Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 ความสำคัญของจุลชีววิทยา

บทที่ 1 ความสำคัญของจุลชีววิทยา

Published by ananthaya.san, 2018-06-13 00:37:33

Description: บทที่ 1 ความสำคัญของจุลชีววิทยา

Search

Read the Text Version

ผ้สู อน อาจารย์อนนั ทญา แสนสวสั ด์ิเอกสารประกอบการสอนบทท่ี 1 เร่ือง ขอบขา่ ยความสาคญั ของจุลชีววทิ ยา

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวชิ า วิชา 06-03-232 จุลชีววทิ ยาทว่ั ไป สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก รายละเอียดของรายวชิ าชอื่ สถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออกคณะ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาวิชา วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์

หมวดท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป1. รหสั และชื่อรายวิชา รหัส 06-03-232 จุลชวี วิทยาทั่วไป General Microbiology2. จานวนหน่วยกติ 3 หนว่ ยกติ (2-3-5)3. หลกั สตู รและประเภทของรายวชิ า หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ หมวดวชิ าเฉพาะ กลุ่มวิชาพ้ืนฐานวชิ าชพี4. อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบรายวชิ าและอาจารย์ผูส้ อน อาจารย์อนันทญา แสนสวสั ด์ิ5. ภาคการศึกษา / ช้นั ปที เี่ รยี น ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 ของหลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี ชนั้ ปีที่ 2 และ หลกั สูตรปรญิ ญาตรี 4 ปี เทยี บโอน ชน้ั ปีท่ี 46. รายวชิ าท่ตี ้องเรยี นมากอ่ น (Pre-requisite) (ถ้ามี) 06-03-102 ชีววิทยาทวั่ ไป7. รายวิชาทตี่ ้องเรยี นพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้าม)ี ไม่มี8. สถานท่ีเรยี น มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วทิ ยาเขตบางพระ9. วันท่จี ดั ทาหรือปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชาคร้งั ลา่ สุด 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 หมวดท่ี 2 จุดมงุ่ หมายและวัตถปุ ระสงค์1. จุดม่งุ หมายของรายวิชา เนื้อหา 1. รคู้ วามหมาย ขอบข่าย และความสาคญั ของวชิ าจุลชีววิทยา 2. เข้าใจสัณฐานวิทยา โครงสร้างและหน้าที่ของโครงสรา้ งแบคทีเรีย 3. รกู้ ารเจริญ ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การเจรญิ และการควบคุมจุลินทรยี ์ 4. เขา้ ใจเมแทบอลิซึมของจลุ นิ ทรีย์ 5. จดั หมวดหม่แู ละจาแนกแบคทเี รีย 6. รู้การเกดิ โรคและการสรา้ งภูมคิ ุ้มกัน 7. รโู้ รคตดิ เช้ือทส่ี าคัญ การแพรก่ ระจายและจุลินทรียส์ าเหตโุ รค 8. ประยกุ ต์ใช้จลุ ชีววทิ ยาทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการเกษตร สงิ่ แวดล้อม และในชีวติ ประจาวนั

9. มีทกั ษะและจติ พสิ ัยในการปฏิบัติงานด้านการทดลองท่ีเปน็ ระบบ ผลการเรียนรู้ 1. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้มีวินัย ซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม มีจิตสาธารณะ เสียสละและชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื เมอ่ื มีโอกาส 2. พัฒนาความรู้ ให้มีความรู้ในศาสตรแ์ ละเนื้อหาสาระทเ่ี กี่ยวข้อง 3. พัฒนาทักษะทางปัญญา ให้สามารถคิดได้อย่างเป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล สามารถวิเคราะห์วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ 4. พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ให้มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ทั้งในฐานะผู้นาหรือสมาชิกของกลุ่ม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล และยอมรับความคดิ เห็นของผ้อู น่ื 5. พัฒนาการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น นาเสนอ และสื่อสารไดอ้ ย่างเหมาะสม2. วตั ถปุ ระสงค์ในการพฒั นา / ปรบั ปรุงรายวิชา เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาพ้ืนฐานวิชาชพี หมวดท่ี 3 ลักษณะและการดาเนินการ1. คาอธิบายรายวชิ า ความหมาย ขอบข่าย และความสาคัญของวิชาจุลชีววิทยา สัณฐานวิทยา โครงสร้างและหน้าที่ของโครงสร้างแบคทีเรีย การเจริญ และการควบคุมจุลินทรีย์ เมแทบอลิซึม การจัดหมวดหมู่และจาแนกแบคทีเรียการเกิดโรคและภูมิคุ้มกันวิทยา โรคติดเชื้อ จุลชีววิทยาประยุกต์ที่เก่ียวข้องกับการเกษตร ส่ิงแวดล้อม และในชีวติ ประจาวนั2. จานวนชวั่ โมงที่ต้องใชต้ อ่ ภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏบิ ตั ิ / งานภาคสนาม / การศกึ ษาด้วยตนเอง ไมม่ ี การฝกึ งาน2 ช่ัวโมงตอ่ สัปดาห์หรือ การศกึ ษาดว้ ยตนเอง 30 ช่ัวโมงตอ่ มีการฝึกปฏิบตั ใิ นห้องปฏิบัติการ 3 5 ชวั่ โมงตอ่ สัปดาห์ ภาคการศึกษา ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์หรอื 45 ช่ัวโมง ต่อภาคการศึกษา3. จานวนช่ัวโมงต่อสัปดาหท์ ่ีอาจารยใ์ หค้ าปรกึ ษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเปน็ รายบุคคล จัดเวลาให้นักศึกษาเป็นรายบุคคลท่ีต้องการพบเพื่อขอคาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์

