล ท.) เหลา่ นนั่ สนิ ้ ราตี ดงั นี ้ ตรัสแล้ว ซง่ึ พระคาถา วตฺวา อิมํ คาถมาห นี ้วา่ อ.โภคะ ท. ย่อมฆ่า (ซึ่งบคุ คล) ผูม้ ีปัญญาทราม, “หนนตฺ ิ โภคา ทมุ ฺเมธํ, โน จ ปารคเวสิโน; แต่ว่า (อ.โภคะ ท. ย่อมฆ่า ซ่ึงบคุ คล ท.) ผูแ้ สวงหา โภคตณฺหาย ทมุ ฺเมโธ หนตฺ ิ อญฺเญว อตฺตนนตฺ ิ. ซึ่งฝ่ังโดยปกติ หามิได้ , (อ.บคุ คล) ผูม้ ีปัญญาทราม ย่อมฆ่า ซึ่งตน เพียงดงั ว่า (ฆ่าอยู่ ซ่ึงชน ท.) เหล่าอืน่ เพราะความทะยานอยากในโภคะ ดงั นี้ ฯ (อ.อรรถ ว่า) แต่ว่า อ.บุคคล ท. ผู้แสวงหาซึ่งฝ่ัง ตตฺถ “โน จ ปารคเวสิโนต:ิ เย ปน นิพฺพาน- คอื พระนพิ พานโดยปกติ เหลา่ ใด, อ.โภคะ ท. ยอ่ มฆา่ (ซง่ึ บคุ คล ท.) ปารคเวสโิ น ปคุ ฺคลา, น เต โภคา หนนฺต.ิ เหลา่ นนั้ หามไิ ด้ (ดงั นี ้ในบท ท.) เหลา่ นนั้ หนา (แหง่ บาทแหง่ พระคาถา) วา่ โน จ ปารคเวสิโน ดงั นี ้ฯ อ.อรรถ วา่ อ.บคุ คล ผ้มู ีปัญญาทราม ยอ่ มฆา่ ซง่ึ ตนนนั่ เทียว หนฺติ อญเฺ ญว อตตฺ นนฺต:ิ โภเค นิสสฺ าย ราวกะวา่ (ฆา่ อยู่ ซงึ่ ชน ท.) เหลา่ อ่ืน เพราะความทะยานอยาก อปุ ปฺ นฺนาย ตณฺหาย ทปุ ปฺ ญฺโญ ปคุ ฺคโล ปเร วิย อนั อาศยั แล้ว ซง่ึ โภคะ ท. เกดิ ขนึ ้ แล้ว ดงั นี ้ (แหง่ บาทแหง่ พระคาถา) อตฺตานเมว หนตีติ อตฺโถ. วา่ หนฺติ อญญฺ เว อตตฺ นํ ดงั นี ้ฯ ในกาลเป็นท่ีสดุ ลงแหง่ เทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลแุ ล้ว เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ ปาปณุ สึ ตู .ิ (ซงึ่ อริยผล ท.) มีโสดาปัตตผิ ลเป็นต้น ดงั นีแ้ ล ฯ อ.เร่ืองแห่งเศรษฐีไม่มีบุตร (จบแล้ว) ฯ อปุตตฺ กเสฏฺ ฐิวตถฺ ุ. ๑๒. อ.(เอร่ืันองขแ้าหพ่งเจเท้าพจบะุตกรลช่า่ือว)ว่าฯอังกุระ ๑๒. องกฺ ุรเทวปุตตฺ วตถฺ ุ. (๒๕๑) อ.พระศาสดา เมอื่ เสดจ็ ประทบั ทบ่ี ณั ฑกุ มั พลศลิ า ทรงปรารภ “ตณิ โทสานิ เขตตฺ านีติ อิมํ ธมมฺ เทสนํ สตฺถา ซง่ึ เทพบตุ รช่ือวา่ องั กรุ ะ ตรัสแล้ว ซง่ึ พระธรรมเทศนา นี ้ วา่ ปณฺฑกุ มพฺ ลสลิ ายํ วิหรนฺโต องฺกรุ ํ อารพฺภ กเถส.ิ ตณิ โทสานิ เขตตฺ านิ ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ อ.เร่ือง (อนั ข้าพเจ้า) ให้พิสดารแล้วนนั่ เทียว ในพระคาถา วา่ วตฺถุ “เย ฌานปฺปสุตา ธีราติ คาถาย เย ฌานปปฺ สุตา ธีรา ดงั นีเ้ป็นต้น ฯ วิตฺถาริตเมว. จริงอยู่ (อ.ค�ำ) นนั่ วา่ ได้ยินวา่ (อ.เทพบตุ รช่ือวา่ อินทกะ) นนั้ วตุ ฺตญฺเหตํ ตตฺถ อินฺทกํ อารพฺภ “โส กิร (ยงั บคุ คล) ให้ให้แล้ว ซง่ึ ภิกษามีทพั พีหนงึ่ เป็นประมาณ อนั อนรุ ุทฺธตฺเถรสฺส อนฺโตคามํ ทาปเปิ ณสฺฑ,ิ าตยทสฺสปวปิฏฺญุฐสฺญสฺ ํ อนั บคุ คลนำ� มาแล้ว เพอ่ื ตน แกพ่ ระเถระชอื่ วา่ อนรุ ุทธ์ ผ้เู ข้าไปแล้ว อตฺตโน อาภตํ กฏจฺฉภุ ิกฺขํ สภู่ ายในแหง่ บ้าน เพอ่ื ก้อนข้าว, อ.บญุ นนั้ (ของเทพบตุ รชอ่ื วา่ อนิ ทกะ) องฺกเุ รน ทสวสฺสสหสฺสานิ ทฺวาทสโยชนิกํ อทุ ฺธนปนฺตึ นนั้ เป็นบญุ มีผลมากกวา่ กวา่ ทาน อนั เทพบตุ รชื่อวา่ องั กรุ ะ กตฺวา ทินฺนทานโต มหปผฺ ลตรํ ชาตํ; ตสมฺ า เอวมาห. กระท�ำแล้ว ซ่ึงแถวแห่งเตา อันประกอบแล้วด้วยโยชน์ ๑๒ ถวายแล้ว สนิ ้ พนั แหง่ ปี ๑๐ ท. เกดิ แล้ว, เพราะเหตนุ นั้ (อ.เทพบตุ ร ช่ือวา่ อินทกะ นนั้ ) กราบทลู แล้ว อยา่ งนี ้ ฯ ผลิตส่อื การเรยี นรู้ โดยโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม วัดพระธรรมกาย 45 www.kalyanamitra.org