หมวดท่ี 4 การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา1. คุณธรรมและจรยิ ธรรม 1) คุณธรรม จรยิ ธรรมท่ีต้องพัฒนา 1.1 [] มวี ินัย ซ่อื สตั ยต์ ่อตนเองและสงั คม 1.2 [] มจี ิตสาธารณะ เสียสละและช่วยเหลอื ผู้อ่นื เมอ่ื มีโอกาส 1.3 [-] เห็นคณุ ค่าของศลิ ปะ ธารงรักษาวัฒนธรรมไทย และเข้าใจวฒั นธรรมนานาชาติ 1.4 [-] มคี วามเขา้ ใจในหลกั การดาเนนิ ชีวิตทถี่ กู ต้องตามทานองคลองธรรม 2) วิธกี ารสอน - สอนสอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรม - กาหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชาจุลชีววิทยา เช่น การตรงต่อเวลา การแตง่ กาย ความมีระเบยี บวินยั รบั ผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย เสียสละและชว่ ยเหลือผู้อืน่ 3) วิธกี ารประเมนิ ผล - ประเมินจากพฤติกรรมจากการเข้าช้ันเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย ความมีระเบียบวินัยและความรบั ผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ บั มอบหมาย - ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในช้ันเรียน และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรตา่ งๆทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับคณุ ธรรมและจริยธรรม - ประเมนิ ผลจากปริมาณการกระทาทุจรติ ในการสอบ2. ความรู้ 1) ความร้ทู ่ตี ้องไดร้ บั 2.1 [] มีความรู้ในศาสตร์และเน้อื หาสาระที่เกี่ยวข้อง 2.2 [-] มีความรอบรูท้ นั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของสงั คม 2.3 [] สามารถบูรณาการความรู้ และเปน็ ผใู้ ฝ่รู้ 2) วิธกี ารสอน - บรรยาย อภิปราย ทางานกลุ่ม มอบหมายงานให้ค้นคว้าข้อมูลจากส่ืออินเทอร์เน็ตและฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และนาเสนองานที่ได้รับมอบหมายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย มีการส่งเสรมิ การเรียนรจู้ ากสถานการณ์จรงิ และมีการบรู ณาการกระบวนการวจิ ัย เพื่อสง่ เสริมการพฒั นาความรู้ความเข้าใจ และมีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน โดยผู้สอนทาหน้าท่ีเป็นผู้แนะนาและกระตุ้นให้เกดิ การเรยี นรู้ตลอดเวลา 3) วธิ ีการประเมนิ ผล - ประเมินผลสัมฤทธ์ิด้านความรู้และกจิ กรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนในหอ้ งเรยี นดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การยกตัวอย่าง การติดตามข่าวสารในปัจจุบัน การอภิปราย การนาเสนอผลงาน และการประเมนิ ผลงานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย - ทดสอบความรู้ ความเข้าใจโดยการสอบกลางภาคการศึกษา การสอบระหว่างภาคการศึกษา และการสอบปลายการศึกษา - ประเมินจากการวางแผนการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง การวจิ ารณ์ผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง และการนาเสนอผลการทดลองได้อย่างเปน็ ขั้นตอน3. ทักษะทางปญั ญา 1) ทักษะทางปญั ญาที่ตอ้ งพัฒนา

3.1 [] สามารถคดิ ได้อย่างเป็นระบบ เปน็ เหตเุ ปน็ ผล 3.2 [] สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ 3.3 [-] สามารถคิดเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละแก้ไขปัญหาท่เี ผชญิ ได้ 2) วธิ ีการสอน - จัดการเรียนรู้โดยการอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็น การวิเคราะห์กรณีศึกษา ใชป้ ัญหาเป็นฐานในประเดน็ ที่เปน็ ปัญหาของสงั คม และการเรียนรู้จากโครงงานขนาดเลก็ (mini project) 3) วิธกี ารประเมนิ ผล - โดยทดสอบจากข้อสอบท่ีเป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา หรือวิเคราะห์แนวคิดในการนาความรู้ทางดา้ นจุลชีววทิ ยาไปประยุกต์ใช้ในดา้ นต่าง ๆ - ประเมินจากการร่วมอภิปราย การแสดงความคิดเห็น กระบวนการแสวงหาความรู้ การแก้ปัญหาการนาเสนอผลงาน และผลงานหรือทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ 1) ทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบทต่ี ้องพัฒนา 4.1 [] มีความสามารถในการทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้ ท้งั ในฐานะผูน้ าหรือสมาชิกของกล่มุ 4.2 [] มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ 4.3 [] เข้าใจความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล และยอมรับความคดิ เห็นของผ้อู นื่ 4.4 [-] สขุ ภาพและอนามัยทีด่ ี 2) วธิ ีการสอน - จัดการเรียนรู้ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติและการทางานเป็นกล่มุ ส่งเสริมการพัฒนาการความเป็นผ้นู าและการเปน็ ผูต้ าม การมีมนุษยสมั พันธ์ การเรยี นรคู้ วามแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล - กาหนดให้แต่ละกลุ่มมีการวางแผนการทางาน และกาหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในกลุ่มอย่างชดั เจน 3) วธิ ีการประเมินผล - ประเมินจากกระบวนการทางานกลุ่มระหว่างการเรียนการสอน การทากิจกรรม ผลงาน การจัดระบบการนาเสนองานท่ีมอบหมาย และการตอบข้อซักถามของอาจารย์ผู้สอนและเพื่อน โดยจะต้องมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสว่ นรวม5. ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1) คาอธิบายเกี่ยวกับทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีควรมีการพฒั นา 5.1 [] สามารถใชภ้ าษาในการสอ่ื สารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 5.2 [] สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น นาเสนอ และส่ือสารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5.3 [-] สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทันตอ่ ความก้าวหน้าของสถานการณป์ ัจจุบัน 5.4 [-] สามารถคิดวิเคราะห์ จาแนก และตีความข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพ่ือการแก้ไขปัญหาและตดั สนิ ใจ 2) วิธีการสอน - สอนการใช้ภาษาในการส่อื สาร และเขียนรายงานไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม - จัดการเรียนรู้แบบกระตอื รือร้น (active learning) เป็นส่วนหน่ึงในการกระตุ้นให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มปี ฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผู้เรยี นกับผู้เรยี น และผู้เรยี นกับผู้สอน เพอื่ พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร ส่งเสริมให้มกี ารนาเสนอผลงานผ่านการพดู และการเขียนท้ังเปน็ กลุ่มและรายบุคคล

- มอบหมายงานใหน้ าเสนอผา่ นสื่อเทคโนโลยี เช่น เพาเวอร์พอยท์ ไมโครซอฟเวิรด์ และวีดโี อ 3) วธิ ีการประเมนิ ผล - ประเมินจากการใชภ้ าษาในการเขยี นรายงาน และการนาเสนองานทีไ่ ด้รับมอบหมาย - ประเมินจากรายงานทม่ี กี ารสืบคน้ ขอ้ มลู ดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ - ประเมนิ จากการใช้ส่อื เทคโนโลยีในการนาเสนองานทไ่ี ด้รับมอบหมาย หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล1. แผนการสอนสัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด จานวน กจิ กรรมการเรียน ผสู้ อน ที่ ช่วั โมง การสอน สื่อทใ่ี ช้ (ถา้ มี)1 แนะนารายวชิ า 2 - แจง้ จดุ มงุ่ หมายของรายวชิ าและเกณฑ์การ อ.อนนั ทญา - จุดมุ่งหมายของรายวิชา แสนสวัสด์ิ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ - เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ - งานมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้างานบูรณา หนว่ ยเรียนที่ 1 ขอบข่ายและความสาคญั ของ การเรื่องความหลากหลายของแบคทีเรียใน วิชาจุลชวี วทิ ยา ที่ดินการเกษตรเพ่ือทดสอบความสามารถ - ความหมายและขอบข่ายของจลุ ชีววิทยา ในการย่อยสารอนินทรีย์และสารประกอบ - ประเภทของจุลินทรยี ์รวมทงั้ ไวรัส ไฮโดรคารบ์ อน - บรรยายและใช้สอ่ื ผสมในการสอน - แบ่งกลุ่มสรุปเนื้อหาและอธิบายในชั้นเรียน (มคอ.5 1/59) - ร่วมอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น ในช้ันเรียน (มคอ.5 1/59) บทปฏบิ ตั ิการท่ี 1 การใช้กล้องจุลทรรศน์ 3 - ทกั ษะการใช้กล้องจลุ ทรรศน์อยา่ งถกู วธิ ี2 หนว่ ยเรียนที่ 1 ขอบขา่ ยและความสาคัญของ 2 - บรรยายและใช้ส่ือผสมในการสอน อ.อนนั ทญา วชิ าจุลชวี วิทยา (ต่อ) - ความสาคัญของจุลชวี วิทยา - แบ่งกลุ่มสรุปเน้ือหาและอธิบายในชั้นเรียน แสนสวสั ด์ิ บทปฏบิ ตั ิการที่ 2 แบคทีเรีย ยสี ต์ โปรโตซัว (มคอ.5 1/59) และอัลกา - ร่วมอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น3 หนว่ ยเรียนที่ 2 สัณฐานวทิ ยาของแบคทีเรยี - รูปรา่ ง การเรยี งตัวของเซลล์ และการวดั ในช้ันเรยี น (มคอ.5 1/59) ขนาดเซลลแ์ บคทเี รีย 3 - ทักษะการเตรยี มสไลดส์ าหรบั ตรวจดู จลุ ินทรยี ์ในตวั อย่างน้า - จาแนกประเภทของจุลนิ ทรีย์โดยใชก้ ล้อง จลุ ทรรศน์ - รายงานผลบทปฏิบตั กิ ารที่ 1 2 - บรรยายและใชส้ อ่ื ผสมในการสอน อ.อนันทญา - ร่วมอภปิ ราย ซกั ถาม และแสดงความ แสนสวสั ดิ์ คดิ เหน็ ในชัน้ เรยี น (มคอ.5 1/59) บทปฏบิ ตั ิการท่ี 3 ราและแอคตโิ นมัยสที 3 - ทกั ษะการเข่ยี เชื้อรา - ทกั ษะการเตรยี มสไลด์สาหรับตรวจดูราและ แอคตโิ นมัยสีท - ตรวจดูลกั ษณะการเจริญของราและ

แอคตโิ นมยั สที บนอาหารเลี้ยงเช้อื - ตรวจดูสณั ฐานวทิ ยาของราและแอคติโนมัยสีท - รายงานผลบทปฏบิ ตั กิ ารที่ 24 หน่วยเรียนท่ี 2 สัณฐานวทิ ยาของแบคทีเรีย 2 - แบ่งกลุ่มสร้าง model เพื่อเป็นสื่อในการ อ.อนนั ทญา (ต่อ) เรียน แล ะอภิ ป รายร่วมกัน ใน ชั้น เรียน แสนสวสั ด์ิ- โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องโครงสรา้ ง (งานวิจยั ในชั้นเรยี น 3/59)แบคทเี รยีบทปฏิบตั กิ ารท่ี 4 การยอ้ มสีแบคทเี รีย 3 - ทักษะการเขีย่ เชอื้ แบคทีเรยี - ทักษะเตรยี มสไลดแ์ บคทีเรีย ยอ้ มสีแบบตา่ งๆ - ตรวจดูสัณฐานวิทยาของแบคทีเรยี - รายงานผลบทปฏบิ ตั กิ ารที่ 35 หนว่ ยเรียนที่ 3 การเจรญิ และการควบคุม 2 - บรรยายและใชส้ ่ือผสมในการสอน อ.อนันทญา - รว่ มอภิปราย ซกั ถาม และแสดงความ แสนสวัสดิ์ จลุ นิ ทรีย์ - การเจรญิ และการวัดการเจรญิ คดิ เห็นในชั้นเรียน (มคอ.5 1/59)- ปจั จยั แวดล้อมท่มี ผี ลต่อการเจรญิบทปฏบิ ตั กิ ารท่ี 5 อาหารเลย้ี งเช้ือและการทา 3 - ทกั ษะการเตรียมอาหารเล้ยี งเชอื้ให้ปราศจากเช้ือ - ทักษะการใช้หม้อนึง่ ความดนั ใน การทาใหป้ ราศจากเชอ้ื - รายงานผลบทปฏบิ ัติการที่ 46 หนว่ ยเรียนท่ี 3 การเจริญและการควบคุม 2 - บรรยายและใชส้ อ่ื ผสมในการสอน อ.อนันทญา จุลินทรีย์ (ต่อ) - วิเคราะห์กรณีตัวอยา่ ง (งานวจิ ัยในชั้นเรียน แสนสวสั ด์ิ- การควบคมุ จุลินทรยี ด์ ว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ 3/59) - ร่วมอภิปราย ซักถาม และแสดงความ คดิ เหน็ ในชน้ั เรียน (มคอ.5 1/59)บทปฏบิ ตั ิกาท่ี 6 การแพร่กระจายของจลุ นิ ทรีย์ 3 - ทักษะการทาเทคนิคปลอดเช้อืในธรรมชาติ - ตรวจสอบการแพรก่ ระจายของจุลนิ ทรยี ์ในบูรณาการกบั งานวจิ ยั : ความหลากหลายของ ธรรมชาติแบคทีเรียในทีด่ นิ การเกษตรเพื่อทดสอบ - รายงานผลบทปฏบิ ัตกิ ารที่ 5ความสามารถในการย่อยสารอนินทรียแ์ ละสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน7 หนว่ ยเรยี นท่ี 4 เมแทบอลซิ มึ ของจุลินทรีย์ 2 - บรรยายและใชส้ ื่อผสมในการสอน อ.อนันทญา - ความต้องการสารอาหารของจลุ นิ ทรยี ์ - รว่ มอภปิ ราย ซักถาม และแสดงความ แสนสวัสด์ิ- ข้นั ตอนการนาสารอาหารเข้าสูเ่ ซลล์ คดิ เห็นในชั้นเรยี น (มคอ.5 1/59)บทปฏิบตั ิการที่ 7 การกาจดั การฆ่า และยบั ยัง้ 3 - ทดสอบการใช้สารเคมแี ละสารปฏิชวี นะในการเจรญิ ของจลุ นิ ทรีย์ การฆา่ และยบั ยั้งการเจรญิ ของจุลินทรีย์ - รายงานผลบทปฏิบตั ิการที่ 68 หนว่ ยเรยี นท่ี 4 เมแทบอลิซมึ ของจลุ ินทรยี ์ (ตอ่ ) 2 - บรรยายและใช้สอื่ ผสมในการสอน อ.อนนั ทญา- กระบวนการสลายกลโู คสเพ่อื ใหไ้ ด้ - แบง่ กลมุ่ สรปุ เนื้อหาและอธบิ ายในชน้ั เรียน แสนสวสั ดิ์พลังงาน (มคอ.5 1/59) - รว่ มอภปิ ราย ซักถาม และแสดงความ

คดิ เห็นในช้นั เรียน (มคอ.5 1/59)บทปฏบิ ตั ิการที่ 8 การไฮโดรไลซ์สารโมเลกุล 3 - ทดสอบการไฮโดรไลซส์ ารโมเลกุลใหญ่ใหญภ่ ายนอกเซลลแ์ บคทเี รยี ภายนอกเซลล์แบคทีเรีย - ให้ศกึ ษาการอา่ นผลการสรา้ งเอนไซมข์ อง แบคทีเรยี ด้วยตนเองและแบง่ กลุ่มยอ่ ยเพอ่ื แลกเปลีย่ นความรใู้ นการอา่ นผลเอนไซม์ ชนิดตา่ งๆ - สรุปและอภปิ รายผลท่ีถกู ตอ้ ง - รายงานผลบทปฏิบตั ิการที่ 79 สอบกลางภาคการศึกษา หนว่ ยเรียนที่ 1 – 3 บทปฏิบตั กิ ารที่ 1 – 4 และ 6 – 710 หน่วยเรียนท่ี 5 การจัดหมวดหมู่และการ 2 - บรรยายและใช้สอ่ื ผสมในการสอน อ.อนันทญา จาแนกแบคทีเรีย แสนสวสั ดิ์ - การจดั หมวดหมแู่ บคทีเรีย 3 - ทดสอบคุณ ลักษณ ะทางชีวเคมีของ บทปฏบิ ตั กิ ารที่ 9 การย่อยสลายคารโ์ บไฮเดรต ในสภาวะที่มีและไม่มีออกซิเจน การรดี วิ ซไ์ นเตรท แบคทเี รียในการยอ่ ยสลายคารโ์ บไฮเดรต และการสร้างก๊าซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ในสภาวะที่มีและไม่มีออกซิเจน การรีดิซ์ ไนเตรท และการสร้างกา๊ ซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ - ใหน้ ักศึกษาศึกษาการอา่ นผลการทดสอบ ทางชวี เคมีของแบคทเี รยี ด้วยเองและ แบง่ กลุ่มยอ่ ยเพื่อแลกเปล่ยี นความรูใ้ น การอ่านผลการใชส้ ารอาหารและการ สรา้ งผลติ ภณั ฑช์ นิดตา่ งๆ ของแบคทเี รีย - สรุป และอภิปรายผลท่ถี กู ต้อง - รายงานผลบทปฏบิ ตั กิ ารท่ี 811 การสอบระหวา่ งภาคการศกึ ษา หน่วยเรียนท่ี 4 บทปฏิบัตกิ ารท่ี 5 และ 8 – 911 หน่วยเรยี นท่ี 5 การจดั หมวดหมแู่ ละการ 2 - บรรยายและใช้สื่อผสมในการสอนใช้ อ.อนนั ทญา จาแนกแบคทีเรยี (ต่อ) แสนสวัสด์ิ- การจาแนกแบคทเี รยีบทปฏบิ ตั ิการท่ี 10 เทคนคิ การแยกแบคทเี รยี 3 - ทกั ษะการแยกแบคทีเรียบรสิ ุทธ์โิ ดยวิธีบรสิ ทุ ธิ์ การขดี จานเพาะเช้ือ (streak plate) - รายงานผลบทปฏบิ ัตกิ ารที่ 912 หนว่ ยเรียนที่ 6 ภูมิคมุ้ กนั วทิ ยา 2 - บรรยายและใช้ส่อื ผสมในการสอนใช้ อ.อนนั ทญา - กลไกการป้องกนั ตวั ของโฮสต์ - วเิ คราะหก์ รณศี กึ ษา (งานวจิ ยั ในชนั้ เรียน แสนสวัสดิ์- แอนตเิ จนและแอนตบิ อดีย์ 3/59) - รว่ มอภปิ ราย ซกั ถาม และแสดงความ คิดเหน็ ในช้ันเรียน (มคอ.5 1/59)

บทปฏบิ ตั กิ ารที่ 11 การจาแนกแบคทีเรยี 3 - ทดสอบคุณลกั ษณะการเจริญในอาหาร เล้ียงเชอ้ื คณุ ลักษณะทางสัณฐานวทิ ยา และคุณลกั ษณะทางชีวเคมีของแบคทีเรีย - รายงานผลบทปฏบิ ัติการท่ี 1013 หนว่ ยเรียนท่ี 6 ภูมคิ ุ้มกนั วทิ ยา (ต่อ) 2 - บรรยายและใชส้ ือ่ ผสมในการสอนใช้ อ.อนนั ทญา - การทดสอบปฏิกิริยาทางซโี รโลยี - วิเคราะหก์ รณีศกึ ษา (งานวจิ ัยในชน้ั เรยี น แสนสวัสดิ์ 3/59) - รว่ มอภปิ ราย ซักถาม และแสดงความ คดิ เห็นในชน้ั เรียน (มคอ.5 1/59)บทปฏิบตั ิการท่ี 12 บทบาทของจลุ ินทรียท์ ี่ 3 - ทักษะการเตรียมแยกแบคทีเรยี บรสิ ทุ ธ์ิเกีย่ วขอ้ งกับวฏั จักรไนโตรเจน - ทดสอบคณุ ลักษณะของแบคทเี รยี ที่ เกยี่ วขอ้ งกับวฏั จักรไนโตรเจน - รายงานผลบทปฏบิ ัติการที่ 1114 หน่วยเรยี นที่ 7 โรคติดเชือ้ ที่สาคญั 2 - วเิ คราะห์กรณีศึกษา (งานวจิ ัยในชั้นเรยี น อ.อนันทญา - การแพรก่ ระจายของเชือ้ 3/59) แสนสวสั ด์ิ- จลุ ินทรียท์ ี่เปน็ สาเหตุของโรค - รว่ มอภิปราย ซกั ถาม และแสดงความ คิดเหน็ ในชัน้ เรียน (มคอ.5 1/59)บทปฏบิ ตั ิการที่ 13 การตรวจคุณภาพนา้ โดย 3 - ตรวจวิเคราะหค์ ณุ ภาพน้าโดยวธิ กี ารวิธีการทางจลุ ชีววทิ ยา ตรวจสอบแบคทเี รียโคลิฟอรม์ - รายงานผลบทปฏบิ ตั ิการท่ี 1215 หน่วยเรียนท่ี 8 จลุ ชวี วทิ ยาประยกุ ต์ 2 - บรรยายและใช้สื่อผสมในการสอนใช้ อ.อนันทญา - จุลชวี วิทยาประยุกต์กับการเกษตร - รว่ มอภปิ ราย ซักถาม และแสดงความ แสนสวัสดิ์เชิญวิทยากรจากภายนอกเพอ่ื บรรยายพเิ ศษ คิดเห็นในช้ันเรียน (มคอ.5 1/59)ในหัวขอ้ “การใชจ้ ุลินทรยี ก์ ับเกษตรอนิ ทรีย์”- จลุ ชวี วิทยาประยกุ ตก์ บั สิ่งแวดลอ้ มบทปฏบิ ตั กิ ารที่ 14 การตรวจคุณภาพผลิตภณั ฑ์ 3 - ตรวจวเิ คราะหจ์ ุลนิ ทรีย์เชงิ คุณภาพและอาหารหรือเคร่ืองดื่มโดยวธิ กี ารทางจลุ ชวี วทิ ยา เชิงปริมาณในผลติ ภัณฑอ์ าหารหรือ เคร่อื งดม่ื - รายงานผลบทปฏิบตั ิการที่ 1316 หนว่ ยเรยี นที่ 8 จลุ ชวี วทิ ยาประยกุ ต์ (ตอ่ ) 2 - การศึกษานอกสถานท่ีหรอื การศกึ ษาจาก อ.อนันทญา - จุลชีววทิ ยาประยกุ ตใ์ นชีวิตประจาวนั สถานการณ์จรงิ ในปจั จบุ ัน (งานวจิ ัยใน แสนสวัสด์ิ ชนั้ เรยี น 3/59)บทปฏบิ ตั ิการที่ 15 การทดสอบปฏกิ ิรยิ าทาง 3 - ทดสอบปฏิกริ ิยาทางซโี รโลยีซีโรโลยี - รายงานผลบทปฏบิ ตั ิการที่ 14 และ 1517 นาเสนองานบูรณาการกบั งานวจิ ัย: ความ - สง่ เลม่ รายงานและนาเสนอดว้ ยสอ่ืหลากหลายของแบคทีเรียในทดี่ นิ การเกษตร เทคโนโลยีเพ่อื ทดสอบความสามารถในการย่อยสารอนิ - รว่ มอภิปราย ซักถาม และแสดงความนทรยี ์และสารประกอบไฮโดรคาร์บอน คิดเห็นในช้นั เรยี น (มคอ.5 1/59)18-19 สอบปลายภาคการศึกษา หน่วยเรียนที่ 5 – 8 บทปฏบิ ตั ิการท่ี 10 – 152. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมนิ สปั ดาห์ทป่ี ระเมนิ สดั สว่ นของการ1 1.1, 2.3,3.1,4.2 และ 5.1 ประเมินผล - ความสม่าเสมอในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในชนั้ เรยี น2 1.1, 1.2, 2.1, 2.3, - จิตพสิ ยั 1 – 8 และ 10 – 16 10 % 3.1, 3.2,4.1,4.2, 4.3, 5.1 และ 5.2 - รายงานผลบทปฏบิ ตั ิการ 1 – 8 และ 10 – 16 12.5 % - ประสทิ ธผิ ลในการปฏบิ ตั ิการทดลอง 1 – 8 และ 10 – 16 12.5 %3 1.1, 2.1, 2.3, 3.1,3.2 4.2 - งานมอบหมาย 5% และ 5.1 12 – 16 - การสอบกลางภาคการศกึ ษา 25 % - การสอบระหวา่ งภาคการศกึ ษา 9 10 % - การสอบปลายภาคการศึกษา 11 25 % 17 เกณฑก์ ารประเมินผล คะแนน ค่าระดับคะแนน 80 – 100 75 – 79 A 70 – 74 B+ 65 – 69 60 – 64 B 55 – 59 C+ 50 – 54 C 0 – 49 D+ D F หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน1. เอกสารและตาราหลักคณาจารยภ์ าควิชาจุลชวี วิทยา. 2542. จลุ ชีววิทยาปฏิบัติการ. กรุงเทพ ฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 327 น.คณาจารยภ์ าควชิ าจุลชีววิทยา. 2547. จลุ ชีววิทยาปฏิบัติการ. กรุงเทพ ฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ 330 น.จุรีย์รัตน์ ลีสมิทธ์ิ. 2548. ปฏิบัติการจุลชีววิทยาท่ัวไป. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 142 น.นงลักษณ์ สวุ รรณพินิจ. 2544. แบคทีเรียทีเ่ ก่ยี วข้องกับโรค. โนเบ้ลิ เพรส. กรุงเทพฯ. 376 น.

นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และ ปรีชา สุวรรณพินิจ. 2544. จุลชีววิทยาทั่วไป. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. กรุงเทพฯ. 735 น.บญั ญตั ิ สุขศรงี าม. 2534. จลุ ชีววิทยาทั่วไป. โอเดยี นสโตร์. กรุงเทพ ฯ. 507 น.อัจฉรา เพิ่ม. 2550. จลุ ชีววิทยา. ภาพพิมพ์. กรุงเทพฯ. 296 น.Brock, T.D. and M.T. Madigan. 1988. Biology of Microorganism. 5th. ed. Prentice-Hall. Inc.New Jersey. 835 p.Jacguelyn, G. and J.G. Black. 1999. Microbiology. Prentice-Hall Englewood Cliffs. NewJersy. 786 p.Presrott , L.M., J.P. Harley and D.A. Klen. 2002. Microbiology. Mosby. St. Louis, 1026 p.2. เอกสารและข้อมลู สาคัญ -3. เอกสารและข้อมลู แนะนา ตารา หนังสอื วารสารทางวิทยาศาสตร์ท่เี กีย่ วขอ้ ง ในหอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลัย หมวดท่ี 7 การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของรายวชิ า1. กลยุทธก์ ารประเมินประสิทธผิ ลของรายวิชาโดยนกั ศึกษา ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยใช้แบบประเมินการสอนของวิทยาเขต/คณะในด้านวิธีการสอน ส่ือประกอบการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนอ่ืนๆซง่ึ มผี ลกระทบต่อผลการเรยี นรู้ของนักศกึ ษา ตามทรี่ ายวิชานตี้ อ้ งรับผดิ ชอบ2. กลยทุ ธ์การประเมนิ การสอน ประเมินตามระบบและกลไกที่คณะกาหนด เช่น แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินจากอาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ หรอื การทดสอบยอ่ ยวา่ นกั ศกึ ษามคี วามเข้าใจในเน้ือหาท่สี อนมากนอ้ ยเพยี งใด3. การปรบั ปรุงการสอน คณะกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน ประสทิ ธภิ าพของรายวชิ า แล้วจดั ทารายงานเมือ่ สอนจบภาคเรยี น นอกจากนีค้ วรกาหนดให้อาจารยผ์ ้สู อน เข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอ าจารย์ทั้ง ภาควชิ าเพอ่ื หารอื ปัญหาการเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษาและร่วมกนั หาแนวทางแก้ไข4. การทบทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธขิ์ องนักศึกษาในรายวิชา เพ่ือเป็นการยืนยันว่านักศึกษามีมาตรฐานผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามท่ีกาหนดในหลักสูตร โดย รายวิชาน้ีต้องรับผิดชอบผลการเรียนรู้ ทั้งความรับผิดชอบหลัก และความรับผิดชอบรอง รายวิชาน้ีจะ ดาเนินการทวนสอบตามกลไกของคณะในเฉพาะส่วนท่ีเกี่ยวกับการทวนสอบกระบวนการเรียนการสอนและ การวดั ผล5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสิทธิผลของรายวิชา คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธผิ ลของรายวิชา อาจารยผ์ ู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาท่ีสอนและกลยุทธ์การสอนท่ีใช้ และนาเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อท่ีประชุมอาจารย์ประจา

หลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนาเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครัง้ ต่อไป 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook